Ktc powerpint 2

Preview:

DESCRIPTION

อ.ไวย

Citation preview

Strategy Mapกําไรสูงสุด

การเพ่ิมขึ้นของรายได การลดลงของตนทุน

รายไดจากลูกคาเกาเพ่ิม รายไดจากผลิตภัณฑใหมเพ่ิม

รายไดจากลูกคาใหมเพ่ิม

การแสวงหาลูกคาใหมการรักษาลูกคาเกา การสรางความพอใจใหกับลูกคา

การจัดสงที่ตรงเวลา การบริการที่ดี สินคาที่มีคุณภาพ ราคาที่สามารถแขงขันได

กระบวนการจัดสงที่รวดเร็ว

คุณภาพของสินคาจากโรงงาน

กระบวนการผลิตที่มีประสิทธิภาพ

การบริหารวัตถุดิบที่ดี

ทักษะของพนักงาน เทคโนโลยีสารสนเทศที่ทันสมัย

วัฒนธรรมและโครงสรางองคกร

FinancialPerspective

InternalProcessPerspective

CustomerPerspective

Learning andGrowth

Perspective

Example: Private Sector

บริษัท บัตรกรุงไทย จํากัด (มหาชน) (KTC) ผูนําในการใหบริการสินเชื่อเพื่อผูบริโภคในประเทศ ไดกอตั้งขึ้นในป 2539 โดยเปนบริษัทผูใหบริการในเครือของนาคารกรุงไทยจํากัด (มหาชน) ซึ่งเปนธนาคารพาณิชยขนาดใหญอันดับ 2 ในแงของสินทรัพยรวม และเปนเจาของเครือขายการใหบริการที่มีขนาดใหญในประเทศไทยโดยการดําเนินธุรกิจของ KTC ในชวงระยะเวลานั้น คือการดําเนินธุรกิจบัตรเครดิตในนามของธนาคารกรุงไทย ทั้งนี้ เม่ือวันที่ 30 มิถุนายน 2545 ธนาคารกรุงไทย ไดทําการขายลูกหนี้บัตรเครดิตในราคาตามมูลคาบัญชีใหแก KTC เปนผลให KTC เปนบริษัทผูใหบริการสินเชื่อเพื่อผูบริโภคเต็มรูปแบบและไดเขาเปนบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยเม่ือเดือนตุลาคม 2545 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 KTC มีมูลคาตลาดอยูที่3,300 ลานบาทและธนาคารกรุงไทยยังคงถือหุนอยูใน KTC จํานวนรอยละ 49.45

แผนที่สํานักงาน

ผังองคกร

คณะกรรมการ

กรรมการ และกรรมการสรรหา และกําหนดคาตอบแทน

ประธานกรรมการ

คุณ สุวิทย มาไพศาลสิน

คุณ พงศธร สิริโยธิน

คุณ ชนาทิพย โปษยานนท กรรมการและประธานกรรมการ

ตรวจสอบ

คุณ อัครรัตน ณ ระนอง กรรมการตรวจสอบและกรรมการสรรหา

และกําหนดคาตอบแทน

คณะกรรมการ

ประธานเจาหนาที่บริหาร และกรรมการคุณ นิวัตต จิตตาลาน

กรรมการตรวจสอบ และกรรมการสรรหา และกําหนดคาตอบแทน

คุณ พิมพเพ็ญ ลัดพลี

กรรมการ กรรมการ

คณะผูบริหาร

ประธานเจาหนาที่บริหาร และกรรมการคุณ นิวัตต จิตตาลาน

President & CEO's office/ Business Ventureรองประธานเจาหนาที่บริหารอาวุโส

คุณ ปกรณ มาตระกูล

Corporate Financeรองประธานเจาหนาที่บริหารอาวุโส

คุณ ชุติเดช ชยุติ

Information Technologyรองประธานเจาหนาที่บริหารอาวุโส

คุณ สิริยศ ศรีสุขสวัสดิ์

คณะผูบริหาร

Distribution Businessรองประธานเจาหนาที่บริหารอาวุโสคุณ ปยศักดิ์ เตชะเสน

Merchant Acquiring Businessรองประธานเจาหนาที่บริหารคุณ พงษศักดิ์ ศรุติปกรณ

Personal Loans Businessรองประธานเจาหนาที่บริหารคุณ สุดาพร จันทรวัฒนากุล

Membership Marketing รองประธานเจาหนาที่บริหาร คุณ พิทยา วรปญญาสกุล

Corporate Marketingรองประธานเจาหนาที่บริหาร

คุณ กาญจน ขจรบุญ

คณะผูบริหาร

Operation Businessรองประธานเจาหนาที่บริหาร

คุณ มานะ บุญคุณ

President & CEO's office / Business enturรองประธานเจาหนาที่บริหาร

คุณ บูชา ศิริชุมแสง

Resources Managemenรองประธานเจาหนาที่บริหาร

คุณ ดุสิต รัชตเศรษฐนันท

Credit Card Businessรองประธานเจาหนาที่บริหาร

คุณ วรวุฒิ นิสภกุลธร

การบริหารจัดการ

การพัฒนา

วัฒนธรรมองคกรและคานิยม

โครงสรางองคกร

ภารกิจยุทธศาสตร

องคกร

HRModel ความความเชื่อมโยง

กิจกรรมหลักของการบริหารทรัพยากรมนุษย

สรรหา คัดเลือก

รักษาคน

พัฒนาคน/องคการ

ใชคน

ผูนําการบริหารการเปลี่ยนแปลง

สรางบรรยากาศพลังการเปลี่ยนแปลง

เช่ือมโยงท่ัวท้ังองคกร

วางระบบการเปลี่ยนแปลง กําหนดวิสัยทัศน

ผูนําการบริหารการเปลี่ยนแปลง

People don’t resist change but they resist being changed.

มองความ “เปลี่ยนแปลง”เปนความ “ทาทาย”

และ“มีความสุข” กับการเปลี่ยนแปลง

ผูนําแนวใหม (Innovative Leader)

กรณีศึกษาบริษัท บัตรกรุงไทย จํากัด (มหาชน) หรือเคทีซี ในประเด็นของการสรางทีม ภาวะผูนําบังเอิญสอดรับกับแนวคิดของแม็กซเวลลอยางเหมาะเจาะคือมุงเนนกระบวนการ บริหารการตัดสินใจเพิ่มคุณคาใหทีม และเช่ือสนิทใจวา การเปนผูนําไมจําเปนตองอยูในจุดสูงสุดขององคกร

คุณประภาส ทองสุข ผูชวยประธานเจาหนาที่บริหาร Corporate Marketingบริษัทบัตรกรุงไทยจํากัด(มหาชน) อธิบายวา เคทีซีเปนองคกรเลือดใหมที่เพ่ิงเติบโตไมเกิน 10 ปมานี้ ยุคแรกของการฟอรมองคกรซีอีโอจะทําหนาที่เสมือนเปน กัปตันเครื่องบินฝาลมฝน กอนเมฆหนาทะมึน จําตองบินเด่ียว โดยยังมอบหมายใหผูชวยมือหนึ่งบินแทนไมได ตอเมื่อถึงระยะหนึ่งที่ลมสงบ ฟาเปดไรเมฆบัง สิ่งที่ซีอีโอบอกกับบรรดาผูชวยมือหนึ่งก็คือ “คุณตองเอาเครื่องลงแลวนะ ผมจะไปทําหนาที่เปนผูชวยมือหนึ่ง คอยบอกความสูง ความเร็วลม และอุปกรณตางๆ ใหเอง” เขาเรียกบทบาทการนําองคกรนี้วาเปนการทําหนาที่ของกัปตันหรือ my control กับการรับชวงการบินของผูชวยกัปตันหรือ your control ” นี่คือการทํางานของคุณนิวัตต จิตตาลาน ซึ่งเปนซีอีโอ บางเรื่องเขาบอกเลยวา ผมมีหนาที่ชวยพวกคุณ แตชวงไหนเขาบอกใหผมบิน เขาก็จะเปล่ียนหนาที่แลว” ปญหาขององคกรบานเรา มักจะเนนการมีผูนําคนเดียวแลวทุกคนก็จะตั้งหนาตั้งตารับฟงขณะที่รูปแบบการจัดองคกรเคทีซี จะมีหนาที่หลักในการสรางภาวะผูนํา แตในสถานการณบางอยางผูนําก็ยังตองเปนตัวหลักในการตัดสินใจ “เวลาทํางานกับเขา ตองรูวาเราบินหรือเขาบิน” หนาที่องคกรคือ การทําใหมี ผูนํา เกิดใหมขึ้นทุกวันๆ ถือเปนงานของเคทีซี นอกเหนือจากการทําธุรกิจ สรางใหมีผูนําเพ่ิมอีกคนเพ่ือที่จะทํางานไดตอไป”

แนวคิดการบริหารของ CEO Of KTC

การพัฒนาตนใหเปนเลิศ

Self - Directedสรางใหม

ปรับปรุง

แกปญหาได

ทําไดรู

การเรียนรูในองคกร

Climate/Cultureบรรยากาศ/วัฒนธรรม

Individualผูปฏิบัติงาน

Application / Utilizationการนําไปใช

Infrastructureระบบสนับสนุน

Facilitatorผูสงเสริมกระบวนการ

Activitiesรูปแบบการเรียนรู

Demand Supply

Talent Pool

Talent Information &

Inventory

Talent Development

Program

- Individual - Group

- Evaluation

- Selection

- Promotion

Talent Management Model

KTC:Creative Managementบริหารพนักงาน....ดุจลูกคา

"องคกรพันธุใหม" จะตองคิดอยูเสมอวาในยุคที่ทุกอยางคือตนทุนการผลิต ทําอยางไรจะใชทรัพยากรที่มีอยูอยางประหยัด ขณะเดียวกันตองเกิดความคิดสรางสรรคใหมๆ ขึ้นมาไดอยางตอเนื่อง

สาเหตุที่ตองใหความสําคัญกับพนักงานมาก ก็เนื่องจากวา พนักงานถือเปนสินทรัพยที่มีคามากที่สุด (High Value Asset) สําหรับองคกร จึงตองมีการลงทุนเพ่ือพัฒนาและรักษาไว และที่สําคัญการใหความสําคัญกับพนักงาน ก็เปนการลดความเส่ียงในการสูญเสียบุคลากรที่มีคุณภาพ ซ่ึงบริษัทไดใชระยะเวลาในการฝกหัดจนชํานาญไป ยอมเปนเรื่องที่นาเสียดายย่ิง..

KTC:Creative Managementบริหารพนักงาน....ดุจลูกคา

หลักการของแม็กซเวลล

KTCเปนองคกรท่ีสรางวธีคิดเปนแบบของตัวเอง โดยสรางวิถีการจัดการตามสภาพแวดลอมและการแขงขัน ดวยความเปน HR มือเกาของนิวัตต ทําใหเขามักคิดอะไรสองสามมิติเสมอ ท้ังในเร่ืองการตลาด การสรางคน และการใหคุณคากับการเปนมนุษย เปนหนาท่ีทุกคนท่ีตองมาชวยกัน ทีมเวิรคกับดรีมเวิรค ดูเปนศัพทหรูหรา แตประภาสยืนยันวา ท่ี KTC และCEOตั้งใจใหเปนแบบน้ันจริงๆ KTCเปนองคกรตัวอยางท่ีดีของการฝกใหคนคิดแลวไดสรางวิธีคิดของตัวเองข้ึนมาองคกรเมืองไทยชอบพูดในเชิงทฤษฎีกันมาก แตเวลาปฏิบัติจริงมีนอยมาก หลักการของแม็กซเวลล อาศัยเพียงความเรียบงายของการเพิ่มคุณคาใหผูคนแลวก็มอบคุณคาท่ีดีใหกับตัวเอง โดยปราศจากความเห็นแกตัว ประสบการณไมใชส่ิงท่ีดีท่ีสุดมันเพียงสอนใหเรารูอะไรบางอยาง แตการประเมินประสบการณใหเปนความรูความเขาใจ อยางลึกซึ้งในบริบทของซีอีโอกับการสรางภาวะผูนําแลวท้ังนิวัตตและเคทีซีตางสอบผานในกระบวนการสรางทีมผูนํา ท่ีบังเอิญสอดรับกับหลักการของแม็กเวลล อยางพอเหมาะพอดี ...

ผาแนวคิด Creative Organization

สําหรับองคกรสรางสรรค “เคทีซ”ี จัดเปนองคกรแหงหนึ่งที่ใช “ความคิดสรางสรรค Creativity”ไดอยางโดดเดนและตอเนื่องนับต้ังแตกอต้ังองคกร ที่เห็นไดชัดเจนในระยะแรกคือ การแสดงออกความคิดสรางสรรคผานโปรดักสบัตรของเคทีซีที่มีหลากหลาย มีความแตกตางเปนจํานวนมาก ชองทางจําหนายผานสาขาที่ดีไซนแบบบูติก ออฟฟศ รวมทั้งคนในชุดทํางานที่ไมเหมือนใคร

ความคิดสรางสรรคแบบเคทีซ ีสวนหนึ่งมาจาก “ความคิดบวก” (Positive Thinking) มีเปาหมายใหองคกรเดินหนาไปอยางตอเนื่อง ดังนั้นไมวาเหตุการณภายนอกจะเปนอยางไรก็ตามองคกรก็จําตองอยูรอดใหได และมีการใชความคิดสรางสรรคไปตอบโจทยต้ังรับที่กําหนดไว เพ่ือรักษาแนวรับใหแข็งแรงไมใชบุกเพ่ือหาลูกคาและสรางยอดขายมากมายเหมือนยามสถานการณปกติ

ความกลาคิดเพ่ือเปล่ียนแปลงจากแนวคิดเดิมๆที่อยูในธุรกิจการเงิน เพราะคนที่มีความคิดสรางสรรค คือ คนที่ไมหยุดนิ่งความคิดอยูกับที่ หรือวิถีเดิมที่เคยทํา

สิ่งที่ทําใหเคทีซีโดดเดนใน 5-6 ปที่ผานมา คือ ไมเดินตามแนวคิด หรือวิธีปฎิบัติเดิมที่เคยทํามา รวมทั้งองคความคิดที่เคยสื่อสารกับผูคนภายนอกตั้งแตโปรดักสไปยังบุคคล สงผลใหเกิดความทาทายในวิธีปฎิบัติเดิมที่เคยดําเนินการมา มันเปนรูปแบบของเคทีซีในคอนเซ็ปตCreative Organization”

ดานการอบรม (Training) ขององคกร ก็ปรับหันมาใชบุคลากรภายในกันเอง หรือ In House Training โดยเฉพาะผูบริหารคียแมนจากแผนกสวนงานตางๆ ทั้งดาน HR การตลาด แทนที่จะไปบรรยายเปนวิทยากรภายนอกก็หันมาใหความรูแกพนักงานภายในองคกรแทน ชวยลดคาใชจายไดเปนจํานวนมาก

เดิมนั้นความคิดสรางสรรคมักถูกนํามาใช ในมิติของความสนุกสนาน แตปจจุบันก็นํามาใชอยางผสมผสาน โดยมีทั้งสนุกสนานเชิงสรางสรรค เนื่องจากฐานความคิดสรางสรรคที่มั่นคง จัดวาเปนพ้ืนฐานสําคัญที่จะทําใหองคกรอยูรอดไดทามกลางภาวะวิกฤติ

ผาแนวคิด Creative Organization

Round and Clear เปนแนวทางสื่อสารที่ทําใหคนในองคกรไมสับสน ขณะที่ภายนอกองคกรเนนสื่อสารใหภายนอกเห็นวาเปนองคกรที่ปรับตัวไปกับสภาพธุรกิจไมใชองคกรLuxury หรือองคกรที่ไมสนใจกระแสสังคมหรือการปล่ียนแปลง ขณะเดียวกันเคทีซีก็ยังคงเปนองคกรทันสมัยในเชิงความคิดและการปรับตัวในเขากับสถานการณตางๆไดรวดเร็วและตั้งใจที่ทําประโยชนใหกับสังคมในมุมอ่ืนๆที่ยังสามารถทําได”

งานดานแสดงความรับผิดชอบตอสังคมและสิ่งแวลดอมหรือ CSR ก็จะเนนการใชความคิดสรางสรรคเพ่ิมมากขึ้น สงคนเขาไปดําเนินการโดยใชกําลังความคิดใหมาก แทนการใชงบประมาณจํานวนมากแบบเดิมๆ โดยเช่ือวา การทําในมิติแบบนี้ เมื่อลงมือทําเรื่องหนึ่ง มันก็จะใชประโยชนไดกับอีกเรื่องหนึ่งในหลายๆดานเชนกัน

ในกระบวนการทํา จะตองเริ่มตั้งแตตนน้ํา จนถึงปลายน้ํา อาทิ การคัดสรรคนเขาสูองคกรจะตองมีกระบวนการที่สรางสรรค ทั้งในเชิง คุณคาองคกรที่ยึดถือดําเนินการตั้งแตขั้นแรก การสรางสภาพแวดลอมที่เอ้ืออํานวยใหเกิดความคิดสรางสรรคดวย รวมทั้งระบบการประเมินหรือตัวช้ีวัดใหคุณ-โทษ ที่ไมกระทบตอคนที่มีความคิดสรางสรรค เพราะถาหากระบบตึงเกินไปก็จะทําใหคนไมกลาคิดสรางสรรคและติดในกรอบความคิด “

ผาแนวคิด Creative Organization

“we write the stories”

ดวยเปาหมายสูงสุดคือการเปนแบรนดในใจของผูบริโภคคนไทย ทั่วประเทศ โดยถายทอดความเปนแบรนดผานทุกองคประกอบขององคกร (Brand Elements) ไมวาจะเปนผลิตภัณฑ บริการและบุคลากรของเคทีซี ภายใต 5 คุณคาของแบรนด (Brand Values) มายาวนานกวา 14 ป และในปนี้เคทีซีจึงไดปรับตัวเพ่ือรับกับแนวโนมตลาดสูการเปนโอเพนแบรนด อยางเต็มตัว โดยจะเปดใหลูกคา กลุมคนตางๆ ไดมีสวนรวมแนะนําและสรางแบรนดรวมกับเคทีซีผานชองทางตางๆ โดยเฉพาะโซเช่ียล เน็ตเวิรคและออนไลน ซึ่งเขาถึงสมาชิกและกลุมคนที่เปนเปาหมายเคทีซี”

“โดยไดเปล่ียนแนวคิดแบรนดใหมหรือ Tag line จาก It’s Real เปน “we write the stories” ซึ่ง we สื่อถึงความเปนเคทีซี สมาชิกและคูคาไดรวมกันเขียนเรื่องราวตางๆ มาดวยกัน ทําใหเคทีซีเปนที่รูจักและไดรับการยอมรับ และเราจะรวมกันสรางสรรคผลิตภัณฑ บริการหรือแคมเปญการตลาดตางๆ ไปดวยกัน เพ่ือตอบสนองความตองการของสมาชิกใหตรงจุด โดยไดกําหนด 3 คุณคาแบรนด หรือ Brand Value ใหมคือ “Collaboration”หมายถึงความรวมมือระหวางเคทีซี ลูกคาและคูคา ทําใหรูและเขาใจความตองการของลูกคาอยางลึกซึ้งและถูกตอง“Multi-Intelligence”เคทีซีทําการวิเคราะหศึกษาในเชิงลึกรอบดาน ทําใหมองเห็นสิ่งใหมๆ ในรูปแบบและประโยชนที่ดีกวา งายกวาใหกับลูกคา “Seeking for the new frontier”เคทีซีไมเคยหยุดนิ่งในการมองหาโอกาสใหมๆ ทําใหเรื่องราวเปนที่กลาวถึงและจดจําอยูเสมอ”

เมืองไทยเราแมวาจะไมมีFun Officeอยางของ Google แต KTC Smart Office ของบริษัทบัตรเครดิตกรุงไทยหรือ KTC ที่อวดโฉมความเปนผูนําทางดาน Creative Organization กันมาตั้งแตป2549นั้นก็นับวาไมนอยหนาใคร ดวยการปฏิวัติกฏเกณฑและรูปแบบสถาบันการเงินไทยดวยออฟฟศแนวคิดใหมที่พนักงานไมตองมีโตะประจํา แตใชระบบแบบ Mobility Office คือพนักงานสามารถนั่งทํางานตรงไหนก็ไดตามตองการ โดยมีคอมพิวเตอรโนตบุกเปนอุปกรณในการทํางาน ภายในออฟฟศจะมีมุมตางๆ ที่ เหมาะสมกับบรรยากาศที่พนักงานตองการ ไมวาจะเปนมุมกาแฟไวแชรขอมูลหลากหลาย มุมโซฟาเอกเขนกไวระดมไอเดียเปนมุมสงบสําหรับงานที่ตองการสมาธิเปนพิเศษ รวมถึงพ้ืนที่ประชุมที่ตอบสนองการใชงานหลากรูปแบบโดยเริ่มตั้งแตหองประชุมตูปลาสําหรับการประชุมที่ไมตองการเปดเผขอมูล หรือหองประชุม โซฟาแบบเปด (open space) เปนตน ซึ่ งทุก พ้ืนที่จะมีจุด เ ช่ือม ตอคอมพิวเตอรโนตบุคหรือจอพลาสมา เอ้ือตอการทํางานไดอยางดีเยี่ยม

สรางความเปนชุมชนในองคกร

KTC สรางสภาพแวดลอมองคกรโดยยึดหลักการ Trust Modern Fun Dynamic Professional

ความรูในตัวคน(Human Competence)

ความรู การศึกษา ประสบการณ การออกแบบสภาพแวดลอมใหคนได

แลกเปลี่ยนความรู HP has constructed an open office with few

partitions.

KTC = Smart office

แกะกลองของขวัญแหงความสุขในทุกเชาของวันทํางานใตชายคา 'KTC‘1. 5คานิยมหลักรัดวัฒนธรรมแนน ใจเปนสุข กายก็พรอมทุมเทใหองคกร2. BSC-KPI-Talent Management กลายเปนเร่ืองไกลตัวไปทันที ถา HR

พุงประเด็นไปท่ีการเติมใจคนใหเต็มกอน3. ล็อคสเปกคนทํางาน KTC ขอแคมีทัศนคติเน้ียบๆ และพรอมสําหรับการ

ทํางานเปนทีม

'KTC' วัฒนธรรมสรางสุข ของขวัญกํานัลคนทํางาน

KTC : Creative Organization

KTC จึงใหคํานิยามกับองคกรใหม ปรับเปล่ียนจาก Jeans Organization ซ่ึงเปนนิยามของจุดเดนในเร่ืองใหอิสระในการแตงตัวของพนักงาน มาเปน Creative Organization ที่ภายใตการจัดสถานที่ทํ างานแบบ Smart Office ที่เปน Creative Environment พนักงานสามารถทํางานไดสมารตข้ึน และฉลาดข้ึน

KTC สรางองคกรแหงความสุข (Happy Organization)

โดยยึดหลักการ HR ประกอบไปดวย 5 หลักการสําคัญ1. Trust ความเรียบงาย 2. Modern ความทันสมัย 3. Fun ความสนุกสนาน4. Dynamic ความพรอมสําหรับการเปลี่ยนแปลง 5. Professional ความเปนมืออาชีพ

เปาหมายการสรางคนของ KTC คือ อยากเห็นพนักงานมีความคิดใหมๆ ไมยึดติดกับแนวคิดเกาๆ ใหผลักดันงานออกมาจากแนวคิดใหมแกะกลอง เมื่อสรางส่ิงแวดลอมใหมๆ แลวส่ิงท่ีมุงหวังคืออยากเห็นพนักงานมีความสุขในการทํางาน สรางทัศนคติดีๆ จากภายในใหพนักงาน เกิดการเปลี่ยนแปลงวิธีคิด (mind set)

ผูบริหาร อยากเห็นการทํางานใหมๆ มองวาเพื่อนรวมงานทุกคนเปน KTC อยากใหพนักงานทุกคนสนุกสนาน มีความสุข มีมุมพักผอน มุมดื่มกาแฟ มุมหองนั่งเลน มีโตะทํางานโปรงๆ เรียบๆ มีลอ็กเกอรใหพนักงาน อนาคตก็จะทําใหมีเอกสารนอยท่ีสุด ทุกอยางอยูในรูปของอิเล็กทรอนิกส โดยช้ัน 11 ช้ัน 14 และช้ัน G จะเปนโมเดลเดียวกันในเฟสแรก และจะทําอยางตอเนื่องยาวไปจนถึงป 2050

'KTC'วัฒนธรรมแหงการสรางสรรค

คําวาแฮปปเวิรกเพลส มีองคประกอบอยูหลายอยาง แตโดยรวม ๆ มองวาเปนการทํา CSR ภายในองคกร คือนอกจากจะรับผิดชอบตอสังคมโดยรวมแลว ขางในองคกรก็ท้ิงไมได เพราะท้ังเรื่อง แบรนดิ้ง การตลาด ลวนแตเกิดจากความคิดของคนขางในองคกรท้ังส้ิน

ถาพนักงานภายในองคกรมีคุณภาพ มีความรับผิดชอบ ก็ไมใชเรื่องยากท่ีจะผลักดันองคกรใหไปในทิศทางท่ีตองการ ดังนั้นตองมาโฟกัสท่ีตัวพนักงานแตละคนวาจะทําอะไรกับเขาบาง ปลูกฝงใหเขาเปนคนดีหรือเปลา ปลูกฝงใหเขาตอบแทนสังคมหรือไม หรือแคใหทํางานแลวรับเงินเดือนไปวัน ๆ

ซึ่งในมุมของ HR ก็จะดูเรื่องเทิรน โอเวอรของพนักงานดวยก็พบวา อัตรา การลาออกของพนักงานลดลงอยูท่ีระดับ 10 เปอรเซ็นต ต่ํากวาในตลาด

และเมื่อหันมาดูอัตราการดํารงอยูของพนักงานก็พบวา อายุเฉลี่ยของบริษัท 13 ป มีพนักงานท่ีทํางานกับบริษัทนานกวา 5 ปอยูเกินครึ่ง คนท่ีอายุงาน 12 ป มี 20 กวาเปอรเซ็นต ก็ถือวาใชได

'KTC วัฒนธรรมแหงการสรางสรรค

Innovation

Change that creates a new dimension of

performance.

Peter Drucker

Three Factor Theory of HumanMotivation in the workplace

Equityเปนธรรม

คาตอบแทน สภาพการทํางาน

Achievementสําเร็จ

ภูมิใจ กาวหนา เห็นผลงาน

Camaraderieสัมพันธภาพ

งานนาสนใจ สัมพันธภาพกับเพื่อนรวมงาน

A Gap Exists Between Mission-Vision-Strategy and Employees’ Everyday Actions

MISSIONWhy we exist

VALUESWhat’s important to us

VISIONWhat we want to be

STRATEGYOur game plan

PERSONAL OBJECTIVESWhat I need to do

TARGET & INITIATIVESWhat we need to Do

(Rummler and Brache, 1995)

PerformancePlanning

PerformanceReview

Performance Improvement

PerformancePriorities

Continuousimprovement

Re-engineeringPerformancemeasurementStablepart

Temporarypart

Performance evaluation

Self-audit

key process review

Performance Reference

comparative benchmarkingexternal audit

customer surveycompetitor analyses

External Requirements

vision stakeholdersstrategies customers

authoritiesetc.

PM: Planning, improvement, and review (Bredrup, 1995a)

(Williams, 1998: 12)

Competency Based

การฝกอบรม และพัฒนาบุคลากร

เล่ือนตําแหนงและหมุนเวียนงาน

คัดเลือก และ คัดสรร

การบริหารผลการปฏิบัติงาน

จัดระดับงาน

บริหารอาชีพ (Career

Management)

ระบบบริหารทรัพยากรบุคคลโดยใชสมรรถนะหลัก

ฝากไวทายบท !คําสั่งสอนของหลวงปูชา เธอจงระวังความคิดของเธอ

เพราะความคิดของเธอจะทําใหกลายเปนความประพฤติของเธอ

เธอจงระวังความความประพฤติของเธอ เพราะความประพฤติของเธอจะกลายเปนความเคยชิน

เธอจงระวังความเคยชินของเธอ เพราะความเคยชินจะกลายเปนอุปนิสัยของเธอ

เธอจงระวังอุปนิสัยของเธอ เพราะอุปนิสัยของเธอจะกําหนดชะตากรรมของเธอตลอดชีวิต

vdo ktc office.FLV

http://www.youtube.com/watch?v=mckixnO2njs