โหรา พืชริมรั้ว ภัยใกล้ตัว · 2017-08-18 ·...

Preview:

Citation preview

โหรา พืชริมร้ัว ภยัใกล้ตัว

นางสาวรัตติยา เกตุแก้ว คณะกรรมการทีมงานจัดการความรู้

ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 11/1 ภูเก็ต

พืชตระกูลบอน ซึ่งอยู่ในวงศ์ Araceae จัดเป็นพืชท้องถิ่น ที่พบได้ทั่วทุกภูมิภาคของประเทศไทย

• ชนิดที่รับประทานได้

ภาษาท้องถิ่น : ภาคใต้ เรียก โชน ออดิบ ออกดิบ ภาค กลาง เรียก คูน ภาคเหนือ เรียก กระดาดขาว หรือตูน

ชื่อวิทยาศาสตร ์Colocasia gigantea Hook.f

ภาษาท้องถิ่น ภาคใต้ เรียก โหราหรือเอาะลาย ภาคกลาง เรียก กระดาดด า ภาคเหนือ เรียก บึมปื้อ

•ชนิดรับประทานไม่ได้

สารพษิ : Calcium Oxalate ซึง่เป็นผลกึรูปเข็ม ไม่ละลายน า้ พบมากท่ีในสว่นน า้ยางใสบริเวณล าต้น และใบ

อาการของพิษ หากสัมผัสจะท า ให้เกิดการระคายเคือง เป็น ผื่น คันหากรับประทาน จะท าให้เกิดการระคายเคืองระบบทางเดินอาหาร

ชื่อทางวิทยาศาสตร์: Alocasia macrorhiza Schott

ผลกึแคลเซียมออกซาเลต ผลกึรูปดาวในใบผกัปลงั ผลกึซิลิกาในใบผกัหวานป่า ผลกึรูปปริซมึในใบผกักะเฉด

ผลกึรูปเข็มในล าต้นของพืชตระกลูบอน

ผลกึรูปเข็มจากสว่นของล าต้นโหรา

ปัจจยัท่ีมีผลตอ่ปริมาณและรูปร่างผลกึแคลเซียมออกซาเลต

1. ชนิดพืช 2. ปริมาณแคลเซียมไอออน (Ca2+) ในดินและน า 3. ฤดูกาล (ฤดูฝนมีการสังเคราะห์ผลึกแคลเซียมออกซาเลตสูง) 4. อายุ

โชน หรือ ออดิบ(กินได้)

ใบสีเขียวเข้ม ใบขนาดใหญ่และหนา ใบสีเขียวออ่น

ใบขนาดเล็กและบาง

ก้านใบสีขาวนวล

ก้านใบสีเข้ม

ล าต้นสีเขียวเข้ม ล าต้นสีเขียวออ่นมีแปง้เคลือบ

ก้านใบตดิริมขอบใบ

ก้านใบหา่งริมขอบใบ

ต้นโหรา (กินไมไ่ด้) วิธีการสงัเกตต้นโหรากบัออดิบ

ลกัษณะใบ

ต้นโหรา (กินไมไ่ด้) ใบมีขนาดใหญ่สีเขียวเข้มและหนา ลกัษณะคล้ายรูปร่างคล้ายตาลปัตร

โชน หรือ ออดิบ(กินได้) ใบมีขนาดเลก็สีเขียวออ่นและบาง ลกัษณะคล้ายรูปร่างคล้ายลกูศร

วิธีปฏิบตัิก่อนน ามารับประทาน

1.น าบอนมาแช่หรือปรุงรสในน าส้มสายชู น ามะขามเปียก

2. ล้างด้วยน าเปล่าหลายครั งๆ

3. น าพืชตระกูลบอนมาผ่านกระบวนการให้ความร้อน เช่น การต้ม, การเผา

• หากสัมผัสน ายาง ให้ล้างออกโดยใช้น าสบู่ชะล้างหลายๆ ครั ง แล้วน าผู้ป่วยส่งโรงพยาบาลทันที •หากรับประทานส่วนของพืชที่มีน ายาง ให้ล้างปาก โดยการดื่มน ามากๆ ดื่มนมเย็น ไอสครีม ให้รับประทานอาหารเหลว เช่น ข้าวต้ม และโจ๊ก งดรับประทานอาหารรสจัด จนอาการทุเลาลง ที่ส าคัญ ไม่ควรท าให้อาเจียน เพราะจะท า ให้สารพิษสัมผัสกับ เยื่ อบุปาก และล าคออีกครั ง

การรักษา

Thank you for your attention

Recommended