มโนทั พัศนฒนา วรรณคดีระดัธยมศึับม...

Preview:

Citation preview

มโนทัศนพัฒนา:

วรรณคดีระดับมัธยมศึกษาตอนตน

รศ.อิงอร สุพันธุวณิชดร. เปรม สวนสมุร

อ. ชาญชัย คงเพียรธรรม

สรุปเอกสารการเรียนรูที่ 1

การจําแนกและวิเคราะหองคประกอบ

ของวรรณคดี

การจําแนกประเภทของวรรณคดีไทย

• วิเคราะห คือ การแยกแยะหนังสือออกเปนสวนๆ ตามประเภทและลักษณะของหนังสือ โดใชเหตุผลประกอบ

• วิจารณ คือ การแสดงทัศนะ ความคิดเห็นทั้งในดานบวกและดานลบ หรือทั้งขอดแีละขอบกพรอง การวิจารณที่ดีตองมีเหตุผลประกอบ ไมใชมาจากความรูสึกเทานั้น

การวิเคราะหวรรณคดี แบบกวางที่สุดคือแบงเปน วรรณคดรีอยกรอง และวรรณคดีรอยแกว

การวิเคราะหประเภทของวรรณคดีมีเหลักเกณฑ

หลากหลาย สามารถจําแนกกวางๆ ได 6 แบบ

• จําแนกโดยใชลักษณะการถายทอดเปนเกณฑ

• จําแนกโดยใชยคุสมัยเปนเกณฑ

• จําแนกโดยใชเนือ้หาเปนเกณฑ

• จําแนกโดยใชรูปแบบเปนเกณฑ

• จําแนกโดยใชแหลงที่สรางสรรคผลงานเปนเกณฑ

• จําแนกโดยใชวัตถุประสงคเปนเกณฑ

การวิเคราะหองคประกอบ

ชื่อเรื่อง (title) การตั้งชื่อเรื่องทําไดหลายวิธี เชน

• การนําชื่อตัวละครเอกของเรือ่งมาตั้งเปนชื่อเรื่อง เชน พระอภัย

มณี

• การนําชื่อผูแตงมาตั้งเปนชื่อเรื่อง เชน สุภาษิต พระรวง

• นําชื่อสถานที่สําคัญในเรื่องมาตั้งเปนชื่อเรื่อง เชน นิราศภูเขาทอง

• การนําวัตถุประสงคของเรื่องมาตั้งเปนชื่อเรื่อง เชน โคลงโลกนิติ

ตัวละคร (Character)

คือ ผูที่มีบทบาทในเรื่อง เนื้อเรื่องจะดําเนินไปไดตองอาศัยการ

กระทํา หรือบทสนทนาของตัวละคร กลวิธีที่ผูเขียนใชสรางตัวละคร

สามารถแบงไดเปน 2 วิธี คือ วิธีที่

– ผูเขียนแนะนําตัวละครโดยตรงและวิธีที่ เชน สุนทรภูกลาวถึงพระ

อภัยมณีวา “ฝายองคพระอภัยวิไลโฉม” แสดงวาพระอภยัมณีเปน

คนรูปงาม

– ผูเขียนใชวิธีบอกผานพฤติกรรม เชน นางผีเสื้อสมุทร ซึ่งดูเหมือน

เปนตัวละครฝายราย มีรูปรางหนาตาอัปลักษณ และดูราย

ฉาก (setting)

คือ เวลาและสถานที่ของเหตุการณที่เกิดขึ้นในเรื่อง ซึ่งรวมถึงสภาพแวดลอมตางๆ ที่เกี่ยวของ ฉากถือเปนองคประกอบสําคัญของงานวรรณกรรม วรรณคดีบางเรื่องมีฉากชวยขับเนนอารมณความรูสึกของตัวละครใหลึกซึ้งขึ้น เห็นไดจากเมื่อตัวละครเอกตกอยูในอารมณอยางใดอยางหนึ่ง ฉากยอยจะเปนไปในทํานองเดียวกัน เชน

แสนวิตกอกเอยมาอางวาง ในทุงกวางเห็นแตแขมแซมสลอน

จนดึกดาวพราวพรางกลางอัมพร กระเรียนรอนรองกองเมื่อสองยาม

(นิราศภูเขาทอง ของสุนทรภู)

แนวคดิ (Theme)

แนวคิด หรือ แกนเรื่อง คือ สารสําคัญที่ผูเขียนตองการจะสื่อใหผูอานไดรับรู การพิจารณาแนวคิดตองพิจารณาจาก

เนื้อหาทั้งหมดของเรื่อง ผูเขียนตองการนําเสนอแนวคิดเรื่องใดเปนสําคัญ โดยอาจจะพิจารณาจากเรื่องราวเหตุการณ หรือพฤติกรรมของตัวละครรวมดวยก็ได แนวคิดที่ปรากฎในวรรณคดีไทยสวนใหญ มาจากพระพุทธศาสนา เชน แนวคิดเรื่องกรรม ทําดีไดดี ทําชั่วไดชั่ว

สรุปเอกสารการเรียนรูที่ 2ปริทรรศนวรรณคดีระดับมัธยมศึกษาตอนตน

และการวิเคราะหคุณคาของวรรณคดี

เนื้อหาวรรณคดีไทยระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนตน

วรรณคดีและวรรณกรรมที่กําหนดใหเรียน

• นิราศภูเขาทอง

• โคลงโลกนิติ

• กาพยหอโคลงประพาสธารทองแดง

• บทพากยเอราวัณ หรือคําพากยเอราวัณ

• ศิลาจารึกพอขุนรามคําแหงมหาราช

• พระบรมราโชวาท

วรรณคดีและวรรณกรรมที่เสนอใหเรียน• สุภาษิตพระรวง

• อิศรญาณภาษิต

• กลอนดอกสรอยรําพึงในปาชา

• โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ

• กาพยเรื่องพระไชยสุริยา

• บทละครเรื่องรามเกียรติ ์ ตอนนารายณปราบนนทก

• ราชาธิราช ตอนสมิงพระรามอาสา

• พระอภัยมณี ตอนพระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อสมุทร

การวิเคราะหคณุคาดวยวรรณศิลป

การวเิคราะหคณุคาทางดานวรรณศลิป พิจารณา

จากกลวิธีที่ผูเขียนใชใน 4 ประเภท คอื

- การสรรคาํ

- การใชภาษาจนิตภาพ

- การใชภาพพจน

- การใชสัญลักษณ

เปนกลวิธีการใชภาษาวรรณศิลปประเภทหนึ่ง กวีจะนําถอยคาํที่ไดเลือกสรรไวแลวมาเรียงตอกันในตําแหนงที่ถูกตอง

ตามระเบียบของภาษาเพือ่สื่อความหมาย สอดคลองกับเนื้อหาและรูปแบบของงาน การสรรคํามีอยูหลายรูปแบบดวยกัน เชน การสรรคําเพื่อความไพเราะทางดานเสียงและลีลาจังหวะ การสรรคําเพื่อใหเหมาะกับเนื้อเรื่องและฐานะของตัวละคร เปนตน

การสรรคํา (Diction)

การเลนเสียงสระ หรือสัมผสัสระ

ดูหนูสูรูงู งูสุดสูหนูสูงู

หนูงูสูดูอยู รูปงูทูหนูมูทู

ดูงูขูฝูดฝู พรูพรู

หนูสูรงููงู สุดสู

งูสูหนูหนูสู งูอยู

หนูรูงูงูรู รูปถูมูทู

(กาพยหอโคลงประพาสธารทองแดง ของเจาฟาธรรมาธิเบศร)

การเลนเสียงพยัญชนะ หรือสัมผัสพยัญชนะ

ทั้งกบเขยีดเกรียดกรีดจังหวีดเรื่อย

พระพายเฉี่ยดฉิวฉิววะหวิวหวาม

วังเวงจิตคิดคะนึงรําพึงความ

ถึงเมือ่ยามยังอุดมโสมนัส

(นิราศภูเขาทอง ของสุนทรภู)

การเลนเสียงวรรณยุกต หรือสัมผัสวรรณยุกต

กลองทองดีครุมเครึ้ม เดินเรียง

จาตะเติงเติงเสียง ครุมครื้น

เสียงปรี่เรื่องเพียง การะเวก

แตตนแตรนแตรฝรั่งขึ้น หวูหวูเสียงสังข

(กาพยหอโคลงประพาสธารทองแดง ของเจาฟาธรรมาธเิบศร)

การเลนคํา (puns)1. กลวิธีการประพันธที่ใชคําพองเสียงหรือคําพองรูป

หัวลิงหมากลางลิง ตนลางลิงแลหูลิง

ลิงไตกระไดลิง ลิงโลดควาประสาลิงฯ

หัวลิงหมากเรียกไม ลางลิง

ลางลิงหูลิงลิง หลอกขู

ลิงไตกะไดลิง ลิงหม

ลิงโลดฉวยชมผู ฉีกควาประสาลิงฯ

(กาพยหอโคลงประพาสธารทองแดง ของเจาฟาธรรมาธิเบศร)

2. การใชคําตรงขาม เชน จะเลน รัก-ชัง ทําใหเขาใจชัดเจน

รักกันอยูขอบฟา เขาเขยีว

เสมออยูหอแหงเดียว รวมหอง

ชังกันบแลเหลียว ตาตอ กันนา

เหมือนขอบฟามาปอง ปาไม มาบัง

(โคลงโลกนิติ)

การซ้ําคาํ (repetition)

เหลือบเห็นสตรีวิไลลักษณ พิศพกัตรผองเพยีงแขไข

งามโอษฐงามแกมงามอุไร งามนัยนงามเนตรงามกร

งามถันงามกรรณงามขนง งามองคยิ่งเทพอัปสร

งามจริตกริยางามงอน งามเอวงามออนทั้งกายา

(บทละครเรือ่งรามเกยีรติ ์ของพระบาทสมเดจ็พระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช)

การใชจินตภาพ (imagery)

กระบวนจินตภาพ คือ วิธีการสรางภาพขึ้นในใจดวยถอยคํา

ที่ เลือกสรรมาเปนพิ เศษ เพื่อแทนความคิดอารมณ และ

ประสบการณดานความรูสึก และกอใหเกิดภาพขึ้นในจิตหรือ

ขอคิดขึ้น

จินตภาพแบงออกไดเปน 5 ชนิด คือ จินตภาพทางการเห็น

จินตภาพทางการไดยิน จินตภาพทางการไดกลิ่น จินตภาพ

ทางการลิ้มรส และจินตภาพทางการสัมผัส

ถึงประตูคูหาเห็นเปดอยู เอะอกกูเกิดเข็ญเปนไฉน

เขาในหองมองเขมนไมเห็นใคร ยิ่งตกใจเพียงจะดิ้นสิ้นชีวี

และดูปที่เปาเลาก็หาย นายยักษรายรูวาพากันหนี

เสียน้ําใจในอารมณไมสมประดี สองมือตีอกตูมฟูมน้ําตา

ลงกลิ้งเกลือกเสือกกายรองไหโร เสียงโฮโฮดังกองหองคูหา

พระรูปหลอพอคุณของเมียอา ควรฤๅมาทิ้งขวางหมองหมางเมีย

พระลูกนอยกลอยใจไปดวยเลา เหมือนควักเอาดวงใจนองไปเสีย

นองรอนรุมกลุมใจเหมือนไฟเลีย ทูนหัวเมียชางไมไวอาลัยเลย

(พระอภัยมณี ของสุนทรภู)

การใชภาพพจน

ภาพพจนวาทศิลป คือ การเรียบรยงถอยคําใหผิดไปจากการใชภาษาตามปรกติ หรือผิดไปจากธรรมดาโดยไมเปลี่ยนแปลงความหมายของคํา เชน การพูดถึงสิ่งที่เปนนามธรรม หรือสิ่งที่พูดไมไดดุจดังบุคคล เพื่อใหเกิดผลทางอารมณ

ภาพพจนเปรียบเทียบ คือ การใชถอยคําที่ทําใหเกิดภาพโดยการเปลี่ยนแปลงความหมายของคําวา เชน ภาพพจนอุปลักษณ เปนตน

อุปมา (Simile)

กลางไพรไกขันบรรเลง ฟงเสียงเพียงเพลง

ซอเจงจําเรียงเวียงวัง

ยูงทองรองกะโตงโหงดัง เพียงฆองกลองระฆัง

แตรสังขกังสดาลขานเสียง

(กาพยพระไชยสุริยา ของสุนทรภู)

อุปลักษณ (Metaphor)

ชายขาวเปลือกหญิงขาวสารโบราณวา

น้ําพึง่เรอืเสือพึ่งปาอชัฌาสัย

เรากจ็ติคดิดูเลาเขาก็ใจ

รักกันไวดีกวาชังระวังการ

(อิศรญาณภาษิต ของหมอมเจาอิศรญาณ)

อติพจน (Hyperbole)

เสียงพลโหรองเอาชยั เลื่อนลั่นสนั่นใน

พิภพเพียงทําลาย

(บทพากยเอราวัณ ของพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย)

บุคคลวัต (Personification)

นกเอยนกแสก จับจองรองแจกเพียงแถกขวญั

อยูบนยอดหอระฆังบังแสงจันทร มีเถาวัลยรุงรังถึงหลักงคา

เหมือนมันฟงดวงจันทรใหผันดู คนมาสูซองพักมันรักษา

ถือเปนที่รโหฐานนมนานมา ใหเสื่อมผาสุกสันตของมันเอย

(กลอนดอกสรอยรําพึงในปาชา ของพระยาอุปกิตศลิปสาร)

สัทพจน (Onomatopoeia)

วังเอยวังเวง หวางเหงง ! ย่ําค่ําระฆังขาน

ฝูงวัวควายผายลาทิวากาล คอยคอยผานทองทุงมุงถิน่ตน

ชาวนาเหนื่อยออนตางจรกลับ ตะวันลับอับแสงทุกแหงหน

ทิ้งทุงใหมือมัวทั่วมณฑล และทิ้งตนตูเปลี่ยวอยูเดียวดาย

(กลอนดอกสรอยรําพึงในปาชา ของพระยาอุปกิตศลิปสาร)

การใชสญัลักษณ (symbol)

นาคีมีพิษเพีย้ง สุริโย

เลื้อยบทําเดโช แชมชา

พิษนอยหยิ่งโยโส แมลงปอง

ชูแตหางเอาอา อวกอางฤทธี

(โคลงโลกนิติ ของสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาเดชาดิศร)

การวิเคราะหคณุคาดานตาง ๆ ในวรรณคดี

1. คุณคาดานอารมณ

2. คุณคาดานคุณธรรม

3 คุณคาในการสะทอนสังคม

4.คณุคาสะทอนวฒันธรรมดานอาหาร

5 คณุคาในการใหความรูความเขาใจทองถิน่ตางๆ ของไทย

กาพยพระไชยสุริยา ของสุนทรภู ไดแทรกคําสอนไวหลายตอน เชน

ประกอบชอบเปนผิด กลับจริตผิดโบราณ

สามัญอันธพาล ผลาญคนซื่อถือสัตยธรรม

ลูกศิษยคิดลางครู ลูกไมรูคุณพอมัน

สอเสียดเบียดเบียนกนั ลอบฆาฟนคือตัณหา

โลภลาภบาปบคิด โจทกจับผิดริษยา

(กาพยพระไชยสุริยา ของสุนทรภู)

ศิลาจารกึพอขุนรามคาํแหง (ศลิาจารึกหลักที่ 1)

ไดกลาวถึงสภาพบานเมืองในสมัยนัน้วา

“เมืองสุโขทัยนีด้ี ในน้ํามปีลาในนามีขาว” แสดงให

เห็นถงึความอดุมสมบูรณของกรงุสุโขทัยที่เปนอูขาว อูน้ํา

“ไพรฟาหนาใส ใครจักใครคาชาง คา ใครจักใครคา

มา คา ใครจักใครคาเงือนคาทองคา เจาเมืองบเอาจกอบ

ในไพรลูทาง”

Recommended