เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการประกันคุณภาพการศึกษา...

Preview:

DESCRIPTION

 

Citation preview

ICT for QA

ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB

การประกันคุณภาพการศึกษา

ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB

ประกันคุณภาพ

ตาม พ.ร.บ. การศึกษา พ.ศ. 2542

“การประกันคุณภาพภายใน” หมายความว่า การประเมินผลและการติดตาม

ตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาจากภายใน โดย

บุคลากรของสถานศึกษานั้นเอง หรือโดยหน่วยงานต้นสังกัดที่มีหน้าที่ก ากับ

ดูแลสถานศึกษานั้น

ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB

ประกันคุณภาพ

ตาม พ.ร.บ. การศึกษา พ.ศ. 2542

“การประกันคุณภาพภายนอก” หมายความว่า การประเมินผลและการติดตาม

ตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาจากภายนอก โดย

ส านักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษาหรือบุคคลหรือหน่วยงาน

ภายนอกที่ส านักงานดังกล่าวรับรอง เพื่อเป็นการประกันคุณภาพและให้มีการพัฒนา

คุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา

ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB

ประกันคุณภาพ

ตาม พ.ร.บ. การศึกษา พ.ศ. 2542

มาตรา 9 การจัดระบบ โครงสร้าง และกระบวนการจัดการศึกษา

(3) มีการก าหนดมาตรฐานการศึกษา และจัดระบบประกันคุณภาพ

การศึกษาทุกระดับและประเภทการศึกษา

ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB

ประกันคุณภาพ

ตาม พ.ร.บ. การศึกษา พ.ศ. 2542

มาตรา 9 การจดัระบบ โครงสร้าง และกระบวนการจดัการศกึษา

(3) มีการก าหนดมาตรฐานการศึกษา และจัดระบบประกันคุณภาพ

การศกึษาทกุระดบัและประเภทการศกึษา

ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB

ประกันคุณภาพ

ตาม พ.ร.บ. การศึกษา พ.ศ. 2542

หมวด 6 มาตรการและการประกันคุณภาพการศึกษา

มาตรา 47 ให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพ

และมาตรฐานการศึกษาทุกระดับ ประกอบด้วย ระบบการประกันคุณภาพภายใน

และระบบการประกันคุณภาพภายนอกระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพ

การศึกษา ให้เป็นไปตามที่ก าหนดในกฎกระทรวง

ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB

ประกันคุณภาพ ตาม พ.ร.บ. การศึกษา พ.ศ. 2542

หมวด 6 มาตรการและการประกันคุณภาพการศึกษา

มาตรา 48 ให้หน่วยงานต้นสังกัดและสถานศึกษาจัดให้มีระบบการประกัน

คุณภาพภายในสถานศึกษาและให้ถือว่าการประกันคุณภาพภายในเป็นส่วนหนึ่งของ

กระบวนการบริหารการศึกษาที่ต้องด าเนินการอย่างต่อเนื่อง โดยมีการจัดท ารายงาน

ประจ าปี เสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง และเปิดเผยต่อ

สาธารณชน เพื่อน าไปสู่การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา และเพื่อรองรับ

การประกันคุณภาพภายนอก

ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB

ประกันคุณภาพ ตาม พ.ร.บ. การศึกษา พ.ศ. 2542

หมวด 6 มาตรการและการประกันคุณภาพการศึกษา มาตรา 49 ให้มีส านักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา มีฐานะเป็นองค์การมหาชนท าหน้าที่พัฒนาเกณฑ์ วิธีการประเมินคุณภาพภายนอก และท าการประเมินผลการจัด การศึกษาเพื่อให้มีการตรวจสอบคุณภาพของสถานศึกษา โดยค านึงถึงความมุ่งหมายและหลักการและแนวการจัดการศึกษาในแต่ละระดับตามที่ก าหนดไว้ในพระราชบัญญัตินี้ ให้มีการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษาทุกแห่งอย่างน้อยหนึ่งครั้งในทุกห้าปีนับตั้งแต่การประเมินครั้งสุดท้าย และเสนอผลการประเมินต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและสาธารณชน

ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB

ประกันคุณภาพ ตาม พ.ร.บ. การศกึษา พ.ศ. 2542

หมวด 6 มาตรการและการประกันคุณภาพการศกึษา มาตรา 50 ให้สถานศึกษาให้ความร่วมมือในการจัดเตรียมเอกสารหลักฐานต่าง ๆ ท่ีมีข้อมูลเ ก่ียวข้องกับสถานศึกษา ตลอดจนให้บุคลากร คณะกรรมการของสถานศึกษา รวมทัง้ผู้ ปกครองและผู้ ท่ีมีส่วนเก่ียวข้องกับสถานศึกษาให้ข้อมูลเพิ่มเติมในส่วนท่ีพิจารณาเห็นว่า เก่ียวข้องกับการปฏิบัติภารกิจของสถานศกึษา ตามค าร้องขอของส านกังานรับรองมาตรฐาน และประเมินคณุภาพการศกึษาหรือบคุคลหรือหน่วยงานภายนอกท่ีส านกังานดงักลา่วรับรอง ที่ท าการประเมินคณุภาพภายนอกของสถานศกึษานัน้

ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB

ประกันคุณภาพ ตาม พ.ร.บ. การศึกษา พ.ศ. 2542

หมวด 6 มาตรการและการประกันคุณภาพการศึกษา มาตรา 51 ในกรณีที่ผลการประเมินภายนอกของสถานศึกษาใดไม่ได้ตามมาตรฐานที่ก าหนด ให้ส านักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา จัดท าข้อเสนอแนะ การปรับปรุงแก้ไขต่อหน่วยงานต้นสังกัด เพื่อให้สถานศึกษาปรับปรุงแก้ไขภายในระยะเวลาที่ก าหนด หากมิได้ด าเนินการ ดังกล่าว ให้ส านักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษารายงานต่อคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการการอาชีวศึกษา หรือคณะกรรมการการอุดมศึกษา เพื่อด าเนินการให้มีการปรับปรุงแก้ไข

ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB

ประกันคุณภาพ พ.ร.บ.ส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ. 2551 กับ

การประกันคุณภาพการศึกษา

มาตรา 20 ให้ส านักงานจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษานอกระบบซึ่งเป็นระบบการประกันคุณภาพภายในส าหรับสถานศึกษาที่มีคุณภาพและมาตรฐานสอดคล้องกับกฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติ ให้สถานศึกษาด าเนินการประกันคุณภาพภายในให้สอดคล้องกับระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพภายใน โดยได้รับความร่วมมือ ส่งเสริม และสนับสนุนจากภาคีเครือข่ายและส านักงาน ระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพภายใน ให้เป็นไปตามที่ก าหนดในกฎกระทรวง

ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB

ประกันคุณภาพ

หลักเกณฑ์การประกันคุณภาพการศึกษาภายในที่ระบุในกฎกระทรวงให้พิจารณาจากประเด็นต่อไปนี้ • ระบบการประกันคุณภาพภายในของคณะวิชาและสถานศึกษาระดับ

อุดมศึกษาโดยค านึ งถึ งมาตรฐานการศึกษาระดับอุดมศึกษาตามที่กระทรวงศึกษาธิการประกาศก าหนด

• ผลการปฏิบัติงานของคณะวิชาและสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาตามระบบการประกันคุณภาพภายในที่ก าหนดไว

• ประสิทธิภาพและประสิทธิผลการด าเนินงานตามระบบการประกันคุณภาพภายในที่ส่งผลต่อคุณภาพการศึกษาตามตัวบ่งชี้คุณภาพการศึกษา

ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB

ประกันคุณภาพ

การวิเคราะห์และวัดผลดาเนินงานเป็นสิ่งจ าเป็นในกระบวนการประกันคุณภาพ การวัดและวิเคราะห์ผลการด าเนินงานจะไม่สามารถท าไดอย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพหากปราศจากฐานขอมูลและระบบสารสนเทศที่เป็นจริง ถูกต้องตรงกันทุกระดับตั้งแต่ระดับบุคคล ภาควิชา คณะวิชา และสถาบัน ตลอดจนเป็นข้อมูลที่สามารถเรียกใช้ได้อย่างรวดเร็ว ดังนั้น ระบบสารสนเทศที่ดีมีประสิทธิภาพจึงเป็นปัจจัยส าคัญยิ่งที่จะส่งผลต่อความส าเร็จของการประกันคุณภาพการศึกษา และส่งผลต่อคุณภาพในทุกขั้นตอนการด าเนินงานตั้งแต่การวางแผน การปฏิบัติงานประจ าการตรวจสอบประเมิน ตลอดจนถึงการปรับปรุงและพัฒนา

ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB

ประกันคุณภาพ

องค์ประกอบการประกันคุณภาพโดยทั่วไป

• การควบคุมคุณภาพ (Quality Control)

• การตรวจสอบคุณภาพ (Quality Audit)

• การตรวจสอบคุณภาพภายใน (Internal Quality Audit)

• การตรวจสอบคุณภาพจากภายนอก (External Quality Audit)

• การรับรองคุณภาพ (Quality Accreditation)

• การประเมินคุณภาพ (Quality Assessment)

ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB

การประกันคุณภาพอีเลิร์นนิง

ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB

ที่มา: Thailand Cyber University

ประกันคุณภาพอีเลิร์นนิง

สถาบันที่จัดการศึกษาทางไกลแบบอีเลิร์นนิงต้องด าเนินการพัฒนา

หลักสูตรแบบอีเลิร์นนิงโดยก าหนดมาตรฐานหลักสูตรภายใต้ข้อก าหนด

เช่นเดียวกับหลักสูตรทั่วไปที่จัดการเรียนการสอนแบบปกติ

ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB

ที่มา: Thailand Cyber University

การประกันคุณภาพหลักสูตร

ส านักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ .) ก าหนดมาตรฐานการประกันคุณภาพหลักสูตรสถาบันการศึกษาต้องก าหนดระบบการประกันคุณภาพของหลักสูตรทุกหลักสูตรให้ชัดเจน ซึ่งอย่างน้อยจะต้องประกอบด้วยประเด็นหลัก 4 ประเด็น คือ

1. การบริหารหลักสูตร 2. ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน 3. การสนับสนุนและการให้ค าแนะน านักศึกษา 4. ความต้องการของตลาดแรงงาน สังคม และ/หรือความพึงพอใจของ

ผู้ใช้บัณฑิต

ประกันคุณภาพอีเลิร์นนิง

ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB

ที่มา: Thailand Cyber University

การประกันคุณภาพหลักสตูรแบบอีเลริ์นนิง

กระทรวงศึกษาธิการ ประกาศหลักเกณฑ์การขอเปิดและ

ด าเนินการหลักสูตรระดับปริญญา ในระบบการศึกษาทางไกล พ .ศ.

2548 ก าหนดให้หลักสูตรทุกหลักสูตรของการศึกษาทางไกลจะต้อง

ก าหนดและพัฒนาระบบประกันคุณภาพของหลักสูตรให้มีประสิทธิภาพ

และเหมาะสมกับการจัดการศึกษาทางไกล

ประกันคุณภาพอีเลิร์นนิง

ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB

ที่มา: Thailand Cyber University

ประกันคุณภาพอีเลิร์นนิง การประกันคุณภาพหลักสูตรแบบอีเลร์ินนิง

อย่างน้อยต้องประกอบด้วย 4 ประเด็น เหมือนกับการจัดหลักสูตรทัว่ไป คือ

1. การบริหารหลกัสูตร 2. ทรพัยากรประกอบการเรียนการสอน 3. การสนบัสนนุและการใหค้ าแนะน านกัศึกษา 4. ความตอ้งการของตลาดแรงงาน สงัคม และ/หรือความพึงพอใจของ

ผูใ้ชบ้ณัฑิต และก าหนดให้ทุกหลักสูตรมีการพัฒนาหลักสูตรให้ทันสมัยมีการประเมินเพ่ือพฒันาหลกัสตูรอยา่งตอ่เน่ืองอยา่งน้อยทกุ ๆ 5 ปี

ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB

ที่มา: Thailand Cyber University

ประกันคุณภาพอีเลิร์นนิง

ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB

ที่มา: Thailand Cyber University

ตัวอย่าง เกณฑ์ มาตรฐานด้านหลักสูตร เกณฑ ์ หลักฐานอ้างอิง

1. มีหลักสูตรที่เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานอุดมศึกษาหรือมาตรฐานองค์กรวิชาชีพ (แล้วแต่กรณี)

หลักสูตรปริญญาบัณฑิต จ านวน 12 สาขาวิชา

หลักสูตรบัณฑิตศึกษา 5 สาขาวิชา 2. มีระบบหรือกลไกในการบริหารหลักสูตรทุก

หลักสูตร ผู้รับผิดชอบหลักสูตรต่าง บันทึกการประชุมอาจารย์ประจ าหลักสูตร รายช่ือผู้รับผิดชอบรายวิชาพื้นฐานของ

สถาบัน 3. มีการประเมินหลักสูตโดยนักศึกษาที่ก าลังจะ

ส าเร็จการศึกษา ในทุกปีการศึกษา สรุปผลการประเมินหลักสูตรโดยนักศึกษา

ประจ าปีการศึกษา สรุปผลการประเมินการฝึกงาน

4. มีการประเมินหลักสูตรโดยผู้ทรงคุณวุฒิและผู้ใช้บัณฑิต ทุก หนึ่งรอบการศึกษาตามหลักสูตร

แบบประเมินหลักสูตรโดยผู้ใช้บัณฑิต แบบประเมินหลักสูตรโดยผู้ทรงคุณวุฒ

5. มีการน าผลการประเมินมาปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตร

หลักสูตรฉบับปรับปรุง

ประกันคุณภาพอีเลิร์นนิง ที่มา: Thailand Cyber University

ประกันคุณภาพอีเลิร์นนิง

ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB

ที่มา: Thailand Cyber University

ประกันคุณภาพอีเลิร์นนิง

ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB

ที่มา: Thailand Cyber University

ประกันคุณภาพอีเลิร์นนิง

ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB

ที่มา: Thailand Cyber University

ประกันคุณภาพอีเลิร์นนิง

ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB

ที่มา: Thailand Cyber University

ประกันคุณภาพ แบบจ าลองระบบพัฒนาหลกัสตูรการสอนทางไกล

ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB

ที่มา: Thailand Cyber University

ขั้นตอนกระบวนการประกันคณุภาพหลกัสูตรแบบอีเลิร์นนิง 1. คณะ/หน่วยงาน

1.1 การประสานหลักสูตรจัดท าแผนประเมินหลักสูตร 1.2 คณะ/หน่วยงานแจ้งแผนตามข้อ 1.1 ให้สถาบันทราบ 1.3 คณะ/หน่วยงานแต่งตั้งคณะกรรมการประกันคุณภาพหลักสูตรของคณะ/หน่วยงาน ทั้งนี้ควรมีผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกร่วมเป็นกรรมการ

2. หลักสูตร ด าเนินการประกันคุณภาพตามหลักสูตร และเตรียมการเพื่อการประเมินตนเองตามกรอบที่สถาบันก าหนด

ประกันคุณภาพอีเลิร์นนิง

ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB

ที่มา: Thailand Cyber University

ขั้นตอนกระบวนการประกันคุณภาพหลักสูตรแบบอีเลิร์นนิง

2. หลักสูตร ด าเนินการประกันคุณภาพตามหลักสูตร และเตรียมการเพื่อการประเมินตนเองตามกรอบที่สถาบันก าหนด

3. คณะกรรมการประกันคุณภาพหลักสูตรของคณะ /หน่วยงาน พิจารณาผลการประเมินตนเอง

4. คณะกรรมการประจ าคณะ/หน่วยงาน พิจารณาประเมินตนเอง แจ้งผลให้หลักสูตรคณะ / หน่วยงาน และสถาบันทราบ

5. คณะกรรมการวิชาการของสถาบัน รับทราบและพิจารณาประเมินจากข้อ 4

ประกันคุณภาพอีเลิร์นนิง

ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB

ที่มา: Thailand Cyber University

ประกันคุณภาพอีเลิร์นนิง

ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB

ที่มา: Thailand Cyber University

ประกันคุณภาพอีเลิร์นนิง

ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB

ที่มา: Thailand Cyber University

ประกันคุณภาพอีเลิร์นนิง

ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB

ที่มา: Thailand Cyber University

ประกันคุณภาพอีเลิร์นนิง

ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB

ที่มา: Thailand Cyber University

ประกันคุณภาพอีเลิร์นนิง

ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB ที่มา: Thailand Cyber University

ที่มา: Thailand Cyber University

ประกันคุณภาพอีเลิร์นนิง

ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB

ที่มา: Thailand Cyber University

ประกันคุณภาพอีเลิร์นนิง

ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB

ที่มา: Thailand Cyber University

ประกันคุณภาพอีเลิร์นนิง

ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB

ที่มา: Thailand Cyber University

ประกันคุณภาพอีเลิร์นนิง

ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB

ที่มา: Thailand Cyber University

ประกันคุณภาพอีเลิร์นนิง

ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB

ที่มา: Thailand Cyber University

ประกันคุณภาพอีเลิร์นนิง

ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB

ที่มา: Thailand Cyber University

สรุปแนวคิดการจัดตั้งสถาบันการศกึษาอีเลิร์นนิง แนวคิด รูปแบบ ลักษณะ

แนวคิดที่ 1

1. สถาบันทั่วไปที่มีโปรแกรมหลายรูปแบบ

เปิดสอนทั้งระบบปกติและระบบออนไลน ์

2. สถาบันสอนทางไกล ใช้สื่อสิ่งพิมพ์เป็นหลัก มีการใช้ ไอซีทีเพื่อเสริมการเรียนการสอน

3. สถาบันลักษณะที่เป็นตัวแทน รับด าเนินการจัดโปรแกรมหลักสูตร การจัดการเรียนการสอนจากสถาบันอื่น ข้อดีของสถาบันลักษณะนี้ คือ มีความยืดหยุ่นในการลงทะเบียนเรียน และถ่ายทอดได้

4. สถาบันซึ่งเป็นผู้จัดหาข้อมูลและเครื่องอ านวยความสะดวก

สถาบันลักษณะนี้ช่วยสนับสนุนความต้องการของผู้เรียนและสถาบัน เช่น University for Industry

5. สถาบันซึ่งสร้างโดยไม่มีวัตถุประสงค์

สอนผู้เรียนโดยตรง แต่มีอ านาจที่จะให้ใบปริญญา และให้บริการอื่น เช่น The Western Governors University ในสหรัฐอเมริกา

ประกันคุณภาพอีเลิร์นนิง

ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB

ที่มา: Thailand Cyber University

สรุปแนวคิดการจัดตั้งสถาบันการศกึษาอีเลิร์นนิง

แนวคิด รูปแบบ ลักษณะ

1. สถาบันที่ต้ังข้ึนแสวงหาก าไร

จุดประสงค์การจัดต้ังเพื่อสอนโดยตรงให้กับกลุ่มเป าหมายในตลาด

2. สถาบันที่ร่วมมือกันหลาย สถาบัน

เป็นเครือข่าย เพื่อสนองความต้องการในการฝึกอบรม เฉพาะทาง เพื่อให้ได้การรับรองอย่างเป็นทางการ เช่น South Africa Telecom

3. สถาบันเน้นการบริการวิชาการเฉพาะ

ด้าน มีการจัดเก็บค่าบริการวิชาการ เช่น การบริการให้ค าปรึกษา การจัดโครงการสนับสนุนทางด้านเทคนิค เป็นต้น

ประกันคุณภาพอีเลิร์นนิง

ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB

ที่มา: Thailand Cyber University

สรุปแนวคิดการจัดตั้งสถาบันการศกึษาอีเลิร์นนิง แนวคิด รูปแบบ ลักษณะ

แนวคิดที่ 3

1. สถานที่มีรูปแบบ Single Mode

มีจุดเน้นที่ออกแบบและสอนรายวิชาไกล การบริหารจัดการต่าง เช่น การวางแผนการใช้งบประมาณ การจัดหาบุคลากร และทรัพยากรต่าง ที่มีจุดมุ่งหมายเพื่อการศึกษาทางไกลเท่าน้ัน

2. สถาบันแบบ Dual Mode มีการสอนทั้งในช้ันเรียนในมหาวิทยาลัย และเพิ่มช่องทางการสอนแบบอีเลิร์นนิง

3. สถาบันแบบ Mixed Mode

มีทั้งการสอนทางไกลแบบอีเลิร์นนิง และการสอนปกติในสถาบันโดยใช้ผู้สอนชุดเดียวกัน

4. สถาบันลักษณะสมาคม เกิดจากการรวมตัวกันของสถาบันต่าง เพื่อเป็นหุ้นส่วนในการสอนแบบทางไกล ภายใต้การบริหารจัดการของหน่วยงานเดียวกัน

ประกันคุณภาพอีเลิร์นนิง

ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB

ที่มา: Thailand Cyber University

สรุปแนวคิดการจัดตั้งสถาบันการศกึษาอีเลิร์นนิง แนวคิด รูปแบบ ลักษณะ

แนวคิดที่ 4

1. ลักษณะความร่วมมือ (Consortium)

โดยสถาบันการศึกษาแบบอีเลิร์นนิงจะเป็นตัวกลางเช่ือมต่อระหว่างมหาวิทยาลัยและวิทยาลัยในภูมิภาคต่าง ที่ร่วมมือกันก่อตั้งโดยแบ่งใช้ทรัพยากรที่สถาบันการศึกษาแต่ละแห่งมีอยู่ และมีข้อตกลงร่วมกันที่จะรับรองผลการเรียนของสถาบันการศึกษาแบบอีเลิร์นนิงรูปแบบนี้ สามารถเลือกเรียนหลักสูตรของมหาวิทยาลัยใดก็ได้ที่เป็นสมาชิก และสามารถเทียบโอนรายวิชากันได ้

2. เป็นสถาบันการศึกษาแบบอีเลิร์นนิงที่มีหน่วยงานที่มีอ านาจในการให้ปริญญาให้ม่เป็นผู้จัดต้ังข้ึส

โดยปกติจะท างานร่วมกับมหาวิทยาลัยที่มีอยู่แล้ว มหาวิทยาลัยรูปแบบนี้จะท าหน้าที่เป็นธนาคารหน่วยกิต (Credit Bank) มีพื้นที่ส าหรบเก็บสะสมหนวยกิต ของนักศึกษาที่เรียนจากสถาบนต่าง และนับหน่วยกิตของหลักสูตรปริญญาของสถาบันการศึกาษแบบอีเลิร์นนิง

ประกันคุณภาพอีเลิร์นนิง

ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB

ที่มา: Thailand Cyber University

สรุปแนวคิดการจัดตั้งสถาบันแบบอีเลิร์นนิงของประเทศ

ในภูมิภาคเอเชีย

ประกันคุณภาพอีเลิร์นนิง

ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB

สรุปการวิเคราะห์สถาบันที่ได้รับการจัดอันดับการจัด

การศึกษาแบบ e-Learning อันดับที่ 2-6

ประกันคุณภาพอีเลิร์นนิง

ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB

การประกันคุณภาพ ไม่ใช่ภาระ แต่เป็นท างานให้เป็นระบบ ตามกระบวนการเพื่อเกดิผลตามเป้าหมายที่ก าหนดไว้

ขอบคุณค่ะ ฉันทนา ปาปัดถา @DICT II : KMUTNB

Recommended