Webometrics and its Evaluation...

Preview:

Citation preview

Webometrics and its Evaluation Criteria

Presented by Pita Jarupunphol24-25 January 2018

Suratthani Rajabhat University

เกี่ยวกับ พิทา จารุพูนผล❏ อาจารยสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ

มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต❏ ผูอํานวยการสํานักวิทยบริการและเทคโนโลยี

สารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต❏ ประธานเครือขายสํานักวิทยบริการและ

เทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏทั่วประเทศ

❏ กรรมการสภามหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต ❏ กรรมการขับเคลื่อนภูเก็ตอัจฉริยะ (Phuket

Smart City)

ประวัติการทํางานที่ตางประเทศ● พ.ศ. 2541 - 2542 เจาหนาที่เทคนิคดูแลระบบเครือขายสําหรับหองปฏิบัติการคอมพิวเตอรที่

Irrawara Technology Corporation, Wollongong University College, Australia● พ.ศ. 2551 – 2552 เจาหนาที่หองสมุด ที่ The University of Auckland Library and

Learning Services, New Zealand● พ.ศ. 2552 - 2555 ผูสอนภาคปฏิบัติวิชา CS111 - Mastering Cyberspace ของภาควิชา

วิทยาการคอมพิวเตอร คณะวิทยาศาสตร ที่ University of Auckland● พ.ศ. 2554 - 2555 ผูชวยนักวิจัยใหกับศาสตราจารยฟรานซิส คอลลินส ภาควิชาภูมิศาสตร

และสิ่งแวดลอม ที่ University of Auckland● พ.ศ. 2553 - 2554 อาจารยประจําวิชา คอมพิวเตอรธุรกิจ (NZDIP BUS 550 - Business

Computing) ที่ Oxford International Academy (Auckland, New Zealand)● พ.ศ. 2554 - 2555 อาจารยประจําวิชา คอมพิวเตอรธุรกิจ (NZDIP BUS 550 - Business

Computing) และ องคการและการจัดการ (NZDIP BUS 530 - Organisation and Management) ที่ Kiwi Institute of Training and Education (Auckland, New Zealand)

Webometrics

Webometrics?● เว็บไซตจัดอันดับอะรูมิไร● เว็บไซตจัดอันดับคุณภาพสถาบันการศึกษา?● เว็บไซตจัดอันดับคุณภาพเว็บไซตสถาบันการศึกษา?● เว็บไซตจัดอันดับคุณภาพ e-university, digital university, smart university,

university 4.0?

ขอดีของ Webometrics ❖ Understandable❖ Practicable❖ Scalable❖ Measurable❖ Manageable❖ Profitable?❖ etc.

Webometrics ถูกใชเปนเครื่องมือประชาสัมพันธ

มุมมองจากผูประเมิน

1. Webometrics เชื่อถือไมได2. Webometrics คือการจัดอันดับคุณภาพเว็บ ไมเกี่ยวกับ

คุณภาพการศึกษา3. มหาวิทยาลัยที่มีคุณภาพไมเชื่อมั่นใน Webometrics4. ผมไมเคยใหความสําคัญกับ Webometrics5. พวกคุณไมตองใหเครดิตกับ Webometrics6. อื่นๆอีกมากมาย

ผูรับผิดชอบ?

หลักการจัดอันดับของ Webometrics

สมมติฐาน (Hypothesis)

❖ คุณภาพทางการศึกษาของมหาวิทยาลัยมีความสัมพันธกับคุณภาพของเว็บไซตของมหาวิทยาลัยนั้นในทิศทางเดียวกัน

❖ คุณภาพทางการศึกษาของมหาวิทยาลัยสงผลตอคุณภาพของเว็บไซตของมหาวิทยาลัยนั้น

❖ คุณภาพของเว็บไซตของมหาวิทยาลัยสงผลตอคุณภาพทางการศึกษาของมหาวิทยาลัยนั้น

❖ คุณภาพโครงสรางดิจิทัลพื้นฐานของมหาวิทยาลัยมีความสัมพันธกับการจัดอันดับของ Webometrics???!!

Webometrics Quality Evaluation Criteria

100%

ACTIVITY (50%)- PRESENCE (1/3)- OPENNESS (1/3)- EXCELLENCE (1/3)

VISIBILITY, IMPACT (50%)

How to achieve an outstanding position in Webometrics?

Evaluation Criteria➔ Standardisation➔ Links➔ Contents➔ Words and Sentences➔ Structure➔ Search Engine Friendliness➔ Update➔ Publications

Evaluation Criteria

➔ Standardisation➔ Links➔ Contents➔ Words and Sentences➔ Structure➔ Search Engine Friendliness➔ Update➔ Publications

Evaluation Criteria

➔ Standardisation➔ Links➔ Contents➔ Words and Sentences➔ Structure➔ Search Engine Friendliness➔ Update➔ Publications

Evaluation Criteria

➔ Standardisation➔ Links➔ Contents➔ Words and Sentences➔ Structure➔ Search Engine Friendliness➔ Update➔ Publications

Evaluation Criteria

➔ Standardisation➔ Links➔ Contents➔ Words and Sentences➔ Structure➔ Search Engine Friendliness➔ Update➔ Publications

Evaluation Criteria

➔ Standardisation➔ Links➔ Contents➔ Words and Sentences➔ Structure➔ Search Engine Friendliness➔ Update➔ Publications

Evaluation Criteria

➔ Standardisation➔ Links➔ Contents➔ Words and Sentences➔ Structure➔ Search Engine Friendliness➔ Update➔ Publications

Evaluation Criteria

➔ Standardisation➔ Links➔ Contents➔ Words and Sentences➔ Structure➔ Search Engine Friendliness➔ Update➔ Publications

Evaluation Criteria

➔ Standardisation➔ Links➔ Contents➔ Words and Sentences➔ Structure➔ Search Engine Friendliness➔ Update➔ Publications

ผูรับผิดชอบ?

PKRU Webometrics

มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหมศึกษาดูงานที่มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ตในเดือนธันวาคม

2559

ขอมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับ Webometrics

การอางอิงสิทธบทความ ผลงานวิชาการบน

Google Scholar คือ อะไร

1. สวนบริการเสริมของ Google ที่รวบรวมบทความทางวิชาการ และจํานวนบทความทางวิชาการที่ถูกอางอิงของนักวิชาการ ซึ่งสามารถถูกสืบคนไดโดย Google

2. นักวิชาการสามารถใชอีเมลของตนเองในการยืนยันสถานะนักวิชาการ สถาบัน ความเปนเจาของบทความ และจํานวนบทความที่ถูกอางอิงของตนเอง

3. จํานวนบทความทางวิชาการ และจํานวนบทความทางวิชาการที่ถูกอางอิงจะปรากฏในนามของมหาวิทยาลัยโดยรวม (การใชอีเมลของมหาวิทยาลัย จะทําใหการสืบคนสถานะนักวิชาการงายขึ้น)

ใชงาน Google Scholar อยางไร

อาจารยของมหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต สามารถใชอีเมลของมหาวิทยาลัยที่เปนสวน

หนึ่งของ Google Education เพื่อใชงาน Google Scholar โดยที่อาจารยสามารถใช

โปรแกรมตางๆของ Google และจัดเก็บไฟลตางๆบนระบบคลาวดของ Google ได

แบบไมจำกัดเนื้อที่ เชน

p.jarupunphol@pkru.ac.th

ทําไมตอง Google Scholar

1. จํานวนบทความทางวิชาการ และจํานวนบทความทางวิชาการที่ถูกอางอิงปรากฏในนามของมหาวิทยาลัยโดยรวม เปนตัวชี้วัดที่สําคัญสําหรับการจัดอันดับคุณภาพของมหาวิทยาลัย

2. Webometrics ใช จํานวนบทความทางวิชาการ และจํานวนบทความทางวิชาการที่ถูกอางอิงในนามของมหาวิทยาลัยบน Google Scholar เปนตัวชี้วัดทางดาน Openness

Contributions?

Top Universities by Google Scholar Citations 2017 (4th Edition)

Rank University Country Citations

1 Chulalongkorn University Thailand 64,285

2 Mahidol University Thailand 49,633

3 Asian Institute of Technology Thailand Thailand 28,705

4 King Mongkut's University of Technology Thonburi Thailand 28,471

5 Suranaree University of Technology Thailand 23,457

6 Thammasat University Thailand 14,301

7 Prince of Songkla University Thailand 13,724

8 King Mongkut's Institute of Technology Ladkrabang Thailand 13,625

9 Kasetsart University Thailand 13,567

10 Naresuan University Thailand 13,552

Rank Rajabhat University Country Citations

1 Suan Sunandha Rajabhat University Thailand 3,475

2 Nakhon Pathom Rajabhat University Thailand 2,400

3 Pibulsongkram Rajabhat University Thailand 2,357

4 Phuket Rajabhat University Thailand 1,316

นักวิชาการ และบทความที่ถูกอางอิง (citations) ของ มรภ.ภูเก็ต บน Google Scholar มีจํานวนเทาไรในปจจุบัน?

จํานวนนักวิชาการที่สามารถถูกสืบคนโดย Google Scholar มีเพียง 25 คน จากจํานวนอาจารยภายในมรภ.ภูเก็ตทั้งหมด

จํานวนบทความที่ถูกอางอิงที่สามารถถูกสืบคนโดย Google Scholar มีเพียง 1,624 การอางอิง

http://www.webometrics.info/en/node/194

ขั้นตอนการสมัคร Google Scholar

กรอกที่อยูเว็บไซต http://scholar.google.co.th

คลิกที่ My Citations (การอางอิงของฉัน)

กรอกขอมูลเปนภาษาอังกฤษName: Firstname and Lastname

Affiliation: Phuket Rajabhat University

Email for verification: xxxx@pkru.ac.th

Areas of interest: Public Health, Marketing, Finance, Computer Security, etc.

Homepage: (ถาม)ี

อางสิทธิ์ความเปนเจาของบทความ

1. หากมีบทความที่ถูกเผยแพรในเครือขายอินเทอรเน็ต บทความตางๆ ที่เขียนโดยบุคคลที่มีชื่อเหมือนเราจะปรากฏ ใหคลิก "เพิ่มบทความทั้งหมด" ที่อยูขางกลุมบทความที่เปนของเรา หรือ "ดูบทความทั้งหมด" เพื่อเพิ่มบทความที่ตองการจากกลุมนั้น

2. หากมองไมเห็นบทความตนเองในกลุมเหลานี้ ใหคลิ๊ก "คนหาบทความ" เพื่อทําการคนหาใน Google Scholar ตามปกติ แลวเพิ่มบทความทีละรายการ โดยสามารถคนหากี่ครั้งก็ไดตามตองการ

อางสิทธิ์ความเปนเจาของบทความ

อัปเดตโปรไฟลโดยอัตโนมัติหลังจากที่เพิ่มบทความเสร็จแลว ระบบจะถามวาตองการดําเนินการอยางไรเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงขอมูลของบทความใน Google Scholar ใหเลือกวาตองการใหทําการอัปเดตโปรไฟลโดยอัตโนมัติ

ปรับแตง My Profile (โปรไฟลของฉัน)1. เราสามารถปรับแตงคาเพิ่มเติม

และคลิ๊กที่ลิงคเพื่อยืนยัน ตรวจสอบรายชื่อบทความ

2. หลังจากนั้น ใหเลือกเผยแพรโปรไฟลตอสาธารณะ เพื่อใหขอมูลบทความเราสามารถถูกสืบคนไดจากภายนอก

h-index & i10-index

คา h-index (Hirsch index/Hirsch number)

❖ คา h-index (Hirsch index/Hirsch number) คือคาดัชนีที่ใชในการวิเคราะหผลงานวิจัยในเชิงคุณภาพและปริมาณของนักวิจัย

❖ ถูกคิดคนขึ้นในป 2005 โดย Professor Jorge E. Hirsch นักฟสิกสแหงมหาวิทยาลัย California San Diego เพื่อใชวัดผลผลิต (Productivity) และผลกระทบ (Impact) ของงานวิจัยที่ไดรับการตีพิมพเผยแพรของนักวิจัย

❖ วัดจากจํานวนบทความที่ไดรับการอางอิงมากที่สุด และจํานวนการอางอิงที่บทความไดรับ

❖ ประยุกตใชกับตัวบุคคล หนวยงาน สถาบัน วารสาร และประเทศ❖ Pita Jarupunphol มีคา h-index = 7 ⇒ จํานวนบทความที่ Pita Jarupunphol ตีพิมพ

ทั้งหมด N บทความ มีอยู 7 บทความที่ไดรับการอางอิง >= 7 ครั้ง สวนบทความที่เหลือไดรับการอางอิง < 7 ครั้ง

คา i10-index (Hirsch index/Hirsch number)

❖ คา i10-index คือคาดัชนีที่ใชในการวิเคราะหผลงานวิจัยในเชิงคุณภาพและปริมาณของนักวิจัย ถูกคิดคนโดย Google Scholar เพื่อใชวัดจํานวนบทความที่ไดรับการอางอิง >= 10

❖ ประยุกตใชกับตัวบุคคล หนวยงาน สถาบัน วารสาร และประเทศ❖ Pita Jarupunphol มีคา i10-index = 4 ⇒ จํานวนบทความที่ Pita Jarupunphol ตี

พิมพทั้งหมด มี 4 บทความที่ไดรับการอางอิงอยางนอย 10 ครั้ง

หากบทความไมปรากฏอยูในโปรไฟล1. สามารถเพิ่มบทความโดยการคลิ๊ก

“เพิ่ม” จากเมนูการทํางาน จากนั้น Scholar จะทําการคนหาบทความของเรา โดยใช“ชื่อเรื่อง” “คําหลัก” หรือ “ชื่อของเรา”

2. หาก Scholar คนหาไมเจอขอมูล จะปรากฏรายละเอียดดังภาพ จากนั้นใหคลิก “เพิ่มบทความดวยตนเอง”

สถานะนักวิชาการ Google Scholar

การปรับแตง

การเพิ่มบทความที่สืบคนลงในหองสมุดของฉัน

หองสมุดของฉัน

Recommended