Social Network as a Learning Companion

Preview:

Citation preview

Social Network as a Learning Companion

นพ.ณัฐกุล แย้มประเสริฐ ภาควิชาออร์โธปิดิกส์

ศูนย์แพทยศาสตรศึกษา โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา

ทำไมต้องใช้ social network?วิถีชีวิต (lifestyle)

การเข้าถึง (accessibility)

พฤติกรรมทางสังคม (social behavior)

Facebook Group

จุดเริ่มต้น...

อ.สรรัตน์ตั้งกลุ่มสำหรับ นศพ.ป ี5 PI โคราช เข้ามาเรียนรู้ระหว่างวนผ่านภาควิชา orthopaedics

นักศึกษาที่เข้ามาในกลุ่ม ส่วนมากยังอยู่ต่อ แม้จะวนไปภาควิชาอื่นหรือจบการศึกษาไปแล้ว

เริ่มชวนนักศึกษาแพทย์ปี 6 จากสถาบันอื่น ๆ ที่วนผ่านหรือมา elective เข้ามาในกลุ่ม เช่น รามาธิบดี วพม. ศิริราช เชียงใหม่ รวมทั้งเชิญเพื่อนอาจารย์แพทย์จากต่างสถาบันมาร่วมกลุ่ม

จำนวนสมาชิก ณ วันที่ 18 มกราคม 2559 = 423 คน

บทบาทครู

กระตุ้นกระบวนการคิด ยกเรื่องราวที่อยู่ในความสนใจของสังคมที่เกี่ยวข้อง

การปล่อยให้เกิดการสนทนาตามธรรมชาติสร้างบรรยากาศที่ดีในการอภิปราย

การมีความเห็นแย้งสะท้อนว่ามีกระบวนการฉุกคิด หรือมีข้อมูลอ้างอิงที่แตกต่างออกไป

สรุปประเด็น หรือ แนะแนวทางหาข้อมูลเพื่อนำไปสู่การตอบคำถาม

ยกตัวอย่างผู้ป่วยจริงเพื่อเรียนรู้ร่วมกัน

มีการโต้แย้งเพื่อหาคำตอบ

สามารถเรียนได้ตลอดเวลา แม้ผ่านไปภาควิชาอื่นแล้ว

การเรียนรู้ต่อเนื่อง

มีปฏิสัมพันธ์ระหว่างครู นักเรียน

บรรยากาศเหมือนพี่น้อง เพื่อนคุยกัน

ความคาดหวัง

นักศึกษานำประเด็นมาตั้งคำถามเพื่อน ๆ ในกลุ่มกันเอง โดยครูเฝ้าดูและเสริมประเด็นอยู่ห่าง ๆ

Line Group

Instant message ส่งข้อความได้รวดเร็ว

สมาชิก = แพทย์ที่โรงพยาบาลชุมชน orthopaedic staff

ใช้ประโยชน์ด้านบริการ เช่น สอบถามแนวทางการรักษา การส่งต่อจากรพช.

ปรึกษาแนวทางการรักษา

ส่งข้อมูลก่อน refer

การใช้ประโยชน์ด้านการศึกษา

นำ case ที่มักจะปรึกษาผ่าน line group บ่อย ๆ ไปวางแผนการเรียนการสอนระดับ undergraduation

รวบรวมประเด็นจากการ consult ในห้อง chat เป็นบันทึกเพื่อใช้อ้างอิงหรือศึกษาเพิ่มเติมภายหลัง

ตัวอย่างการเก็บบันทึก (Note) ใน line group

Take Home Messages

Social Network เป็นเพียงเครื่องมือในการจัดการเรียนรู้

บรรยากาศของการเรียนรู้ใน social network เริ่มต้นจากความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างครู-นักเรียน

Recommended