2
กายภาพบําบัดบริเวณหลัง ทาที่ 3 บริหารขอเทา ทาที่ 1, 2. ทาที่ 3, 4. ทาที่ 4 บิดขอเทา ทาที่ 1. ทาที่ 2. ทาที่ 3. กายบําบัด สะโพก, เขา และขอเทา กายบําบัด ”สะโพก, เขา และ ขอเทา” การทํากายบําบัด ในทุกครั ้งนั ้นตองยึดหลัก... ชาๆ (ไมควรทําเร็ว เพราะอาจบาดเจ็บได) นานๆ (ทํากายภาพบอยๆ สม่ําเสมอ) ทุกทิศทุกทาง (ที่อวัยวะสามารถขยับไปได) ไมเจ็บ (หลีกเลี่ยงบริเวณที่มีอาการเจ็บ) “การทํากายบําบัดตองทําอยางสม่ําเสมอ ไมใชแคเชาหรือวาเย็น ไมใชแค 10 หรือ 20 ครั้ง ควรทําบอยๆ วางเมื่อไหร ทําเมื่อนั้น ทานจะไดประโยชนจากการ ทํากายภาพนั้นๆ เปนอย างมากโทรศัพท: 08-9535-6343 [email protected] เครือขายสุขภาพ ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ศูนยกฎอนามัยระหวางประเทศดานหองปฏิบัติการ กรมวิทยาศาสตรการแพทย กระทรวงสาธารณสุข นนทบุรี 11000 Created with Print2PDF. To remove this line, buy a license at: http://www.software602.com/

แผ่นพับกายภาพ 3

Embed Size (px)

DESCRIPTION

กายภาพ physical therapy

Citation preview

Page 1: แผ่นพับกายภาพ 3

กายภาพบําบัดบริเวณหลัง ทาที่ 3 บริหารขอเทาทาที่ 1, 2.

ทาที่ 3, 4.

ทาที่ 4 บิดขอเทาทาที่ 1.

ทาที่ 2.

ทาที่ 3.

กายบาํบัด สะโพก, เขา และขอเทา กายบําบัด

”สะโพก, เขา และ ขอเทา”

การทํากายบําบัด

ในทุกครั้งนั้นตองยึดหลัก...

ชาๆ (ไมควรทําเร็ว เพราะอาจบาดเจ็บได)นานๆ (ทํากายภาพบอยๆ สม่ําเสมอ) ทุกทิศทุกทาง (ที่อวัยวะสามารถขยับไปได)ไมเจ็บ (หลีกเลี่ยงบริเวณที่มีอาการเจ็บ)

“การทํากายบาํบดัตองทําอยางสม่ําเสมอ

ไมใชแคเชาหรือวาเย็น ไมใชแค 10

หรือ 20 ครั้ง ควรทําบอยๆ วางเมื่อไหร

ทําเมื่อนั้น ทานจะไดประโยชนจากการ

ทํากายภาพนั้นๆ เปนอยางมาก”

โทรศัพท: [email protected]

เครือขายสุขภาพ

ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงศูนยกฎอนามัยระหว างประ เทศด านหองปฏิบัติการ

กรมวิทยาศาสตรการแพทย กระทรวงสาธารณสุข นนทบุรี 11000

Created with Print2PDF. To remove this line, buy a license at: http://www.software602.com/

Page 2: แผ่นพับกายภาพ 3

กายบําบัดบริเวณสะโพก, เขาทาท่ี 1 ทาสะโพก

1. น่ังไขวหางบนเกาอ้ี โดยขาท่ีต้ังอยูบนพ้ืน จะมี

ลักษณะวางต้ังฉากกับพ้ืน สวนขาอีกขางหน่ึงท่ียกข้ึน

ไขวหาง ตาตุมจะอยูบริเวณหัวเขาของขาขางท่ีตังอยู

บนพื้น

2. ใชมือ 2 ขางประสานกันและกดบริเวณหัวเขาขางท่ี

ไขวหางข้ึน กดคางไวสักพัก (ขณะท่ีกดคางไว ใหสูดลม

หายใจเขา-ออกยาวๆ) จากน้ันคอยๆ ปลอยมือชาๆ

กดหัวเขาลักษณะน้ีบอยๆ โดยกดสลับกันท้ังสองขาง

ทาท่ี 2 ทาเขา

1. การแกวงขาในแบบท่ีหน่ึง คือการแกวงขาธรรมดา

โดยน่ังใหหลังพิงพนักเกาอ้ี และแกวงขาชาๆ เบาๆ

โดยเร่ิมแกวงทีละขางจากน้ันคอยเปล่ียนขางแกวง

ในแตละวันน้ันควรแกวงขาใหไดบอยท่ีสุด

2. การแกวงขาในแบบท่ีสอง ใหยกขาข้ึนจนเขาตึง แลว

ใชการแกวงโดยการยกขาข้ึน-ลงท้ังขาง โดยท่ีหัวเขา

ยังคงตึงอยูตลอดการกายภาพ (ลักษณะคลายการตี

ขาขณะวายน้ํา)

3. ทานควรหาท่ียึดเหน่ียวกอนทําทาน้ี เชน โตะ เกาอ้ี

หรือขอบหนาตาง จากน้ันยืนบิดปลายเทาเขาหากัน

(หัวแมเทาชิด สนเทาแยกออก) หลังตรง และยอเขา

ขึ้น-ลงชาๆ

กายบําบัด เพ่ือเสริมสรางความแข็งแรงของกลามเน้ือ บริเวณสะโพก, เขา และขอเทา

กายบําบัดบริเวณสะโพก, เขาทาท่ี 1 ทาสะโพก

ทาท่ี 2 ทาเขา

ทาที่ 1.

ทาที่ 2.

ทาที่ 3.

กายบําบัดบริเวณขอเทาทาท่ี 3 บริหารขอเทา

1. กระดกขอเทา ข้ึน-ลง ชาๆ ปลอยขาตามสบาย

2. เอียงขอเทาไปทางซาย-ขวา ชาๆ

3. ยกขาข้ึนจนเขาตึงแลวกระดกเทาข้ึนจนสุด

(ลักษณะของการยืดบริเวณเอ็นรอยหวาย) คางไวสัก

พัก จากน้ันกระดกเทาลงจนเทาตรงระนาบกับพ้ืน

(ยืดบริเวณหลังเทา)

4. กาง-หุบ น้ิวเทา

ทาท่ี 4 บิดขอเทา

1. น่ังบนเกาอ้ี เอาขาขางขวาไขวหางเหนือเขาซาย

จากน้ันใชมือขวาจับขอเทาขวา และใชมือซาย จับ

บริเวณจมูกเทา (บริเวณฝาเทาใตน้ิวเทา)

2. จากนั้นกดยืดขอเทาจนเอ็นรอยหวายตึง

3. หมุนขอเทาออกไปทางน้ิวกอย ใหหมุนเพียงคร่ึง

รอบ จนมาสุดอยูในทาหลังเทาตึง

Created with Print2PDF. To remove this line, buy a license at: http://www.software602.com/