Nanocellulose...

Preview:

Citation preview

BioPlastics News ปีที่ 6 ฉบบัที่ 2 วนัที่ 16 มกราคม 2559

http://plastic.oie.go.th หน้า 1

ข่าวสารออนไลน์รายปักษ์เพื่อการติดตามข้อมูลด้านไบโอพลาสติกท้ังในและต่างประเทศ

Highlights ในฉบับ

อ้างอิงจาก: Biofuels Digest

ข่าวล่าสดุไดร้ายงานว่า USPTO หรือ U.S. Patent and Trademark Office ไดร้ับรองสิทธิบัตรส าหรบักระบวนการผลิตล าดับท่ี 25 ของ บริษัท American Process ซึ่งเป็นกระบวนการผลติ Nanocellulose ที่สามารถน าไปใช้ในกระบวนการผลิตวัสดุหรือสินค้าได้หลากหลาย ในกระบวนการผลิตจะน าชีวมวลมาแยกส่วนประกอบด้วยการละลายลงในกรด (ซึ่งเป็นตัวท าละลายส าหรับลิกนิน) และละลายในน า เพื่อท่ีจะสกดัของแข็งที่มีองค์ประกอบของเซลลูโลสออกมา จากนั นใช้กระบวนการเชิงกล เพื่อท่ีจะท าให้เกิดเป็นผลึกขนาดนาโนของเซลลูโลส หรือที่เราเรยีกว่า นาโนเซลลโูลส (Nanocellulose) ซึ่งมีคณุสมบัติที่แข็งแรงเหมือน Kevlar แต่มีความสามารถในการดูดซับความชื นได้เหมือน Pampers Nanocellulose สามารถน าไปใช้ทดแทนวัสดุใยแก้ว ส าหรับการผลติรถยนต์ มีความแข็งแรงสูงแต่มีน าหนักที่เบากว่า สามารถน าไปผลิตเป็นเจล ซึ่งสามารถไหลได้เมื่อท าการเขย่า สามารถน าไปขึ นรูปเป็นโฟม ซึ่งสามารถปอ้งกันออกซิเจน หรือถ้าเรานึกถึง Peter Parker (สไปเดอร์แมน) ที่ใช้ใยแมงมุม และนั่นก็อาจจะใช้ Nanocellulose ในการผลิตใยแมงมมุจากวัสดุชีวภาพก็เป็นได้ สามารถอ่านเพ่ิมเติมได้ที ่http://americanprocess.com/bioplus/

"ตลาดเคมีภัณฑ์ชีวภาพยังเติบโตต่อเนื่องจนถึง ปี 2020"

"Nova-Institute ตีพิมพ์ผลการศึกษาด้านตลาดวัสดุคอมโพสิตจากไม้และเส้นใยธรรมชาติ"

"Genomatica และ Braskem ยืนยันผลิต Butadiene ด้วย Single-step production"

"คาดพลาสติกชีวภาพ เติบโตต่อเนื่องทะลุ 30 พันล้านเหรียญ ภายในปี 2020"

"Renmatix จะพัฒนาโรงกลั่นชีวภาพ ระดับการผลิตเชิงพาณิชย์ ภายในปีหน้า"

"Epicerol จาก Solvay ได้รับการรับรองจาก RSB ว่าเป็นวัสดุชีวภาพท่ีมีความยั่งยืน"

"Nanocellulose วัสดมุหัศจรรย์จากชีวมวล"

BioPlastics News ปีที่ 6 ฉบบัที่ 2 วนัที่ 16 มกราคม 2559

http://plastic.oie.go.th หน้า 2

"ตลาดเคมีภัณฑ์ชีวภาพยังเติบโตต่อเนื่องจนถึง ป ี2020" จากรายงานที่มชีื่อว่า Renewable Chemicals Market - Alcohols (Ethanol, Methanol),

Biopolymers (Starch Blends, Regenerated Cellulose, PBS, Bio-PET, PLA, PHA, Bio-PE, and Others), Platform Chemicals & Others - Global Trends & Forecast to 2020 ได้สรุปว่าเคมีภัณฑ์ชีวภาพจะเข้ามามบีทบาทในตลาด ซ่ึงจะช่วยลดการพึ่งพาน ามันฟอสซิลและช่วยปรับพอร์ตลิโอของการกระจายวัตถดุิบในการผลิตด้วย ส าหรับในเปล่ียนแปลงฐานของวัตถดุิบในการผลิตจากน ามันฟอสซิลเป็นวัตถุดิบหมุนเวียนนั น ถือได้ว่าเป็นไปในทางทีไ่ด้ประโยชน์ประเทศ เน่ืองจากจะช่วยลดการพึ่งพาน ามันฟอสซิลที่มาราคาผันผวนเป็นอย่างมาก และยังช่วยลดการปล่อยก๊าซเรอืนกระจก ในรายงานฉบับนี ได้รวมการวเิคราะห์แนวโน้มด้านการตลาดตามพฤติกรรมของผู้เล่นในตลาด ซ่ึงรวมถึงการก าหนดปัจจัยผลักดัน ปัจจัยฉุดรั ง โอกาส ประเด็นร้อน และปัจจัยสู่ความส าเร็จ สามารถอ่านรายงานได้ที่ www.marketsandmarkets.com

จากการเติบโตของบริษัทผู้ผลิตวัสดุคอมโพสติจากไม้และเส้นใยธรรมชาติ ซึ่งได้ถูกน าไปใช้ในหลากหลายการใช้งาน เช่น กรอบนาฬิกา ของเล่น หวี ถาด เปน็ต้น ขณะนี วสัดุคอมโพสิตนี ก าลังไดร้ับความนยิมจากผู้บรโิภคมากขึ นเรื่อยๆ เนื่องจากรูปลกัษณ์ที่มีความโดดเด่นและมีเอกลักษณ์ และให้ความรู้สึกว่าเป็นสินค้าที่มีคณุภาพ การน าไม้และเส้นใยมาใช้ในการผลิตเป็นสินค้า เป็นการช่วยลดภาระทางสิง่แวดล้อม เนื่องจากผลิตภัณฑม์ีฟตุพริ นต์น้อยลง ในเดือนพฤศจิกายน ทางบริษัท Tchibo ไดผ้ลิตนาฬิกาหัวเตยีงจากวัสดุคอมโพสิตจากไม้ และอีกสองสัปดาห์ บริษัทผลิตของเล่นจากประเทศไทย ได้ผลิตของเล่นท่ีใช้วัสดุคอมโพสิตจากไม้และใช้ยางเป็นสารเติม (Filler) ซึง่ท าให้มีผิวสัมผัสนุม่มือ และในรายงานผลการศึกษายังมีบริษัทอื่นๆ ในประเทศจีนและในประเทศเยอรมันอีกด้วยที่ไดผ้ลิตสินค้าจากวัสดุคอมโพสิตจากไม้ นอกจากนี Nova-Institute ได้จดังาน “Sixth WPC & NFC Conference” ในวันท่ี 16 – 17 ธันวาคม 2015 ในเมือง Cologne ประเทศเยอรมัน ซึ่งจะมีผูเ้ขา้ร่วมกว่า 300 รายทั่วโลก สามารถอ่านเพิ่มเติมได้ที่ www. http://bio-based.eu/

อ้างอิงจาก: Bioplastics Magazine

"Nova-Institute ตีพิมพ์ผลการศึกษาด้านตลาดวัสดุคอมโพสิตจากไม้และเส้นใยธรรมชาติ"

BioPlastics News ปีที่ 6 ฉบบัที่ 2 วนัที่ 16 มกราคม 2559

http://plastic.oie.go.th หน้า 3

"Genomatica และ Braskem ยืนยันผลิต Butadiene ด้วย Single-step production" บริษัท Genomatica และ Braskem ได้ประกาศว่าความส าเร็จของการผลิต Butadiene ใน

ระดับห้องปฏิบตัิการ ท่ีได้เริ่มต้นการทดสอบการผลิตตั งแต่ เดือน มถิุนายน 2015 ส าหรับกระบวนการผลตินั นเป็นแบบการผลิตขั นตอนเดยีว โดยใช้วัสดุชีวภาพเป็นวัตถุดิบ ท่ีได้ประกาศความร่วมมือในการพัฒนาตั งแต่เดอืนธันวาคม ปี 2013 Butadiene เป็นวตัถุดิบที่ส าคัญในการผลิตยางรถยนต์ อุปกรณ์อิเลก็ทรอนิกส์ รองเท้า พลาสติก ยางมะตอย วัสดุก่อสร้าง และกาว ซึ่งคาดการณ์ว่าจะมีความต้องการใช้กว่า 20 พันล้านปอนด์ทั่วโลก และการผลติ Butadiene ด้วยวัสดุชีวภาพก็ถือได้ว่าเป็นการผลิตสินค้าท่ีมีความยั่งยืน เนื่องจากปล่อยมลพิษน้อยกว่า สามารถอ่านเพิ่มเติมไดท้ี่ www.genomatica.com/news

อ้างอิงจาก: Bioplastics Magazine

"คาดพลาสติกชีวภาพ เติบโตต่อเนื่องทะลุ 30 พันล้านเหรียญ ภายในปี 2020" ล่าสดุบริษัทวิจัยด้านการตลาด Allied Market Research ที่มีช่ือว่า World Bioplastics Mar-ket Opportunities and Forecast 2014 – 2020 รายงานว่ามูลค่าตลาดส าหรับพลาสติกชีวภาพท่ัวโลก จะมีมลูค่ากว่า 30.8 พันล้านเหรียญ ภายในปี 2020 ซึ่งมีอัตราการเติบโตกว่า 14.8% ต่อปี ในช่วงปี 2015 – 2020 ส าหรับผลติภณัฑ์จากพลาสติกชีวภาพ ที่เป็นผลติภณัฑ์ที่มีอายุการใช้งานนานหรือบรรจุภณัฑ์ประเภทแข็งแรง คาดว่าจะมมีูลค่าเป็น 40% ของมูลค่าตลาดทั งหมด พลาสติกชีวภาพประเภท Drop-in จะเป็นผู้น าในตลาด เช่น Bio-PE, Bio-PET 30, Bio-PA และอื่นๆ เป็นต้น ต่อไปจนถึง 2020 โดย Bio-PET 30 จะมีอัตราการเติบโตสูงสุด สามารถอ่านเพิ่มเตมิได้ที่ https://www.alliedmarketresearch.com

BioPlastics News ปีที่ 6 ฉบบัที่ 2 วนัที่ 16 มกราคม 2559

http://plastic.oie.go.th หน้า 4

"Renmatix จะพัฒนาโรงกลั่นชีวภาพ ระดับการผลิตเชิงพาณิชย์ ภายในปีหน้า" บริษัท Renmatrix Inc. ผู้พัฒนาเทคโนโลยีการผลิตวัสดุชีวภาพจากเซลลูโลส ประกาศว่าจะ

พัฒนาโรงกลั่นชีวภาพระดับการผลิตเชิงพาณิชย์แห่งแรกในปีหนา้ และจะท าการทดสอบการผลิตกบับริษัทร่วมทุนซึ่งขณะนี ยังไม่เปดิเผยว่าเป็นบริษัทใด ซึ่งอาจจะท าการตั งโรงงานในสหรัฐอเมริกา ยุโรป หรือในเอเชีย นาย Duncan Cross รองผู้อ านวยการด้านการพัฒนาธุรกิจ กล่าว ส าหรับการผลิตน าตาลจะอยู่ในช่วง 100000 – 300000 ตันต่อปี ส าหรับเทคโนโลยีของ Ren-matrix นั นจะใช้ไอน าความดันสูงในการย่อยชิ นไม้และชีวมวลอื่นๆ ให้เป็นน าตาลก่อนท่ีจะน าไปผลิตเป็นวัสดุชีวภาพ เช่น พลาสตกิชีวภาพ และเชื อเพลิงชีวภาพ ส าหรับเซลลโูลสที่มาจากพืชที่ไม่ใช่อาหารนั นค่อนข้างที่จะท าใหย้่อยสลายได้ยาก แต่เซลลูโลสจากข้าวโพดและอ้อยนั นย่อยสลายได้ง่ายกว่าและใหไ้ฟเบอร์ทีม่คีวามแข็งแรงมากกว่าด้วย Cross ได้กล่าวอีกว่า ด้วยเทคโนโลยีของ Renmatrix สามารถแข่งขันได้แม้ราคาน ามันอยู่ท่ีระดับ 50 เหรยีญต่อบาร์เรล อย่างไรก็ตาม ทีร่ะดับ 30 เหรยีญต่อบาร์เรล ก็ยังสามารถแข่งขันได้หากสามารถพัฒนาสินค้าท่ีมีมูลค่าสูงไดจ้ากลิกนิน

บริษัท Advanced Biochemical Thailand (ABT) ซึ่งเป็นบริษัทในเครือของบริษัท Solvay ได้ประกาศว่า ล่าสุดได้รับการรบัรองจาก Roundtable on Sustainable Biomaterials (RSB) ส าหรับการผลิต Epicerol Epicerol เป็นสารเคมีตัวกลางชีวภาพส าหรับการผลติเคมภีณัฑ์ เม็ดพลาสติกชีวภาพ และเคมีภณัฑ์ประเภทอื่นๆ รวมถึงน าไปผลิตเป็น Epoxy Resins ส าหรับการเคลือบผิวและน าไปผลิตเป็นวัสดุคอมโพสิตด้วย การรับรองนั นครอบคลมุไปถึง Epichlorohydrin ซึ่งเป็นเคมีชีวภาพ ที่ใช้นวัตกรรมเทคโนโลยีการผลิตของ Solvay โดยผลิตจากกลีเซอรอลที่ไดจ้ากน ามันพืชที่ใช้ผลิตเชื อเพลิงไบโอดีเซลและการผลิตโอลิโอเคม ี การไดร้ับการรับรองจาก RSB นั นถือได้ว่า ต้องเป็นเคมภีัณฑ์ท่ีให้ประโยชน์ต่อสิ่งแวดล้อมและเป็นเคมภีัณฑ์ที่ท าให้เกดิความยั่งยืนอย่างแท้จริง สามารถอ่านเพิ่มเติมได้ที่ www.rsb.org

อ้างอิงจาก: Bloomberg, Bioplastics Magazine

"Epicerol จาก Solvay ได้รับการรับรองจาก RSB ว่าเป็นวัสดุชีวภาพที่มีความยั่งยืน"

BioPlastics News ปีที่ 6 ฉบบัที่ 2 วนัที่ 16 มกราคม 2559

http://plastic.oie.go.th หน้า 5

ชั น 11 อาคารเอนเนอร์ยี่ คอมเพล็กซ์ 555/2 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900

โทรศัพท์ : 02-537-0440 โทรสาร : 02-537-0449 เว็บไซต์ : http://www.ptit.org

สถาบันปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย

เรียบเรียงโดย จัดท าโดย

อาคารส านักพัฒนาอุตสาหกรรมสนับสนนุชั น 2 ซอยตรีมิตร ถนนพระพราม 4 แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110

สถาบันพลาสติก

BIOPlastics News เป็นวารสารรายปักษ์ที่จัดท าขึ นเพื่อเสนอขอ้มูลข่าวสารด้านไบโอพลาสติก ที่มีการรวบรวมและเรียบเรียงจากแหล่งต่างๆ เพื่อให้เกิดความสะดวกต่อผู้ใช้งานในเวป็ไซต์ http://plastic.oie.go.th ทั งนี ทางเว็ปไซต์ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องหรือมีส่วนได้ส่วนเสียกับแหล่งข่าว จึงขอสงวนสิทธิ์ที่จะไม่รับผิดชอบต่อความเสียหายไม่ว่าทางตรงหรือทางอ้อม ทีเ่กี่ยวเนื่องหรือเป็นผลสืบเนื่องจากการน าข่าวหรือข้อมูลในขา่วไปใช ้

Disclaimer

โทรศัพท์ : 02-391-5340-3 โทรสาร : 02-712-3341 เว็บไซต์ : http://www.thaiplastics.org

พ้ืนที่โฆษณาบริษัทของท่าน ฟรีไม่มีค่าใช้จ่าย

สนใจติดต่อ 02-537-0440 #407

หรือ Email chayanat@ptit.org

Recommended