(NGOs) oµ Å 7 & G U H V H U Y H ·Í ¤ J K W...

Preview:

Citation preview

การศึกษาแหลงเงินทุนและวิเคราะหผลการดําเนินงานขององคกรไมหวังผลกําไร (NGOs)

ในกลุมเพื่อการแกไขปญหาและการวิจัยดานสุขภาพ

อัจฉรา สายสุวรรณ

การศึกษาคนควาดวยตนเองเปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการเงิน

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยหอการคาไทย ปการศึกษา 2551

ลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยหอการคาไทย

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

การศึกษาแหลงเงินทุนและวิเคราะหผลการดําเนินงานขององคกรไมหวังผลกําไร (NGOs)

ในกลุมเพื่อการแกไขปญหาและการวิจัยดานสุขภาพ

นางสาวอัจฉรา สายสุวรรณ

การศึกษาคนควาดวยตนเองเปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการเงิน

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยหอการคาไทย ปการศึกษา 2551

ลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยหอการคาไทย

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

หัวขอการศึกษาคนควาดวยตนเอง การศึกษาแหลงเงินทุนและวิเคราะห ผลการดําเนินงานขององคกรไมหวัง ผลกําไร (NGOs) ในกลุมเพ่ือการ แกไขปญหาและการวิจัยดานสุขภาพ

ชื่อผูศึกษา นางสาวอัจฉรา สายสุวรรณ

ปริญญา บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต

สาขาวิชา การเงิน

อาจารยที่ปรึกษา อาจารย.ดร. นงนภัส แกวพลอย

ปการศึกษา

2551

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยหอการคาไทยอนุมัติใหนับการศึกษาคนควาดวยตนเองเปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาการเงิน .....................................ผูอํานวยการหลกัสูตร (อาจารย ดร. พีรพงษ ฟูศิริ)

.....................................ผูอํานวยการสาขา (อาจารย ดร. วรรณรพี บานชื่นวิจิตร)

คณะกรรมการสอบการศึกษาคนควาดวยตนเอง

.....................................ประธานกรรมการ (อาจารย ดร. วรรณรพี บานชื่นวิจิตร) .....................................กรรมการ (อาจารย ผศ. สิริวรรณ โฉมจํารูญ) .....................................อาจารยที่ปรึกษา (อาจารย ดร. นงนภัส แกวพลอย)

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

หัวขอการศึกษาคนควาดวยตนเอง การศึกษาแหลงเงินทุนและวิเคราะห ผลการดําเนินงานขององคกรไมหวัง ผลกําไร (NGOs) ในกลุมเพ่ือการ แกไขปญหาและการวิจัยดานสุขภาพ

ชื่อผูศึกษา นางสาวอัจฉรา สายสุวรรณ

ปริญญา บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต

สาขาวิชา การเงิน

อาจารยที่ปรึกษา อาจารย ดร. นงนภัส แกวพลอย

ปการศึกษา 2551

_______________________________________________________________________

บทคัดยอ

ศึกษาแหลงเงินทุนและวิเคราะหผลการดําเนินงานขององคกรไมหวังผลกําไร (NGOs) ในกลุมเพ่ือการแกไขปญหาและการวิจัยดานสุขภาพ เพ่ือจัดหาเงินทุนสนับสนุนชวยเหลือโครงการดานสุขภาพจากผูใหทุนหลักในตางประเทศเพื่อนํามาชวยเหลือแกไขดานสุขภาพในประเทศไทย โดยงานวิจัยนี้ไดใชขอมูลโครงการปองกันแกไขปญหาวัณโรคขององคกรที่รับทุนสนับสนุนจากกองทุนโลก ในปงบประมาณ 2550

วัตถุประสงคเพ่ือประเมินประสิทธิภาพการดําเนินโครงการ ไดแก งบประมาณของ

โครงการตามวัตถุประสงค กับเปาหมายตามแผนงาน รวมถึงกลุมเปาหมายที่ไดรับประโยชนจากโครงการ การจัดสรรงบประมาณ ความพึงพอใจของเกี่ยวกับกระบวนการบริหารจัดการ การใหบริการทรพัยากรและการสนับสนุน และความตองการการไดรับการพัฒนาขององคกรไมหวังผลกําไร เพ่ือนํามาปรับใชกับแผนงบประมาณ เน่ืองจากโครงการใชหลักการดําเนินงานแบบ Performance Base Funding และใชเครื่องมือ Balance Scorecard โดยนํามาใชวัดผลประสิทธิภาพการใชเงินตามมุมมองดานตางๆของโครงการเพื่อนํามาวิเคราะหหาวิธีแกไขปญหาเพ่ือใหงานมีประสิทธิภาพและใชเงินงบประมาณใหเปนไปตามเปาหมายใหไดครบถวนมากทีส่ดุ

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

จากการศึกษาพบวา จากจํานวนงบประมาณของโครงการดานวัณโรคป 2550 จํานวน

21 ลานบาท สามารถจัดสรรสนับสนุนใหกับโครงการขององคกรไมหวังผลกําไร กระจายในทุกพ้ืนที่ที่รวมโครงการของประเทศไทย ทั้งหมด 4 เขตจังหวัด 5 พ้ืนที่ ประสบความสําเร็จตามเปาหมายวัตถุประสงคของโครงการ แตงบประมาณใชไปต่ํากวาเกณฑที่ตั้งไว ทําใหตองศึกษาถึงสาเหตุของขอบกพรอง เพ่ือปรับการบริหารเงินทุนที่ไดรับ โดยสวนแรก การวัดผลงานและระบบการวัดผลประสิทธิภาพการดําเนินงาน โดยตัวชี้วัดผลงานหลักเชิงดุลยภาพ (Balanced Scorecard) โดยใชแบบสอบถาม ในการเก็บขอมูลจากกลุมตัวอยางเพื่อนํามาประกอบการประเมินผลความพึงพอใจของการดําเนินโครงการ สวนที่สองเปนการศึกษาวิธีวัดประสิทธิภาพจากผลการดําเนินงาน (Performance Base Funding – Key Performance Indicators) ใชแผนปฏิบัติงานตามกิจกรรม (Action Plan) และแผนการใชงบประมาณ กําหนดเปาหมายเปนตัวชี้วัด (Indicators) มาใชในการประเมินผล พบวามีการดําเนินงานบางกิจกรรมอาจไมไดมีการเบิกจาย ในเวลาทํากิจกรรมนั้น เชน การเขารวมการฝกอบรมบางชวงเวลาไมไดมีการจัดกิจกรรมตามแผนขึ้นจริง ทําใหงบประมาณในหลายๆโอกาสไมไดถูกใชไป และสาเหตุหลักอีกประการคือ อัตราการหมุนเวียนของบุคลากรสูงเกินไปเกิดชวงเวลาผูประสานงานคนเกาลาออก แตยังไมสามารถหาผูประสานงานคนใหมเขาทําหนาที่แทน ทําใหองคกรไมไดใชจายเงินเปนไปตามเปา จากตารางตัวชี้วัดประสิทธิผลจํานวนผูปวยตามหมวดจะเห็นวาความสําเร็จในรอบปนี้ มากกวาเกณฑที่ตั้งไวเกือบทั้งหมดจาก 5 หัวขอแรก ยกเวน หัวขอจํานวนของผูตองสงสัยที่ถูกสงตอไปรักษายังจุดรักษาโรคจุดอ่ืนตอได = 78% และ หัวขอจํานวนของชาวตางดาวที่ไดเขารับการอบรมทักษะการรักษาโรคเบื้องตนและจะทําการเผยแพรการปองกันทําประสิทธิผล = 98% จากเปาหมายโครงการที่วางไว ถือวาประสบผลสําเร็จ

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

กิตติกรรมประกาศ

การศึกษาคนควาดวยตนเองเร่ืองน้ี สําเร็จดวยความกรุณาจาก อาจารย ดร. นงนภัส

แกวพลอย อาจารยที่ปรึกษาการศึกษาคนควาดวยตนเอง ที่ไดใหความกรุณาเสียสละเวลาในการใหความรู คําแนะนํา และคําปรึกษาที่มีประโยชน รวมถึงการตรวจสอบและใหแนวคิดในการรแกไขขอบกพรองตางๆ ซึ่งผูเขียนขอขอบพระคุณเปนอยางสูงไว ณ โอกาสนี้

ขอขอบพระคุณอาจารย ดร.วรรณรพี บานชื่นวิจิตร และอาจารย ผศ.สิริวรรณ โฉมจํารูญ

กรรมการคนควาดวยตนเองที่ไดใหขอเสนอแนะที่มีคุณคาตอการศึกษา พรอมทั้งตรวจสอบและแกไขในขอผิดพลาดตางๆ ที่เกิดขึ้น อันสงผลใหการศีกษาคนควาดวยตนเองฉบับนี้สมบูรณมากยิ่งขึ้น

ขอขอบพระคุณคณาจารย หลักสูตร CEO-MBA มหาวิทยาลัยหอการคาไทย ที่ไดให

ความรูและความเมตา ขอขอบคุณเจาหนาที่บัณฑิตวิทยาลัย รวมถึงเจาหนาที่หองสมุดที่ไดใหความชวยเหลือบริการประสานงานดานตางๆ ตลอดเวลาที่ศึกษาอยู และขอขอบคุณพ่ีๆเพ่ือนนักศึกษาปริญญาทุกทานที่เรียนในหองที่คอยพลัดกันเปนกําลังใจ และความชวยเหลือตลอดระยะเวลาที่ศีกษา

ทายที่สุดนี้ หากมีสิ่งใดขาดตกบกพรองหรือผิดพลาดประการใด ผูเขียนขออภัยเปนอยาง

สูงในขอบกพรองและผิดพลาดนั้น และหวังวาการคนควาอิสระดวยตนเองนี้จะเปนประโยชนบางไมมากก็นอยสําหรับองคกรไมหวังผลกําไรในกลุมและผูที่สนใจ

ลิข

สิทธ์ิ ม

หาวิทยา

ลัยหอก

ารค้า

ไทย

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

สารบัญ

หนา

บทคัดยอ ........................................................................................................................ ง

กิตติกรรมประกาศ .......................................................................................................... ฉ

สารบัญ ........................................................................................................................... ช

สารบัญตาราง ................................................................................................................ ฌ

สารบัญภาพ ................................................................................................................... ญ

บทที ่ 1. บทนํา .................................................................................................................. 1 ความเปนมาและความสําคญัของปญหา ........................................................... 1 วัตถุประสงคของการศึกษา .............................................................................. 5 ขอบเขตการวจัิย ............................................................................................. 5 คํานิยามศัพท .................................................................................................... 5 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ .............................................................................. 6

2. แนวคิด ทฤษฏี และงานวิจัยที่เกี่ยวของ ................................................................ 7

แนวคิดเกี่ยวกับการดําเนินงานโดยวิธ ีPerformance Base Funding .................. 7 แนวคิดการและทฤษฎีการพัฒนาโดยใชวิธี Balanced Scorecard .................. 12 งานวิจัยที่เกี่ยวของ ....................................................................................... 16

3. วิธีการดําเนินการวิจัย ......................................................................................... 20

ประชากรและกลุมตัวอยาง............................................................................... 20 ตัวแปรในการวิจัย ......................................................................................... 20 เครื่องมือที่ใชในการวิจัย ................................................................................ 21

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

สารบัญ (ตอ)

หนา

บทที ่ การเก็บรวบรวมขอมูล ................................................................................... 21 การวิเคราะหขอมูล ........................................................................................ 22 การนําเสนอขอมูล ......................................................................................... 22

4. ผลการวิเคราะหขอมูล ......................................................................................... 23

ผลการศึกษา ................................................................................................. 23 ผลการวิเคราะหการวัดประสิทธิภาพการดําเนินงานโดยใช Balance Scoredcard.24 ผลของวิธีวัดประสิทธิภาพการดําเนินงานโดย Performance Base Funding…….26

5. สรุปผลการวิจัย อภิปรายผล และขอเสนอแนะ ..................................................... 30

สรุปผลการศกึษา .......................................................................................... 31 อภิปราย ....................................................................................................... 32 ขอเสนอแนะ ................................................................................................. 33

บรรณานุกรม ................................................................................................................ 35

ภาคผนวก ..................................................................................................................... 36

ก นิยามขององคกรไมหวังผลกําไร (NGO) ........................................................ 37

ข แบบประเมินความพึงพอใจการดําเนินโครงการสนับสนุนใหองคกรไมหวังผลกําไร

ใหมีสวนรวมในการปองกันแกไขปญหาวณัโรค................................................. 40

ค มุมมองในการดําเนินงานระหวางองคกรมุงหวังผลกําไรและองคกรไมหวังผลกําไร

ในการวิจัยดานสุขภาพ .................................................................................... 42

ง แผนปฏิบัติการ (Action Plan) ประจําป 2550 .................................................. 43

จ ภาพตัวอยางงบการเงินขององคกรไมหวังผลกําไร............................................ 46

ฉ ภาพแสดงงบประมาณที่สนับสนุนโครงการในประเทศไทยขององ....คกรไมหวังกําไร

แหงหน่ึงกับการใชไปของเงินทุนในแตละโครงการ ......................................... 47

ประวตัิผูศึกษา .............................................................................................................. 48

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

สารบัญตาราง

ตารางที ่ หนา 1 แสดงงบประมาณจากรัฐบาลเพื่อสนับสนุนองคกรไมหวังผลกําไร ....................... 2

2 สรุปประเภทและจํานวนองคการเอกชนตางประเทศ .......................................... 3

3 แสดงจํานวนองคกรที่จดทะเบียนและไมจดทะเบียนในประเทศไทย .................... 8

4 ขอมูลมุมมอง 4 ดานของ Balance Scorecard โรงพยาบาลสมิตเิวช ................ 15

5 ผลของตัวชีว้ัดจํานวนผูปวยตามเปาหมายของโครงการป 2550 ....................... 28

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

สารบัญภาพ

ภาพที่ หนา 1 แสดงแหลงเงินทุนของกองทุนโลกที่ไดสนับสนุนโครงการดานสุขภาพในไทย ....... 4

2 ตัวอยางแสดงเปรียบเทียบประสิทธิภาพการจัดการเงิน และ ผลประสิทธิภาพ

ความสําเร็จทีว่ัดได ............................................................................................. 9

3 องคประกอบที่สําคัญของระบบงบประมาณแบบมุงเนนผลงานตามยุทธศาสตร ... 11

4 แสดงผลประสิทธิภาพการดําเนินงานโครงการกับเงินงบประมาณใชไป .............. 29

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

บทที่ 1 บทนํา

ความเปนมาและความสําคัญของปญหา

ปญหาบนโลกเกิดขึ้นมากมาย ซึ่งในแตละประเทศรัฐบาลจะเปนตัวหลักในการแกไขปญหาในแตละประเทศของตน ซึ่งก็มีหลายประเทศที่ประสบปญหามากมาย ไมวาจะเปน โรคติดตอ ปญหาความขาดแคลน ปญหาความยากไร สําหรับประเทศที่ยากจน โดยเฉพาะปญหาเรื่องโรคติดตอรายแรงซึ่งสงผลรุกรามไปยังประเทศอ่ืนในโลกได ดังน้ันองคกรนานาชาติที่เปนหนวยงานกลางของโลก ไมวาจะเปน UNHCR, USAID, Canada Fund จึงมีการรณรงคชวยเหลือแกไข โดยไดสงมอบเงินสนับสนุนชวยเหลือไปยังประเทศตางๆที่ประสบปญหาแตขาดแคลนเงินทุนสนับสนุนในประเทศ

โดยหนวยงานชวยเหลือจะจัดสงหนวยงานขององคกรของตนไปตั้งในประเทศนั้นๆ เพื่อ

แกไขปญหา เชน Global Fund เนนดูแลแกไขปญหาดานโรคเอดส มาลาเรีย และวัณโรค ซึ่งไดจัดโครงการเพื่อชวยเหลือไปยังประเทศตางๆที่ขอเงินสนับสนุนซึ่งประเทศไทย กระทรวงสาธารณสุขโดยกรมควบคมุโรค ก็ไดรับการสนับสนุนทั้งดานวจัิยสุขภาพ และการสนับสนุนรณรงคปองกันและแกไขดานโรคเอดส แตมีอีกหลายหนวยงานเปนกลุมองคกรยอย ที่ไดเขามาชวยเหลือดานสุขภาพ ซึ่งองคกรในตางประเทศไดสนบัสนุนเงินทุนใหกับประเทศไทยโดยจัดตั้งขึ้นในประเทศไทยเองดวย โดยมีหลายๆ หนวยงาน และไดเรียกกลุมเหลานี้วา องคกรไมหวังผลกําไร

องคกรไมหวังผลกําไร หรอื เอ็นจีโอ (NGOs) มาจากคําเต็มวา Non-Governmental

Organizations ซึ่งหมายถึง องคกรที่ไมใชรัฐ องคกรพัฒนาเอกชน ดําเนินงานโดยวิธีการบริหารจัดการแหลงเงินทุน โดยยึดหลักวัดประสิทธภิาพจากผลการดําเนินงาน Performance Base Funding ใหเปนไปตามงบประมาณที่ตั้งไว ทั้งสวนของกิจกรรมการดําเนินงานและการใชจายไปของเงินในโครงการจะตองสอดคลองไปในทิศทางเดียวกัน องคกรไมหวังผลกําไรที่ตั้งขึ้นอยูในประเทศตางๆทัว่โลก ซึ่งหลายองคกรก็ไดมีสาขาอยูในประเทศไทยดวย

วัตถุประสงคในการดําเนินงานขององคกรไมหวังผลกําไรมีหลายประเภท ดังตอไปน้ี

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

2

1. ชวยเหลอื ใหการศึกษา และพัฒนาเด็กและเยาวชน 2. ฟนฟูสมรรถภาพผูติดยาเสพติด 3. ชวยเหลอืผูสูงอายุ ใหมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น 4. ชวยเหลอืฟนฟูสมรรถภาพความพิการ และคนพิการซ้ําซอน 5. สนับสนุนขอมูล ขาวสาร สงเสริมอุตสาหกรรมการทองเที่ยว ศูนยขอมูลขาวสาร คนควาวิจัย 6. สนับสนุนดานสิทธิมนุษยชน ชวยเหลือดานมนุษยธรรม บรรเทาทุกข ดูแลชนกลุมนอย ชวยเหลือผูอพยพ 7. สงเสริมคณุภาพชีวิตผูติดเชื้อเอดส 8. พัฒนาดานสาธารณะสขุขั้นพ้ืนฐาน 9. สงเสริมการใชทรัพยากรธรรมชาต ิ หยุดยั้งการทําลายสิ่งแวดลอม อนุรักษสัตวปา สงเสริม และใชพลงังานอยางมีประสิทธิภาพ 10. ชวยเหลือผูยากจนใหชวยเหลือตนเองได 11. สงเสริมจริยธรรม 12. พัฒนาอาชีพและทรัพยากรมนุษย 13. สงเสริมวัฒนธรรมดั้งเดิม กิจกรรมสาธารณะกุศล และภูมิปญญาชาวบาน 14. สงเสริมความรู ความเขาใจในศาสนาอิสลาม 15. สนับสนุนกิจกรรมของกลุมเยาวชนและยวุมุสลิมในประเทศไทย 16. ชวยเหลือในการเก็บกูระเบิด และชวยเหลือผูประสบภัยจากทุนระเบิด

ตารางที ่1 แสดงงบประมาณจากรัฐบาลเพื่อสนับสนุนองคกรไมหวังผลกําไร (หนวย: ลานบาท)

ที่มา: เวบไซด กระทรวงมหาดไทย, Website: http://www.moi.go.th

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

3

ป 2523-2526 เอ็นจีโอไดขยายตวัมากขึ้น โดยไดรับการสนับสนุนดานเงินทุนจากเอ็นจีโอตางประเทศ ไดแก องคกร Global Fund, USAID ญี่ปุน ออสเตรเลีย หรือประเทศอ่ืน ๆ ซึ่งเอ็นจีโอ ตางประเทศเหลานี้ จะไดรับเงินทุนสนับสนนุจากรัฐบาลประเทศสวนหนึ่ง และอีกสวนหนึ่งเปนเงินบริจาคที่ไดรับจากการจัดกิจกรรมหารายไดการกุศล เพ่ือนําไปสงเสริมพันธมิตรในประเทศที่รฐับาลใหการชวยเหลือผานรฐับาล ตารางที ่2 สรุปประเภทและจํานวนองคการเอกชนตางประเทศ

ที่มา: Website: thaingo.org.

สําหรับองคกรไมหวังผลกําไร (NGO) ที่ดําเนินการอยูในหลายๆ ประเทศในโลกขณะนี้ ไมวาจะเปน UNHCR, WHO, Global Fund และอีกหลายแหง ซึ่งสวนใหญดําเนินงานเพื่อชวยเหลือดานการแกไขปญหาในดานตางๆ มีทั้งทํางานกับผูดอยโอกาสตางๆ เชน เด็กเรรอน พิการเอดส คนชรา ผูหญิง ที่ถูกใชความรุนแรง แรงงานตางดาว ชนกลุมนอย ฯลฯ หรือบางก็ทํางานตามประเด็นตางๆ เชน ประเด็นสิ่งแวดลอม ประเด็นดานสิทธิมนุษยชน หรือบางก็ทํางานชุมชน ติดพื้นที่ อยางเชน องคกรในชุมชนตางๆ ทั่วประเทศ ที่มีลักษณะทํางานทั้งงาน สังคมสงเคราะห และ งานพัฒนา รวมถึง งานดานการศึกษา และยกระดับองคกรชุมชน คนทํางานสวนใหญไดรับเงินเดือน แตบางคนก็ทํางานในลักษณะอาสาสมัครไมมีคาตอบแทน

การบริหารจัดการงบประมาณในองคกรไมหวังผลกําไรเปนสิ่งสําคัญที่จะตองแสดงถึงความโปรงใส เพ่ือสรางความเชื่อม่ันในเรื่องของการบริหารเงินทุน จากการยอมรับของโครงการที่ผานมาทางกระทรวงสาธารณสุขของประเทศไทย หลายโครงการดานสุขภาพที่ไดรับเงินสนับสนุนจากกองทุนโลก Global Fund (GF) :ซึ่งอาจมอบเงินผานผูสนับสนุนรองไดอีกทางเชนกัน การนําเงินมาใชบรรลุตามเปาหมายและแจงกลับสู Donor หรือ ผูใหเงินกองทุนหลัก เปนสิ่งสําคัญ เพื่อใหทราบวาเงินงบประมาณทุกหนวยที่ไดสงมาชวยเหลือ มีที่มาและเอกสาร

ประเภทของการเขามาดําเนินงานของ องคการเอกชนตางประเทศ

จํานวน (องคการ)

องคการเอกชนตางประเทศที่ไดรับอนุญาตใหเขามาดําเนินงานในประเทศไทย 20 องคการเอกชนตางประเทศที่ไดรับอนุญาตใหเขามาจัดตั้งสํานักงานภูมิภาคในประเทศและดาํเนินงานในประเทศอื่น

19

องคการเอกชนไทยที่ไดรับอนุญาตจากคณะกรรมการตามระเบียบกระทรวงแรงงาน

5

รวม 44

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

4

การรับ-จายที่สามารถแสดงใหทราบไดถึงประสิทธิภาพการดําเนินงานไดประโยชนบรรลุตามแผนที่ตั้งไว

ภาพที่1 แสดงแหลงเงินทุนของกองทุนโลกที่ไดสนับสนุนโครงการดานสุขภาพในประเทศไทย

ที่มา: เวบไซดกระทรวงสาธารณสุข,website:http//www.moph.go.th สําหรับขอมูลที่ทําการศึกษาวิจัยน้ี เพ่ือศึกษาถึงการทํางานขององคกรไมหวังผลกําไร

(NGOs) การแสวงหาเงินทุนจากการวิจัยและพัฒนาดานสุขภาพ R&D for Health ตางๆ ในประเทศตางๆ ในโลกนั้น การสนับสนุนเงินทุน คือ ในการดําเนินงานจากที่ไดรับทุน ไดรับการสนับสนุนจากแหลงเงินทุนตางประเทศ ที่ไดเขามาชวยเหลือและดําเนินงานตามโครงการหรือในประเด็นปญหาตางๆในประเทศ แตการศึกษาวิจัยฉบับนี้เนนศึกษาเรื่องของโครงการวัณโรค ในปงบประมาณ 2550

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

5

วัตถุประสงคของการศึกษา

1. เพ่ือศึกษาการพัฒนาประสิทธิภาพการดําเนินงานขององคกรที่ไมหวังผลกําไรจากแหลงเงินทุน และการใชไปของเงินทุนในการดําเนินโครงการตางๆ โดยศึกษาเปรียบเทียบกับรูปธุรกิจ

2. เพ่ือวิเคราะหผลการดําเนินงานตามโครงการ ไดแก จํานวนโครงการ ประเภทโครงการตามวัตถุประสงคกลุมเปาหมายที่ไดรับประโยชนจากโครงการการจัดสรรเงินงบประมาณดานการเงิน จากประเทศตางๆ โดยอางอิงขอมูลจากรายงานกองทุนโลก (Global Fund) ขอบเขตการวิจัย

การศึกษาในครั้งนี้ เปนการประเมิน เฉพาะ ดานงบประมาณ คือ ผูแทนขององคกรแตละองคกรที่ไมหวังผลกําไรดานตางๆที่ไดรับ

งบประมาณสนับสนุนใชจายเปนไปตามเปาของโครงการปองกันแกไขโรคดานวัณโรค ปงบประมาณ 2551

ดานประชากร คือ ผูเขารวมโครงการวิจัย ผูแทนขององคกรแตละองคกรไมหวังผล

กําไร ที่ไดรับงบประมาณสนับสนุนจากโครงการสนับสนุนใหมีสวนรวมในการปองกันแกไขปญหาวัณโรคปงบประมาณ 2551

ดานระยะเวลา เปนการเก็บขอมูลหลังจากครบกําหนดระยะเวลาในการจัดทาํโครงการ

คํานิยามศัพท

องคการไมหวังผลกําไร หรือ “องคกรพัฒนาเอกชน” ในภาษาอังกฤษคือ (Non-Government Organizations: NGOs) มาจากคําเต็มวา Non-Governmental Organizations ซึ่งหมายถึง องคกรที่ไมใชรัฐ อาจหมายถึง องคกรพัฒนาเอกชนแลวยังหมายถึง องคกรอ่ืนๆ อีกมากมายหลายองคกรที่ไมใชหนวยงานของรัฐบาล หรือหนวยงานทางราชการ ดําเนินงานโดยไมหวังผลกําไร ซึ่งอาจหมายถึง บริษัทเอกชน หางรานทั้งหลาย ทั้งปวง ก็นาเรียกวา เอ็นจีโอ

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

6

ไดหมือนกัน แตในความหมายจริงๆ แลวไมใชเพราะบริษัทเปนองคกรที่หวังผลกําไร (Profit Organization) แตทวาองคกรที่จะกลาวถึงเปนองคกรที่ไมหวังผลกําไร

ระบบการวัดผลการปฏิบัติงานดุลยภาพ (Balanced Scorecard) คือ ระบบการวัดผลการดําเนินงานที่คํานึงถึงตัววัดผลที่เปนตัวเงิน เชน งบประมาณ คาใชจาย และตัววัดผลการดําเนินงานที่ไมเปนตัวเงิน เชนความพึงพอใจของพนักงาน โดยมีมุมมองหลักในการดําเนินงาน 4 มุมมอง คือ มุมมองดานการเงิน มุมมองดานลูกคา มุมมองดานกระบวนการภายใน มุมมองดานนวัตกรรมและการเรียนรู ประโยชนทีค่าดวาจะไดรบั

1. ชวยในการประเมินและปรับปรุงการดําเนินงาน และนํามาพัฒนานโยบายการบริหารงบประมาณมาปรับใชในองคกรไมหวังผลกําไร มุงเนนผลงานใหเปนตามแผนการวัดผลประสิทธิภาพดุลยภาพกับเงินงบประมาณที่ไดรับ (Performance Base Funding)

2. เปนแนวทางในการประเมินผลการดําเนินงานและนําไปใชประโยชนในการพัฒนาการสนับสนุนบทบาทองคกรไมหวังผลกําไรอ่ืน ที่มีสวนรวมในการปองกันแกไขปญหาดานสุขภาพตางๆ เพ่ือใหเกิดประโยชนตอประเทศไทย

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

บทที่ 2

แนวคิด ทฤษฏี และงานวิจัยทีเ่ก่ียวของ

แนวคิดและทฤษฏีทีเ่ก่ียวของ

การศึกษาถึงแหลงเงินทุนและวิเคราะหผลการดําเนินงานขององคกรไมหวังผลกําไร ซึ่งเม่ือนํามาเปรียบเทียบกับองคกรธุรกิจมีความคลายกันในเรื่องของเปาหมายขององคกร แตแตกตางกันที่วิธีการประเมิณประสิทธิภาพการบริหารงานอยางชัดเจน ดวยเหตุที่วาองคกรไมหวังผลกําไรดําเนินงานโดยยึดหลัก การวัดผลจากประสิทธิภาพการดําเนินงาน Performance Base Funding เพ่ือใหสามารถออกมาเปนตัวชี้วัดจากตัวเงิน ดังนั้นผูศึกษาไดทบทวนเกี่ยวกับแนวคิด และผลงานวิจัยที่เกี่ยวของ เพ่ือกําหนดกรอบแนวคิด ประเด็น การประเมิน และการสรางเครื่องมือที่เกี่ยวของที่ตองนํามาศึกษา ดังตอไปน้ี

1. แนวคิดเกี่ยวกับการดําเนินงานขององคกรไมหวังผลกําไร (NGOs) โดยวิธี

Performance Base Funding คือ การไดรับการสนับสนุนแหลงเงินทุนโดยวัดจากประสิทธิภาพผลงานเปนหลัก

2. แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการพัฒนาโดยใชตัวชี้วัดผลงานและระบบการวัดผลประสิทธิภาพการดําเนินงาน โดยตัวชี้วัดผลงานหลักเชิงดุลยภาพ (Balanced Scorecard)

3. ผลงานวิจัยที่เกี่ยวของ

แนวคิดเกี่ยวกับการดําเนินงานขององคกรไมหวังผลกําไร (NGOs) โดยวิธี Performance Base Funding คือ การไดรับการสนับสนุนแหลงเงินทุนโดยวดัจากประสทิธิภาพผลงานเปนหลัก องคกรที่ไมหวังผลกําไร (Non-Profit Organization) องคกรที่ไมหวังผลกําไร หมายถึง องคกรที่จัดตั้งขึ้นเพ่ือดําเนินงานที่มีลักษณะ ดังนี้ 1). หนาที่หรือกิจกรรมเพื่อประโยชนและสาธารณประโยชน มิใชเฉพาะกลุม 2). เปนองคกรที่ปกครองตนเอง โดยมีคณะกรรมการเปนผูกําหนดนโยบาย และตัดสินใจในเรือ่ง ตางๆ 3). ไมแสวงหากําไรและไมมีการแบงปนผลประโยชนใหกับสมาชิก

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

8

4). ไมใชองคกรของรัฐ แมจะเปนองคกรที่จัดตั้งขึ้นโดยรัฐหรือไดรับการสนับสนุนจากรัฐก็จะตอง ดําเนินงานอยางเอกเทศ (สํานักงานสถิติแหงชาติ, 2546) ซึ่งสามารถจําแนกตามระบบ The International Classification of Nonprofit Organizations (ICNPO) ไดเปน 11 กลุม โดยมี จํานวนขององคกรทั้งสิ้น 8,903 แหง (ดังแสดงในตาราง 5)

ตารางที ่3 แสดงจํานวนองคกรที่จดทะเบียนและไมจดทะเบียนในประเทศไทย จําแนกตามระบบมาตรฐานสากล ICNPO

กลุมองคกร องคกรจดทะเบียน องคกรไมจดทะเบียน 1. วัฒนธรรมและสันทนาการ 1,870 12 2. การศึกษาวิจัย 1,140 28 3. สุขภาพอนามัย 286 145 4. บริการสังคม สังคมสงเคราะห 1,938 70 5. สิ่งแวดลอม 86 50 6. การพัฒนาเมืองและชนบท 224 100 7. กฏหมาย การรณรงคและ การเมือง 612 68 8. องคกรการกุศลและสงเสริม อาสาสมัคร 411 10 9. กิจกรรมระหวางประเทศ 12 7 10. ศาสนา 942 5 11. การคา วิชาชีพและแรงงาน 885 2

รวม 8,406 497

ที่มา: สถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (2545) รายงานฉบับสมบูรณ โครงการองคกรสาธารณประโยชนในประเทศไทย, กรุงเทพ: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลยั, หนา 21

การบริหารทางการเงินขององคกรไมหวังผลกําไร ระยะสั้น: เพ่ือใหองคการอยูได ระยะยาว: เพ่ือใหองคการเติบโตและสามารถดํารงอยูไดนาน สิ่งที่ตองคํานงึถึง: ความเสี่ยงขององคกรในเรื่องของความโปรงใสในการใชเงิน งบประมาณทาํใหขาดความนาเชื่อถือตอการไดมาของแหลงเงินทุน (ขาดความนาเชื่อถือ ผูใหเงินทุนไมสนับสนุนเงินงบประมาณ)

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

9

สิ่งที่การดําเนินงานขององคกรไมหวังผลกําไรตองคํานึงถึงและปฏิบัต ิ- บริหารสภาพคลอง (Liquidity Management) - บริหารการเติบโต (Growth management) - การจัดการเกี่ยวกับการใชไปของเงินงบประมาณตามโครงการ - ไมคํานึงถึงกําไรที่จะเกิดขึ้น เพราะผลตางที่เกิดขึ้นจากรายรับในปนั้น หัก กับคาใชจายในการ ดําเนินงานในโครงการ จะนําไปบวกกลับเพ่ิมในการมูลคาสินทรัพยใหกับองคกร ซึ่งผล ที่ตามมาอีกประการคือ การที่จะถูกตดังบประมาณที่จะไดรับในปถัดไป เน่ืองจากเงิน งบประมาณปกอนที่ใชไมหมด การวิเคราะหตนทุนและผลประโยชน (Cost/Benefit Analysis) - แนวคิดตามที่โครงการกําหนดประสิทธิผลดี ครบตรงตามเปาหมาย - สรางความนาเชื่อถือ และชื่อเสียง ตัวอยางของการวิเคราะหตนทุนและผลประโยชน - ใช Milestone วัด ประสทิธิภาพการใชเงิน กับ ประสิทธิภาพการปฏิบัติงานตามโครงการที่ ประสิทธิผลสําเร็จตามแตละเปาหมาย ภาพที่ 2 ตัวอยางแสดงเปรียบเทียบประสิทธิภาพการจัดการเงิน และ ผลประสิทธิภาพความสําเร็จที่วัดได

85%

77% 70% 64%

77%

85%

134%

189%

0 Quarter 1

Quarter 4

Quarter 3

Quarter 2

IDS

FIN FIN IDSFIN

IDS

FIN

IDS

100%

80%

60%

40%

20%

Indicator

Financial (Expenditure)

Project milestones (Linked between Finance & Indicator results)

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

10

ข้ันตอนในการจัดหาเงินทุน สวนใหญจะมีขั้นตอนคลายๆกัน คอื

- ประชาสัมพันธโครงการแกสาธารณชน ถึงปญหาดานสุขภาพตางๆ ที่เกิดขึ้นในปจจุบันเพื่อใหสาธารณชนเล็งเห็นถึงปญหาดานสุขภาพตางๆ ที่เกิดขึ้นในโลก และเปนเรื่องที่ทางองคกรกําลังศึกษา วิจัย และจะดําเนินการแกปญหาแกสาธารณชน เพ่ือการตอบรับใหทุน

- การรวบรวมขอมูลเกี่ยวกับโครงการเพื่อเสนอผูมีความประสงคจะบริจาคเงิน

(Donors) เพ่ือสงเคราะห ทั้งในการการวิจัย และ แกไขปญหา ทั้งติดตอประสาน และรวบรวมขอมูลเอกสารใหพิจารณา

- เปนหนวยเบิกจายงบประมาณงบอุดหนุนใหองคกรพัฒนาเอกชนยอย สู

หนวยพื้นที่ที่ประสบปญหาตางๆ ในภูมิภาคและทั่วโลกที่ไดรับการอนุมัติอุดหนุนงบประมาณในแตละป

- เปนหนวยควบคุม กํากับ ตรวจสอบรายงานผลการใชงบประมาณ

ประกอบการเบิกจายงบประมาณตามโครงการ - เปนหนวยในการสนับสนุนทางวิชาการในการพัฒนาศักยภาพองคกรพัฒนา

เอกชนในพื้นที่ ไดแก การสอนเรื่องการออกแบบเขียนโครงการ การจัดทําบัญชีโครงการ การบริหารจัดการโครงการ การเขียนรายงาน เน่ืองจากในหลายพื้นที่ องคกรพัฒนาเอกชนที่ไดรับทุนเปนองคกรขนาดเล็ก กลุมคนที่ทํางานขาดประสบการณในการทําโครงการแตมีความตั้งใจ จึงเปนการสนับสนุน ที่ทําใหองคกรเหลานี้มีความเขมแข็งมีความพอใจในการทํางาน

- เปนหนวยกํากับ ติดตาม ประเมินผลโครงการที่ไดรับทุน และกําหนด

แนวนโยบายการสนับสนุนโครงการในแตละพื้นที่

องคกรไมหวังผลกําไร สามารถแบงออกไดเปน 2 ประเภทใหญๆ คือ

องคกรไมหวังกําไรภาครัฐ (Government Non Profit Organization) เปนการบริหารงานสวนของภาครัฐ เชน กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข โรงพยาบาลของรัฐ

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

11

ภาพที่ 3 องคประกอบทีส่ําคัญของระบบงบประมาณแบบมุงเนนผลงานตามยุทธศาสตร

ที่มา: สํานักงบประมาณ (2547)

องคกรไมหวังกําไรภาคเอกชน (Private Non Profit Organization) ไดแก กองทุนเอกชน มูลนิธิตางๆ มูลนิธิปอเตกตึ้ง กองทุนที่ตางประเทศสนับสนุนเงินทุนชวยเหลือ เชน Global Fund, Canada Fund, World Vision,

องคกรตางประเทศ มีสวนในการหลอเลี้ยงองคกรไมหวังผลกําไรในไทย

การพัฒนาประเทศโดยทัว่ไปจะมีองคกรที่สนับสนุนจาก 3 แหลงคือ รัฐบาล ภาคธรุกิจ และองคกรพฒันาเอกชน ซึ่งไดรับงบประมาณจากการระดมทุนในหลายรูปแบบ เชน การเขียนโครงการขอรับการสนับสนนุจากองคกรแหลงทุนในประเทศหรือตางประเทศ ขอรับบริจาค เปนตน

ในจํานวน 17,000 องคกรพัฒนาเอกชนที่จดทะเบียนถูกตอง มีที่ทํางานอยูในปจจุบัน 950-1,400 องคกร โดยเฉลี่ยแลวตัวเลขประมาณการรายไดขององคกรเหลานี้แตละปรวมกันคือ 1,835,300,742 บาท (งานวิจัยของสถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย) การชวยเหลือจากแหลงทุนตางประเทศ สามารถกระทําได 3 ชองทาง ทั้งผานกรมวิเทศสหการ (สํานักนายกรัฐมนตรี) ผานสํานักงานยอยในประเทศ หรือสถานทูต และจากสํานักงานใหญในตางประเทศใหตรงกับผูขอรับทุน ซึ่งจากรายงานประจําปกรมวิเทศสหการ ระบุวามีองคกรตางประเทศที่ใหการสนับสนุนทุนผานกรมวิเทศสหการ ระหวางป 2532-2542 จํานวน 28 องคกร โดยเฉพาะในป 2537 และ 2539 ที่มีเงินทุนไหลเขามายังประเทศไทยจํานวนมากกวา

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

12

1,000 ลานบาท หรือรอยละ 15.1 และ 15.5 ตามลําดับ จากงานวิจัยของมูลนิธิชุมชนทองถิ่นพัฒนา พบวามูลนิธิไดทํางานพัฒนาชนบทโดยผานองคกรพัฒนาเอกชนระดับรากหญา ใน 4 ภาค ไดทําใหเกิดโครงการพัฒนาขนาดเล็กทั่วประเทศมากกวา 190 โครงการ เกิดงานวิจัยประมาณ 25 เรื่อง โดยที่มูลนิธิไดรับเงินสนับสนุนจากแหลงเงินทุนตางประเทศ เชน CIDA (ประเทศแคนาดา) จํานวน 152 ลานบาท Canada Fund จํานวน 5 ลานบาท มูลนิธิฟอรด (ประเทศอเมริกา) จํานวน 30 ลานบาท โดยที่ มูลนิธิสามารถระดมทุนเพ่ือแกปญหาสิ่งแวดลอม ดานสังคม สุขภาพ อาชีพ และการสงเสริมประชาสังคมไดเปนเงินกวา 250 ลานบาท ภายในเวลา 10 ป โดยรวมกับมูลนิธิที่จัดตั้งขึ้นโดยภาครัฐ เชน มูลนิธิพัฒนาไท กองทุนสิ่งแวดลอม เปนตน แสดงใหเห็นวา องคกรพัฒนาเอกชนบางองคกร มีการเชื่อมโยงและมีกิจกรรมรวมแบบพหุภาคี ซึ่งการรวมมือกันและการเชื่อมโยงทรัพยากรของหลายๆ ฝาย สามารถทําใหเกิดการขับเคลื่อนทางสังคมไดเต็มรูปแบบและมีประสิทธิภาพ

แนวคิดและทฤษฎีเก่ียวกับการพัฒนาโดยใชตวัชีว้ัดผลงานและระบบการวัดผลประสิทธิภาพการดําเนินงาน โดยตัวชี้วัดผลงานหลักเชิงดุลยภาพ (Balanced Scorecard)

ทฤษฏีตัวชี้วัดความสําเร็จแบบสมดุล (Balance Scorecard) เกิดจากความคิดของ แคปแลน ศาสตราจารยทางดานบัญชีแหง Harvard Business School และ นอรตัน ผูกอตั้งและประธานกรรมการ บริษัท Renaissance Solutions และบริษัท Nolan, Norton & Company, Inc ทั้ง Kaplan และ Norton ไดรวมกันพัฒนาความคิดเกี่ยวกับตัวชี้วัดวัดความสําเร็จแบบสมดุล (Balanced Scorecard – BSC) นี้ โดยไดเขียนถายทอดแนวความคิดออกเปนบทความทางวิชาการ เร่ือง “The Balanced Scorecard : Measures that Drive Performance” ลงพิมพในวารสาร Harvard Business Review ฉบับมกราคม – กุมภาพันธ 1992 พรอมๆ กับที่เขียนบทความลงในวารสารนั้นทั้งสองทานไดนําแนวความคิดดังกลาวไปทดลองใชกับบริษัทที่ทั้งสองรับเปนที่ปรึกษาดวย ตอมาทั้งสองทานไดรวมกันพัฒนาแนวความคิดนี้อยางตอเน่ือง ดังจะเห็นไดจากบทความที่เขียนขึ้นอีกสองเรื่อง ไดแก “Putting the Balanced Scorecard to Work” ลงใน Harvard Business Review ฉบับเดือนกันยายน - ตุลาคม 1993 และเรื่อง “Using the Balanced Scorecard as a Strategic Management System” ลงในวารสาร Harvard Business Review ฉบับเดือนมกราคม - กุมภาพันธ 1996 ตอมาทั้งสองไดเขียนหนังสือที่เกี่ยวของโดยตรงกับเร่ืองตัวชี้วัดความสําเร็จแบบสมดุล สองเรื่องคือ (1) The Balanced Scorecard : Translating Strategy into Action” และ (2) The Strategy Focused Organization: How Balanced Scorecard Companies Thrive in the New Business

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

13

Environment” ทั้งสองเลมน้ีจัดพิมพ โดย Harvard Business School Press (วัฒนา พัฒนพงศ. 2547 : 40) วัฒนา พัฒนพงศ (2547: 44) กลาววา BSC จะประกอบดวยดัชนีวัดความสําเร็จของฝายหรือดานที่มีความสําคัญตอความสําเร็จและความเจริญเติบโตอยางยั่งยืนขององคกรครบทุกฝายหรือทุกดาน เชน

1) ดานการเงิน (Financial Perspective) ในเรื่องของตนทุนการผลิตสินคาแผนกบัญชีจะเปนผูรับผิดชอบสวนนี้ และเปนมุมมองที่มีความสําคัญอยางยิ่ง โดยเฉพาะสําหรับองคกรธุรกิจที่มุงแสวงหากําไร ทั้งน้ีเน่ืองจากมุมมองดานการเงินจะเปนตัวที่บอกวา กลยุทธที่ไดกําหนดขึ้นมา และการนํากลยุทธไปใชในทางปฏิบัติกอใหเกิดผลดีตอการดําเนินงานขององคกรหรือไม ภายใตกลยุทธดานการเงินน้ันจะประกอบไปดวยวัตถุประสงคที่สําคัญ 2 ดานไดแก (1) ดานการเพิ่มขึ้นของรายได (2) ดานการลดลงของตนทนุ 2) ดานลูกคา (Customer Perspective) ตัวชี้วัดในเรื่องการสงมอบสินคาใหกับลูกคา ทั้งในเรื่องชนิดสินคา และปริมาณที่ลูกคาตองการ และในเวลาที่ลูกคากําหนดดังน้ันตัวชี้วัดจึงเปนการวัดความพอใจของลูกคา ซึ่งภายใตมุมมองดานลูกคาจะประกอบดวยวัตถุประสงคหลักที่สําคัญอยู 5 ประการ คือ

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

14

(1) สวนแบงตลาด (2) การรักษาลูกคาเกา (3) การเพิ่มลูกคาใหม (4) ความพึงพอใจของลูกคา (5) กําไรตอลกูคา 3) ดานกระบวนการภายใน (Process Perspective) การติดตามและควบคุมความปลอดภัยในการทํางาน และสภาพที่ทํางาน รวมถึงการรักษาสภาพแวดลอมในการทํางานตัวชี้วัดกลุมนี้ ใชขอมูลดิบที่เจาหนาที่ความปลอดภัยจดบันทึกใหภายใตมุมมองน้ี จะตองพิจารณาวาอะไร คือ กระบวนการที่สําคัญภายในองคกรที่จะชวยทําใหองคกรสามารถนําเสนอคุณคาที่ลูกคาตองการและชวยใหบรรลุวัตถุประสงคภายใตมุมมองดานการเงินมุมมองนี้จะใหความสําคัญกับกระบวนการภายในองคกรที่มีความสําคัญที่จะชวยนําเสนอคุณคาที่ลูกคาตองการ 4) ดานการเรียนรูและการพัฒนา (Learning and Growth Perspective) ในดานการประเมินความสนใจของพนักงาน ตัวชี้วัดกลุมน้ีเปนเรื่องเกี่ยวกับการวัดความกระตือรือรนของพนักงานในการทํางาน หรืออยากมีสวนปรับปรุงสภาพ และวิธีการทํางานโดยสวนใหญวัตถุประสงคภายใตมุมมองน้ีจะมี 3 ดานหลักๆ ไดแก (1) ดานเกี่ยวกับทรัพยากรบุคคลภายในองคกร (2) ดานเกี่ยวกับระบบขอมูลสารสนเทศ (3) ดานเกี่ยวกับวัฒนธรรมองคกรระบบแรงจูงใจ และโครงสรางองคกร ภายใต (Balanced Scorecard) ของแตละดานจะมีวัตถุประสงควัตถุประสงค (Objective) ไดแก สิ่งที่องคกรตองการบรรลุถึง เชน 1) วัตถปุระสงคในดานการเงินไดแก ผลกําไร 2) วัตถปุระสงคดานลูกคาไดแก สรางความพึงพอใจ 3) วัตถปุระสงคดานกระบวนการภายในไดแก สินคามีคุณภาพ 4) วัตถปุระสงคดานการเรียนรูและการเติบโตไดแกมีการวิจัยและพฒันา การวัดผลหรือตัวชี้วัดผลการปฏิบัติ (Measures or KPIs) ไดแก ตัวชี้วัดของวัตถุประสงคเพ่ือวัดดูวาองคกรบรรลุวัตถุประสงคในแตละดานหรือไม และบรรลุมากนอยเพียงใดเชน

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

15

1) ตัวชีว้ัดผลการปฏิบัตขิองผลกําไรคือ ROA (กําไร/สนิทรัพย) 2) ตัวชีว้ัดผลการปฏิบัตขิอง การสรางความพึงพอใจก็คือสํารวจความพึงพอใจของลูกคา 3) ตัวชีว้ัดผลการปฏิบัตขิองสินคามีคุณภาพ ก็คือ คุณภาพสินคาไดมาตรฐานสากล 4) ตัวชีว้ัดผลการปฏิบัตขิอง การวิจัยและพัฒนา ก็คือ สินคาใหมที่ออกสูตลาดและประสบ ความสําเร็จ 5) เปาหมาย (Target) ไดแก ระดับของการบรรลวุัตถปุระสงความีมากนอยเพียงใด เชน (1) เปาหมายของผลกําไรกค็ือไดผลของ > ROA 10% (2) เปาหมายของการสรางความพึงพอใจ ก็คือ รอยละ 90 ของลูกคา มีความพึงพอใจ (3) เปาหมายของสินคามีคุณภาพก็คือ < 0.01% สินคาสงคืน ตารางที ่4 ขอมูลมุมมอง 4 ดานของ Balance Scorecard โรงพยาบาลสมิตเิวช

องคกรมุงหวงักําไร ( รพ.สมิติเวช ) งานวิจัยที่เก่ียวของ

ดานการเงิน (Financial) (Coombs, 2005)

การเพิ่มรายได ประสิทธิภาพในการผลิตทีมี่ตนทุนต่ํา จัดใหมีการสูญเสียระหวางการผลิตนอยลง การหาแสวงเงินทุนที่มีตนทุนต่ํา การมุงวัดผลประกอบการทางการเงิน ตอบสนองความตองการของเจาของหรือผูลงทุนเปนสาํคัญ ความสามารถในการทํากําไรของกิจการ การเจริญเติบโตของสินทรพัย ผลกําไร ยอดขาย ดานลูกคา(Customer) ขอมูลและความตองการของลูกคามาใชในการปรับปรุง

(สุธิดา นิมมานนิตย, 2545))

มีการสงเสริมภาพลักษณทีดี่ขององคกรกับชุมชนโดยรอบอยูตลอดเวลา เพ่ิมความมั่นใจใหกับลูกคา เชน การขอรับรองคุณภาพ มอก. โรงพยาบาลตองมีระบบงานบริหารงานจัดซื้อ ขอมูลและความตองการของลูกคามาใชในการปรับปรุง สงเสริมภาพลักษณที่ดีขององคกรกับชุมชนโดยรอบอยูตลอดเวลา

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

16

องคกรมุงหวงักําไร ( รพ.สมิติเวช ) งานวิจัยที่เก่ียวของ

ดานกระบวนการภายใน (Internal Process) คิดคนนวตักรรมใหมๆ และเทคโนโลยีทีท่นัสมัยมาใชในการปฏิบัติงาน

(Coombs, 2005)

ดานนวัตกรรมและการเรียนรู (Innovation & Learning) การสงเสริมสนับสนุนการพฒันา ฝกอบรมความรู/ทักษะ/ความสามารถของพนักงานอยางสม่ําเสมอ มีระบบการประเมินประสทิธิภาพในการปฏิบัติงานของพนักงาน

(Arveson, 1998)

ที่มา: ขอมูลเวบไซด: espuc.east.spu.ac.th/faculty/gradschool/is_file/noppadon.pdf งานวิจัยที่เก่ียวของ

ปนัดดา ขาวสะอาด ( 2548: 42-45 ) ศึกษาพัฒนาการของกลุมผูติดเชื้อเอดสในประเทศไทย โดยการรวบรวมขอมูลจากเอกสารและฐานขอมูลการวิจัยตาง ๆ ผลการศึกษาสรุปไดวา กลุมผูติดเชื้อเอดส นาจะมีการจัดตั้งมาตั้งแตป 2535 และกอตั้งเปนเครือขายผูติดเชื้อเอชไอวีเอดสแหงประเทศไทย เม่ือป 2540 และมีสวนสําคัญในการดําเนินกิจกรรมในรูปแบบตาง ๆ เพ่ือดูแลและชวยเหลือกันเองในกลุมผูติดเชื้อ ซึ่งปญหาอุปสรรคที่สําคัญในการทํางานประกอบดวย ขาดงบประมาณในการจัดทํากิจกรรม และขาดการพัฒนาศักยภาพความสามารถ การบริหารจัดการ และทักษะทางวิชาการในการทํางานอยางตอเน่ือง

ปนัดดา ขาวสะอาดและพยนต หาญผดุงกิจ (2549; 42-45 ) ไดสรุป

บทบาทองคกรพัฒนาเอกชนดานเอดส ในชวงแผน 9 (2545-2549) พบวาปญหาการดําเนินงานที่สําคัญประกอบดวย

1. ขาดยุทธศาสตรการทํางานรวมกัน ถึงแมวามียุทธศาสตรหลักในแผนงาน

ปองกันและแกไขปญหาวัณโรคในระดับชาติ อีกทั้งเครือขายองคกรพัฒนาเอกชน และเครือขายผูติดเชื้อวัณโรคตางก็มียุทธศาสตรการทํางานวัณโรคเชนเดียวกัน แตการทํางานรวมกันระหวางภาครัฐและองคกรพัฒนาเอกชน ควรมีการยุทธศาสตรรวมเพ่ือลดความซ้ําซอน และรวมมือกันทํางานในทิศทางเดียวกันอยางมีประสิทธิภาพ

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

17

2. ขาดกลไกเชื่อมโยงกับการทํางานในพื้นที่โดยเฉพาะในระดับจังหวัด ดังน้ันจึงปรากฏวามีองคกรพัฒนาเอกชนหลายแหงมีแผนงานเขากับดําเนินงานในพื้นที่ที่มีลักษณะซ้ําซอนกับกลุมเปาหมาย หรือพ้ืนที่ดําเนินงานกับแผนการทํางานขององคกรอ่ืนๆในพื้นที่

3. ความแตกตางและหลากหลายขององคกรพัฒนาเอกชน หลายองคกรความเขมแข็งสามารถระดมทรัพยากร และจัดทําแผนงานโครงการไดอยางมีประสิทธิภาพ แตมีองคกรฯจํานวนมากที่ยังขาดทักษะในการบริหาร การระดมทรัพยากรและจัดทําแผนงานกอใหเกิดการจัดทําและดําเนินงานตามแผนงานที่ไมมีประสิทธิภาพ และพึ่งพางบประมาณจากภาครัฐมากเกินไป

4. ขาดการวางยุทธศาสตรรวมกันระหวางภาครัฐกับองคกรพัฒนาเอกชน 5. มีโครงการที่ซ้ําซอนกัน 6. ขาดการเชื่อมโยงการทํางานในพื้นที่ระหวางองคกรตาง ๆ 7. ขาดทักษะในการบริหารจัดการ 8. ขาดการประเมินผลการดําเนินงานในภาพรวม 9. กลไกการสนับสนุน ติดตาม ประเมินผลยังไมมีประสิทธิภาพ เน่ืองจากการ

ที่องคกรพัฒนาเอกชน เครือขายผูติดเชื้อ และองคกรชุมชน มีจํานวนมาก และมีความเปนอิสระในตนเองสูง ทําใหการประสาน นิเทศ ติดตาม และตรวจสอบ(โดยเฉพาะองคกรพัฒนาเอกชนที่ไดรับงบประมาณสนับสนุนจากภาครัฐ) ทําไดไมทั่วถึง

สํานักงานตรวจเงินแผนดิน (2546: 5-8) ไดตรวจสอบการรับจาย การจัดสรรและการใชเงินอุดหนุนขององคกรพัฒนาเอกชนที่รับการอนุมัติเงินงบประมาณสนับสนุนโครงการปงบประมาณ 2544 ในพื้นที่ กรุงเทพมหานครโดยสุมเลือกตรวจสอบ 5 องคกร จาก 6 โครงการ ไดแก ชมรมแสงเทียนเพื่อชีวิต กลุมปญญาภิวัฒน องคการสยาม- แคร องคการหมอไรพรหมแดน-เบลเยี่ยม มูลนิธิสงเสริมพัฒนาบุคคล ผลการตรวจสอบพบวา ทุกองคกรที่รับการตรวจสอบไดรับเงินเขาบัญชีครบถวน โดยองคกรขนาดเล็กมีการเปดบัญชีและเก็บหลักฐานไวตางหาก ในขณะที่ องคกรขนาดใหญมีระบบการเบิกจายตามที่องคกรกําหนดแตไมไดแยกบัญชีรายรับรายจายและหลักฐานดานการใชจายเงินพบวา คาใชจายสวนใหญ (รอยละ

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

18

44-66) เปนคาใชจายในการบริหารจัดการโครงการสวนที่เหลือ (รอยละ 34-56) เปนคาใชจายในกิจกรรมของโครงการ ซึ่งไมเปนไปตามขอกําหนดที่ใหคาบริหารจัดการโครงการไมเกินรอยละ 20 ดานการติดตามผลการดําเนินงาน เปนการติดตามจากรายงานที่องคกรสงเขามาที่กรมควบคุมโรคแตไมครบและลาชาและในป 2544 ไมมีการออกติดตามแตจะรับฟงคําชี้แจงจากองคกรที่มาเสนองบประมาณ 2546 ในขณะที่การประเมินผลการดําเนินงาน ไมมีการประเมินผลความสําเร็จของโครงการวาบรรลุวัตถุประสงคของโครงการ สุวิมล ติระการนันท (2543: 9 – 10) ไดกลาวถึงชนิดของการประเมินไววาการประเมินเปนสิ่งที่ควรทําควบคูไปกับการดําเนินโครงการ นับตั้งแตการเลือกโครงการ การวางแผนโครงการ การดําเนินงานตามโครงการ จนถึงการประเมินผลสุดทายของโครงการ ชนิดของการประเมินจะแตกตางกันไปตามชวงเวลาของการประเมิน ดังตอไปน้ี Need assessment หมายถึง การประเมินความตองการขององคกรหรือกลุมสังคม เพ่ือนํามาทํานโยบาย แผนงาน หรือโครงการใด ๆ เปนการประเมินกอนเร่ิมทําแผนหรือทําโครงการ Feasibility study หมายถึง การประเมินเพ่ือตรวจสอบความเปนไปไดของ ทางเลือกเพ่ือนํามาจัดทําเปนนโยบาย แผนงาน หรือโครงการใด ๆ นิยมประเมินใน 6 ดาน คือ 1.) ดานเศรษฐกิจ เปนการพิจารณาคาใชจายที่เกิดขึ้นเม่ือเปรียบเทียบกับผลตอบแทนที่ไดรับ 2.) ดานสังคม เปนการพิจารณาวาโครงการหรือแผนงานไมขัดตอ วัฒนธรรม ประเพณี และวิถีการดํารงชีวิต ตลอดจนเปนที่ยอมรับของสังคม 3.) ดานการเมือง เปนการพิจารณาถึงขีดความสามารถขององคกรที่ เกี่ยวของวามีความสามารถที่จะดําเนินการไดหรือไม 4.) ดานบริหาร เปนการพิจารณาถึงขีดความสามารถขององคกรที่ เกี่ยวของวามีความสามารถที่จะดําเนินการไดหรือไม 5.) ดานเทคนิค เปนการพิจารณาถึงความเหมาะสม และความเปนไปไดเกี่ยวกับเทคนิค วิธีการนํามาใชในการดําเนินงาน 6.) ดานสิ่งแวดลอม เปนการพิจารณาวาโครงการหรือแผนงานที่จัดทําขึ้นมีผลตอการทําลายสิ่งแวดลอมหรือไม Context evaluation หมายถึง การประเมินบริบทของโครงการวามีความเหมะสมประกอบดวยความจําเปนของโครงการ ความตองการโครงการของกลุมเปาหมาย ความเหมาะสมของโครงการตอกลุมเปาหมายและความเหมาะสมตอพ้ืนที่ดําเนินโครงการ Input evaluation หมายถึง การประเมินความพรอมของสิ่งตางๆ ที่ถูกนําเขามารวมในโครงการ ประกอบดวย บุคลากร งบประมาณ แนวทางการจัดการ วัสดุอุปกรณ

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

19

Process evaluation หมายถึง การประเมินการปฏิบัติงานตามนโยบาย แผนงาน หรือโครงการวามีความถูกตองเหมาะสมเพียงใด Monitoring หมายถึง การติดตามกํากับงาน เปนการประเมินเพื่อตรวจสอบวา การดําเนินงานเปนไปตามนโยบาย แผนงาน หรือโครงการที่วางไวหรือไม Formative evaluation หมายถึง การประเมินความกาวหนาของโครงการเมื่อดําเนินโครงการไปไดระยะหนึ่ง เพ่ือนําผลไปใชแกไขปรับปรุงโครงการ Product evaluation หมายถึง การประเมินผลสรุปของโครงการ หลังจากสิ้นสุดการดําเนินโครงการนั้น เพ่ือนําผลไปประกอบการตัดสินใจวาควรปรับปรุง แกไข สานตอ หรือยุติโครงการ

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

บทที่ 3

วิธีการดําเนินการวิจัย

การศึกษาเพื่อศึกษาประเมินวิเคราะหผลการดําเนินโครงการสนับสนุนองคกรไมหวังผลกําไรในการปองกันแกไขปญหาโรคเพื่อนํามาปรับใชในการบริหารจัดการทางการเงิน และแหลงเงินทุนสนับสนุนจากกองทุนตางๆ ซึ่งงานวิจัยนี้จะขอใชบางสวนจากกองทุนโลก ปงบประมาณ 2550-2551 ตามขั้นตอนโดยแบงเปนหัวขอตอไปน้ี

1. ประชากรและกลุมตัวอยาง 2. เครื่องมือในการเก็บรวบรวมขอมูล 3. เกณฑการวัดและการใหคา 4. วิธีการเกบ็รวบรวมขอมูล 5. การวิเคราะหขอมูล 6. การนําเสนอขอมูล

ประชากรและกลุมตวัอยาง

ประชากร ไดแก โครงการที่ไดรับงบประมาณในป 2550 งานวิจัยนี้ไดใชแผนงบประมาณโครงการแกไขปญหาวัณโรคกับคนตางดาวตามแนวชายแดน กลุมตัวอยาง ไดแก ตัวแทนองคกร ประชากรกลุมเปาหมายที่ผูประสานงานผูที่ไดรับการแนะนําเขาโครงการในปงบประมาณ และผูที่ตองสงสัยวาจะเปนโรคที่อยูในเขตจังหวัดที่โครงการจัดการแกไขปญหาอยู สําหรับงานวิจัยนี้ขอเอาในสวนของโครงการแกไขเรื่องวัณโรคกลุมผูตองสงสัยในจังหวัดชุมพร ระนอง พังงา และ กาญจนบุรี จํานวน 200 คน

ตัวแปรในการวิจัย

ตัวแปรตน คือ การใหความสําคัญตอมุมมอง ตัวแปรตาม คือ ผลการดําเนินงานโครงการ

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

21

เครื่องมือที่ใชในการวิจัย

เครื่องมือที่ใชในการศึกษานี้ประกอบดวยเครื่องมือ ที่ผูประเมินสรางขึ้น ประกอบดวย

สวนแรก การวัดผลงานและระบบการวัดผลประสิทธิภาพการดําเนินงาน โดยตัวชีว้ัดผลงานหลักเชงิดุลยภาพ (Balanced Scorecard)

สวนที่สองเปนการศึกษาวธิีวัดประสิทธภิาพจากผลการดําเนินงาน (Performance Base

Funding – Key Performance Indicators)

การเก็บรวบรวมขอมูล

1. จัดทําแผนการดําเนินงานโครงการแบงกิจกรรมเพ่ือวัดประสิทธิภาพการทํางานตามไตรมาสโดยแบงงบประมาณตามหมวดกิจกรรม ใหสอดคลองกับวัตถุประสงคที่วัดความสําเร็จของการดําเนินโครงการ เทียบกับแผนการใชงบประมาณ เม่ือไดผลดําเนินงานรอบ 1 ปมาเทียบเงินงบประมาณคงเหลือของโครงการ

2. แบบฟอรมถามประเมินความพึงพอใจของตัวแทนองคกรในพื้นที่ เพ่ือนํามาปรับปรุงขั้นตอนการทํางานใหมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น

2.1 แบบบันทึกขอมูลโครงการ ซึ่งมีกิจกรรมตางๆ โดยกําหนดเปาหมายกับประสิทธิภาพการดําเนินงานหลังจาก 1 ป โดยเนนตัวชี้วัด กับ เงินงบประมาณที่ใชไป

2.2 แบบบันทึกขอมูลโครงการ ซึ่ง มีเน้ือหาเกี่ยวกับสาระสําคัญของโครงการที่ไดรับการอนุมัติการสนับสนุนงบประมาณ ปงบประมาณ 2550 รวมจํานวน 11 ขอ ประกอบดวยเนื้อหา ไดแก ดานกระบวนการบริหารจัดการโครงการ จํานวน 4 ขอ ดานตัวเจาหนาที่ผูประสานและปฏบิัติงานในโครงการ จํานวน 3 ขอ ดานทรัพยากรและการสนับสนุน จํานวน 4 ขอ

ซึ่งมีคําตอบ เปนแบบประเมินคาแบบตอเนื่อง 5 คําตอบ คือ พอใจมากที่สุด พอใจ มาก พอใจปานกลาง พอใจนอย และพอใจนอยที่สุด และ ดานการพัฒนาทักษะที่เกี่ยวของกับการจัดทําโครงการ เปนแบบเรียงลําดับความสําคัญมากหรือนอย 5 ลําดับ

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

22

3.3 เกณฑการวัดและการใหคา เกณฑ การวดัรายขอ จากคําตอบ 5 คําตอบ ไดแก พอใจมากที่สุด = 5 คะแนน พอใจมาก = 4 คะแนน พอใจปานกลาง = 3 คะแนน พอใจนอย = 2 คะแนน พอใจนอยที่สุด = 1 คะแนน การวิเคราะหขอมูล

ผูศึกษาเลือกองคกรที่ใชในการศึกษาเปรียบเทียบ คือ บริษัท สมิติเวช จํากัด (มหาชน) ซึ่งเปนองคกรที่อยูในกลุมทรัพยากร หมวดการแพทย ของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย เน่ืองจากเปนองคกรที่เชื่อถือไดและมีการดําเนินงานในระบบบรรษัทภิบาลที่ดี

สวนแรก การวัดผลงานและระบบการวัดผลประสิทธิภาพการดําเนินงาน โดยตัวชี้วัด

ผลงานหลักเชิงดุลยภาพ (Balanced Scorecard) ) โดยใชแบบสอบถาม ในการเก็บขอมูลจากกลุมตัวอยางเพ่ือนํามาประเมินผลประเมินผลความพึงพอใจของโครงการ

สวนที่สองเปนการศึกษาวธิีวัดประสิทธภิาพจากผลการดําเนินงาน (Performance Base

Funding – Key Performance Indicators) ใชแผนปฏบิัติงานตามกจิกรรม (Action Plan) และแผนการใชงบประมาณ กําหนดเปาหมายเปนตวัชีว้ัด (Indicators) มาใชในการประเมินผล

การนําเสนอขอมูล

นําเสนอโดยเทียบจากผลลัพทการใชเงินงบประมาณตามแผนโครงการรายกิจกรรมเปนตัวชี้วัด เทียบกับผลลัทพตามแผนที่ตั้งไว โดยกําหนดตัวบงชี้น้ําหนักมาเพื่อหาคาผลประสิทธิภาพการดําเนินงาน โดยใหผูเชี่ยวชาญกําหนดตัววัดความสําเร็จในกิจกรรมเปนตัวเลขถวงน้ําหนัก

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

บทที่ 4

ผลการวิเคราะหขอมูล

การศึกษาเพื่อศึกษาการวิเคราะหผลการดําเนินโครงการสนับสนุนองคกรไมหวังผลกําไรในการปองกันแกไขปญหาโรคเพื่อนํามาปรับใชในการบริหารจัดการเงิน และแหลงเงินทุนสนับสนุนจากกองทุนตางๆ ซึ่งงานวิจัยนี้ไดเลือกใชขอมูลโครงการวัณโรค จากผูสนับสนุนทุนกองทุนโลก ปงบประมาณ 2550-2551

การจัดการเงินขององคกรไมหวังผลกําไรของงานวิจัยนี้เปนการรับทุนสนับสนุนจาก

องคกรตางประเทศ ซึ่งแหลงเงินทุนประกอบไปดวยซ่ึงเงินงบประมาณที่ไดรับโครงการในประเทศไทย ไดมาจากการหนวยงานกองทุนจากตางประเทศแหงหน่ึง คือ กองทุนโลก เปดขอเสนอวาตองการสนับสนุนการชวยเหลืองบประมาณการแกไขปญหาในเรื่องโรคติดตอรายแรงตางๆ ไดแก ดานเอดส มาลาเรีย วัณโรค ซึ่งทางองคกรไมหวังผลกําไรก็ไดยื่นแผนโครงการซึ่งประกอบไปดวยแผนกิจกรรมโดยมีวัตถุประสงคในแผนที่บงบอกถึงวิธีการเพื่อใหบรรลุเปาหมายงานรักษา รณรงคชวยเหลือดานวัณโรค ใหสําเร็จ ดวยงบประมาณปแรก 21 ลานบาท ซึ่งแบงเปนโครงการประกอบดวย 3 วัตถุประสงคหลัก 37 กิจกรรมยอย พรอมดวยงบประมาณการใชเงินในแตละกิจกรรม (ดังภาพผนวก ง)

การจัดการทางการเงินขององคกรไมหวังผลกําไร เปนไปไดในรูปแบบการจัดการแหลง

เงินทุน และการใชไปของเงินทุนของกิจการ ซึ่งตางจากธุรกิจในรูปธุรกิจ คือ เงินทุนที่ไดมาของโครงการไมไดมาจากกูยืม หรือทุนในสวนของกรรมการองคกร แตอยางใด กรรมการเปนเพียงผูบริหารที่ไดรับการแตงตั้งขึ้นจากคณะกรรมการในองคกรเทานั้น ซึ่งหลังการขององคกรไมหวังผลกําไรจึงเนนเรื่องการบริหารจัดการใชไปของเงินทุนที่ไดรับมา ในสวนขององคกรเองก็ตองคํานึงถึงความคุมคา ครบถวน สมบูรณที่สุดของหนวยเม็ดเงินที่ไดรับมาเพื่อสรางความเชื่อม่ันใหกับผูสนับสนุนทุนในการใหเงินกองทุนในคราวตอๆไป และเพื่อสรางชื่อเสียงขององคกรเองตอสาธารณชนและผูสนับสนุนทุนอ่ืนที่ปรารถนาองคกรที่นารวมงานโครงการอื่นในอนาคตดวย จึงไดเนนหลักการ Performance Base Funding ซึ่งก็จะคลายกับ Performance Management ในรูปธุรกิจเพ่ือเพิ่มมูลคากิจการใหประสบผลสําเร็จสูงสุด (Maximize Wealth Shareholders)

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

24

การวิเคราะหผลการดําเนินงานตามโครงการ ไดแก จํานวนโครงการ ประเภทโครงการตามวัตถุประสงคกลุมเปาหมายที่ไดรับประโยชนจากโครงการการจัดสรรเงินงบประมาณดานการเงิน จากประเทศตางๆ โดยอางอิงขอมูลจากรายงานกองทุนโลก (Global Fund) งานวิจัยชิ้นน้ีจึงจะตองคิดหาเครื่องมือในการบริหารจัดการการใชไปของแหลงเงินทุนของโครงการเพื่อใหเกิดประโยชนสูงสุดได จึงไดใชเครื่องมือ Balance Scorecard มาเพื่อหาวิธีการควบคุมการใชไปของแหลงเงินใหเกิดประสิทธิภาพมากที่สุด ซึ่งผูศึกษาไดเลือกองคกรหวังผลกําไร รูปธุรกิจคือ โรงพยาบาลสมิติเวช ซึ่งเปนธุรกิจในตลาดหลักทรัพยที่มีผลกําไรอยูในเกณฑดี รวมทั้งอยูในกลุมอุตสาหกรรมดานสุขภาพคลายกับงานวิจัยชิ้นนี้ มาเปนตัวเทียบวัด ซึ่งสําหรับกลุมโรงพยาบาลสมิติเวชเอง ก็ไดมีการทํา Balance Scorecard ในกลุมของบริษัทเอง ดังน้ันการศึกษางานวิจัยจากมุมมอง 4 ดานตามวิธี Balance Scorecard โดยเทียบวัดกับรูปธุรกิจโรงพยาบาลสมิติเวช ซึ่งมีผลการเทียบวัด ดังแสดงในภาคผนวก ค.

ผลการวิเคราะหการวัดผลประสทิธิภาพการดําเนินงานเพื่อจัดหาแหลงเงินทุนขององคกรไมหวังผลกําไร โดยตัวชี้วดัผลงานหลกัเชิงดุลยภาพ (Balanced Scorecard) โดยศึกษาจาก มุมมอง 4 ดาน ผูศึกษาใชแบบสอบถาม ในการเก็บขอมูลจากกลุมตัวอยางเพ่ือนํามาประเมินผลความพึงพอใจดานกระบวนการ (ดังแสดงในภาคผนวก ข.) และขั้นตอนการบริหารจัดการโครงการขององคกร ซึ่งจากการเก็บขอมูลในแบบสอบถาม

แบบสอบถามถูกนํามาใชประเมินเปนขอมูล และเพื่อนํามาเปนสวนหนึ่งในการพิจารณาโครงสรางการพัฒนาในเครื่องมือ Balanced Scorecard ของโครงการในดานมุมมองดานลูกคา และพิจารณาประกอบกับมุมมองสวนอ่ืนๆ

แบบสอบถามทั้งหมด 200 ชุด สงตอบกลับมา 190 ชุด จากจํานวนทั้งสิ้น 190 ชุด นํามาประกอบการวิเคราะหดานลูกคาเพื่อวิเคราะหการประเมินผลการดําเนินโครงการในครั้งน้ีประกอบดวย 3 สวนหลัก คือ

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

25

1. การความพึงพอใจดานกระบวนการและขั้นตอนการบริหารจัดการโครงการขององคกร

รอยละ 84 พอใจมาก

2. ความพึงพอใจดานเจาหนาที่องคกร

รอยละ 70 พอใจมาก

3. ความพึงพอใจดานสิ่งอํานวยความสะดวก

รอยละ 88 พอใจปานกลาง

1) ดานการเงิน (Financial Perspective) (1) ดานการเพิ่มขึ้นของรายได จากการศึกษาการเพิ่มขึ้นของรายไดไมไดเพ่ิมขึ้นเพราะเงินงบประมาณที่จะไดรับเกิดจากการอนุมัติตามยอดในคราวแรกเทาจํานวน แตอาจจะถูกแบงจายตามเปอรเซ็นตความกาวหนาของงานตามรายงานที่สงใหตอผูสนับสนุนทุน (2) ดานการลดลงของตนทุน จากการศึกษาผลวาคาใชจายที่เกิดขึ้นในรอบโครงการนี้ต่ํากวาเกณฑในงบประมาณเกือบทุกกิจกรรมที่ประกอบการตามแผนงาน (ดูภาคผนวก ง. ประกอบ) 2) ดานลูกคา (Customer Perspective) จากแบบสอบถามเปนตัวชี้วัดจึงเปนการวัดความพอใจของลูกคา คือ ผูเขารวมโครงการรักษาดานวัณโรค ป 2550-2551 ซึ่งภายใตมุมมองดานลูกคา จากขอมูลในแบบสอบถามสวนใหญอยูในเกณฑที่พอใจ ซึ่งอาจทําใหเกณฑการเพิ่มของจํานวนผูเขารวมโครงการเพิ่มขึ้น ซึ่งก็จะทําให Indicator ตามแผนโครงการ ไดรับจริงมากกวาเปาที่โครงการวางไว จึงเปนภาพลักษณสงผลดีใหผลสนับสนุนทุนพอใจ และอาจเพิ่มโครงการสนับสนุนในเครือขายเพิ่มขึ้นไดอีกดวย จะประกอบดวยวัตถุประสงคหลักที่สําคัญอยู 5 ประการ คือ (1) สวนแบงตลาด ตามพื้นที่โครงการมีหลายองคกรไมหวังผลกําไรที่ดําเนินงานเรื่องวัณโรคเชนกัน แตจากผลตอบรับจากลูกคาสวนใหญพอใจ ในระดับรอยละ 75 (2) การรักษาลูกคาเกา จากผลที่ไดรับจากแบบสอบถาม นาจะทําใหรักษาฐานลูกคาหรือผูเขารวมโครงการไวได จากความเอาใจใสในการสนับสนุนของเจาหนาที่โครงการตอผูเขารวมโครงการสวนใหญพอใจ เพราะสรางความเชื่อม่ันในระดับหน่ึงของการไดเขารวมโครงการวาสําเร็จและหายไดจริง (3) การเพิ่มลูกคาใหม แบบสอบถามไมไดวัดดานการเพิ่มขึ้นของลูกคา แตจากความพอใจในภาพรวม เชื่อวาความเชื่อม่ันจากผูเขารวมโครงการเดิมหรือฐานลูกคาเกาจะสามารถดึงดูดและ

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

26

สรางความเชื่อม่ันใหกับผูเขารวมโครงการใหม ซึ่งหากมีจํานวนเพิ่มขึ้นจากในแผนเดิม ก็จะสามารถทําใหองคกรไดรับแหลงเงินทุนสนับสนุนเพิ่ม ไมเฉพาะจากผูสนับสนุนทุนเดิมก็ได (4) ความพึงพอใจของลูกคา สวนใหญตอบรับพอใจทั้งใน 3 หัวขอหลักของแบบสอบถาม (5) กําไรตอลูกคา องคกรไมหวังกําไรสวนใหญทํางานโดยคํานึงถึงเร่ืองมนุษยชนเปนหลัก มักยึดหลักธรรมาภิบาล นาจะเกิดประโยชนใหกับผูเขารวมโครงการไดมาก 3) ดานกระบวนการภายใน (Process Perspective) การติดตามและควบคุมในระบบการจัดซื้อขององคกรเปนหนวยงานหลักที่ผูสนับสนุนทุนเพงตรวจขั้นตอนการทํางานวาเปนไปอยางโปรงใส โดยไดจัดสง ผูตรวจสอบภายในจากผูสนับสนุนทุนเอง และมีงบประมาณตามแผนงานสําหรับการจางผูตรวจสอบทองถิ่นในประเทศมาดําเนินงานเอง ซึ่งรวมไปถึงขอมูลทางการเงินการเบิกจายที่แสดงในงบประมาณการใชไปของเงินทุนในแตละกิจกรรมจะตองถูกตรวจสอบโดยละเอียดในขั้นตอนการเบิก-จายในแตละหัวขอดวย ความปลอดภัยในการทํางาน และสภาพที่ทํางาน รวมถึงการรักษาสภาพแวดลอมในการทํางานสวนใหญองคกรไมหวังผลกําไรดําเนินงานจัดอยูในบริเวณ หรือกลุมเสี่ยงตอภัยที่จะเกิดกับเจาหนาที่ผูแทนองคกร ซึ่งองคกรเองก็มีงบประมาณในสวนของการประกันภัยทั้งอุบัติเหตุ และสุขภาพในวงเงินคอนขางสูงใหกับเจาหนาที่โครงการทุกทาน 4) ดานการเรียนรูและการพัฒนา (Learning and Growth Perspective) งานในแผนการดําเนินงานในกิจกรรมจะปรากฏงบประมาณในสวนของการฝกทักษะ การอบรมเรียนรูทั้งในเรื่องของสายงานดานสุขภาพของโครงการเอง และศึกษาความรูเพ่ิมเติมกับเจาหนาที่ขององคกร จากการประเมินแบบสอบถามในของการเรียนรูพัฒนาจะพิจารณาจากขอ 4 หมวด 2 เรื่องการติดตาม กํากับ ระหวางการดําเนินโครงการของเจาหนาที่โครงการวาหลังจากไดรับการอบรมศึกษาความรูในดานการแกไขปญหา ขั้นตอนการตรวจวิเคราะหผล การติดตามเฝาระวังผูปวยหรือผูตองสงสัยวัณโรค ซึ่งเปนสวนหนึ่งของการวัดผลการดําเนินงานของกิจกรรมที่ตองดําเนินงานของโครงการแลว เปาหมายของกิจกรรมทําครบถวน แตงบประมาณสวนใหญต่ํากวาเปาที่วางไว

ผลการศึกษาดวยวิธีวัดประสิทธิภาพจากผลการดําเนินงาน (Performance Base Funding – Key Performance Indicators)

โดยใชแผนปฏิบัติงานตามกิจกรรม (Action Plan) และแผนการใชเงินงบประมาณ กําหนดเปาหมายเปนตัวชี้วัด (Indicators) มาใชในการประเมินผลโดยแยกตามหมวด

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

27

วัตถุประสงคของโครงการ (ขอมูลจากตารางแผนปฏิบัติงานใน ภาคผนวก ง) และ ผลตัวชี้วัดจากจํานวนผูปวยและการกอตั้งสถานที่ใหการรักษาตามโครงการเบื้องตนตามเปาหมายของโครงการ วัตถุประสงคหมวดที่ 1 : การใชความชวยเหลือผูปวยมีคุณภาพมีขอบเขตกวางขึ้นประสบความสําเร็จ คนหาผูปวยเพิ่ม และการรักษาประสบความสําเร็จทวมกลางผูอพยพที่ไมใชคนไทย แบงออกเปน 16 หมวด เปาหมายความสําเร็จที่ตั้ง = 18 ดําเนินโครงการตามวัตถุประสงคเสร็จจริง = 27

จะเห็นวางานสําเร็จเกินเปาหมายที่โครงการตั้งไวในขณะที่เงินงบประมาณใชไปสําหรับหมวดที่ 1 = 86% คาใชจายสวนใหญที่เกิดขึ้นในกิจกรรมใชไปสวนที่นอยสวนใหญจะเกี่ยวของกับกิจกรรมการสื่อสารกับชุมชนการเขาไปมีสวนรวมแกไขปญหาในชุมชนจริง วัตถุประสงคหมวดที่ 2: การพัฒนาระบบชองทางในการเขาสูชุมชนในการใหคําแนะนําดูแลเรื่องโรคในกลุมผูปวย แบงออกเปน 7 กิจกรรม เปาหมายความสําเร็จโครงการที่ตั้ง = 5 ดําเนินโครงการตามวัตถุประสงคเสร็จจริง = 8

จะเห็นวางานสําเร็จเกินเปาหมายที่โครงการตั้งไวในขณะที่เงินงบประมาณใชไปสําหรับวัตถุประสงคที่ 2 = 88% คาใชจายสวนใหญที่เกิดขึ้นในกิจกรรมนี้จะเกี่ยวกับการเขารวมกับราชการในชุมชนนั้น ซึ่งก็ตองอาศัยความสามารถของผูประสานงานโครงการในการเขาถึงผูนําชุมชนและหนวยราชการในพื้นที่จริงไดมาก แตเงินงบประมาณเหลือ วัตถุประสงคหมวดที่ 3: เพ่ือสงเสริมความเขาใจในผูปวยวัณโรคในกลุมคนตางดาวโดยการสรางความตระหนักและใหการสนับสนุนผูปวย แบงออกเปน 15 กิจกรรม เปาหมายความสําเร็จโครงการที่ตั้ง = 7 ดําเนินโครงการตามวัตถุประสงคเสร็จจริง = 7

จะเห็นวาผลงานสําเร็จตามเปาหมายที่โครงการตั้งไวเพราะคาใชจายสวนใหญเปนคาใชจายประจํา และคาใชจายที่คอนขางตายตัว เชน การซื้อยานพานหะใชในโครงการจํานวนตามเปาที่วางไว อุปกรณสํานักงาน เพราะที่จัดซื้อไดถูกจัดซื้อตามแผนที่โครงการวางไวในงบประมาณซึ่งคาเฉลี่ยตามตัวชี้วัดใกลเคียงกับความเปนจริง

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

28

ตารางที่ 5: ผลของตัวชีว้ัดจํานวนผูปวยตามเปาหมายของโครงการปงบประมาณ 2550

Indicator

Plan Achieved % Annual achievement

Case detection: Number of new smear-positive patients detected. 59 107 181%

Treatment Enrolment: Number of new smear positive TB cases among the migrant population that started DOTS-framework TB treatment program with the assistance of a treatment partner. 38 103 271% Number of sputum-negative patients tested for culture (50% of smear negative patients in each period ) (new indicator from proposal) 19 46 242% Number of enrolled TB patients among migrants receiving VCT and result of HIV test.

25 122 488% Number of TB suspects (symptomatic) referred by migrant health volunteers and/or community-based task force groups for sputum testing. 1,170 914 78% Number of migrant health volunteers trained/retrained as DOTS partners, TB/HIV counseling and referral, and community-based interventions. 2,550 2,487 98% Number and percentage of secondary service delivery points (offices/clinic sites) offering sputum collection, DOTS treatment and TB/HIV counseling. 10 14 140% Number of secondary service delivery points that receives supervisory visits, quarterly, in the past 3 months.

9 12 133% Number and percentage of DOTS facilities (secondary service delivery points) which have a functioning DOTS registration. 10 13 130%

ที่มา: ผลประสิทธิภาพการดําเนินงานโครงการวัณโรคขององคกรแหงหนึ่งรอบป 2550 จากตารางขางตนตัวชี้วัดจํานวนผูปวยตามหมวดจะเห็นวาความสําเร็จในรอบปนี้ มากกวาเกณฑที่ตั้งไวเกือบทั้งหมดจาก 5 หัวขอแรก ยกเวน หัวขอจํานวนของผูตองสงสัยที่ถูก

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

29

สงตอไปรักษายังจุดรักษาโรคจุดอ่ืนตอได = 78% และ หัวขอจํานวนของชาวตางดาวที่ไดเขารับการอบรมทักษะการรักษาโรคเบื้องตนและจะทําการเผยแพรการปองกันทําประสิทธิผล = 98% จากเปาหมายโครงการที่วางไว ถือวาประสบผลสําเร็จ ภาพที่ 4. ภาพแสดงผลประสิทธิภาพการดําเนินโครงการกับเงินงบประมาณใชไป

ที่มา: ภาพประกอบไดมาจากตัวเลขในแผนปฏิบัตงิานในภาคผนวก ง.

100% 100 % 100% 100% 100%

79 % 64%

78%

130%

92 %

0 %

20 %

40 %

60 %

80 %

100 %

120 %

140 %

Quarter 1 Quarter 2 Quarter 3 Quarter 4 Annual

Objective Sucess

Actual Exp.

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

บทที่ 5

สรุปผลการวจิัย อภิปรายผล และขอเสนอแนะ

สรุปผล การศึกษาการศึกษาแหลงเงินทุนและวิเคราะหผลการดําเนินงานขององคกรไมหวังผล

กําไร (NGOs) ในกลุมเพ่ือการแกไขปญหาและการวิจัยดานสุขภาพเพื่อนํามาปรับใชในการบริหารจัดการเงิน และแหลงเงินทุนสนับสนุนจากกองทุนตางๆ ซึ่งงานวิจัยนี้จะขอใชบางสวนจากกองทุนโลก ปงบประมาณ 2550-2551 สามารถสรุปผลการศึกษาไดดังนี้

จากผลการศึกษาพบวา จากจํานวนงบประมาณของโครงการดานวัณโรคป 2550

จํานวน 21 ลานบาท สามารถจัดสรรสนับสนุนใหกับโครงการขององคกรไมหวังผลกําไร กระจายในทุกพื้นที่ที่รวมโครงการของประเทศไทย ทั้งหมด 4 เขตจังหวัด 5 พ้ืนที่ ประสบความสําเร็จตามเปาหมายวัตถุประสงคของโครงการในสวนของจํานวนผูปวยกอนโครงการที่ไดตั้งเปาไว กับผลการดําเนินงานหลังสําเร็จโครงการใน 1 ป ซึ่งงบประมาณใชไปต่ํากวาเกณฑที่ตั้งไวในแผน ทําใหตองศึกษาถึงสาเหตุของขอบกพรอง

สวนแรกการวัดผลงานและระบบการวัดผลประสิทธิภาพการดําเนินงาน โดยตัวชี้วัด

ผลงานหลักเชิงดุลยภาพ (Balanced Scorecard) โดยใชแบบสอบถาม ในการเก็บขอมูลจากกลุมตัวอยางเพ่ือนํามาเปนสวนประกอบในการประเมินผลความพึงพอใจดานลูกคาของโครงการผลจากแบบสอบถาม ประกอบดวย 3 สวนหลัก พบวา ผลสวนใหญ 70% ขึ้นไปอยูในเกณฑความพึงพอใจปานกลางถึงพอใจมาก ซึ่งจากมุมมอง 4 ดานดังตอไปน้ี

1) ดานการเงิน (Financial Perspective) (1) ดานการเพิ่มขึ้นของรายได - เปนไปตามเงินงบประมาณที่จะไดรับเกิดจากการอนุมัติตามยอดในคราวแรกเทาจํานวน แตอาจจะถูกแบงจายตามเปอรเซ็นตความกาวหนาของงานตามรายงานที่สงใหตอผูสนับสนุนทุน (2) ดานการลดลงของตนทุน - จากการศึกษาผลวาคาใชจายที่เกิดขึ้นในรอบโครงการนี้ต่ํากวาเกณฑในงบประมาณเกือบทุกกิจกรรมที่ประกอบการตามแผนงาน (ดูภาคผนวก ง. ประกอบ)

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

31

2) ดานลูกคา (Customer Perspective) จากแบบสอบถามเปนตัวชี้วัดจึงเปนการวัดความพอใจของลูกคาสวนใหญอยูในเกณฑที่พอใจ ซึ่งอาจทําใหเกณฑการเพิ่มของจํานวนผูเขารวมโครงการเพิ่มขึ้น ซึ่งก็จะทําให Indicator ตามแผนโครงการ ไดรับจริงมากกวาเปาที่โครงการวางไว จึงเปนภาพลักษณสงผลดีใหผลสนับสนุนทุนพอใจ และอาจเพิ่มโครงการสนับสนุนในเครือขายเพ่ิมขึ้นไดอีกดวยจะประกอบดวยวัตถุประสงคหลักที่สําคัญอยู 5 ประการ คือ (1) สวนแบงตลาด จากผลตอบรับจากลูกคาสวนใหญพอใจ ในระดับรอยละ 75 (2) การรักษาลูกคาเกา ผลจากแบบสอบถาม นาจะทําใหรักษาฐานลูกคาหรือผูเขารวมโครงการไวได จากความเอาใจใสในการสนับสนุนของเจาหนาที่โครงการตอผูเขารวมโครงการสวนใหญพอใจ เพราะสรางความเชื่อม่ันในระดับหน่ึงของการไดเขารวมโครงการวาสําเร็จและหายไดจริง (3) การเพิ่มลูกคาใหม เชื่อวาความเชื่อม่ันจากผูเขารวมโครงการเดิมหรือฐานลูกคาเกาจะสามารถดึงดูดและสรางความเชื่อม่ันใหกับผูเขารวมโครงการ (4) ความพึงพอใจของลูกคา สวนใหญตอบรับพอใจทั้งใน 3 หัวขอหลักของแบบสอบถาม (5) กําไรตอลกูคา องคกรไมหวังกําไรสวนใหญทํางานโดยคํานึงถึงเรื่องมนุษยชนเปนหลัก มักยึดหลักธรรมาภิบาล เพ่ือประโยชนใหกับผูเขารวมโครงการไดมาก 3) ดานกระบวนการภายใน (Process Perspective) การติดตามและควบคุมในระบบการจัดซื้อขององคกร ขั้นตอนการทํางานเปนไปอยางโปรงใส มีผูตรวจสอบภายใน มีงบประมาณตามแผนงานสําหรับการจางผูตรวจสอบทองถิ่นในประเทศมาดําเนินงานเอง ซึ่งรวมไปถึงขอมูลทางการเงินการเบิกจายที่แสดงในงบประมาณการใชไปของเงินทุนในแตละกิจกรรมจะตองถูกตรวจสอบโดยละเอียดในขั้นตอนการเบิก-จายในแตละหัวขอดวย ความปลอดภัยในการทํางาน และสภาพที่ทํางาน ซึ่งองคกรเองก็มีงบประมาณในสวนของการประกันภัยทั้งอุบัติเหตุ และสุขภาพในวงเงินคอนขางสูงใหกับเจาหนาที่โครงการทุกทาน 4) ดานการเรียนรูและการพัฒนา (Learning and Growth Perspective) งบประมาณในสวนของการฝกทักษะ การอบรมเรียนรูทั้งในเรื่องของสายงานดานสุขภาพของโครงการเอง และศึกษาความรูเพ่ิมเติมกับเจาหนาที่ขององคกร จากการประเมินแบบสอบถามในของการเรียนรูพัฒนาจะพิจารณาจากขอ 4 หมวด 2 เร่ืองการติดตาม กํากับ ระหวางการดําเนินโครงการของเจาหนาที่โครงการวาหลังจากไดรับการอบรมศึกษาความรูในดานการแกไขปญหา

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

32

สวนที่สองเปนการศึกษาวิธีวัดประสิทธิภาพจากผลการดําเนินงาน (Performance Base Funding – Key Performance Indicators) เปนสวนที่ใชในการวัดผลดานบริหารการเงินขององคกร โดยใชแผนปฏิบัติงานตามวัตถุประสงค (Action Plan) และแผนการใชงบประมาณ กําหนดเปาหมายเปนตัวชี้วัด (Indicators) จากจํานวนผูปวยกอนเร่ิมโครงการไดตั้งเปาไวและหลังจากดําเนินโครงการสําเร็จผล มาใชในการประเมินผล ซึ่งผลการประสิทธิภาพการดําเนินงานบรรลุเกินเปาหมายที่โครงการกําหนด แตงบประมาณใชไปต่ํากวาเกณฑที่ตั้งไว จํานวนผูปวยที่ไดรับตามโครงการตามตัวชี้วัดก็เกินเปาที่ตั้งไว ทําใหตองศึกษาถึงขอบกพรองจากการดําเนินงาน ซึ่งจากการศึกษาจากแผนการใชงบประมาณ เปรียบเทียบเปนเปอรเซ็นต พบวามีการดําเนินงานบางกิจกรรมอาจไมไดมีการเบิกจายเงินงบประมาณ ซึ่งในชวงเวลาที่ทํากิจกรรมนั้น เชน การเขารวมการฝกอบรมบางชวงเวลาไมไดมีการจัดขึ้นจริงกิจกรรมตามแผนที่ตั้ง ทําใหงบประมาณไมมีการเบิกมาจัดในหลายๆโอกาสจึงไมไดถูกใชไป และสาเหตุหลักอีกประการคือ อัตราการหมุนเวียนของบุคลากรสูงเกินไปเกิดชวงเวลาผูประสานงานคนเกาลาออก แตยังไมสามารถหาผูประสานงานคนใหมเขาทําหนาที่แทน ทําใหองคกรไมไดใชจายเงินเปนไปตามเกณฑที่วางไว อภิปรายผล

จากการศึกษาประสิทธิภาพการดําเนินงานของโครงการ พบวาบรรลุเกินเปาหมายที่

โครงการกําหนด แตงบประมาณใชไปต่ํากวาเกณฑที่ตั้งไว อาจเกิดปญหาในอนาคตอาจถูกมองวามีการตั้งงบประมาณคราวแรกไวเกินจริง ซึ่งหากดําเนินงานตามกิจกรรมจริงก็สามารถทําไดโดยงบประมาณต่ํากวาที่คาดการณไวในงบประมาณคราวแรกที่ขออนุมัติ ซึ่งอาจสรางความไมนาเชื่อถือตอขอมูลในวางแผนงานการรักษาวิจัยวัณโรคในประเทศ อาจทําใหผูสนับสนุนทุนขาดความมั่นใจ และขาดความเชื่อถือขอมูลที่องคกรใหได อีกทั้งองคกรอาจประสบปญหาเรื่องเงินประมาณเหลือซ่ึงภายหนาอาจถูกตัดงบประมาณสวนที่เหลือออกไป ซึ่งสงผลกระทบตอแหลงเงินทุนที่จะนํามารักษาโรคตางๆ ในประเทศในอนาคต ดังน้ันองคกรควรหาวิธีจัดการโดยใชเครื่องมือ Balanced Scorecard วิเคราะหมุมมองทั้ง 4 ดานเพ่ือนํามาปรับใชใหเกิดประโยชนครบถวนมากที่สุด

ทําใหตองมาศึกษาถึงสาเหตุของขอบกพรอง พบวามีการดําเนินงานบางกิจกรรมอาจ

ไมไดมีการเบิกจาย ในเวลาทํากิจกรรมนั้น เชน การเขารวมการฝกอบรมบางชวงเวลาไมไดมีการจัดกิจกรรมตามแผนขึ้นจริง ทําใหงบประมาณในหลายๆโอกาสไมไดถูกใชไป และสาเหตุหลักอีกประการคือ อัตราการหมุนเวียนของบุคลากรสูงเกินไปเกิดชวงเวลาผูประสานงานคนเกา

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

33

ลาออก แตยังไมสามารถหาผูประสานงานคนใหมเขาทําหนาที่แทน ทําใหองคกรไมไดใชจายเงินเปนไปตามเปา

จากแนวคิดในสวนของสํานักงานตรวจเงินแผนดินสําหรับการตรวจสอบการรับ-จาย

เทียบกับขององคกร ซึ่งเนนความโปรงใส จากแนวคิดของสํานักงานตรวจเงินแผนดินเกี่ยวกับคาใชจายสวนใหญอยูในสวนของคาใชจายในการบริหารจัดการ ซึ่งเม่ือเทียบกับแผนการใชงบประมาณพบวา คาใชจายในสวนของบริหารจัดการสูงจริง ดังน้ันองคกรควรหันมาควบคุมในเร่ืองของการเบิกจายคาใชจายในการบริหารจัดการใหดีขึ้น และมุงเนนใหเงินงบประมาณสงถึงกลุมพ้ืนที่โครงการใหมากขึ้น และมีการตรวจสอบภายในที่ดี เพ่ือปองกันปญหา Conflict of Interest ดวย ขอเสนอแนะ

จากการศึกษาผูศึกษามีความเห็นวา การนําเครื่องมือ Balance Scorecard นํามาปรับใชในการบริหารการจัดการดานการเงินขององคกรไมหวังผลกําไรนั้นถือวาเปนเคร่ืองมือที่เกิดประโยชนวิธีหน่ึง ซึ่งจากการศึกษาผลการประเมิน ควรมีการพัฒนา การถายโอนกิจกรรม รณรงคใหความรู และการรวมกลุมเพ่ือชวยเหลือกันเองของผูปวยผูติดเชื้อวัณโรค ใหกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นโดยการประยุกตรูปแบบการดําเนินการของกรมควบคุมโรคและการพัฒนาระบบการประเมินโครงการ เนนประเด็นที่สําคัญเพ่ือการนําขอมูลไปใชในการพัฒนาแนวคิดเชิงนโยบาย การสนับสนุนองคกรไมหวังกําไรดานสุขภาพตางๆ ในการทํางานกลุมตอไปและมีจํานวนโครงการไดรับทุนมากที่สุด นอกจากนี้โครงการยอยสวนมากดําเนินกิจกรรมเกี่ยวกับการรณรงค ใหความรู และ พบกลุมเยี่ยมบานใหคําปรึกษา โดยกลุมเปาหมายของโครงการยอยสวนมาก เปนกลุมเด็กเยาวชน และ กลุมผูปวยผูติดเชื้อและครอบครัว องคกรไมหวังผลกําไรที่ไดทุนสนับสนุน มีความพึงพอใจ ในภาพรวมทุกดาน ระดับปานกลาง เม่ือเปรียบเทียบความพึงพอใจของแตละดานพบวา ดานตัวเจาหนาที่ผูปฏิบัติงานของโครงการ กระบวนการพิจารณาการจัดสรรงบประมาณที่มีสวนรวมจากหลายภาคสวน การติดตอประสานงาน ของเจาหนาที่ผูปฏิบัติในโครงการไดรับความพึงพอใจมากที่สุด ในขณะที่ ดานทรัพยากรและสิ่งอํานวยความสะดวก การจัดเวทีนําเสนอและแลกเปลี่ยนความรู การดําเนินการรวมกันไดรับความพึงพอใจ ขอเสนอแนะสําหรับการศึกษาครั้งตอไป เห็นวาควรคํานึงถึงสวนของ Timeline ในการใชรายงานการใชเงินงบประมาณตามแผนมาทําการนําเสนอประสิทธิภาพการดําเนินงานดวย

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

34

เพราะหากงานยังไมเสร็จตามเปาแมชวงระยะเวลารอบปหมดลงแลว แตเงินในโครงการถูกใชไปแลว ผลการวัดประสิทธิภาพเมื่อเทียบกับตัวเงินอาจไมไดตัวเลขที่ถูกตอง สอดคลอง ชัดเจน

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

บรรณานุกรม

ปกรณ ปรียากร, 2545, การบริหารโครงการ : แนวคิดและแนวทางในการสราง

ความสําเร็จ, กรุงเทพฯ: สํานักพิมพเสมาธรรม. ปนัดดา ขาวสะอาด , 2548, พัฒนาการของกลุมผูติดเชื้อเอดสในประเทศไทย, เอกสารทาง

วิชาการ สํานักโรคเอดส วัณโรคและโรคติดตอทางเพศสัมพันธ. (อัดสําเนาเย็บเลม ) พยนต หาญผดุงกิจและปนัดดา ขาวสะอาด, 2549, การศึกษาทบทวนการบริหารจัดการ

ปญหาเอดสขององคกรพัฒนาเอกชนดานเอดสชวงป 2545 -2549 ในการศึกษาทบทวนสภาพการดําเนินงานปองกันและแกไขปญหาเอดสในชวงแผนเอดส พ.ศ. 2545-2549 เพื่อเปนขอมูลประกอบการวิเคราะหกรอบวิสัยทศันและทศิทางแผน

บูรณาการปองกันและแกไขปญหาเอดสแหงชาติ พ.ศ. 2550-2554, ลิขิต ธีรเวคิน, 2541, วิวัฒนาการการเมืองการปกครองไทย, กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร สมบัติ ธํารงธญัวงศ, 2545, การบริหารโครงการ, กรุงเทพฯ : สํานักพิมพเสมาธรรม.

สํานักงานตรวจเงินแผนดิน, 2546, รายงานการตรวจสอบการใชจายเงินอุดหนุนองคกรพัฒนา

สุวิมล ติระกานันท, 2543, การประเมินโครงการแนวทางสูการปฏิบัต,ิ พิมพครั้งที่ 2, กรุงเทพฯ: โรงพิมพจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

Herrington Bryce,..1991. Financial & Strategic Management for Nonprofit Organizations. Prentice Hall Business Reference Library

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

ภาคผนวก

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

ภาคผนวก ก

นิยามขององคกรไมหวังผลกําไร

องคกรไมหวังผลกําไร หรืออีกชื่อที่คนทั่วไปรูจักกันวา “องคกรพัฒนาเอกชน” ในภาษาอังกฤษคือ (Non-Government Organizations : NGOs) ไดกอกําเนิดในสังคมไทยมาชานาน และมีพัฒนาการที่โดดเดนเปนเอกลักษณ ควบคูกับพัฒนาการทางสังคม ทั้งน้ีการทําความเขาใจถึงกระบวนการทํางานขององคการสาธารณประโยชน ยอมเลี่ยงไมไดที่จะตองทําความเขาใจถึงพัฒนาการของสังคมไทย ซึ่งในรอบศตวรรษที่ผานมามีวิวัฒนาการที่นาสนใจดังน้ี เดิมทีประเทศไทยปกครองดวยระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย การตัดสินใจในภาครัฐขึ้นอยูกับสถาบันกษัตริย จนกระทั่งเกิดการเปลี่ยนแปลงการปกครองเปนระบอบประชาธิปไตยในป พ.ศ. 2475 ซึ่งสถาบันกษัตริยไดอยูใตรัฐธรรมนูญ ซึ่งเปนกฎหมายสูงสุดของประเทศ แตยังทรงอํานาจในฐานะที่สักการะและทรงอยูเหนือการเมือง สําหรับการปกครองไดผองถายไปยังรัฐบาล ซึ่งในชวงเร่ิมตน มักมีการรัฐประหารโดยกลุมทหารอยางบอยครั้ง เพ่ือเขาสูอํานาจสูงสุดคือตําแหนงนายกรัฐมนตรี (สรุปจาก ลิขิต ธีรเวคิน, วิวัฒนาการการเมืองการปกครองไทย, กรุงเทพฯ : สํานักพิมพมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2541) โดยตางเชื่อวา กลุมตนเองและพวกพองมีประสิทธิภาพสูงกวารัฐบาลชุดเดิมทั้งสิ้น อยางไรก็ตามภาคประชาชนก็เขมแข็งขึ้นโดยมีการเคลื่อนไหวท่ีมีผลตอการเปลี่ยนแปลงผูนําประเทศครั้งแรกคือเหตุการณ 14 ตุลาคม 2516 และ บทบาทของทหารในการปกครองประเทศคอย ๆ ลดนอยลง จนกระทั่งการรัฐประหารครั้งลาสุดคือ 23 กุมภาพันธ 2534 โดยคณะทหารกลุมที่เรียกตนเองวา คณะรักษาความสงบเรียบรอยแหงชาติ (รสช.) ไดทําการยึดอํานาจจากรัฐบาล พลเอกชาติชาย ชุณหวัณ แตก็ไมสามารถรักษาอํานาจไวไดเม่ือภาคประชาชนชุมนุมประทวงใหญอยางตอเน่ือง จนเกิดการปะทะกันระหวางทหารกับประชาชนในระหวางวันที่ 17-19 พฤษภาคม พ.ศ. 2535 และไดกอใหเกิดกระบวนการยกรางรัฐธรรมนูญใหม ซึ่งประกาศใชเม่ือ ป พ.ศ. 2540 ที่มีลักษณะพิเศษคือ การคุมครองสิทธิเสรีภาพของประชาชน และใหอํานาจกับภาคประชาชนในการตรวจสอบและถวงดุลกับภาคการเมืองภายใตบริบททางสังคมดังกลาวไดมีอิทธิพลโดยตรงตอ องคกรสาธารณ ประโยชน ทั้งในดานของการกอเกิดกิจกรรม และ กระบวนการทํางาน ซึ่งแตกตางกันตามยุค ตามสมัย

องคกรพัฒนาเอกชน” หรือ องคการสาธารณประโยชน ไดถูกบรรจุไวในกฎหมายครั้งแรกคือ ใน พระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. 2535 ซึ่งในกฎหมายดังกลาวเรียกวาองคกรเอกชนดานสิ่งแวดลอม จากความเขาใจเรื่ององคการสาธารณ ประโยชน จึงที่เพ่ิมมากขึ้น มีการศึกษาวิจัยและเผยแพรงานวิจัย ทําใหการรับรูและความเขาใจ

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

38

เกี่ยวกับองคการสาธารณประโยชนเพ่ิมสูงขึ้นองคการสาธารณประโยชนในสังคมไทยมีความเปนมาอยางไรในปจจุบันองคการสาธารณประโยชนมีศักยภาพดานการบริหารจัดการ การดําเนินการ ความมั่นคง ความโปรงใส และ ความรับผิดชอบ การทําใหนโยบายกฎหมายที่มีอยูเอ้ือตอการทํางานขององคการสาธารณประโยชนตลอดจนการสรางความเขาใจและความเชื่อถือจากสาธารณชน

NGOs หรือองคกรไมหวังผลกําไร เปน สวนประกอบสําคัญของภาคประชาสังคมไดมีการ ปรับเปลีย่นปรัชญา แนวคิด ตลอดจนแนวทางการ ทํางานอยางมากในชวง 40-50 ปที่ผานมา โดยจัดแบงเปน 3 ชวงใหญๆ ไดแก

1. หลังสงครามโลกครั้งที่สอง และชวงรัฐบาลเผด็จการทําหนาที่บริการสังคม ใหความ

ชวยเหลือในรูปแบบการกุศลเปนสวนใหญ แตเปนองคกรขนาดเล็ก ดําเนินการโดยชนชั้นสูงในรูปขององคกรทางศาสนา มีลักษณะสนับสนุนรัฐบาลเนื่องจากรัฐบาลไมสามารถใหสวัสดิการสังคมแกประชาชนไดเพียงพอองคกรนี้จึงชวยเสริมภาพลักษณของรัฐบาลใหดูดีขึ้นแตมีบทบาทตอ สังคมโดยรวมไมมากนัก ดําเนินการกิจการเปนครั้งคราวเชนเม่ือเกิดอุบัติภัย เหตุฉุกเฉิน หรือรูปแบบการใหทุนการศึกษาและการบริจาคใหโรงพยาบาล ผูดอยโอกาสและผูยากไรเปนครั้งคราว อาทิ สมาคม หรือมูลนิธิตางๆ มีบทบาทคอยใหความชวยเหลือแกกลุมตางๆที่เปนพวกเดียวกัน เชน แซ ภาษา หรือนับถือศาสนาขณะที่รัฐเรงสรางชาติหลังสงครามโลกครั้งที่สอง นโยบายจึงเนนเรื่องการสรางความมั่นคงพรอมๆกับการนําอุดมการณพัฒนาแนวทุน นิยมมาใช รัฐบาลจึงควบคุมองคกรสาธารณประโยชนใหทําหนาที่สงเสริมอํานาจรัฐบาลเทานั้น เห็นไดชัดในการควบคุมพฤติกรรมของสมาคมศาสนาและสมาคมคนจีนที่ถูกควบคุมใหมีการบทบาทดานบริการสังคมเทานั้นทั้งนี้เพ่ือปองกันไมใหองคกรเหลานี้ทําหนาที่ทางการเมืองโดยดําเนินการชวยเหลือฝายตรงขามคือกระบวนการคอมมิวนิสตซึ่งแพรหลายอยูทั่วไปในขณะนั้น

2. ชวง พ.ศ. 2510-2535 การเคลื่อนตัวขององคกรสาธารณ-ประโยชนเกิดขึ้นอยางชาๆ

ภายใตรัฐบาลทหารกลายเปนการรวมตัวเพ่ือตอตานอํานาจรัฐ และอํานาจเผด็จการ จนเกิดเหตุการณ 14 ตุลาคม 2516 และการเปดตัวขององคการพัฒนาเอกชน หลัง 6 ตุลาคม 2519 หลายองคกรปดตัวลง และหลายองคกรเปดตัวใหม เม่ือรัฐบาลประกาศนโยบาย 66/23 ชวงน้ีคือชวงการเรียนรู หาความหมายคําตอบเกี่ยวกับการพัฒนาในชุมชน หมูบาน กิจกรรมเนนที่การพัฒนาชนบทและเมือง รวมทั้งการดูแลกลุมดอยโอกาสตางๆ การทํางานขยายตัวมีองคกรใหมๆเกิดขึ้นและมีการทํางานเปนเครือขายเกิดคณะทํางานและองคกรเครือขายทําหนาที่ประสานงานและผลักดันนโยบายดานตางๆ เชน องคกรดานสิ่งแวดลอม เครือขายองคกรเด็กทั้งน้ีมีการวิเคราะหกิจกรรมในชวงน้ีคือการวิเคราะหดวยทฤษฎีประชาสังคม (Civil Society Theory) ซึ่ง

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

39

มองวาในสังคมประชาธิปไตยหรือกึ่งประชาธิปไตย องคกรทางสังคมจะทําหนาที่เปนกลไก ตรวจสอบการทํางานของหนวยงานตางๆ ใหความสําคัญกับเรื่องจริยธรรม ความถูกตองทางสังคม ตลอดจนเนนเรื่องความรับผิดชอบทางสังคม บางครั้งปจเจกชนตองเสียสละความสุขสวนตนเพื่อประโยชนสวนรวม ความสัมพันธระหวางปจเจก บุคคลและสวนสาธารณะตองสอดคลองกัน ทําหนาที่ตรวจสอบการทํางานภาครัฐและภาคธุรกิจไมใหเอารัดเอาเปรียบผูอ่ืน ขจัดคอรรัปชั่น และสรางสังคมที่สงบสุขในชวงนี้มีการปรับแนวคิดการทํางานรวมกัน เปนการรวมตัวเปนเครือขายเพื่อเคลื่อนไหวรวมกัน ทําใหมีพลังและเปนจุดเริ่มของการเกิดขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคม (Social Movement) ผลงาน ที่เห็นชัดเจนคือ การเคลื่อนตัวตอตาน พล.อ.สุจินดา คราประยูร และเหตุการณพฤษภาทมิฬ รวมไปถึงการ เคลื่อนไหวใหเกิดกระบวนการแกไขรัฐธรรมนูญตามมาจากนั้น

3. ชวง พ.ศ. 2535 – ปจจุบัน อานันท ปนยารชุน ขึ้นเปนนายกรัฐมนตรี มีนโยบาย

สนับสนุนองคกรสาธารณประโยชน การเคลื่อนตัวของขบวนการทางสังคมมีความชัดเจนมาก ยิ่งขึ้น เครือขายงานทั้งระดับชาติการเคลื่อนตัวเรียก รองรัฐธรรมนูญ กระบวนการรางรัฐธรรมนูญ คือตัวอยางที่เปนรูปธรรม และระดับขามชาติเกิดจากการขยายตัวของทุนนิยมขามชาติหรือระบวนการ โลกาภิวัฒนทางเศรษฐกิจที่มีผลกระทบทางสังคมสูง ภายในประเทศเดียวกันความเลื่อมล้ําระหวางคนรวย กับคนจนมีเพ่ิมมากขึ้น ระดับระหวางประเทศชองวางระหวางประเทศพัฒนาแลวกับประเทศกําลังพัฒนาหรือดอยพัฒนามีเพ่ิมมากขึ้น ซึ่งสหประชาชาติไดยอมรับวา การพัฒนาแนวเสรีนิยมและกระบวนการ โลกาภิวัตน (ทางเศรษฐกิจ) มีผลตอการพัฒนาของประเทศตางๆ ในโลกทั้งทางบวกและลบ UNDP ใหนิยามกระบวนการโลกาภิวัตนในรายงาน Human Development Report 1999 ดังนี้

"กระบวนการโลกาภิวัตน คือ การเปลี่ยนแปลงที่มีพลังงานมากในชวงทศวรรษสุดทายของสหัสวรรษที่ 20 และมีอิทธิพลในยุคสมัยใหมในการกําหนดความสัมพันธระหวางรัฐชาติ ระหวางระบบเศรษฐกิจและผูคนชวยเพ่ิมการติดตอของผูคนระหวางรัฐชาติทั้งทางดานเศรษฐกิจ เทคโนโลยี วัฒนธรรมและธรรมาภิบาล ขณะเดียวกัน โลกาภิวัตนทําใหเกิดการแยกสวนกระบวนการผลิต ตลาด แรงงาน องคกรการเมืองและสังคม และมีผลในดาน ลบโดยผลักดันคนบางกลุมออกจากกระบวนการทางสังคมดวย" นอกจากนี้ สหประชาชาติไดเสนอแนวคิดเรื่อง การพัฒนาโดยใชคนเปนศูนยกลางในหลายรูปแบบ ผานองคกรตางๆของ องคกรสหประชาชาติ โดยไดรับการสนับสนุนจากประเทศมหาอํานาจหลายประเทศและระหวางประเทศ เชน UNICEF

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

ภาคผนวก ข แบบประเมนิความพึงพอใจการดําเนินโครงการสนับสนุนใหองคกรไมหวังผลกําไรใหมี

สวนรวมในการปองกันแกไขปญหาวัณโรค

1.ขอมูลพื้นฐาน 1.1 ผูใหขอมูล เพศ ( ) ชาย ( ) หญิง อายุ………...ป 2.ขอมูลความพึงพอใจ คําชี้แจง: ทานมีความรูสึกพึงพอใจมากนอยแคไหน กับการดําเนินงานโครงการสนับสนุนองคกรไมหวังผลกําไรใหมีสวนรวมในการปองกันแกไขปญหาวัณโรค ตามเนื้อหาขอคําถามดานตาง ๆ โปรดทําเคร่ืองหมาย / ในชองความพึงพอใจที่มีขอความที่ตรงกับความคิดเห็นของทานมากที่สุด

1. ความพึงพอใจดานกระบวนการและขั้นตอนการบริหารจัดการโครงการขององคกร

ความพึงพอใจ ขอคําถาม มากที่สุด มาก ปาน

กลาง นอย นอยท่ีสุด

1. กระบวนการพิจารณาจัดสรรงบประมาณสนับสนุนองคกรไมหวังผลกําไรดานวัณโรคที่มีสวนรวมจากผูแทนหลายภาคสวน

2.ความเหมาะสมของงบประมาณที่จัดสรรใหกับโครงการ

3.ความรวดเร็วในการเบิกจายเงินหลังจากทานสงรายงานผลการ ดําเนินงาน

4. การติดตาม กํากับ ระหวางการดําเนินโครงการ

2. ความพึงพอใจดานเจาหนาท่ีองคกร

1. การอธิบาย ใหขอมูลขาวสารเกี่ยวกับระเบียบขั้นตอน แนวทางการทํางาน

2. วิธีการติดตอประสานงานของเจาหนาที่

3. ความเอาใจใสในการสนับสนุน การทํางานใหกับองคกรที่รับทุน

3. ความพึงพอใจดานสิ่งอํานวยความสะดวก

1. เอกสาร คูมือ แนวทางการดําเนินงาน แบบฟอรมตางๆ ที่ใชใน การดําเนินงาน

2. การพัฒนาทักษะและความรูในการจัดทําโครงการ

3. การทําความเขาใจเกี่ยวกับขั้นตอนตาง ๆ ในการดําเนินงานตามโครงการ (การทําสัญญา การรายงานผล การรายงานและหลักฐานการเบิกจายเงิน)

4. การจัดเวทีแลกเปล่ียนเรียนรูรวมกัน

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

41

3. ขอเสนอแนะเพื่อพัฒนาทักษะและการฝกอบรม คําชี้แจง : กรุณาตอบเรียงตามลําดับความสําคัญ 1=สําคัญมากที่สุด 2=สําคัญมาก 3=สําคัญปานกลาง 4= สําคัญนอย 5= สําคัญนอยที่สุด โปรดระบุ ตัวเลข 1-5 ในวงกลม ความตองการการพัฒนาทักษะและการฝกอบรมเพื่อการดําเนินงานขององคกรไมหวังผลกําไรใหมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล

การเขียนโครงการ การทําความเขาใจเกี่ยวกับขั้นตอนตางๆ ในการดําเนินงานตามโครงการ การรายงานผลการดําเนินงาน การทําความเขาใจกับสถานการณปญหาและผลกระทบตอกลุมเปาหมายที่รับผิดชอบ

อื่นๆระบุ.................................................................

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

ภาคผนวก ค

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

ภาคผนวก ง

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

44

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

45

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

ภาคผนวก จ

ภาพตัวอยางงบการเงินขององคกรไมหวังผลกําไร

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

ภาคผนวก ฉ ภาพแสดงงบประมาณทีส่นับสนุนโครงการในประเทศไทยขององคกรไมหวังกําไรแหง

หน่ึงกับการใชไปของเงินทุนในแตละโครงการ

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

ประวัติผูศึกษา

ชื่อ นางสาวอัจฉรา สายสุวรรณ เกิดวันที่ 14 กุมภาพันธ 2517 จบการศึกษาปริญญาตรีคณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยรามคําแหง ป 2537 ตอมาจบการศึกษาปริญญาตรีคณะบัญชี มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ป 2546 ปจจุบันทํางานอยู องคกร American Refugee Committee International ตําแหนงเจาหนาที่ฝายบัญชีการเงิน

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

Recommended