197
รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย (ฉบับรับฟงความคิดเห็น) สํานักกรรมาธิการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร ตารางแสดงความแตกตาง รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ และ

ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

  • Upload
    boatcool

  • View
    41.454

  • Download
    2

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรบัฟงความคิดเห็น)

สํานักกรรมาธิการ ๓ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร

ตารางแสดงความแตกตาง

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

พุทธศักราช ๒๕๔๐

และ

Page 2: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

คํานํา

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย (ฉบบัชั่วคราว) พุทธศักราช ๒๕๔๙ มาตรา ๒๖ ไดบัญญัติใหเมื่อคณะกรรมาธิการยกรางรัฐธรรมนูญ

จัดทํารางรัฐธรรมนูญเสร็จแลว ใหจัดทําคาํชี้แจงวารางรัฐธรรมนูญทีจ่ัดทําขึ้นใหมนั้น มีความแตกตางกับรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศกัราช

๒๕๔๐ ในเรื่องใดพรอมดวยเหตุผลในการแกไข ซึ่งคณะกรรมาธิการยกรางรัฐธรรมนูญไดดําเนินการจัดทําเอกสารดังกลาวเสรจ็แลว ไดแก รางรัฐธรรมนูญ

แหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช .... (ฉบับรบัฟงความคิดเห็น) และสาระสําคัญของรางรัฐธรรมนูญฉบับใหม พรอมตารางเปรียบเทยีบกับรัฐธรรมนูญฯ

พุทธศักราช ๒๕๔๐ (ฉบับรับฟงความคดิเห็น)

สํานักกรรมาธิการ ๓ ซึ่งไดรับมอบหมายใหปฏิบัติหนาที่ฝายเลขานกุารคณะกรรมาธิการยกรางรัฐธรรมนูญ เห็นวาเพื่อใหกรรมาธิการ

ยกรางรัฐธรรมนูญ สมาชิกสภารางรัฐธรรมนูญ องคกร และบุคคลตามรัฐธรรมนูญ รวมทั้งประชาชนทัว่ไป ไดเห็นถึงความแตกตางระหวางรัฐธรรมนูญ

แหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ กับรางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศกัราช .... (ฉบับรับฟงความคิดเห็น) อยางชัดเจน จึงได

ดําเนินการจัดทําหนังสือ “ตารางแสดงความแตกตางรางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย (ฉบับรับฟงความคิดเห็น) และรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

พุทธศักราช ๒๕๔๐” โดยใชรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ เปนหลักในการแสดงการแกไขเพิ่มเตมิ แตจัดเรียงลําดับมาตราตาม

รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช .... (ฉบับรับฟงความคิดเห็น) ดังนั้น สํานักกรรมาธิการ ๓ จึงหวังเปนอยางยิ่งวาหนังสือเลมนี้จะเปน

ประโยชนในการประกอบการพิจารณาของคณะกรรมาธิการยกรางรัฐธรรมนูญ และในการศึกษาคนควาของสมาชิกสภารางรัฐธรรมนูญ องคกร และบุคคลตาม

รัฐธรรมนูญ รวมทั้งประชาชนทั่วไป คณะผูจัดทํา พฤษภาคม ๒๕๕๐

Page 3: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

รายนามคณะผูจัดทํา

ที่ปรึกษาผูจัดทํา นางพรรณิภา เสรมิศร ี ผูอํานวยการสาํนักกรรมาธิการ ๓ ผูจัดทํา นายนาถะ ดวงวิชัย นิติกร ๗ ว. กลุมงานคณะกรรมาธิการการทองเทีย่ว ผูออกแบบปก นางสาวกนกวรรณ สิงหนาท เจาหนาทีบ่ันทึกขอมูล ๑

กลุมงานคณะกรรมาธิการการทองเทีย่ว

Page 4: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

สารบัญ

หนา

คํานํา (ก)

รายนามคณะผูจัดทํา (ข)

สารบัญ (ค)

ตารางแสดงความแตกตางรางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย (ฉบับรบัฟงความคดิเห็น)

และรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ ๑

หมวด ๑ บททั่วไป (มาตรา ๑ - ๗) ๑

หมวด ๒ พระมหากษัตรยิ (มาตรา ๘ - ๒๕) ๒

หมวด ๓ สิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย (มาตรา ๒๖ - ๖๘) ๗

สวนที ่๑ บททัว่ไป (มาตรา ๒๖ - ๒๙) ๗

สวนที ่๒ ความเสมอภาค (มาตรา ๓๐ - ๓๑) ๙

สวนที ่๓ สิทธแิละเสรีภาพสวนบุคคล (มาตรา ๓๒ - ๓๘) ๑๐

สวนที ่๔ สิทธใินกระบวนการยุติธรรม (มาตรา ๓๙ - ๔๐) ๑๒

สวนที ่๕ สิทธใินทรัพยสิน (มาตรา ๔๑ - ๔๒) ๑๗

Page 5: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

หนา

สวนที ่๖ สิทธแิละเสรีภาพในการประกอบอาชีพ (มาตรา ๔๓ - ๔๔) ๑๘

สวนที ่๗ เสรภีาพในการแสดงความคิดเห็นของบุคคลและสื่อมวลชน

(มาตรา ๔๕ - ๔๗) ๑๙

สวนที ่๘ สิทธแิละเสรีภาพในการศึกษา (มาตรา ๔๘ – ๔๙) ๒๑

สวนที ่๙ สิทธใินการไดรับบริการสาธารณสุขและสวัสดกิารจากรัฐ

(มาตรา ๕๐ – ๕๔) ๒๒

สวนที ่๑๐ สิทธิในขอมูลขาวสารและการรองเรียน (มาตรา ๕๕ – ๖๑) ๒๔

สวนที ่๑๑ เสรภีาพในการชมุนุมและการสมาคม (มาตรา ๖๒ – ๖๔) ๒๖

สวนที ่๑๒ สิทธิชุมชน (มาตรา ๖๕ – ๖๖) ๒๘

สวนที ่๑๓ สิทธิพิทักษรัฐธรรมนูญ (มาตรา ๖๗ – ๖๘) ๒๙

หมวด ๔ หนาที่ของชนชาวไทย (มาตรา๖๙ – ๗๓) ๓๐

หมวด ๕ แนวนโยบายพืน้ฐานแหงรัฐ (มาตรา ๗๔ –๘๖) ๓๑

สวนที ่๑ บททัว่ไป (มาตรา ๗๔ – ๗๕) ๓๑

สวนที ่๒ แนวนโยบายดานความมั่นคงของรัฐ (มาตรา ๗๖) ๓๒

สวนที ่๓ แนวนโยบายดานการบริหารราชการแผนดิน (มาตรา ๗๗) ๓๓

(ง)

Page 6: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

หนา

สวนที ่๔ แนวนโยบายดานศาสนา สังคม การศึกษา และวัฒนธรรม

(มาตรา ๗๘ – ๗๙) ๓๖

สวนที ่๕ แนวนโยบายดานกฎหมายและการยุติธรรม (มาตรา ๘๐) ๓๘

สวนที ่๖ แนวนโยบายดานการตางประเทศ (มาตรา ๘๑) ๓๙

สวนที ่๗ แนวนโยบายดานเศรษฐกิจ (มาตรา ๘๒ – ๘๓) ๔๐

สวนที ่๘ แนวนโยบายดานที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม

(มาตรา ๘๔) ๔๒

สวนที ่๙ แนวนโยบายดานวิทยาศาสตร ทรัพยสินทางปญญา และพลังงาน

(มาตรา ๘๕) ๔๔

สวนที ่๑๐ แนวนโยบายดานการมีสวนรวมของประชาชน (มาตรา ๘๖) ๔๕

หมวด ๖ รัฐสภา (มาตรา ๘๗ - ๑๕๘) ๔๖

สวนที ่๑ บททัว่ไป (มาตรา๘๗ – ๙๐) ๔๖

สวนที ่๒ สภาผูแทนราษฎร (มาตรา ๙๑ – ๑๐๕) ๔๙

สวนที ่๓ วุฒิสภา (มาตรา ๑๐๖ - ๑๑๖) ๖๒

สวนที ่๔ บทที่ใชแกสภาทัง้สอง (มาตรา ๑๑๗ – ๑๓๐) ๗๐

สวนที ่๕ การประชุมรวมกันของรัฐสภา (มาตรา ๑๓๑ - ๑๓๒) ๘๐

(จ)

Page 7: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

หนา

สวนที ่๖ การตราพระราชบญัญัติประกอบรัฐธรรมนูญ (มาตรา ๑๓๓ - ๑๒๖) ๘๒

สวนที ่๗ การตราพระราชบญัญัติ (มาตรา ๑๓๗ – ๑๔๙) ๘๔

สวนที ่๘ การควบคุมการตรากฎหมายที่ขัดหรือแยงตอรัฐธรรมนูญ

(มาตรา ๑๕๐ - ๑๕๑) ๙๔

สวนที ่๙ การควบคุมการบริหารราชการแผนดิน (มาตรา ๑๕๒ - ๑๕๘) ๙๖

หมวด ๗ การมีสวนรวมทางการเมืองโดยตรงของประชาชน (มาตรา ๑๕๙ - ๑๖๑) ๙๙

หมวด ๘ การเงิน การคลงั และงบประมาณ (มาตรา ๑๖๒ - ๑๖๖) ๑๐๒

หมวด ๙ คณะรัฐมนตรี (มาตรา ๑๖๗ - ๑๙๒) ๑๐๕

หมวด ๑๐ ศาล (มาตรา ๑๙๓ – ๒๒๓) ๑๑๖

สวนที ่๑ บททัว่ไป (มาตรา ๑๙๓ – ๑๙๙) ๑๑๖

สวนที ่๒ ศาลรัฐธรรมนูญ (มาตรา ๒๐๐ – ๒๑๒) ๑๑๙

สวนที ่๓ ศาลยุติธรรม (มาตรา ๒๑๓ – ๒๑๗) ๑๒๙

สวนที ่๔ ศาลปกครอง (มาตรา ๒๑๘ – ๒๒๒) ๑๓๑

สวนที ่๕ ศาลทหาร (มาตรา ๒๒๓) ๑๓๔

(ฉ)

Page 8: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

หนา

หมวด ๑๑ องคกรตามรัฐธรรมนูญ (มาตรา ๑๖๗ - ๑๙๒) ๑๓๔

สวนที ่๑ องคกรอิสระตามรฐัธรรมนูญ (มาตรา ๒๒๔ - ๒๔๕) ๑๓๔

๑. คณะกรรมการการเลือกตั้ง (มาตรา ๒๒๔ - ๒๓๔) ๑๓๔

๒. ผูตรวจการแผนดินของรัฐสภา (มาตรา ๒๓๕ - ๒๓๘) ๑๔๔

๓. คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ

(มาตรา ๒๓๙ - ๒๔๔) ๑๔๗

๔. คณะกรรมการตรวจเงินแผนดิน (มาตรา ๒๔๕) ๑๕๑

สวนที ่๒ องคอื่นตามรัฐธรรมนูญ (มาตรา ๒๔๖ - ๒๔๙) ๑๕๓

๑. องคกรอัยการ (มาตรา ๒๔๖) ๑๕๓

๒. คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ (มาตรา ๒๔๗ - ๒๔๘) ๑๕๔

๓. สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (มาตรา ๒๔๙) ๑๕๖

หมวด ๑๒ การตรวจสอบการใชอํานาจรัฐ (มาตรา ๒๕๐ - ๒๖๙) ๑๕๗

สวนที ่๑ การตรวจสอบทรพัยสิน (มาตรา ๒๕๐ - ๒๕๕) ๑๕๗

สวนที ่๒ การกระทําที่เปนการขัดกันแหงผลประโยชน (มาตรา ๒๕๖ - ๒๖๐) ๑๖๑

สวนที ่๓ การถอดถอนจากตําแหนง (มาตรา ๒๖๑ - ๒๖๕) ๑๖๔

สวนที ่๔ การดําเนินการคดีอาญาผูดํารงตําแหนงทางการเมือง (มาตรา ๒๖๖ - ๒๖๙) ๑๖๗

(ช)

Page 9: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

หนา

หมวด ๑๓ จริยธรรมของผูดํารงตําแหนงทางการเมืองและเจาหนาที่ของรัฐ

(มาตรา ๒๗๐ - ๒๗๑) ๑๖๙

หมวด ๑๔ การปกครองสวนทองถิ่น (มาตรา ๒๗๒ - ๒๘๑) ๑๗๑

หมวด ๑๕ การแกไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ (มาตรา ๒๘๒) ๑๗๗

บทเฉพาะกาล (มาตรา ๒๘๓ – ๒๙๙) ๑๗๙

(ซ)

Page 10: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

ตารางแสดงความแตกตาง รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย (ฉบับรับฟงความคิดเหน็)

และ รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) หมวด ๑ บททั่วไป

ไมมีการแกไข

มาตรา ๑ ประเทศไทยเปนราชอาณาจักรอันหนึ่งอันเดียว จะแบงแยกมิได ไมมีการแกไข

มาตรา ๒ ประเทศไทยมีการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข

ไมมีการแกไข

มาตรา ๓ อํานาจอธิปไตยเปนของปวงชนชาวไทย พระมหากษัตริยผูทรงเปนประมุขทรงใชอํานาจนั้นทางรัฐสภา คณะรัฐมนตรี และศาล ตามบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญนี้

มาตรา ๓ อํานาจอธิปไตยเปนของปวงชนชาวไทย พระมหากษัตริยผูทรงเปนประมุขทรงใชอํานาจนั้นทางรัฐสภา คณะรัฐมนตรี และศาล ตามบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญนี้ การปฏิบัติหนาที่ของรัฐสภา คณะรัฐมนตร ีศาล รวมทั้งองคกรตามรัฐธรรมนูญและหนวยงานของรัฐ ตองเปนไปตามหลักนิติธรรม

มาตรา ๔ ศักดิ์ศรีความเปนมนุษย สิทธิ และเสรีภาพของบุคคล ยอมไดรับ

ความคุมครอง

มาตรา ๔ ศักดิ์ศรีความเปนมนุษย สิทธิ และเสรีภาพ และความเสมอภาคของ

บุคคล ทั้งที่บัญญัติไวตามรัฐธรรมนูญนี้ ตามประเพณีการปกครองประเทศไทยใน

ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข และตามพันธกรณีระหวาง

ประเทศที่ประเทศไทยมีอยู ยอมไดรับความคุมครอง

Page 11: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) มาตรา ๕ ประชาชนชาวไทยไมวาเหลากําเนิด เพศ หรือศาสนาใด ยอมอยูในความคุมครองแหงรัฐธรรมนูญนี้เสมอกัน

ไมมีการแกไข

มาตรา ๖ รัฐธรรมนูญเปนกฎหมายสูงสุดของประเทศ บทบัญญัติใดของ

กฎหมาย กฎ หรือขอบังคับ ขัดหรือแยงตอรัฐธรรมนูญนี้ บทบัญญัตินั้นเปนอันใชบังคับ

มิได

ไมมีการแกไข

มาตรา ๗ ในเมื่อไมมีบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญนี้บังคับแกกรณีใด ใหวินิจฉัยกรณีนั้นไปตามประเพณีการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรง

เปนประมุข

ไมมีการแกไข

หมวด ๒ พระมหากษัตริย

ไมมีการแกไข

มาตรา ๘ องคพระมหากษัตริยทรงดํารงอยูในฐานะอันเปนที่เคารพสักการะ ผูใดจะละเมิดมิได ผูใดจะกลาวหาหรือฟองรองพระมหากษัตริยในทางใด ๆ มิได

ไมมีการแกไข

มาตรา ๙ พระมหากษัตริยทรงเปนพุทธมามกะ และทรงเปน

อัครศาสนูปถัมภก ไมมีการแกไข

มาตรา ๑๐ พระมหากษัตริยทรงดํารงตําแหนงจอมทัพไทย ไมมีการแกไข มาตรา ๑๑ พระมหากษัตริยทรงไวซึ่งพระราชอํานาจที่จะสถาปนาฐานันดรศักดิ์และพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ

ไมมีการแกไข

มาตรา ๑๒ พระมหากษัตริยทรงเลือกและทรงแตงตั้งผูทรงคุณวุฒิเปนประธาน

องคมนตรีคนหนึ่ง และองคมนตรีอื่นอีกไมเกินสิบแปดคนประกอบเปนคณะองคมนตรี

ไมมีการแกไข

Page 12: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) คณะองคมนตรีมีหนาที่ถวายความเห็นตอพระมหากษัตริยในพระราชกรณียกิจ

ทั้งปวงที่พระมหากษัตริยทรงปรึกษา และมีหนาที่อื่นตามที่บัญญัติในรัฐธรรมนูญนี้

มาตรา ๑๓ การเลือกและแตงตั้งองคมนตรีหรือการใหองคมนตรีพนจากตําแหนง ใหเปนไปตามพระราชอัธยาศัย ใหประธานรัฐสภาเปนผูลงนามรับสนองพระบรมราชโองการแตงตั้งประธาน

องคมนตรีหรือใหประธานองคมนตรีพนจากตําแหนง ใหประธานองคมนตรีเปนผูลงนามรับสนองพระบรมราชโองการแตงตั้ง

องคมนตรีอื่นหรือใหองคมนตรีอื่นพนจากตําแหนง

ไมมีการแกไข

มาตรา ๑๔ องคมนตรีตองไมเปนสมาชิกสภาผูแทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา กรรมการการเลือกตั้ง ผูตรวจการแผนดินของรัฐสภา กรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ตุลาการศาลปกครอง กรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ กรรมการตรวจเงินแผนดิน ขาราชการซึ่งมีตําแหนงหรือเงินเดือนประจํา พนักงานรัฐวิสาหกิจ เจาหนาที่อื่นของรัฐ หรือสมาชิกหรือเจาหนาที่ของพรรคการเมือง และตองไมแสดงการฝกใฝในพรรคการเมืองใด ๆ

ไมมีการแกไข

มาตรา ๑๕ กอนเขารับหนาที่ องคมนตรีตองถวายสัตยปฏิญาณตอพระมหา

กษัตริยดวยถอยคํา ดังตอไปนี้ “ขาพระพุทธเจา (ชื่อผูปฏิญาณ) ขอถวายสัตยปฏิญาณวา ขาพระพุทธเจาจะจงรักภักดีตอพระมหากษัตริย และจะปฏิบัติหนาที่ดวยความซื่อสัตยสุจริต เพื่อประโยชน

ของประเทศและประชาชน ทั้งจะรักษาไวและปฏิบัติตามซึ่งรัฐธรรมนูญแหงราชอาณา

จักรไทยทุกประการ”

ไมมกีารแกไข

มาตรา ๑๖ องคมนตรีพนจากตําแหนงเมื่อตาย ลาออก หรือมีพระบรมราช

โองการใหพนจากตําแหนง ไมมีการแกไข

Page 13: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) มาตรา ๑๗ การแตงตั้งและการใหขาราชการในพระองคและสมุหราชองครักษพนจากตําแหนง ใหเปนไปตามพระราชอัธยาศัย

ไมมีการแกไข

มาตรา ๑๘ ในเมื่อพระมหากษัตริยจะไมประทับอยูในราชอาณาจักร หรือจะ

ทรงบริหารพระราชภาระไมไดดวยเหตุใดก็ตาม จะไดทรงแตงตั้งผูใดผูหนึ่งเปนผูสําเร็จ

ราชการแทนพระองค และใหประธานรัฐสภาเปนผูลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ

ไมมีการแกไข

มาตรา ๑๙ ในกรณีที่พระมหากษัตริยมิไดทรงแตงตั้งผูสําเร็จราชการแทน

พระองคตามมาตรา ๑๘ หรือในกรณีที่พระมหากษัตริยไมสามารถทรงแตงตั้งผูสําเร็จ

ราชการแทนพระองคเพราะยังไมทรงบรรลุนิติภาวะหรือเพราะเหตุอื่น ใหคณะองคมนตรี

เสนอชื่อผูใดผูหนึ่งซึ่งสมควรดํารงตําแหนงผูสําเร็จราชการแทนพระองคตอรัฐสภาเพื่อขอ

ความเห็นชอบ เมื่อรัฐสภาใหความเห็นชอบแลว ใหประธานรัฐสภาประกาศในพระปรมาภิไธยพระมหากษัตริย แตงตั้งผูนั้นเปนผูสําเร็จ ราชการแทนพระองค ในระหวางที่สภาผูแทนราษฎรสิ้นอายุหรือสภาผูแทนราษฎรถูกยุบ ใหวุฒิสภาทําหนาที่รัฐสภาในการใหความเห็นชอบตามวรรคหนึ่ง

ไมมีการแกไข

มาตรา ๒๐ ในระหวางที่ไมมีผูสําเร็จราชการแทนพระองคตามที่บัญญัติไวในมาตรา ๑๘ หรือมาตรา ๑๙ ใหประธานองคมนตรีเปนผูสําเร็จราชการแทนพระองคเปนการชั่วคราวไปพลางกอน ในกรณีที่ผูสําเร็จราชการแทนพระองคซึ่งไดรับการแตงตั้งตามมาตรา ๑๘ หรือมาตรา ๑๙ ไมสามารถปฏิบัติหนาที่ได ใหประธานองคมนตรีทําหนาที่ผูสําเร็จราชการแทนพระองคเปนการชั่วคราวไปพลางกอน ในระหวางที่ประธานองคมนตรีเปนผูสําเร็จราชการแทนพระองคตามวรรคหนึ่ง หรือในระหวางที่ประธานองคมนตรีทําหนาที่ผูสําเร็จราชการแทนพระองคตามวรรคสอง ประธานองคมนตรีจะปฏิบัติหนาที่ในฐานะเปนประธานองคมนตรีมิได ในกรณีเชนวานี้

ไมมีการแกไข

Page 14: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) ใหคณะองคมนตรีเลือกองคมนตรีคนหนึ่งขึ้นทําหนาที่ประธานองคมนตรีเปนการชั่วคราว

ไปพลางกอน

มาตรา ๒๑ กอนเขารับหนาที่ ผูสําเร็จราชการแทนพระองคซึ่งไดรับการแตงตั้งตามมาตรา ๑๘ หรือมาตรา ๑๙ ตองปฏิญาณตนในที่ประชุมรัฐสภาดวยถอยคํา

ดังตอไปนี้ “ขาพเจา (ชื่อผูปฏิญาณ) ขอปฏิญาณวา ขาพเจาจะจงรักภักดีตอพระมหา

กษัตริย (พระปรมาภิไธย) และจะปฏิบัติ หนาที่ดวยความซื่อสัตยสุจริต เพื่อประโยชนของประเทศและประชาชน ทั้งจะรักษาไวและปฏิบัติตามซึ่งรัฐธรรมนูญแหงราชอาณา

จักรไทยทุกประการ” ในระหวางที่สภาผูแทนราษฎรสิ้นอายุหรือสภาผูแทนราษฎรถูกยุบ ใหวุฒิสภา

ทําหนาที่รัฐสภาตามมาตรานี้

ไมมีการแกไข

มาตรา ๒๒ ภายใตบังคับมาตรา ๒๓ การสืบราชสมบัติใหเปนไปโดยนัยแหงกฎมณเฑียรบาลวาดวยการสืบราชสันตติวงศ พระพุทธศักราช ๒๔๖๗ การแกไขเพิ่มเติมกฎมณเฑียรบาลวาดวยการสืบราชสันตติวงศ พระ

พุทธศักราช ๒๔๖๗ เปนพระราชอํานาจของพระมหากษัตริยโดยเฉพาะ เมื่อมีพระราช

ดําริประการใด ใหคณะองคมนตรีจัดทํารางกฎมณเฑียรบาลแกไขเพิ่มเติมกฎมณเฑียร

บาลเดิม ขึ้นทูลเกลาทูลกระหมอมถวายเพื่อมีพระราชวินิจฉัย เมื่อทรงเห็นชอบและทรงลงพระปรมาภิไธยแลว ใหประธานองคมนตรีดําเนินการแจงประธานรัฐสภาเพื่อใหประธานรัฐสภาแจงใหรัฐสภาทราบ และใหประธานรัฐสภาลงนามรับสนองพระบรมราชโองการและเมื่อไดประกาศในราชกิจจานุเบกษาแลว ใหใชบังคับเปนกฎหมายได ในระหวางที่สภาผูแทนราษฎรสิ้นอายุหรือสภาผูแทนราษฎรถูกยุบ ใหวุฒิสภา

ทําหนาที่รัฐสภาในการรับทราบตามวรรคสอง

ไมมีการแกไข

Page 15: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) มาตรา ๒๓ ในกรณีที่ราชบัลลังกหากวางลงและเปนกรณีที่พระมหากษัตริยได

ทรงแตงตั้งพระรัชทายาทไวตาม กฎมณเฑียรบาลวาดวยการสืบราชสันตติวงศ พระ

พุทธศักราช ๒๔๖๗ แลว ใหคณะรัฐมนตรีแจงใหประธานรัฐสภาทราบ และใหประธานรัฐสภาเรียกประชุมรัฐสภาเพื่อรับทราบและใหประธานรัฐสภาอันเชิญองคพระรัชทายาท

ขึ้นทรงราชยเปนพระมหากษัตริยสืบไป แลวใหประธานรัฐสภาประกาศใหประชาชน

ทราบ ในกรณีที่ราชบัลลังกหากวางลงและเปนกรณีที่พระมหากษัตริยมิไดทรงแตงตั้ง

พระรัชทายาทไวตามวรรคหนึ่ง ใหคณะองคมนตรีเสนอพระนามผูสืบราชสันตติวงศตาม

มาตรา ๒๒ ตอคณะรัฐมนตรีเพื่อเสนอตอรัฐสภาเพื่อรัฐสภาใหความเห็นชอบ ในการนี ้จะเสนอพระนามพระราชธิดาก็ได เมื่อรัฐสภาใหความเห็นชอบแลว ใหประธานรัฐสภาอัญเชิญองคผูสืบราชสันตติวงศขึ้นทรงราชยเปนพระมหากษัตริยสืบไป แลวใหประธานรัฐสภาประกาศใหประชาชนทราบ ในระหวางที่สภาผูแทนราษฎรสิ้นอายุหรือสภาผูแทนราษฎรถูกยุบ ใหวุฒิสภา

ทําหนาที่รัฐสภาในการรับทราบตามวรรคหนึ่งหรือใหความเห็นชอบตามวรรคสอง

ไมมีการแกไข

มาตรา ๒๔ ในระหวางที่ยังไมมีประกาศอัญเชิญองคพระรัชทายาทหรือองค ผูสืบราชสันตติวงศขึ้นทรงราชยเปนพระมหากษัตริยตามมาตรา ๒๓ ใหประธานองคมนตรีเปนผูสําเร็จราชการแทนพระองคเปนการชั่วคราวไปพลางกอน แตในกรณีที่

ราชบัลลังกวางลงในระหวางที่ไดแตงตั้งผูสําเร็จราชการแทนพระองคไวตามมาตรา ๑๘ หรือมาตรา ๑๙ หรือระหวางเวลาที่ประธานองคมนตรีเปนผูสําเร็จราชการแทนพระองคตามมาตรา ๒๐ วรรคหนึ่ง ใหผูสําเร็จราชการแทน พระองคนั้น ๆ แลวแตกรณี เปนผูสําเร็จราชการแทนพระองคตอไป ทั้งนี้ จนกวาจะไดประกาศอัญเชิญองคพระรัชทายาทหรือองคผูสืบราชสันตติวงศขึ้นทรงราชยเปนพระมหากษัตริย

ไมมีการแกไข

Page 16: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) ในกรณีที่ผูสําเร็จราชการแทนพระองคซึ่งไดรับการแตงตั้งไวและเปนผูสําเร็จ

ราชการแทนพระองคตอไปตามวรรคหนึ่งไมสามารถปฏิบัติหนาที่ได ใหประธาน

องคมนตรีทําหนาที่ผูสําเร็จราชการแทนพระองคเปนการชั่วคราว ไปพลางกอน ในกรณีที่ประธานองคมนตรีเปนผูสําเร็จราชการแทนพระองคตามวรรคหนึ่ง หรือทําหนาที่ผูสําเร็จราชการแทนพระองคเปนการชั่วคราวตามวรรคสอง ใหนํา

บทบัญญัติมาตรา ๒๐ วรรคสาม มาใชบังคับ

มาตรา ๒๕ ในกรณีที่คณะองคมนตรีจะตองปฏิบัติหนาที่ตามมาตรา ๑๙ หรือมาตรา ๒๓ วรรคสอง หรือประธานองคมนตรีจะตองปฏิบัติหนาที่ตามมาตรา ๒๐ วรรคหนึ่งหรือวรรคสอง หรือมาตรา ๒๔ วรรคสอง และอยูในระหวางที่ไมมีประธานองคมนตรีหรือมีแตไมสามารถปฏิบัติหนาที่ได ใหคณะองคมนตรีที่เหลืออยูเลือกองคมนตรีคนหนึ่ง

เพื่อทําหนาที่ประธานองคมนตรี หรือปฏิบัติหนาที่ตามมาตรา ๒๐ วรรคหนึ่งหรือวรรคสอง หรือตามมาตรา ๒๔ วรรคสาม แลวแตกรณี

ไมมีการแกไข

หมวด ๓ สิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย

ไมมีการแกไข

สวนที่ ๑ บททั่วไป

มาตรา ๒๖ การใชอํานาจโดยองคกรของรัฐทุกองคกร ตองคํานึงถึงศักดิ์ศรีความเปนมนุษย สิทธิและเสรีภาพตามบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญนี ้

ไมมีการแกไข

Page 17: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) มาตรา ๒๗ สิทธิและเสรีภาพที่รัฐธรรมนูญนี้รับรองไวโดยชัดแจง โดยปริยาย หรือโดยคําวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ ยอมไดรับความคุมครอง และผูกพันรัฐสภา คณะรัฐมนตรี ศาล และองคกรอื่นของรัฐโดยตรงในการตรากฎหมาย การใชบังคับ

กฎหมายและการตีความกฎหมายทั้งปวง

ไมมีการแกไข

มาตรา ๒๘ บุคคลยอมอางศักดิ์ศรีความเปนมนุษยหรือใชสิทธิและเสรีภาพของตนไดเทาที่ไมละเมิดสิทธิและเสรีภาพของบุคคลอื่น ไมเปนปฏิปกษตอรัฐธรรมนูญ หรือไมขัดตอศีลธรรมอันดีของประชาชน บุคคลซึ่งถูกละเมิดสิทธิหรือเสรีภาพที่รัฐธรรมนูญนี้รับรองไว สามารถยกบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญนี้เพื่อใชสิทธิทางศาลหรือยกขึ้นเปนขอตอสูคดีในศาลได

มาตรา ๒๘ บุคคลยอมอางศักดิ์ศรีความเปนมนุษยหรือใชสิทธิและเสรีภาพของตนไดเทาที่ไมละเมิดสิทธิและเสรีภาพของบุคคลอื่น ไมเปนปฏิปกษตอรัฐธรรมนูญ หรือไมขัดตอศีลธรรมอันดีของประชาชน บุคคลซึ่งถูกละเมิดสิทธิหรือเสรีภาพที่รัฐธรรมนูญนี้รับรองไว สามารถยกบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญนี้เพื่อใชสิทธิทางศาลหรือยกขึ้นเปนขอตอสูคดีในศาลได บุคคลยอมสามารถใชสิทธิทางศาลเพื่อบังคับใหรัฐตองปฏิบัติตามบทบัญญัติ ในหมวดนี้ไดโดยตรง หากการใชสิทธิและเสรีภาพในเรื่องใดมีกฎหมายบัญญัติรายละเอียดแหงการใชสิทธิและเสรีภาพตามที่รัฐธรรมนูญนี้รับรองไวแลว ใหการใชสิทธิและเสรีภาพในเรื่องนั้นเปนไปตามที่กฎหมายบัญญัติ บุคคลยอมมีสิทธิไดรับการสงเสริม สนับสนุน และชวยเหลือจากรัฐ ในการใชสิทธิตามความในหมวดนี ้

มาตรา ๒๙ การจํากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคลที่รัฐธรรมนูญรับรองไวจะกระทํามิได เวนแตโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหงกฎหมายเฉพาะเพื่อการที่รัฐธรรมนูญนี้กําหนดไวและเทาที่จําเปนเทานั้น และจะกระทบกระเทือนสาระสําคัญแหง

สิทธิและเสรีภาพนั้นมิได กฎหมายตามวรรคหนึ่งตองมีผลใชบังคับเปนการทั่วไปและไมมุงหมายใหใช

บังคับแกกรณีใดกรณีหนึ่งหรือแกบุคคลใดบุคคลหนึ่งเปนการเจาะจง ทั้งตองระบุบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญที่ใหอํานาจในการตรากฎหมายนั้นดวย

มาตรา ๒๙ การจํากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคลที่รัฐธรรมนูญรับรองไวจะกระทํามิได เวนแตโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหงกฎหมายเฉพาะเพื่อการที่รัฐธรรมนูญนี้กําหนดไวและเทาที่จําเปนเทานั้น และจะซึ่งตองไมกระทบกระเทือน

สาระสําคัญแหงสิทธิและเสรีภาพนั้นมิได กฎหมายตามวรรคหนึ่งใหตราไดเทาที่จําเปนและตองมีผลใชบังคับเปนการ

ทั่วไปและโดยไมเจาะจงหรือมุงหมายใหใชบังคับแกกรณีใดกรณีหนึ่งหรือแกบุคคลใด

บุคคลหนึ่งเปนการเจาะจง ทั้งตองระบุบทบัญญัติแหงและในกรณีทีร่ัฐธรรมนูญที่บัญญัติ

Page 18: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) บทบัญญัติวรรคหนึ่งและวรรคสองใหนํามาใชบังคับกับกฎหรือขอบังคับที่ออก

โดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหงกฎหมายดวย โดยอนุโลม

ใหอํานาจในการตรากฎหมายนั้นดวยจํากัดสิทธิและเสรีภาพไดเฉพาะเพื่อการที่

รัฐธรรมนูญบัญญัติไว บทบัญญัติในวรรคหนึ่งและวรรคสองใหนํามาใชบังคับกับกฎหรือขอบังคับที่

ออกโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหงกฎหมายดวย โดยอนุโลม สวนที่ ๒

ความเสมอภาค

มาตรา ๓๐ บุคคลยอมเสมอกันในกฎหมายและไดรับความคุมครองตามกฎหมายเทาเทียมกัน ชายและหญิงมีสิทธิเทาเทียมกัน การเลือกปฏิบัติโดยไมเปนธรรมตอบุคคลเพราะเหตุแหงความแตกตางในเรื่อง

ถิ่นกําเนิด เชื้อชาติ ภาษา เพศ อายุ สภาพทางกายหรือสุขภาพ สถานะของบุคคล ฐานะทางเศรษฐกิจหรือสังคม ความเชื่อทางศาสนา การศึกษาอบรม หรือความคิดเห็นทางการเมืองอันไมขัดตอบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญ จะกระทํามิได มาตรการที่รัฐกําหนดขึ้นเพื่อขจัดอุปสรรคหรือสงเสริมใหบุคคลสามารถใชสิทธิ

และเสรีภาพไดเชนเดียวกับบุคคลอื่น ยอมไมถือเปนการเลือกปฏิบัติโดยไมเปนธรรมตามวรรคสาม

ไมมีการแกไข

มาตรา ๖๔ บุคคลผูเปนทหาร ตํารวจ ขาราชการ เจาหนาที่อื่นของรัฐ

พนักงานสวนทองถิ่น และพนักงานหรือลูกจางขององคการของรัฐ ยอมมีสิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญเชนเดียวกับบุคคลทั่วไป เวนแตที่จํากัดในกฎหมาย กฎ หรือ

มาตรา ๖๔๓๑ บุคคลผูเปนทหาร ตํารวจ ขาราชการ เจาหนาที่อื่นของรัฐ

พนักงานสวนทองถิ่น และพนักงานหรือลูกจางขององคการองคกรของรัฐ ยอมมีสิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญเชนเดียวกับบุคคลทั่วไป เวนแตที่จํากัดในกฎหมาย กฎ หรือ

Page 19: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๑๐

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) ขอบังคับที่ออกโดยอาศัยอํานาจตามบท บัญญัติแหงกฎหมายเฉพาะในสวนที่เกี่ยวกับการเมือง สมรรถภาพ วินัย หรือจรรยาบรรณ

ขอบังคับกฎที่ออกโดยอาศัยอํานาจตามบท บัญญัติแหงกฎหมายเฉพาะในสวนที่เกี่ยวกับการเมือง สมรรถภาพ วินัย หรือจรรยาบรรณจริยธรรม

สวนที่ ๓ สิทธิและเสรีภาพสวนบุคคล

มาตรา ๓๑ บุคคลยอมมีสิทธิและเสรีภาพในชีวิตและรางกาย การทรมาน ทารุณกรรม หรือการลงโทษดวยวิธีการโหดรายหรือไรมนุษยธรรม

จะกระทํามิได แตการลงโทษประหารชีวิตตามที่กฎหมายบัญญัติ ไมถือวาเปนการลงโทษดวยวิธีการโหดรายหรือไรมนุษยธรรมตามความในวรรคนี้ การจับ คุมขัง ตรวจคนตัวบุคคล หรือการกระทําใดอันกระทบตอสิทธิ และเสรีภาพตามวรรคหนึ่ง จะกระทํามิได เวนแตโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหงกฎหมาย

มาตรา ๓๑๓๒ บุคคลยอมมีสิทธิและเสรีภาพในชีวิตและรางกาย การทรมาน ทารุณกรรม หรือการลงโทษดวยวิธีการโหดรายหรือไรมนุษยธรรม

จะกระทํามิได แตการลงโทษประหารชีวิตตามที่กฎหมายบัญญัติ ไมถือวาเปนการลงโทษดวยวิธีการโหดรายหรือไรมนุษยธรรมตามความในวรรคนี้ การจับ คุมขัง ตรวจคนตัวบุคคล หรือการกระทําใดอันกระทบตอสิทธิ และเสรีภาพตามวรรคหนึ่ง จะกระทํามิได เวนแตโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหงมีคําสั่งหรือหมายของศาล หรือมีเหตุอยางอื่นตามที่กฎหมายบัญญัติ ในกรณีที่มีการกระทําซึ่งกระทบตอสิทธิและเสรีภาพตามวรรคหนึ่ง ผูเสียหาย พนักงานอัยการ หรือบุคคลอื่นใดเพื่อประโยชนของผูเสียหายมีสิทธิรองตอศาลเพื่อใหสั่งระงับหรือเพิกถอนการกระทําเชนวานั้น รวมทั้งจะกําหนดวิธีการตามสมควรหรือการเยียวยาความเสียหายที่เกิดขึ้นดวยก็ได

มาตรา ๓๕ บุคคลยอมมีเสรีภาพในเคหสถาน บุคคลยอมไดรับความคุมครองในการที่จะอยูอาศัยและครอบครองเคหสถาน

โดยปกติสุข การเขาไปในเคหสถานโดยปราศจากความยินยอมของผูครอบครอง หรือการตรวจคนเคหสถานจะกระทํามิได เวนแตโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหง

กฎหมาย

มาตรา ๓๕๓๓ บุคคลยอมมีเสรีภาพในเคหสถาน บุคคลยอมไดรับความคุมครองในการที่จะอยูอาศัยและครอบครองเคหสถาน

โดยปกติสุข การเขาไปในเคหสถานโดยปราศจากความยินยอมของผูครอบครอง หรือ

การตรวจคนเคหสถานจะกระทํามิได เวนแตโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหง

กฎหมาย

Page 20: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๑๑

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) การเขาไปในเคหสถานโดยปราศจากความยินยอมของผูครอบครอง หรือการ

ตรวจคนเคหสถานจะกระทํามิได เวนแตโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหงกฎหมาย มาตรา ๓๖ บุคคลยอมมีเสรีภาพในการเดินทางและมีเสรีภาพในการเลือกตั้งที่อยูภายในราชอาณาจักร การจํากัดเสรีภาพตามวรรคหนึ่งจะกระทํามิได เวนแตโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหงกฎหมายเฉพาะเพื่อความมั่นคงของรัฐ ความสงบเรียบรอยหรือ

สวัสดิภาพของประชาชน การผังเมือง หรือเพื่อสวัสดิภาพของผูเยาว การเนรเทศบุคคลผูมีสัญชาติไทยออกนอกราชอาณาจักร หรือหามมิใหบุคคล

ผูมีสัญชาติไทยเขามาในราชอาณาจักร จะกระทํามิได

มาตรา ๓๖๓๔ บุคคลยอมมีเสรีภาพในการเดินทางและมีเสรีภาพในการเลือกตั้งที่อยูภายในราชอาณาจักร การจํากัดเสรีภาพตามวรรคหนึ่งจะกระทํามิได เวนแตโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหงกฎหมายเฉพาะเพื่อความมั่นคงของรัฐ ความสงบเรียบรอยหรือ

สวัสดิภาพของประชาชน การผังเมือง หรือเพื่อสวัสดิภาพของผูเยาว การเนรเทศบุคคลผูมีสัญชาติไทยออกนอกราชอาณาจักร หรือหามมิใหบุคคล

ผูมีสัญชาติไทยเขามาในราชอาณาจักร จะกระทํามิได มาตรา ๓๔ สิทธิของบุคคลในครอบครัว เกียรติยศ ชื่อเสียง หรือความเปนอยู

สวนตัวยอมไดรับความคุมครอง การกลาวหรือไขขาวแพรหลายซึ่งขอความหรือภาพไมวาดวยวิธีใดไปยัง

สาธารณชนอันเปนการละเมิดหรือกระทบถึงสิทธิของบุคคลในครอบครัว เกียรติยศ

ชื่อเสียง หรือความเปนอยูสวนตัว จะกระทํามิได เวนแตกรณีที่เปนประโยชนตอ

สาธารณชน

มาตรา ๓๔๓๕ สิทธิของบุคคลในครอบครัว เกียรติยศ ชื่อเสียง หรือขอมูลสวน

บุคคล ตลอดจนความเปนอยูสวนตัว ยอมไดรับความคุมครอง การกลาวหรือไขขาวแพรหลายซึ่งขอความหรือภาพไมวาดวยวิธีใดไปยัง

สาธารณชนอันเปนการละเมิดหรือกระทบถึงสิทธิของบุคคลในครอบครัว เกียรติยศ

ชื่อเสียง หรือความเปนอยูสวนตัว ตลอดจนการเปดเผยขอมูลสวนบุคคลโดยไมไดรับอนุญาตจากผูเปนเจาของขอมูลนั้น จะกระทํามิได เวนแตกรณีที่เปนประโยชนตอ

สาธารณชนสาธารณะ

มาตรา ๓๗ บุคคลยอมมีเสรีภาพในการสื่อสารถึงกันโดยทางที่ชอบดวยกฎหมาย การตรวจ การกัก หรือการเปดเผยสิ่งสื่อสารที่บุคคลมีติดตอถึงกัน รวมทั้งการกระทําดวยประการอื่นใดเพื่อใหลวงรูถึงขอความในสิ่งสื่อสารทั้งหลายที่บุคคลมีติดตอถึง

กันจะกระทํามิได เวนแตโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหงกฎหมายเฉพาะเพื่อรักษาความมั่นคงของรัฐ หรือเพื่อรักษาความสงบเรียบรอยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน

มาตรา ๓๗๓๖ บุคคลยอมมีเสรีภาพในการสื่อสารถึงกันโดยทางที่ชอบดวยกฎหมาย การตรวจ การกัก หรือการเปดเผยสิ่งสื่อสารที่บุคคลมีติดตอถึงกัน รวมทั้งการกระทําดวยประการอื่นใดเพื่อใหลวงรูถึงขอความในสิ่งสื่อสารทั้งหลายที่บุคคลมีติดตอถึง

กันจะกระทํามิได เวนแตโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหงกฎหมายเฉพาะเพื่อรักษาความมั่นคงของรัฐ หรือเพื่อรักษาความสงบเรียบรอยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน

Page 21: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๑๒

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) มาตรา ๓๘ บุคคลยอมมีเสรีภาพบริบูรณในการถือศาสนา นิกายของศาสนา หรือลัทธินิยมในทางศาสนา และยอมมีเสรีภาพในการปฏิบัติตามศาสนบัญญัติหรือปฏิบัติ

พิธีกรรมตามความเชื่อถือของตน เมื่อไมเปนปฏิปกษตอหนาที่ของพลเมืองและไมเปนการขัดตอความสงบเรียบรอยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน ในการใชเสรีภาพดังกลาวตามวรรคหนึ่ง บุคคลยอมไดรับความคุมครองมิใหรัฐกระทําการใด ๆ อันเปนการรอนสิทธิหรือเสียประโยชนอันควรมีควรไดเพราะเหตุที่ถือ

ศาสนา นิกายของศาสนา ลัทธินิยมในทางศาสนา หรือปฏิบัติตามศาสนบัญญัติหรือปฏิบัติพิธีกรรมตามความเชื่อถือ แตกตางจากบุคคลอื่น

มาตรา ๓๘๓๗ บุคคลยอมมีเสรีภาพบริบูรณในการถือศาสนา นิกายของ

ศาสนา หรือลัทธินิยมในทางศาสนา และยอมมีเสรีภาพในการปฏิบัติตามศาสนธรรม

ศาสนบัญญัติ หรือปฏิบัติพิธีกรรมตามความเชื่อถือของตน เมื่อไมเปนปฏิปกษตอหนาที่ของพลเมืองและไมเปนการขัดตอความสงบเรียบรอยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน ในการใชเสรีภาพดังกลาวตามวรรคหนึ่ง บุคคลยอมไดรับความคุมครองมิใหรัฐกระทําการใด ๆ อันเปนการรอนสิทธิหรือเสียประโยชนอันควรมีควรได เพราะเหตุที่ถือ

ศาสนา นิกายของศาสนา ลัทธินิยมในทางศาสนา หรือปฏิบัติตามศาสนธรรม ศาสน

บัญญัติ หรือปฏิบัติพิธีกรรมตามความเชื่อถือแตกตางจากบุคคลอื่น มาตรา ๕๑ การเกณฑแรงงานจะกระทํามิได เวนแตโดยอาศัย อํานาจตามบทบัญญัติแหงกฎหมายเฉพาะเพื่อประโยชนในการปองปดภัยพิบัติสาธารณะอันมีมา

เปนการฉุกเฉิน หรือโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหงกฎหมายซึ่งใหกระทําไดในระหวางเวลาที่ประเทศอยูในภาวะการสงครามหรือการรบหรือในระหวางเวลาที่มีประกาศ

สถานการณฉุกเฉินหรือประกาศใชกฎอัยการศึก

มาตรา ๕๑๓๘ การเกณฑแรงงานจะกระทํามิได เวนแตโดยอาศัย อํานาจตามบทบัญญัติแหงกฎหมายเฉพาะเพื่อประโยชนในการปองปดภัยพิบัติสาธารณะอันมีมา

เปนการฉุกเฉิน หรือโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหงกฎหมาย ซึ่งใหกระทําไดใน

ระหวางเวลาที่ประเทศอยูในภาวะการสงครามหรือการรบหรือในระหวางเวลาที่มีประกาศ

สถานการณฉุกเฉินหรือประกาศใชกฎอัยการศึก สวนที่ ๔

สิทธิในกระบวนการยุติธรรม

มาตรา ๓๒ บุคคลจะไมตองรับโทษอาญา เวนแตจะไดกระทําการอันกฎหมายที่ใชอยูในเวลาที่กระทํานั้นบัญญัติเปนความผิดและกําหนดโทษไว และโทษที่จะลงแกบุคคลนั้นจะหนักกวาโทษที่กําหนดไวในกฎหมายที่ใชอยูในเวลาที่กระทําความผิดมิได มาตรา๓๓ ในคดีอาญา ตองสันนิษฐานไวกอนวาผูตองหาหรือขําเลยไมมีความผิด

มาตรา ๓๒๓๙ บุคคลจะไมตองรับโทษอาญา เวนแตจะไดกระทําการอันกฎหมายที่ใชอยูในเวลาที่กระทํานั้นบัญญัติเปนความผิดและกําหนดโทษไว และโทษที่จะลงแกบุคคลนั้นจะหนักกวาโทษที่กําหนดไวในกฎหมายที่ใชอยูในเวลาที่กระทํา

ความผิดมิได ในคดีอาญา ตองสันนิษฐานไวกอนวาผูตองหาหรือจําเลยไมมีความผิด

Page 22: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๑๓

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) กอนมีคําพิพากษาอันถึงที่สุดแสดงวาบุคคลใดไดกระทําความผิด จะปฏิบัติตอ

บุคคลนั้นเสมือนเปนผูกระทําความผิดมิได กอนมีคําพิพากษาอันถึงที่สุดแสดงวาบุคคลใดไดกระทําความผิดจะปฏิบัติตอ

บุคคลนั้นเสมือนเปนผูกระทําความผิดมิได มาตรา๓๓ ในคดีอาญา ตองสันนิษฐานไวกอนวาผูตองหาหรือขําเลยไมมีความผิด กอนมีคําพิพากษาอันถึงที่สุดแสดงวาบุคคลใดไดกระทําความผิด จะปฏิบัติตอ

บุคคลนั้นเสมือนเปนผูกระทําความผิดมิได มาตรา ๒๓๗ ในคดีอาญา การจับและคุมขังบุคคลใด จะกระทํามิได เวนแตมี

คําสั่งหรือหมายของศาล หรือผูนั้นไดกระทําความผิดซึ่งหนา หรือมีเหตุจําเปนอยางอื่นใหจับไดโดยไมมีหมายตามที่กฎหมายบัญญัติ โดยผูถูกจับจะตองไดรับการแจงขอกลาวหาและรายละเอียดแหงการจับ โดยไมชักชา กับจะตองไดรับโอกาสแจงใหญาติหรือผูซึ่งผูถูกจับไววางใจทราบในโอกาสแรก และผูถูกจับซึ่งยังถูกควบคุมอยู ตองถูกนําตัวไปศาลภายในสี่สิบแปดชั่วโมงนับแตเวลาที่ผูถูกจับถูกนําไปถึงที่ทําการของพนักงาน

สอบสวน เพื่อศาลพิจารณาวามีเหตุที่จะขังผูถูกจับไวตามกฎหมายหรือไม เวนแตมีเหตุสุดวิสัยหรือมีเหตุจําเปนอยางอื่นตามที่กฎหมายบัญญัติ หมายจับหรือหมายขังบุคคลจะออกไดตอเมื่อ (๑) มีหลักฐานตามสมควรวาผูนั้นนาจะไดกระทําความผิดอาญารายแรง ที่มีอัตราโทษตามที่กฎหมายบัญญัติ หรือ (๒) มีหลักฐานตามสมควรวาผูนั้นนาจะไดกระทําความผิดอาญา และมีเหตุอันควรเชื่อวาผูนั้นจะหลบหนี หรือจะไปยุงเหยิงกับพยานหลักฐาน หรือกอเหตุอันตรายประการอื่น ดวย มาตรา ๒๓๘ ในคดีอาญา การคนในที่รโหฐานจะกระทํามิได เวนแตจะมีคําสั่งหรือหมายของศาล หรือมีเหตุใหคนไดโดยไมตองมีคําสั่งหรือหมายของศาล ทั้งนี้ ตามที่

กฎหมายบัญญัติ

มาตรา ๒๓๗๔๐ ในคดีอาญา การจับและคุมขังบุคคลใด จะกระทํามิได เวนแต

มีคําสั่งหรือหมายของศาล หรือผูนั้นไดกระทําความผิดซึ่งหนา หรือมีเหตุจําเปนอยางอื่น

ใหจับไดโดยไมมีหมายตามที่กฎหมายบัญญัติ โดยผูถูกจับจะตองไดรับการแจงขอกลาวหาและรายละเอียดแหงการจับ โดยไมชักชา กับจะตองไดรับโอกาสแจงใหญาติหรือผูซึ่งผูถูกจับไววางใจทราบในโอกาสแรก และผูถูกจับซึ่งยังถูกควบคุมอยู ตองถูกนําตัวไปศาลภายในสี่สิบแปดชั่วโมงนับแตเวลาที่ผูถูกจับถูกนําไปถึงที่ทําการของพนักงาน

สอบสวน เพื่อศาลพิจารณาวามีเหตุที่จะขังผูถูกจับไวตามกฎหมายหรือไม เวนแตมีเหตุสุดวิสัยหรือมีเหตุจําเปนอยางอื่นตามที่กฎหมายบัญญัติ หมายจับหรือหมายขังบุคคลจะออกไดตอเมื่อ (๑) มีหลักฐานตามสมควรวาผูนัน้นาจะไดกระทําความผิดอาญารายแรง ที่มีอัตราโทษตามที่กฎหมายบัญญัติ หรือ (๒) มีหลักฐานตามสมควรวาผูนัน้นาจะไดกระทําความผิดอาญา และมีเหตุอันควรเชื่อวาผูนั้นจะหลบหนี หรือจะไปยุงเหยิงกับพยานหลักฐาน หรือกอเหตุอันตรายประการอื่น ดวยบุคคลยอมมีสิทธิในกระบวนการยุติธรรม ดังตอไปนี ้ (๑) สิทธิเขาถึงกระบวนการยุติธรรมไดโดยงาย สะดวก รวดเร็ว ทั่วถึง และ เสียคาใชจายตามควรแกกรณ ี

Page 23: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๑๔

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) มาตรา ๒๓๙ คําขอประกันผูตองหาหรือจําเลยในคดีอาญาตองไดรับการพิจารณาอยางรวดเร็ว และจะเรียกหลักประกันจนเกินควรแกกรณีมิได การไมใหประกันตองอาศัยเหตุตามหลักเกณฑ ที่บัญญัติไวโดยเฉพาะในกฎหมาย และตองแจงเหตุผลใหผูตองหาหรือจําเลยทราบโดยเร็ว สิทธิที่จะอุทธรณคัดคานการไมใหประกัน ยอมไดรับความคุมครองตามที่กฎหมายบัญญัติ บุคคลผูถูกควบคุม คุมขัง หรือจําคุก ยอมมีสิทธิพบและปรึกษาทนายความเปน

การเฉพาะตัว และมีสิทธิไดรับการเยี่ยมตามสมควร มาตรา ๒๔๐ ในกรณีที่มีการคุมขังตัวบุคคลในคดีอาญา หรือในกรณีอื่นใด

ผูถูกคุมขังเอง พนักงานอัยการ หรือบุคคลอื่นใดเพื่อประโยชนของผูถูกคุมขัง มีสิทธิรองตอศาลทองที่ ที่มีอํานาจพิจารณาคดีอาญาวาการคุมขังเปนการมิชอบดวยกฎหมาย เมื่อ

มีคํารองเชนวานี้ ใหศาลดําเนินการไตสวนฝายเดียวโดยดวน ถาเห็นวาคํารองนั้นมีมูล ศาลมีอํานาจสั่งผูคุมขังใหนําตัวผูถูกคุมขังมาศาลโดยพลัน และถาผูคุมขังแสดงใหเปนที่

พอใจของศาลไมไดวาการคุมขงัเปนการชอบดวยกฎหมาย ใหศาลสั่งปลอยตัวผูถูกคุมขังไปทันที มาตรา ๒๔๑ ในคดีอาญา ผูตองหาหรือจําเลยยอมมีสิทธิไดรับการสอบสวนหรือการพิจารณาคดีดวยความรวดเร็ว ตอเนื่อง และเปนธรรม ในชั้นสอบสวน ผูตองหามีสิทธิใหทนายความหรือผูซึ่งตนไววางใจเขาฟงการสอบปากคําตนได ผูเสียหายหรือจําเลยในคดีอาญายอมมีสิทธิตรวจหรือคัดสําเนาคําใหการของตน

ในชั้นสอบสวนหรือเอกสารประกอบคําใหการของตน เมื่อพนักงานอัยการไดยื่นฟองคดี

ตอศาลแลว ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ

(๒) สิทธิพื้นฐานในกระบวนพิจารณา ซึ่งอยางนอยตองมีหลักประกันขั้นพื้นฐานเรื่องสิทธิในการไดรับการพิจารณาโดยเปดเผย สิทธิในการไดรับทราบขอเท็จจริงและตรวจเอกสารอยางเพียงพอ สิทธิในการเสนอขอเท็จจริง ขอโตแยง และพยานหลักฐานของตน สิทธิในการคัดคานผูพิพากษาหรือตุลาการ สิทธิในการไดรับการพิจารณาโดยผูพิพากษาหรือตุลาการที่นั่งพิจารณาคดีครบองคคณะ และการไดรับทราบเหตุผลประกอบคําวินิจฉัยหรือคําพิพากษาหรือคําสั่ง (๓) บุคคลยอมมีสิทธิที่จะใหคดีของตนไดรับการพิจารณาอยางยุติธรรมภายใน ระยะเวลาอันสมควร และเสียคาใชจายตามควรแกกรณี (๔) ผูเสียหาย ผูตองหา โจทก จําเลย คูกรณี ผูมีสวนไดเสีย หรือพยานในคด ี มีสิทธิไดรับการปฏิบัติที่เหมาะสมในการดําเนินการตามกระบวนการยุติธรรม รวมทั้งสิทธิในการไดรับการสอบสวนอยางรวดเร็ว และการไมใหถอยคําเปนปฏิปกษกับตนเอง (๕) ผูเสียหาย จําเลย และพยานในคดี มีสิทธิไดรับความคุมครอง ความชวยเหลือ คาตอบแทน คาทดแทน และคาใชจายที่จําเปนและสมควรจากรัฐ (๖) เด็ก เยาวชน สตรี คนพิการและทุพพลภาพ ยอมไดรับความคุมครองในการดําเนินกระบวนพิจารณาคดีอยางเหมาะสม มาตรา ๒๓๘ ในคดีอาญา การคนในที่รโหฐานจะกระทํามิได เวนแตจะมีคําสั่งหรือหมายของศาล หรือมีเหตุใหคนไดโดยไมตองมีคําสั่งหรือหมายของศาล ทั้งนี้ ตามที่

กฎหมายบัญญัติ มาตรา ๒๓๙ คําขอประกันผูตองหาหรือจําเลยในคดีอาญาตองไดรับการพิจารณาอยางรวดเร็ว และจะเรียกหลักประกันจนเกินควรแกกรณีมิได การไมใหประกันตองอาศัยเหตุตามหลักเกณฑ ที่บัญญัติไวโดยเฉพาะในกฎหมาย และตองแจงเหตุผลใหผูตองหาหรือจําเลยทราบโดยเร็ว

Page 24: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๑๕

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) ในคดีอาญาที่พนักงานอัยการมีคําสั่งเด็ดขาดไมฟองแลว ผูเสียหาย ผูตองหา หรือผูมีสวนไดเสีย ยอมมีสิทธิขอทราบสรุปพยานหลักฐานพรอมความเห็นของพนักงาน

สอบสวนและพนักงานอัยการในการสั่งคดี ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ มาตรา ๒๔๒ ผูตองหาหรือจําเลยในคดีอาญายอมมีสิทธิไดรับความชวยเหลือจากรัฐดวยการจัดหาทนายความใหตามที่กฎหมายบัญญัติ ในกรณีที่ผูถูกควบคุมหรือคุม

ขังไมอาจหาทนายความได รัฐตองใหความชวยเหลือโดยจัดหาทนายความใหโดยเร็ว ในคดีแพง บุคคลยอมมีสิทธิไดรับความชวยเหลือทางกฎหมายจากรัฐตามที่กฎหมายบัญญัติ มาตรา ๒๔๓ บุคคลยอมมีสิทธิไมใหถอยคําเปนปฏิปกษตอตนเองอันอาจทําใหตนถูกฟองคดีอาญา ถอยคําของบุคคลซึ่งเกิดจากการจูงใจ มีคํามั่นสัญญา ขูเข็ญ หลอกลวง ถูก

ทรมาน ใชกําลังบังคับ หรอืกระทําโดยมิชอบประการใด ๆ ไมอาจรับฟงเปนพยานหลักฐานได มาตรา ๒๔๔ บุคคลซึ่งเปนพยานในคดีอาญามีสิทธิไดรับความคุมครอง การปฏิบัติที่เหมาะสม และคาตอบแทนที่จําเปนและสมควรจากรัฐ ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ มาตรา ๒๔๕ บุคคลซึ่งเปนผูเสียหายในคดีอาญามีสิทธิไดรับความคุมครอง การปฏิบัติที่เหมาะสม และคาตอบแทนที่จําเปนและสมควรจากรัฐ ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ บุคคลใดไดรับความเสียหายถึงแกชีวิตหรือแกรางกายหรือจิตใจเนื่องจากการ

กระทําความผิดอาญาของผูอื่นโดยตนมิไดมีสวนเกี่ยวของกับการกระทําความผิดนั้น

สิทธิที่จะอุทธรณคัดคานการไมใหประกัน ยอมไดรับความคุมครองตามที่กฎหมายบัญญัติ บุคคลผูถูกควบคุม คุมขัง หรือจําคุก ยอมมีสิทธิพบและปรึกษาทนายความเปน

การเฉพาะตัว และมีสิทธิไดรับการเยี่ยมตามสมควร มาตรา ๒๔๐ ในกรณีที่มีการคุมขังตัวบุคคลในคดีอาญา หรือในกรณีอื่นใด

ผูถูกคุมขังเอง พนักงานอัยการ หรือบุคคลอื่นใดเพื่อประโยชนของผูถูกคุมขัง มีสิทธิรองตอศาลทองที่ ที่มีอํานาจพิจารณาคดีอาญาวาการคุมขังเปนการมิชอบดวยกฎหมาย เมื่อ

มีคํารองเชนวานี้ ใหศาลดําเนินการไตสวนฝายเดียวโดยดวน ถาเห็นวาคํารองนั้นมีมูล ศาลมีอํานาจสั่งผูคุมขังใหนําตัวผูถูกคุมขังมาศาลโดยพลนั และถาผูคุมขังแสดงใหเปนที่

พอใจของศาลไมไดวาการคุมขงัเปนการชอบดวยกฎหมาย ใหศาลสั่งปลอยตัวผูถูกคุมขังไปทันที มาตรา ๒๔๑ ในคดีอาญา ผูตองหาหรือจําเลยยอมมีสิทธิไดรับการสอบสวนหรือการพิจารณาคดีดวยความรวดเร็ว ตอเนื่อง และเปนธรรม ในชั้นสอบสวน ผูตองหามีสิทธิใหทนายความหรือผูซึ่งตนไววางใจเขาฟงการสอบปากคําตนได ผูเสียหายหรือจําเลยในคดีอาญายอมมีสิทธิตรวจหรือคัดสําเนาคําใหการของตน

ในชั้นสอบสวนหรือเอกสารประกอบคําใหการของตน เมื่อพนักงานอัยการไดยื่นฟองคดี

ตอศาลแลว ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ ในคดีอาญาที่พนักงานอัยการมีคําสั่งเด็ดขาดไมฟองแลว ผูเสียหาย ผูตองหา หรือผูมีสวนไดเสีย ยอมมีสิทธิขอทราบสรุปพยานหลักฐานพรอมความเห็นของพนักงาน

สอบสวนและพนักงานอัยการในการสั่งคดี ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ

Page 25: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๑๖

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) และไมมีโอกาสไดรับการบรรเทาความเสียหายโดยทางอื่น บุคคลนั้นหรือทายาทยอมมี

สิทธิไดรับความชวยเหลือจากรัฐ ทั้งนี้ ตามเงื่อนไขและวิธีการที่กฎหมายบัญญัติ มาตรา ๒๔๖ บุคคลใดตกเปนจําเลยในคดีอาญาและถูกคุมขังระหวางการพิจารณาคดี หากปรากฏตามคําพิพากษาอันถึงที่สุดในคดีนั้นวาขอเท็จจริงฟงเปนยุติวา

จําเลยมิไดเปนผูกระทํา ความผิด หรือการกระทําของจําเลยไมเปนความผิด บุคคลนั้น

ยอมมีสิทธไิดรับคาทดแทนและคาใชจายตามสมควร ตลอดจนบรรดาสิทธิที่เสียไปเพราะการนั้นคืน ทั้งนี้ ตามเงื่อนไขและวิธีการที่กฎหมายบัญญัติ มาตรา ๒๔๗ บุคคลใดตองรับโทษอาญาโดยคําพิพากษาอันถึงที่สุด บุคคลนั้น ผูมีสวนไดเสีย หรือพนักงานอัยการ อาจรองขอใหมีการรื้อฟนคดีขึ้นพิจารณาใหมได และ

หากปรากฏตามคําพิพากษาของศาลที่รื้อฟนคดีขึ้นพิจารณาใหมวาบุคคลนั้นมิไดเปน

ผูกระทําความผดิ บุคคลนั้นหรือทายาทยอมมีสิทธิไดรับคาทดแทนและคาใชจายตามสมควร ตลอดจนบรรดาสิทธิที่เสียไปเพราะผลแหงคําพิพากษานั้นคืน ทั้งนี้ ตามเงื่อนไขและวิธีการที่กฎหมายบัญญัติ

มาตรา ๒๔๒ ผูตองหาหรือจําเลยในคดีอาญายอมมีสิทธิไดรับความชวยเหลือจากรัฐดวยการจัดหาทนายความใหตามที่กฎหมายบัญญัติ ในกรณีที่ผูถูกควบคุมหรือคุม

ขังไมอาจหาทนายความได รัฐตองใหความชวยเหลือโดยจัดหาทนายความใหโดยเร็ว ในคดีแพง บุคคลยอมมีสิทธิไดรับความชวยเหลือทางกฎหมายจากรัฐตามที่กฎหมายบัญญัติ มาตรา ๒๔๓ บุคคลยอมมีสิทธิไมใหถอยคําเปนปฏิปกษตอตนเองอันอาจทําใหตนถูกฟองคดีอาญา ถอยคําของบุคคลซึ่งเกิดจากการจูงใจ มีคํามั่นสัญญา ขูเข็ญ หลอกลวง ถูก

ทรมาน ใชกําลังบังคับ หรือกระทําโดยมิชอบประการใด ๆ ไมอาจรับฟงเปนพยานหลักฐานได มาตรา ๒๔๔ บุคคลซึ่งเปนพยานในคดีอาญามีสิทธิไดรับความคุมครอง การ

ปฏิบัติที่เหมาะสม และคาตอบแทนที่จําเปนและสมควรจากรัฐ ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ มาตรา ๒๔๕ บุคคลซึ่งเปนผูเสียหายในคดีอาญามีสิทธิไดรับความคุมครอง การปฏิบัติที่เหมาะสม และคาตอบแทนที่จําเปนและสมควรจากรัฐ ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ บุคคลใดไดรับความเสียหายถึงแกชีวิตหรือแกรางกายหรือจิตใจเนื่องจากการ

กระทําความผิดอาญาของผูอื่นโดยตนมิไดมีสวนเกี่ยวของกับการกระทําความผิดนั้น และไมมีโอกาสไดรับการบรรเทาความเสียหายโดยทางอื่น บุคคลนั้นหรือทายาทยอมมี

สิทธิไดรับความชวยเหลือจากรัฐ ทั้งนี้ ตามเงื่อนไขและวิธีการที่กฎหมายบัญญัติ มาตรา ๒๔๖ บุคคลใดตกเปนจําเลยในคดีอาญาและถูกคุมขังระหวางการพิจารณาคดี หากปรากฏตามคําพิพากษาอันถึงที่สุดในคดีนั้นวาขอเท็จจริงฟงเปนยุติวา

จําเลยมิไดเปนผูกระทํา ความผิด หรือการกระทําของจําเลยไมเปนความผิด บุคคลนั้น

Page 26: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๑๗

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) ยอมมีสิทธิไดรับคาทดแทนและคาใชจายตามสมควร ตลอดจนบรรดาสิทธิที่เสียไปเพราะ

การนั้นคืน ทั้งนี้ ตามเงื่อนไขและวิธีการที่กฎหมายบัญญัติ มาตรา ๒๔๗ บุคคลใดตองรับโทษอาญาโดยคําพิพากษาอันถึงที่สุด บุคคลนั้น ผูมีสวนไดเสีย หรือพนักงานอัยการ อาจรองขอใหมีการรื้อฟนคดีขึ้นพิจารณาใหมได และ

หากปรากฏตามคําพิพากษาของศาลที่รื้อฟนคดีขึ้นพิจารณาใหมวาบุคคลนั้นมิไดเปน

ผูกระทําความผดิ บุคคลนั้นหรือทายาทยอมมีสิทธิไดรับคาทดแทนและคาใชจายตามสมควร ตลอดจนบรรดาสิทธิที่เสียไปเพราะผลแหงคําพิพากษานั้นคืน ทั้งนี้ ตามเงื่อนไขและวิธีการที่กฎหมายบัญญัติ

สวนที่ ๕ สิทธิในทรัพยสิน

มาตรา ๔๘ สิทธิของบุคคลในทรัพยสินยอมไดรับความคุมครอง ขอบเขตแหงสิทธิและการจํากัดสิทธิเชนวานี้ ยอมเปนไปตามที่กฎหมายบัญญัติ การสืบมรดกยอมไดรับความคุมครอง สิทธิของบุคคลในการสืบมรดกยอมเปนไปตามที่กฎหมายบัญญัติ

มาตรา ๔๘๔๑ สิทธิของบุคคลในทรัพยสินยอมไดรับความคุมครอง ขอบเขตแหงสิทธิและการจํากัดสิทธิเชนวานี้ ยอมเปนไปตามที่กฎหมายบัญญัติ ขอบเขตแหงสิทธิและการจํากัดสิทธิเชนวานี้ยอมเปนไปตามที่กฎหมายบัญญัติ การสืบมรดกยอมไดรับความคุมครอง สิทธิของบุคคลในการสืบมรดกยอมเปนไปตามที่กฎหมายบัญญัติ

มาตรา ๔๙ การเวนคืนอสังหาริมทรัพยจะกระทํามิได เวนแตโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหงกฎหมายเฉพาะเพื่อการอันเปนสาธารณูปโภค การอันจําเปนในการ

ปองกันประเทศ การไดมาซึ่งทรัพยากรธรรมชาติ การผังเมือง การสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอม การพัฒนาการเกษตร หรือการอุตสาหกรรม การปฏิรูปที่ดนิ หรือ

เพื่อประโยชนสาธารณะอยางอื่น และตองชดใชคาทดแทนที่เปนธรรมภายในเวลาอันควร

มาตรา ๔๙๔๒ การเวนคืนอสังหาริมทรัพยจะกระทํามิได เวนแตโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหงกฎหมายเฉพาะเพื่อการอันเปนสาธารณูปโภค การอันจําเปน

ในการปองกันประเทศ การไดมาซึ่งทรัพยากรธรรมชาติ การผังเมือง การสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอม การพัฒนาการเกษตรหรือการอุตสาหกรรม การปฏิรูปที่ดิน

หรือเพื่อประโยชนสาธารณะอยางอื่น และตองชดใชคาทดแทนที่เปนธรรมภายในเวลาอันควร

Page 27: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๑๘

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) แกเจาของตลอดจนผูทรงสิทธิบรรดาที่ไดรับความเสียหายในการเวนคืนนั้น ทั้งนี้ ตามที่

กฎหมายบัญญัติ การกําหนดคาทดแทนตามวรรคหนึ่ง ตองกําหนดใหอยางเปนธรรมโดยคํานึงถึงราคาที่ซื้อขายกันตามปกติ การไดมา สภาพและที่ตั้งของอสังหาริมทรัพยและความเสียหายของผูถูกเวนคืน กฎหมายเวนคืนอสังหาริมทรัพยตองระบุวัตถุประสงคแหงการเวนคืนและ

กําหนดระยะเวลาการเขาใชอสังหาริมทรัพยไวใหชัดแจง ถามิไดใชเพื่อการนั้นภายในระยะเวลาที่กําหนดดังกลาว ตองคืนใหเจาของเดิมหรือทายาท การคืนอสังหาริมทรัพยใหเจาของเดิมหรือทายาทตามวรรคสาม และการเรียก

คืนคาทดแทนที่ชดใชไป ใหเปนไปตามที่กฎหมายบัญญัติ

แกเจาของตลอดจนผูทรงสิทธิบรรดาที่ไดรับความเสียหายในการเวนคืนนั้น ทั้งนี้ ตามที่

กฎหมายบัญญัติ การกําหนดคาทดแทนตามวรรคหนึ่งตองกําหนดใหอยางเปนธรรมโดยคํานึงถึง

ราคาที่ซื้อขายกันตามปกติ การไดมา สภาพและที่ตั้งของอสังหาริมทรัพย และความเสียหายของผูถูกเวนคืน กฎหมายเวนคืนอสังหาริมทรัพยตองระบุวัตถุประสงคแหงการเวนคืนและ

กําหนดระยะเวลาการเขาใชอสังหาริมทรัพยไวใหชัดแจง ถามิไดใชเพื่อการนั้นภายในระยะเวลาที่กําหนดดังกลาว ตองคืนใหเจาของเดิมหรือทายาท การคืนอสังหาริมทรัพยใหเจาของเดิมหรือทายาทตามวรรคสาม และการเรียก

คืนคาทดแทนที่ชดใชไป ใหเปนไปตามที่กฎหมายบัญญัติ สวนที่ ๖

สิทธิและเสรีภาพในการประกอบอาชีพ

มาตรา ๕๐ บุคคลยอมมีเสรีภาพในการประกอบกิจการหรือประกอบอาชีพและการแขงขันโดยเสรีอยางเปนธรรม การจํากัดเสรีภาพตามวรรคหนึ่งจะกระทํามิได เวนแตโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหงกฎหมายเฉพาะเพื่อประโยชนในการรักษาความมั่นคงของรัฐหรือ

เศรษฐกิจของประเทศ การคุมครองประชาชนในดานสาธารณูปโภค การรักษาความสงบเรียบรอยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน การจัดระเบียบการประกอบอาชีพ การคุมครองผูบริโภค การผังเมือง การรักษาทรัพยากรธรรมชาติหรือสิ่งแวดลอม สวัสดิภาพของประชาชน หรือเพื่อปองกันการผูกขาด หรือขจัดความไมเปนธรรมในการแขงขัน

มาตรา ๕๐๔๓ บุคคลยอมมีเสรีภาพในการประกอบกิจการหรือประกอบอาชีพและการแขงขันโดยเสรีอยางเปนธรรม การจํากัดเสรีภาพตามวรรคหนึ่งจะกระทํามิได เวนแตโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหงกฎหมายเฉพาะเพื่อประโยชนในการรักษาความมั่นคงของรัฐหรือ

เศรษฐกิจของประเทศ การคุมครองประชาชนในดานสาธารณูปโภค การรักษาความสงบเรียบรอยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน การจัดระเบียบการประกอบอาชีพ การคุมครองผูบริโภค การผังเมือง การรักษาทรัพยากรธรรมชาติหรือสิ่งแวดลอม สวัสดิภาพของประชาชน หรือเพื่อปองกันการผูกขาดหรือขจัดความไมเปนธรรมในการแขงขัน

Page 28: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๑๙

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) มาตรา ๔๔ บุคคลยอมมีสิทธิไดรับหลักประกันความปลอดภัยและสวัสดิภาพใน

การทํางาน รวมทั้งมีหลักประกันในการดํารงชีพทั้งในระหวางการทํางานและเมื่อพนภาวะการทํางาน

สวนที่ ๗ เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นของบุคคลและสื่อมวลชน

มาตรา ๓๙ บุคคลยอมมีเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น การพูด การเขียน

การพิมพ การโฆษณา และการสื่อความหมายโดยวิธีอื่น การจํากัดเสรีภาพตามวรรคหนึ่งจะกระทํามิได เวนแตโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหงกฎหมายเฉพาะเพื่อรักษาความมั่นคงของรัฐ เพื่อคุมครองสิทธิ เสรีภาพ

เกียรติยศ ชื่อเสียง สิทธิในครอบครัวหรือความเปนอยูสวนตัวของบุคคลอื่น เพื่อรักษาความสงบเรียบรอยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน หรือเพื่อปองกันหรือระงับความเสื่อมทรามทางจิตใจหรือสุขภาพของประชาชน การสั่งปดโรงพิมพ สถานีวิทยุกระจายเสียง หรือสถานีวิทยุโทรทัศนเพื่อลิดรอนเสรีภาพตามมาตรานี ้จะกระทํามิได การใหนําขาวหรือบทความไปใหเจาหนาที่ตรวจกอนนําไปโฆษณาใน

หนังสือพิมพ สิ่งพิมพ วิทยุกระจายเสียง หรือวิทยุโทรทัศน จะกระทํามิได เวนแตจะกระทําในระหวางเวลาที่ประเทศอยูในภาวะการสงครามหรือการรบ แตทั้งนี้จะตองกระทํา

โดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหงกฎหมายซึ่งไดตราขึ้นตามความในวรรคสอง เจาของกิจการหนังสือพิมพหรือสื่อมวลชนอื่นตองเปนบุคคลสัญชาติไทย ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ

มาตรา ๓๙๔๕ บุคคลยอมมีเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น การพูด การ

เขียน การพิมพ การโฆษณา และการสื่อความหมายโดยวิธีอื่น การจํากัดเสรีภาพตามวรรคหนึ่งจะกระทํามิได เวนแตโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหงกฎหมายเฉพาะเพื่อรักษาความมั่นคงของรัฐ เพื่อคุมครองสิทธิ เสรีภาพ

เกียรติยศ ชื่อเสียง สิทธิในครอบครัวหรือความเปนอยูสวนตัวของบุคคลอื่น เพื่อรักษาความสงบเรียบรอยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน หรือเพื่อปองกันหรือระงับความเสื่อมทรามทางจิตใจหรือสุขภาพของประชาชน การสั่งปดโรงกิจการหนังสือพิมพ สถานีวิทยุกระจายเสียง หรือสถานีวิทยุโทรทัศนสื่อมวลชนอื่นเพื่อลิดรอนเสรีภาพตามมาตรานี้ จะกระทํามิได การหามหนังสือพิมพหรือสื่อมวลชนอื่นเสนอขาวสารหรือแสดงความคิดเห็น

ทั้งหมดหรือบางสวน หรือการแทรกแซงดวยวิธีการใด ๆ เพื่อลิดรอนเสรีภาพตามมาตรานี้ จะกระทํามิได เวนแตโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหงกฎหมายซึ่งไดตราขึ้นตามวรรคสอง การใหนําขาวหรือบทความไปใหเจาหนาที่ตรวจกอนนําไปโฆษณาในหนังสือ

พิมพ สิ่งพิมพ วิทยุกระจายเสียง หรือวิทยุโทรทัศนสื่อมวลชนอื่น จะกระทํามิได เวนแต

Page 29: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๒๐

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) การใหเงินหรือทรัพยสินอยางอื่นอุดหนุนหนังสือพิมพหรือสื่อมวลชนอื่นของ

เอกชน รัฐจะกระทํามิได จะกระทําในระหวางเวลาที่ประเทศอยูในภาวะการสงครามหรือการรบ แตทั้งนี้จะตอง

กระทําโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหงกฎหมายซึ่งไดตราขึ้นตามความในวรรคสอง เจาของกิจการหนังสือพิมพหรือสื่อมวลชนอื่นตองเปนบุคคลสัญชาติไทย ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ การใหเงินหรือทรัพยสินอยางอื่นเพื่ออุดหนุนกิจการหนังสือพิมพหรือสื่อมวลชน

อื่นของเอกชน รัฐจะกระทํามิได มาตรา ๔๑ พนักงานหรือลูกจางของเอกชนที่ประกอบกิจการหนังสือพิมพ วิทยุกระจายเสียง หรือวิทยุโทรทัศน ยอมมีเสรีภาพในการเสนอขาวและแสดงความคิดเห็นภายใตขอจํากัดตามรัฐธรรมนูญ โดยไมตกอยูภายใตอาณัติของหนวยราชการ

หนวยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือเจาของกิจการนั้น แตตองไมขัดตอจรรยาบรรณแหง

การประกอบวิชาชีพ ขาราชการ พนักงาน หรือลูกจางของหนวยราชการ หนวยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจในกิจการวิทยุกระจายเสียงหรือวิทยุโทรทัศน ยอมมีเสรีภาพเชนเดียวกับพนักงานหรือลูกจางของเอกชนตามวรรคหนึ่ง

มาตรา ๔๑๔๖ พนักงานหรือลูกจางของเอกชนที่ประกอบกิจการหนังสือพิมพ วิทยุกระจายเสียง หรือวิทยุโทรทัศน หรือสื่อมวลชนอื่น ยอมมีเสรีภาพในการเสนอขาว

และแสดงความคิดเห็นภายใตขอจํากัดตามรัฐธรรมนูญ โดยไมตกอยูภายใตอาณัติของ

หนวยราชการ หนวยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือเจาของกิจการนั้น แตตองไมขัดตอ

จรรยาบรรณจริยธรรมแหงการประกอบวิชาชีพ ขาราชการ พนักงาน หรือลูกจางของหนวยราชการ หนวยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจในกิจการวิทยุกระจายเสียงหรือวิทยุโทรทัศน หรือสื่อมวลชนอื่น ยอมมี

เสรีภาพเชนเดียวกับพนักงานหรือลูกจางของเอกชนตามวรรคหนึ่ง การกระทําใด ๆ ไมวาในทางตรงหรือทางออมของผูดํารงตําแหนงทางการเมืองเจาหนาที่ของรัฐ หรือเจาของกิจการ อันเปนการขัดขวางหรือแทรกแซงการเสนอขาวหรือแสดงความคิดเห็นในประเด็นสาธารณะของบุคคลตามวรรคหนึ่งหรือวรรคสอง ใหถือวาเปนการจงใจใชอํานาจหนาที่โดยมิชอบและไมมีผลใชบังคับ เวนแตเปนการกระทําเพื่อใหเปนไปตามกฎหมายหรอืจริยธรรมแหงการประกอบวิชาชีพ

มาตรา ๔๐ คลื่นความถี่ที่ใชในการสงวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน และวิทยุโทรคมนาคม เปนทรัพยากรสื่อสารของชาติเพื่อประโยชนสาธารณะ

มาตรา ๔๐๔๗ คลื่นความถี่ที่ใชในการสงวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน และวิทยุโทรคมนาคม เปนทรัพยากรสื่อสารของชาติเพื่อประโยชนสาธารณะ

Page 30: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๒๑

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) ใหมีองคกรของรัฐที่เปนอิสระทําหนาที่จัดสรรคลื่นความถี่ตามวรรคหนึ่ง และกํากับดูแลการประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคม ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ การดําเนินการตามวรรคสองตองคํานึงถึงประโยชนสูงสุดของประชาชนใน

ระดับชาติและระดับทองถิ่น ทั้งในดานการศึกษา วัฒนธรรม ความมั่นคงของรัฐ และ

ประโยชนสาธารณะอื่น รวมทั้งการแขงขันโดยเสรีอยางเปนธรรม

ใหมีองคกรของรัฐที่เปนอิสระองคกรหนึ่งทําหนาที่จัดสรรคลื่นความถี่ตามวรรค

หนึ่ง และกํากับดูแลการประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคม ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ การดําเนินการตามวรรคสองตองคํานึงถึงประโยชนสูงสุดของประชาชนใน

ระดับชาติและระดับทองถิ่น ทั้งในดานการศึกษา วัฒนธรรม ความมั่นคงของรัฐ และ

ประโยชนสาธารณะอื่น รวมทั้งการแขงขันโดยเสรีอยางเปนธรรม รวมทั้งตองจัดใหภาค

ประชาชนมีสวนรวมในการดําเนินการสื่อมวลชนสาธารณะ การกํากับการประกอบกิจการตามวรรคสองตองมีมาตรการเพื่อปองกันการควบ

รวมหรือการครอบงําระหวางสื่อมวลชนดวยกันเองหรือโดยบุคคลอื่นใด ซึ่งจะมีผลเปนการขัดขวางเสรีภาพในการรับรูขอมูลขาวสารหรือปดกั้นการไดรับขอมูลขาวสารที่

หลากหลาย ผูดํารงตําแหนงทางการเมืองจะเปนเจาของกิจการหรือถือหุนในกิจการ

หนังสือพิมพวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน หรือโทรคมนาคมมิได ไมวาในนามของตนเองหรือใหผูอื่นเปนเจาของกิจการหรือถือหุนแทน หรือจะดําเนินการโดยวิธีการอื่นไมวาโดยทางตรงหรือทางออมที่สามารถบริหารกิจการดังกลาวไดในทํานองเดียวกับการ

เปนเจาของกิจการหรือถือหุนในกิจการดังกลาวมิได สวนที่ ๘

สิทธิและเสรีภาพในการศึกษา

มาตรา ๔๓ บุคคลยอมมีสิทธิเสมอกันในการรับการศึกษาขั้นพื้นฐานไมนอยกวาสิบสองปที่รัฐจะตองจัดใหอยางทั่วถึงและมีคุณภาพโดยไมเก็บคาใชจาย

มาตรา ๔๓๔๘ บุคคลยอมมีสิทธิเสมอกันในการรับการศึกษาขั้นพื้นฐานไมนอยกวาสิบสองปที่รัฐจะตองจัดใหอยางทั่วถึงและมีคุณภาพ โดยไมเก็บคาใชจาย

Page 31: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๒๒

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) การจัดการศึกษาอบรมของรัฐตองคํานึงถึงการมีสวนรวมขององคการปกครอง

สวนทองถิ่นและเอกชน ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ การจัดการศึกษาอบรมขององคกรวิชาชีพและเอกชนภายใตการกํากับดูแลของ

รัฐ ยอมไดรับความคุมครอง ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ

การจัดการศึกษาอบรมของรัฐตองคํานึงถึงการมีสวนรวมขององคการปกครอง

สวนทองถิ่นและเอกชน ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ ผูยากไร ผูพิการหรือทุพพลภาพ หรือผูอยูในสภาวะยากลําบาก ตองไดรับการสนับสนุนจากรัฐเพื่อใหไดรับการศึกษาโดยทัดเทียมกับบุคคลอื่น การจัดการศึกษาอบรมขององคกรวิชาชีพและเอกชนภายใตการกํากับดูแล

การศึกษาทางเลือกของรัฐประชาชน การเรียนรูดวยตนเอง และการเรียนรูตลอดชีวิต ยอมไดรับความคุมครอง ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติและสงเสริมจากรัฐ

มาตรา ๔๒ บุคคลยอมมีเสรีภาพในทางวิชาการ การศึกษาอบรม การเรียนการสอน การวิจัย และการเผยแพรงานวิจัยตามหลัก

วิชาการ ยอมไดรับความคุมครอง ทั้งนี้ เทาที่ไมขัดตอหนาที่ของพลเมืองหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน

มาตรา ๔๒๔๙ บุคคลยอมมีเสรีภาพในทางวิชาการ การศึกษาอบรม การเรียนการสอน การวิจัย และการเผยแพรงานวิจัยตามหลัก

วิชาการ ยอมไดรับความคุมครอง ทั้งนี้ เทาที่ไมขัดตอหนาที่ของพลเมืองหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน

สวนที่ ๙ สิทธิในการไดรับบริการสาธารณสุขและสวัสดิการจากรัฐ

มาตรา ๕๒ บุคคลยอมมีสิทธิเสมอกันในการรับบริการทางสาธารณสุขที่ได

มาตรฐาน และผูยากไรมีสิทธิไดรับการรักษาพยาบาลจากสถานบริการสาธารณสุขของรัฐ

โดยไมเสียคาใชจาย ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ การบริการทางสาธารณสุขของรัฐตองเปนไปอยางทั่วถึงและมีประสิทธิภาพ โดยจะตองสงเสริมใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นและเอกชนมีสวนรวมดวยเทาที่จะ

กระทําได การปองกันและขจัดโรคติดตออันตราย รัฐตองจัดใหแกประชาชนโดยไมคิดมูลคาและทันตอเหตุการณ ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ

มาตรา ๕๒๕๐ บุคคลยอมมีสิทธิเสมอกันในการรับบริการทางสาธารณสุขที่ได

มาตรฐาน และผูยากไรมีสิทธิไดรับการรักษาพยาบาลจากสถานบริการสาธารณสุขของรัฐ

โดยไมเสียคาใชจาย ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ บุคคลยอมมีสิทธิไดรับการบริการทางสาธารณสุขของจากรัฐซึ่งตองเปนไป

อยางทั่วถึงและมีประสิทธิภาพ โดยจะตองสงเสริมใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นและเอกชนมีสวนรวมดวยเทาที่จะกระทําได

Page 32: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๒๓

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) บุคคลยอมมีสิทธิไดรับการปองกันและขจัดโรคติดตออันตรายจาก รัฐตองจัด

ใหแกประชาชนโดยไมคิดมูลคาเสียคาใชจายและทันตอเหตุการณ ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ

มาตรา ๕๓ เด็ก เยาวชน และบุคคลในครอบครัว มีสิทธิไดรับความคุมครองโดยรัฐจากการใชความรุนแรงและการปฏิบัติอันไมเปนธรรม เด็กและเยาวชนซึ่งไมมีผูดูแล มีสิทธิไดรับการเลี้ยงดูและการศึกษาอบรมจากรัฐ ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ

มาตรา ๕๓๕๑ เด็ก เยาวชน และบุคคลในครอบครัวมีสิทธิไดรับความคุมครองโดยจากรัฐจากการใชความรุนแรงและการปฏิบัติอันไมเปนธรรม รวมทั้งมีสิทธิในการอยูรอดและไดรับการพัฒนาดานรางกาย จิตใจ และสติปญญาตามศักยภาพในสภาพ

แวดลอมที่เหมาะสม การแทรกแซงและการจํากัดสิทธิของเด็ก เยาวชน และบุคคลในครอบครัวจะกระทํามิได เวนแตโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหงกฎหมายเฉพาะเพื่อสงวนและรักษาไวซึ่งสถานะของครอบครัวหรือประโยชนสูงสุดของบุคคลนั้น เด็กและเยาวชนซึ่งไมมีผูดูแลมีสิทธิไดรับการเลี้ยงดูและการศึกษาอบรมจากรัฐ

ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ มาตรา ๕๔ บุคคลซึ่งมีอายุเกินหกสิบปบริบูรณและไมมีรายไดเพียงพอแกการ

ยังชีพ มีสิทธิไดรับความชวยเหลืออื่นจากรัฐ ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ มาตรา ๕๔๕๒ บุคคลซึ่งมีอายุเกินหกสิบปบริบูรณและไมมีรายไดเพียงพอแก

การยังชีพ มีสิทธิไดรับความชวยเหลืออื่นจากรัฐ ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ มาตรา ๕๕ บุคคลซึ่งพิการหรือทุพพลภาพ มีสิทธิไดรับสิ่งอํานวยความสะดวกอันเปนสาธารณะและความชวยเหลืออื่นจากรัฐ ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ

มาตรา ๕๕๕๓ บุคคลซึ่งพิการหรือทุพพลภาพ มีสิทธิไดรับสวัสดิการ สิ่งอํานวยความสะดวกอันเปนสาธารณะ และความชวยเหลืออื่นจากรัฐ ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ

มาตรา ๕๔ บุคคลที่ไรที่อยูอาศัยและไมมีรายไดเพียงพอยอมมีสิทธิไดรับ ความชวยเหลือจากรัฐ

Page 33: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๒๔

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) สวนที่ ๑๐

สิทธิในขอมูลขาวสารและการรองเรียน

มาตรา ๕๘ บุคคลยอมมีสิทธิไดรับทราบขอมูลหรือขาวสาร สาธารณะใน

ครอบครองของหนวยราชการ หนวยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือราชการสวนทองถิ่น

เวนแตการเปดเผยขอมูลนั้น จะกระทบตอความมั่นคงของรัฐ ความปลอดภัยของประชาชน หรือสวนไดเสียอันพึงไดรับความคุมครองของบุคคลอื่น ทั้งนี้ ตามที่กฎหมาย

บัญญัติ

มาตรา ๕๘๕๕ บุคคลยอมมีสิทธิไดรับทราบขอมูลหรือขาวสารสาธารณะใน

ครอบครองของหนวยราชการ หนวยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือราชการสวนทองถิ่น

เวนแตการเปดเผยขอมูลหรือขาวสารนั้นจะกระทบตอความมั่นคงของรัฐ ความปลอดภัย

ของประชาชนหรือสวนไดเสียอันพึงไดรับความคุมครองของบุคคลอื่น ทั้งนี้ ตามที่

กฎหมายบัญญัติ มาตรา ๕๙ บุคคลยอมมีสิทธิไดรับขอมูล คําชี้แจง และเหตุผล จากหนวย

ราชการ หนวยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือราชการสวนทองถิ่น กอนการอนุญาตหรือการ

ดําเนินการ โครงการ หรือกิจกรรมใดที่อาจมีผลกระทบตอคุณภาพสิ่งแวดลอม สุขภาพ

อนามัย คุณภาพชีวิต หรือสวนไดเสียสําคัญอื่นใดที่เกี่ยวกับตนหรือชุมชนทองถิ่น และมีสิทธิแสดงความคิดเห็นของตนในเรื่องดังกลาว ทั้งนี้ ตามกระบวนการรับฟงความคิดเห็น

ของประชาชนที่กฎหมายบัญญัติ

มาตรา ๕๙๕๖ บุคคลยอมมีสิทธิไดรับขอมูล คําชี้แจง และเหตุผลจากหนวย

ราชการ หนวยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือราชการสวนทองถิ่น กอนการอนุญาตหรือการ

ดําเนินการโครงการ หรือกิจกรรมใดที่อาจมีผลกระทบตอคุณภาพสิ่งแวดลอม สุขภาพ

อนามัย คุณภาพชีวิต หรือสวนไดเสียสําคัญอื่นใดที่เกี่ยวกับตนหรือชุมชนทองถิ่น และมีสิทธิแสดงความคิดเห็นของตนตอหนวยงานที่เกี่ยวของเพื่อนําไปประกอบการพิจารณา

ในเรื่องดังกลาว ทั้งนี้ ตามกระบวนการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนที่กฎหมาย

บัญญัติ การวางแผนพัฒนาสังคม เศรษฐกิจ การเมือง และวัฒนธรรม การเวนคืนอสังหาริมทรัพย การวางผังเมือง การกําหนดเขตการใชประโยชนในที่ดิน และการออกกฎที่อาจมีผลกระทบตอสวนไดเสียสําคัญของประชาชน ใหรัฐจัดใหมีกระบวนการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนอยางทั่วถึงกอนดําเนินการ

Page 34: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๒๕

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) มาตรา ๖๐ บุคคลยอมมีสิทธิมีสวนรวมในกระบวนการพิจารณาของเจาหนาที่

ของรัฐในการปฏิบัติราชการทางปกครองอันมีผลหรืออาจมีผลกระทบตอสิทธิและเสรีภาพ

ของตน ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ

มาตรา ๖๐๕๗ บุคคลยอมมีสิทธิมีสวนรวมในกระบวนการพิจารณาของ

เจาหนาที่ของรัฐในการปฏิบัติราชการทางปกครองอันมีผลหรืออาจมีผลกระทบตอสิทธิ

และเสรีภาพของตน ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ มาตรา ๖๑ บุคคลยอมมีสิทธิเสนอเรื่องราวรองทุกขและไดรับแจงผลการพิจารณาภายในเวลาอันสมควร ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ

มาตรา ๖๑๕๘ บุคคลยอมมีสิทธิเสนอเรื่องราวรองทุกขและไดรับแจงผลการพิจารณาภายในเวลาอันสมควร ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ

มาตรา ๖๒ สิทธิของบุคคลที่จะฟองหนวยราชการ หนวยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ ราชการสวนทองถิ่น หรือองคกรอื่นของรัฐ ที่เปนนิติบุคคล ใหรับผิดเนื่องจาก

การกระทํา หรือการละเวนการกระทําของขาราชการ พนักงาน หรือลูกจางของหนวยงาน

นั้น ยอมไดรับความคุมครอง ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ

มาตรา ๖๒๕๙ บุคคลยอมมีสิทธิของบุคคลที่จะฟองหนวยราชการ หนวยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ ราชการสวนทองถิ่น หรือองคกรอื่นของรัฐที่เปนนิติบุคคล ใหรับผิด

เนื่องจากการกระทําหรือการละเวนการกระทําของขาราชการ พนักงาน หรือลูกจางของ

หนวยงานนั้น ยอมไดรับความคุมครอง ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ มาตรา ๕๗ สิทธิของบุคคลซึ่งเปนผูบริโภคยอมไดรับความคุมครอง ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ กฎหมายตามวรรคหนึ่งตองบัญญัติใหมีองคการอิสระซึ่งประกอบดวยตัวแทน

ผูบริโภคทําหนาที่ใหความเห็นในการตรากฎหมาย กฎ และขอบังคับ และใหความเห็นใน

การกําหนดมาตรการตาง ๆ เพื่อคุมครองผูบริโภค

มาตรา ๕๗๖๐ สิทธิของบุคคลซึ่งเปนผูบริโภคยอมไดรับความคุมครอง ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติในการไดรับขอมูลที่เปนความจริง และมีสิทธิรองเรียนเพื่อใหไดรับการแกไขเยียวยาความเสียหาย รวมทั้งมีสิทธิรวมตัวกันเพื่อพิทักษสิทธิของผูบริโภค กฎหมายตามวรรคหนึ่งตองบัญญัติใหมีองคการอิสระเพื่อการคุมครองผูบริโภค

ซึ่งประกอบดวยตัวแทนผูบริโภคทําหนาที่ใหความเห็นเพื่อประกอบการพิจารณาของ

หนวยงานของรัฐในการตราและการบังคับใชกฎหมาย และกฎ และขอบังคับ และให

ความเห็นในการกําหนดมาตรการตาง ๆ เพื่อคุมครองผูบริโภค รวมทั้งตรวจสอบและ

รายงานการกระทําหรือละเลยการกระทําอันเปนการคุมครองผูบริโภค

มาตรา ๖๑ บุคคลยอมมีสิทธิติดตามและรองขอใหมีการตรวจสอบการปฏิบัติหนาที่ของผูดํารงตําแหนงทางการเมืองและเจาหนาที่ของรัฐ

Page 35: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๒๖

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) บุคคลผูใหขอมูลโดยสุจริตแกองคกรตรวจสอบการใชอํานาจรัฐหรือหนวยงาน

ของรัฐเกี่ยวกับการปฏิบัติหนาที่ของผูดํารงตําแหนงทางการเมือง หนวยงานของรัฐ หรือเจาหนาที่ของรัฐยอมไดรับความคุมครอง

สวนที่ ๑๑ เสรีภาพในการชุมนุมและการสมาคม

มาตรา ๔๔ บุคคลยอมมีเสรีภาพในการชุมนุมโดยสงบและปราศจากอาวุธ การจํากัดเสรีภาพตามวรรคหนึ่งจะกระทํามิได เวนแตโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหงกฎหมายเฉพาะในกรณีการชุมนุมสาธารณะ และเพื่อคุมครองความสะดวกของประชาชนที่จะใชที่สาธารณะ หรือเพื่อรักษาความสงบเรียบรอยในระหวาง

เวลาที่ประเทศอยูในภาวะการสงครามหรือในระหวางเวลาที่มีประกาศสถานการณ

ฉุกเฉินหรือประกาศใชกฎอัยการศึก

มาตรา ๔๔๖๒ บุคคลยอมมีเสรีภาพในการชุมนุมโดยสงบและปราศจากอาวุธ การจํากัดเสรีภาพตามวรรคหนึ่งจะกระทํามิได เวนแตโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหงกฎหมายเฉพาะในกรณีการชุมนุมสาธารณะ และเพื่อคุมครองความสะดวกของประชาชนที่จะใชที่สาธารณะหรือเพื่อรักษาความสงบเรียบรอยในระหวางเวลา

ที่ประเทศอยูในภาวะการสงคราม หรือในระหวางเวลาที่มีประกาศสถานการณฉุกเฉิน

หรือประกาศใชกฎอัยการศึก มาตรา ๔๕ บุคคลยอมมีเสรีภาพในการรวมกันเปนสมาคม สหภาพ สหพันธ

สหกรณ กลุมเกษตรกร องคการเอกชน หรือหมูคณะอื่น การจํากัดเสรีภาพตามวรรคหนึ่งจะกระทํามิได เวนแตโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหงกฎหมายเฉพาะเพื่อคุมครองประโยชนสวนรวมของประชาชน เพื่อรักษาความสงบเรียบรอยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน หรือเพื่อปองกันมิใหมีการผูกขาดตัด

ตอนในทางเศรษฐกิจ

มาตรา ๔๕๖๓ บุคคลยอมมีเสรีภาพในการรวมกันเปนสมาคม สหภาพ

สหพันธ สหกรณ กลุมเกษตรกร องคการเอกชน หรือหมูคณะอื่น ขาราชการและเจาหนาที่ของรัฐยอมมีเสรีภาพในการรวมกลุมเชนเดียวกับ

บุคคลทั่วไป แตทั้งนี้ตองไมกระทบประสิทธิภาพในการบริหารราชการแผนดิน และความตอเนื่องในการจัดทําบริการสาธารณะ การจํากัดเสรีภาพตามวรรคหนึ่งและวรรคสองจะกระทํามิได เวนแตโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหงกฎหมายเฉพาะเพื่อคุมครองประโยชนสวนรวมของประชาชน เพื่อรักษาความสงบเรียบรอยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน หรือเพื่อปองกันมิใหมีการ

ผูกขาดตัดตอนในทางเศรษฐกิจ

Page 36: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๒๗

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) มาตรา ๔๗ บุคคลยอมมีเสรีภาพในการรวมกันจัดตั้งเปนพรรคการเมือง เพื่อสรางเจตนารมณทางการเมืองของประชาชนและเพื่อดําเนินกิจการในทางการเมืองให

เปนไปตามเจตนารมณนั้น ตามวิถีทางการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหา กษัตริยทรงเปนประมุขตามที่บัญญัติไวในรัฐธรรมนูญนี้ การจัดองคกรภายใน การดําเนินกิจการ และขอบังคับของพรรคการเมือง ตองสอดคลองกับหลักการพื้นฐานของการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหา

กษัตริยทรงเปนประมุข สมาชิกสภาผูแทนราษฎรซึ่งเปนสมาชิกของพรรคการเมือง กรรมการบริหารของพรรคการเมือง หรือสมาชิกพรรคการเมืองตามจํานวนที่กําหนดในกฎหมายประกอบ

รัฐธรรมนูญวาดวยพรรคการเมือง ซึ่งเห็นวามติหรือขอบังคับในเรื่องใดของพรรคการเมืองที่ตนเปนสมาชิกอยูนั้นจะขัดตอสถานะและการปฏิบัติหนาที่ของสมาชิกสภา

ผูแทนราษฎรตามรัฐธรรมนูญนี้ หรือขัด หรือแยงกับหลักการพื้นฐานแหงการปกครองใน

ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข มีสิทธิรองขอใหศาล

รัฐธรรมนูญพิจารณาวินิจฉัย ในกรณีที่ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยวามติหรือขอบังคับดังกลาวขัดหรือแยงกับ

หลักการพื้นฐานแหงการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปน

ประมุข ใหมติหรือขอบังคับนั้นเปนอันยกเลิกไป

มาตรา ๔๗๖๔ บุคคลยอมมีเสรีภาพในการรวมกันจัดตั้งเปนพรรคการเมือง เพื่อสรางเจตนารมณทางการเมืองของประชาชนและเพื่อดําเนินกิจการกิจกรรมในทาง

การเมืองใหเปนไปตามเจตนารมณนั้นตามวิถีทางการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี

พระมหากษัตริยทรงเปนประมุขตามที่บัญญัติไวในรัฐธรรมนูญนี ้ การจัดองคกรภายใน การดําเนินกิจการ และขอบังคับของพรรคการเมือง ตองสอดคลองกับหลักการพื้นฐานของแหงการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหา

กษัตริยทรงเปนประมุข สมาชิกสภาผูแทนราษฎรซึ่งเปนสมาชิกของพรรคการเมือง กรรมการบริหารของพรรคการเมือง หรือสมาชิกพรรคการเมืองตามจํานวนที่กําหนดในกฎหมาย

พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยพรรคการเมือง ซึ่งเห็นวามติหรือขอบังคับในเรื่องใดของพรรคการเมืองที่ตนเปนสมาชิกอยูนั้นจะขัดตอสถานะและการปฏิบัติหนาที่

ของสมาชิกสภาผูแทนราษฎรตามรัฐธรรมนูญนี้ หรือขัดหรือแยงกับหลักการพื้นฐานแหงการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุขมีสิทธิรองขอให

ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาวินิจฉัย ในกรณีที่ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยวามติหรือขอบังคับดังกลาวขัดหรือแยงกับ

หลักการพื้นฐานแหงการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปน

ประมุข ใหมติหรือขอบังคับนั้นเปนอันยกเลิกไป

Page 37: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๒๘

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) สวนที่ ๑๒

สิทธิชุมชน

มาตรา ๔๖ บุคคลซึ่งรวมกันเปนชุมชนทองถิ่นดั้งเดิมยอมมีสิทธิอนุรักษหรือฟนฟูจารีตประเพณี ภูมิปญญาทองถิ่น ศิลปะหรือวัฒนธรรมอันดีของทองถิ่นและของชาติ และมีสวนรวมในการจัดการ การบํารุงรักษา และการใชประโยชนจากทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดลอมอยางสมดุล และยั่งยืน ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ

มาตรา ๔๖๖๕ บุคคลซึ่งรวมกันเปนชุมชน ชุมชนทองถิ่น หรือชุมชนทองถิ่น

ดั้งเดิมยอมมีสิทธิอนุรักษหรือฟนฟูจารีตประเพณี ภูมิปญญาทองถิ่น ศิลปะหรือวัฒนธรรมอันดีของทองถิ่นและของชาติ และมีสวนรวมในการจัดการ การบํารุงรักษา และการใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมอยางสมดุล และยั่งยืน ทั้งนี้

ตามที่กฎหมายบัญญัติ มาตรา ๕๖ สิทธิของบุคคลที่จะมีสวนรวมกับรัฐและชุมชนในการบํารุงรักษา และการไดประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพ และใน

การคุมครอง สงเสริม และรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอม เพื่อใหดํารงชีพอยูไดอยางปกติและ

ตอเนื่อง ในสิ่งแวดลอมที่จะไมกอใหเกิดอันตรายตอสุขภาพอนามัย สวัสดิภาพ หรือคุณภาพชีวิตของตน ยอมไดรับความคุมครอง ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ การดําเนินโครงการหรือกิจกรรมที่อาจกอใหเกิดผลกระทบอยางรุนแรงตอ

คุณภาพสิ่งแวดลอมจะกระทํามิได เวนแตจะไดศึกษาและประเมินผลกระทบตอคุณภาพ

สิ่งแวดลอม รวมทั้งไดใหองคการอิสระซึ่งประกอบดวยผูแทนองคการเอกชนดานสิ่งแวดลอมและผูแทนสถาบันอุดมศึกษาที่จัดการศึกษาดานสิ่งแวดลอม ใหความเห็น

ประกอบกอนมีการดําเนินการดังกลาว ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ สิทธิของบุคคลที่จะฟองหนวยราชการ หนวยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ ราชการ

สวนทองถิ่น หรือองคกรอื่นของรัฐ เพื่อใหปฏิบัติหนาที่ตามที่บัญญัติไวในกฎหมายตามวรรคหนึ่งและวรรคสอง ยอมไดรับความคุมครอง

มาตรา ๕๖๖๖ สิทธิของบุคคลที่จะมีสวนรวมกับรัฐและชุมชนในการอนุรักษ บํารุงรักษา และการไดประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพ และในการคุมครอง สงเสริม และรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอม เพื่อใหดํารงชีพอยู

ไดอยางปกติและตอเนื่องในสิ่งแวดลอมที่จะไมกอใหเกิดอันตรายตอสุขภาพอนามัย

สวัสดิภาพ หรือคุณภาพชีวิตของตน ยอมไดรับความคุมครอง ทั้งนี้ ตามที่กฎหมาย

บัญญัติ การดําเนินโครงการหรือกิจกรรมที่อาจกอใหเกิดผลกระทบอยางรุนแรงตอ

คุณภาพสิ่งแวดลอมหรือทรัพยากรธรรมชาต ิจะกระทํามิได เวนแตจะไดศึกษาและประเมินผลกระทบตอคุณภาพสิ่งแวดลอม และจัดใหมีกระบวนการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสียกอน รวมทั้งไดใหองคการอิสระซึ่งประกอบดวยผูแทน

องคการองคกรเอกชนดานสิ่งแวดลอมและผูแทนสถาบันอุดมศึกษาที่จัดการการศึกษา

ดานสิ่งแวดลอมหรือทรัพยากรธรรมชาต ิใหความเห็นประกอบกอนมีการดําเนินการ

ดังกลาว ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ

Page 38: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๒๙

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) สิทธิของบุคคลชุมชนที่จะฟองหนวยราชการ หนวยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ

ราชการสวนทองถิ่น หรือองคกรอื่นของรัฐที่เปนนิติบุคคลเพื่อใหปฏิบัติหนาที่ตามที่

บทบัญญัติไวในกฎหมายตามวรรคหนึ่งและวรรคสองนี้ ยอมไดรับความคุมครอง สวนที่ ๑๓

สิทธิพิทักษรัฐธรรมนูญ

มาตรา ๖๓ บุคคลจะใชสิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญเพื่อลมลางการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุขตามรัฐธรรมนูญนี้ หรือเพื่อใหไดมาซึ่งอํานาจในการปกครองประเทศโดยวิธีการซึ่งมิไดเปนไปตามวิถีทางที่

บัญญัติไวในรัฐธรรมนูญนี้ มิได ในกรณีที่บุคคลหรือพรรคการเมืองใดกระทําการตามวรรคหนึ่ง ผูรูเห็นการ

กระทําดังกลาวยอมมีสิทธิเสนอเรื่องใหอัยการสูงสุดตรวจสอบขอเท็จจริงและยื่นคํารอง

ขอใหศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยสั่งการใหเลิกการกระทําดังกลาว แตทั้งนี้ ไมกระทบ

กระเทือนการดําเนินคดีอาญาตอผูกระทําการดังกลาว ในกรณีที่ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยสั่งการใหพรรคการเมืองใดเลิกกระทําการตาม

วรรคสอง ศาลรัฐธรรมนูญอาจสั่ง ยุบพรรคการเมืองดังกลาวได

มาตรา ๖๓๖๗ บุคคลจะใชสิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญเพื่อลมลางการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุขตามรัฐธรรมนูญนี้ หรือเพื่อใหไดมาซึ่งอํานาจในการปกครองประเทศโดยวิธีการซึ่งมิไดเปนไปตามวิถีทางที่

บัญญัติไวในรัฐธรรมนูญนี้มิได ในกรณีที่บุคคลหรือพรรคการเมืองใดกระทําการตามวรรคหนึ่ง ผูรูเห็นการ

กระทําดังกลาวยอมมีสิทธิเสนอเรื่องใหอัยการสูงสุดตรวจสอบขอเท็จจริงและยื่นคํารอง

ขอใหศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยสั่งการใหเลิกการกระทําดังกลาว แตทั้งนี้ ไมกระทบ

กระเทือนการดําเนินคดีอาญาตอผูกระทําการดังกลาว ในกรณีที่ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยสั่งการใหพรรคการเมืองใดเลิกกระทําการตาม

วรรคสอง ศาลรัฐธรรมนูญอาจสั่งยุบพรรคการเมืองดังกลาวได มาตรา ๖๕ บุคคลยอมมีสิทธิตอตานโดยสันติวิธีซึ่งการกระทําใด ๆ ที่เปนไปเพื่อใหไดมาซึ่งอํานาจในการปกครองประเทศโดยวิธีการซึ่งมิไดเปนไปตามวิถีทางที่

บัญญัติไวในรัฐธรรมนูญนี้

มาตรา ๖๕๖๘ บุคคลยอมมีสิทธิตอตานโดยสันติวิธีซึ่งการกระทําใด ๆ ที่เปนไปเพื่อใหไดมาซึ่งอํานาจในการปกครองประเทศโดยวิธีการซึ่งมิไดเปนไปตาม

วิถีทางที่บัญญัติไวในรัฐธรรมนูญนี้ ในกรณีที่ประเทศตกอยูในภาวะวิกฤติ เหตุการณคับขัน หรือเกิดสถานการณ

จําเปนอยางยิ่งในทางการเมือง ใหมีการประชุมรวมกันระหวางนายกรัฐมนตรี ประธาน

Page 39: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๓๐

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) สภาผูแทนราษฎร ประธานวุฒิสภา ผูนําฝายคานในสภาผูแทนราษฎร ประธานศาล

รัฐธรรมนูญ ประธานศาลฎีกา ประธานศาลปกครองสูงสุด และประธานองคกรอิสระตามรัฐธรรมนูญ เพื่อพิจารณาหาทางปองกันหรือแกไขปญหาดังกลาว

หมวด ๔ หนาที่ของชนชาวไทย

ไมมีการแกไข

มาตรา ๖๖ บุคคลมีหนาที่รักษาไวซึ่งชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย และการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุขตามรัฐธรรมนูญนี้

มาตรา ๖๖๖๙ บุคคลมีหนาที่พิทักษรักษาไวซึ่งชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย และการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุขตาม

รัฐธรรมนูญนี้ มาตรา ๖๗ บุคคลมีหนาที่ปฏิบัติตามกฎหมาย มาตรา ๖๗๗๐ บุคคลมีหนาที่ปองกันประเทศและปฏิบัติตามกฎหมาย มาตรา ๖๘ บุคคลมีหนาที่ไปใชสิทธิเลือกตั้ง บุคคลซึ่งไมไปเลือกตั้งโดยไมแจงเหตุอันสมควรที่ทําใหไมอาจไปเลือกตั้งได

ยอมเสียสิทธิตามที่กฎหมายบัญญัติ การแจงเหตุที่ทําใหไมอาจไปเลือกตั้งและการอํานวยความสะดวกในการไป

เลือกตั้งใหเปนไปตามที่กฎหมายบัญญัติ

มาตรา ๖๘๗๑ บุคคลมีหนาที่ไปใชสิทธิเลือกตั้ง บุคคลซึ่งไปใชสิทธิหรือไมไปเลือกตั้งใชสิทธิโดยไมแจงเหตุอันสมควรที่ทําใหไม

อาจไปเลือกตั้งใชสิทธไิด ยอมไดรับสิทธิหรือเสียสิทธิตามที่กฎหมายบัญญัติ การแจงเหตุที่ทําใหไมอาจไปเลือกตั้งและการอํานวยความสะดวกในการไป

เลือกตั้งใหเปนไปตามที่กฎหมายบัญญัติ มาตรา ๖๙ บุคคลมีหนาที่ปองกันประเทศ รับราชการทหาร เสียภาษีอากร

ชวยเหลือราชการ รับการศึกษาอบรม พิทักษ ปกปอง และสืบสานศิลปวัฒนธรรมของ

ชาติและภูมิปญญาทองถิ่น และอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ทั้งนี้ ตามที่

กฎหมายบัญญัติ

มาตรา ๖๙๗๒ บุคคลมีหนาที่ปองกันประเทศ รับราชการทหาร ชวยเหลือใน

การปองกันและบรรเทาภัยพิบัติสาธารณะ เสียภาษีอากร ชวยเหลือราชการ รับการศึกษาอบรม พิทักษ ปกปอง และสืบสานศิลปวัฒนธรรมของชาติและภูมิปญญา

ทองถิ่น และอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ มาตรา ๗๐ บุคคลผูเปนขาราชการ พนักงาน หรือลูกจางของหนวยราชการ

หนวยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ หรือของราชการสวนทองถิ่น และเจาหนาที่อื่นของรัฐ มาตรา ๗๐๗๓ บุคคลผูเปนขาราชการ พนักงาน หรือลูกจางของหนวยราชการ

หนวยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ หรือของราชการสวนทองถิ่น และเจาหนาที่อื่นของรัฐ

Page 40: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๓๑

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) มีหนาที่ดําเนินการใหเปนไปตามกฎหมายเพื่อรักษาประโยชนสวนรวม อํานวยความ

สะดวก และใหบริการแกประชาชน ในการปฏิบัติหนาที่และในการปฏิบัติการอื่นที่เกี่ยวของกับประชาชน บุคคล

ตามวรรคหนึ่งตองวางตนเปนกลางทางการเมือง ในกรณีที่บุคคลตามวรรคหนึ่งละเลยหรือไมปฏิบัติใหเปนไปตามหนาที่ตาม

วรรคหนึ่งหรือวรรคสอง บุคคลผูมีสวนไดเสียยอมมีสิทธิขอใหบุคคลตามวรรคหนึ่งหรือผูบังคับบัญชาของบุคคลดังกลาวชี้แจงแสดงเหตุผลและขอใหดําเนินการใหเปนไปตาม

บทบัญญัติในวรรคหนึ่งหรือวรรคสองได

มีหนาที่ดําเนินการใหเปนไปตามกฎหมายเพื่อรักษาประโยชนสวนรวม อํานวยความ

สะดวก และใหบริการแกประชาชนตามหลักการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี ในการปฏิบัติหนาที่และในการปฏิบัติการอื่นที่เกี่ยวของกับประชาชน บุคคล

ตามวรรคหนึ่งตองวางตนเปนกลางทางการเมือง ในกรณีที่บุคคลตามวรรคหนึ่งละเลยหรือไมปฏิบัติใหเปนไปตามหนาที่ตาม

วรรคหนึ่งหรือวรรคสอง บุคคลผูมีสวนไดเสียยอมมีสิทธิขอใหบุคคลตามวรรคหนึ่งหรือผูบังคับบัญชาของบุคคลดังกลาวชี้แจง แสดงเหตุผลและขอใหดําเนินการใหเปนไปตาม

บทบัญญัติในวรรคหนึ่งหรือวรรคสองได หมวด ๕

แนวนโยบายพื้นฐานแหงรัฐ

ไมมีการแกไข

สวนที่ ๑ บททั่วไป

มาตรา ๘๘ บทบัญญัติในหมวดนี้มีไวเพื่อเปนแนวทางสําหรับการตรากฎหมายและการกําหนดนโยบายในการบริหารราชการแผนดิน ในการแถลงนโยบายตอรัฐสภาตามมาตรา ๒๑๑ คณะรัฐมนตรีที่จะเขาบริหาร

ราชการแผนดินตองชี้แจงตอรัฐสภาใหชัดแจงวาจะดําเนินการใดเพื่อบริหารราชการ

แผนดินใหเปนไปตามแนวนโยบายพื้นฐานแหงรัฐตามที่บัญญัติไว ในหมวดนี้ และตอง

มาตรา ๘๘๗๔ บทบัญญัติในหมวดนี้มีไวเพื่อเปนแนวทางสําหรับเจตจํานงใหรัฐดําเนินการตรากฎหมายและการกําหนดนโยบายในการบริหารราชการแผนดิน ในการแถลงนโยบายตอรัฐสภาตามมาตรา ๒๑๑ คณะรัฐมนตรีที่จะเขาบริหาร

ราชการแผนดิน ตองชี้แจงตอรัฐสภาใหชัดแจงวาจะดําเนินการใด ในระยะเวลาใด เพื่อ

บริหารราชการแผนดินใหเปนไปตามแนวนโยบายพื้นฐานแหงรัฐตามที่บัญญัติไว ใน

Page 41: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๓๒

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) จัดทํารายงานแสดงผลการดําเนินการรวมทั้งปญหาและอุปสรรค เสนอตอรัฐสภาปละ

หนึ่งครั้ง หมวดนี ้และตองจัดทํารายงานแสดงผลการดําเนินการรวมทั้งปญหาและอุปสรรค เสนอ

ตอรัฐสภาปละหนึ่งครั้ง มาตรา ๗๕ คณะรัฐมนตรีตองจัดทําแผนการบริหารราชการแผนดิน เพื่อแสดง

มาตรการและรายละเอียดของแนวทางในการปฏิบัติราชการในแตละปของการบริหาร

ราชการแผนดิน ซึ่งจะตองสอดคลองกับแนวนโยบายพื้นฐานแหงรัฐ ในการบริหารราชการแผนดิน คณะรัฐมนตรีตองจัดใหมีแผนการตรากฎหมายที่

จําเปนตอการดําเนินการตามนโยบายและแผนการบริหารราชการแผนดิน

สวนที่ ๒ แนวนโยบายดานความมั่นคงของรัฐ

มาตรา ๗๑ รัฐตองพิทักษรักษาไวซึ่งสถาบันพระมหากษัตริย เอกราชและบูรณภาพแหงอาณาเขต มาตรา ๗๒ รัฐตองจัดใหมีกําลังทหารไวเพื่อพิทักษรักษาเอกราช ความมั่นคง

ของรัฐ สถาบันพระมหากษัตริย ผลประโยชนแหงชาติ และการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข และเพื่อการพัฒนาประเทศ

มาตรา ๗๑๗๖ รัฐตองพิทักษรักษาไวซึ่งสถาบันพระมหากษัตริย เอกราช และ

บูรณภาพแหงอาณาเขตอํานาจรัฐ และตองจัดใหมีกําลังทหาร อาวุธยุทโธปกรณ และเทคโนโลยีที่ทันสมัย จําเปน และเพียงพอ เพื่อพิทักษรักษาเอกราช ความมั่นคงของรัฐ สถาบันพระมหากษัตริย ผลประโยชนแหงชาติ และการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข และเพื่อการพัฒนาประเทศ มาตรา ๗๒ รัฐตองจัดใหมีกําลังทหารไวเพื่อพิทักษรักษาเอกราช ความมั่นคง

ของรัฐ สถาบันพระมหากษัตริย ผลประโยชนแหงชาติ และการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข และเพื่อการพัฒนาประเทศ

Page 42: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๓๓

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) สวนที่ ๓

แนวนโยบายดานการบริหารราชการแผนดิน

มาตรา ๗๗ รัฐตองจัดใหมีแผนพัฒนาการเมือง จัดทํามาตรฐานทางคุณธรรม

และจริยธรรมของผูดํารงตําแหนงทางการเมือง ขาราชการ และพนักงานหรือลูกจางอื่นของรัฐ เพื่อปองกันการทุจริตและประพฤติมิชอบ และเสริมสรางประสิทธิภาพในการปฏิบัติหนาที ่ มาตรา ๗๘ รัฐตองกระจายอํานาจใหทองถิ่นพึ่งตนเองและตัดสินใจในกิจการทองถิ่นไดเอง พัฒนาเศรษฐกิจทองถิ่นและระบบสาธารณูปโภคและสาธารณูปการตลอด

ทั้งโครงสรางพื้นฐานสารสนเทศในทองถิ่นใหทั่วถึงและเทาเทียมกันทั่วประเทศ รวมทั้งพัฒนาจังหวัดที่มีความพรอมใหเปนองคกรปกครองสวนทองถิ่นขนาดใหญ โดยคํานึงถึงเจตนารมณของประชาชนในจังหวัดนั้น มาตรา ๒๓๐ การจัดตั้งกระทรวง ทบวง กรม ขึ้นใหม โดยมีการกําหนดตําแหนงหรืออัตราของขาราชการหรือลูกจางเพิ่มขึ้น ใหตราเปนพระราชบัญญัติ การรวมหรือการโอนกระทรวง ทบวง กรม ที่มีผลเปนการจัดตั้งเปนกระทรวง

ทบวง กรม ขึ้นใหม หรือการรวมหรือการโอนกระทรวง ทบวง กรม ที่มิไดมีการจัดตั้งเปน

กระทรวง ทบวง กรม ขึ้นใหม ทั้งนี้ โดยไมมีการกําหนดตําแหนงหรืออัตราของขาราชการหรือลูกจางเพิ่มขึ้น หรือการยุบกระทรวง ทบวง กรม ใหตราเปนพระราช

กฤษฎีกา

มาตรา ๗๗ รัฐตองจัดใหมีแผนพัฒนาการเมือง จัดทํามาตรฐานทางคุณธรรม

และจริยธรรมของผูดํารงตําแหนงทางการเมือง ขาราชการ และพนักงานหรือลูกจางอื่นของรัฐ เพื่อปองกันการทุจริตและประพฤติมิชอบ และเสริมสรางประสิทธิภาพในการปฏิบัติหนาที่รัฐตองดําเนินการตามแนวนโยบายในดานการบริหารราชการแผนดิน

ดังตอไปนี้

(๑) การบริหารราชการแผนดินตองเปนไปเพื่อการพัฒนาสังคม เศรษฐกิจ และ

ความมั่นคงของประเทศอยางยั่งยืน โดยรัฐตองคํานึงถึงผลประโยชนของประเทศชาติใน

ภาพรวมเปนสําคัญ

(๒) จัดระบบการบริหารราชการสวนกลาง ราชการสวนภูมิภาค และราชการ

สวนทองถิ่น ใหมีขอบเขต อํานาจหนาที่ และความรับผิดชอบที่ชัดเจนเหมาะสมแกการ

พัฒนาประเทศ และสนับสนุนใหจังหวัดเปนตัวแทนของรัฐในการจัดทําแผนพัฒนาจังหวัด

โดยใหมีงบประมาณเพื่อดําเนินการใหเปนไปตามแผนดังกลาว รวมทั้งกํากับดูแลองคกร

ปกครองสวนทองถิ่น เพื่อประโยชนของประชาชนในพื้นที่

(๓) กระจายอํานาจใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นพึ่งตนเองและตัดสินใจใน

กิจการของทองถิ่นไดเอง รวมทั้งพัฒนาจังหวัดที่มีความพรอมใหเปนองคกรปกครองสวน

ทองถิ่นขนาดใหญ โดยคํานึงถึงเจตนารมณของประชาชนในจังหวัดนั้น

(๔) พัฒนาระบบงานภาครัฐ โดยมุงเนนการพัฒนาคุณภาพ คณุธรรม และ

จริยธรรมของเจาหนาที่ของรัฐ ควบคูไปกับการปรับปรุงรูปแบบและวิธีการทํางาน เพื่อให

Page 43: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๓๔

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) ภายในสามปนับแตวันที่มีการรวมหรือการโอนกระทรวง ทบวง กรม ตามวรรค

สอง จะกําหนดตําแหนงหรืออัตราของขาราชการหรือลูกจางเพิ่มขึ้นในกระทรวง ทบวง กรม ที่จัดตั้งขึ้นใหม หรือในกระทรวง ทบวง กรม ที่ถูกรวมหรือโอนไป มิได พระราชกฤษฎีกาตามวรรคสอง ใหระบุอํานาจหนาที่ของกระทรวง ทบวง กรม

ที่จัดตั้งขึ้นใหม การโอนอํานาจหนาที่ตามบทบัญญัติแหงกฎหมายซึ่งหนวยราชการหรือ

เจาพนักงานที่มีอยูเดิม การโอนขาราชการและลูกจาง งบประมาณรายจาย รวมทั้ง

ทรัพยสินและหนี้สิน เอาไวดวย การดําเนินการตามวรรคสองกับกระทรวง ทบวง กรม ที่มีพระราชบัญญัติจัดตั้งขึ้นแลว ใหตราเปนพระราชกฤษฎีกา โดยใหถือวาพระราชกฤษฎีกาที่ตราขึ้นนั้น มีผลเปนการแกไขเพิ่มเติมบทบัญญัติในพระราชบัญญัติหรือกฎหมายที่มีผลใชบังคับได

ดังเชนพระราชบัญญัติในสวนที่เกี่ยวของดวย

การบริหารราชการแผนดินเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ และสงเสริมใหหนวยงานของรัฐใช

หลักการบริหารกิจการบานเมืองที่ดีเปนแนวทางในการปฏิบัติราชการ

(๕) การจัดระบบงานราชการและงานของรัฐอยางอื่น ตองเปนไปเพื่อใหการ

จัดทําและการใหบริการสาธารณะเปนไปอยางรวดเร็ว มีประสิทธิภาพ โปรงใส ตรวจสอบ

ได โดยคํานึงถึงการมีสวนรวมของประชาชน

(๖) ดําเนินการใหหนวยงานทางกฎหมายที่มีหนาที่ใหความเห็นเกี่ยวกับการ

ดําเนินงานของรัฐตามกฎหมายและตรวจสอบการตรากฎหมายของรัฐ ดําเนินการอยาง

เปนอิสระ เพื่อใหการบริหารราชการแผนดินเปนไปตามหลักนิติธรรม

(๗) จัดใหมีบริการสาธารณะที่จําเปนแกประชาชนอยางทั่วถึงและเทาเทียมกัน

โดยคํานึงถึงวินัยการเงินการคลังของประเทศ และเรียกเก็บคาบริการเพียงเทาที่จําเปน

(๘) สงเสริมและสนับสนุนการพัฒนาเศรษฐกิจทองถิ่นและระบบสาธารณูปโภค

และสาธารณูปการ ตลอดทั้งโครงสรางพื้นฐานสารสนเทศในทองถิ่นใหทั่วถึงและ

เทาเทียมกันทั่วประเทศ

(๙) จัดใหมีแผนพัฒนาการเมือง และจัดทํามาตรฐานคุณธรรมและจริยธรรมของ

ผูดํารงตําแหนงทางการเมือง และเจาหนาที่ของรัฐ รวมทั้งจัดใหมีสภาพัฒนาการเมืองที่มี

ความเปนอิสระ เพื่อติดตามสอดสองใหมีการปฏิบัติตามแผนและมาตรฐานดังกลาวอยาง

เครงครัด

มาตรา ๗๘ รัฐตองกระจายอํานาจใหทองถิ่นพึ่งตนเองและตัดสินใจในกิจการทองถิ่นไดเอง พัฒนาเศรษฐกิจทองถิ่นและระบบสาธารณูปโภคและสาธารณูปการตลอด

ทั้งโครงสรางพื้นฐานสารสนเทศในทองถิ่นใหทั่วถึงและเทาเทียมกันทั่วประเทศ รวมทั้งพัฒนาจังหวัดที่มีความพรอมใหเปนองคกรปกครองสวนทองถิ่นขนาดใหญ โดยคํานึงถึงเจตนารมณของประชาชนในจังหวัดนั้น

Page 44: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๓๕

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) มาตรา ๒๓๐ การจัดตั้งกระทรวง ทบวง กรม ขึ้นใหม โดยมีการกําหนดตําแหนง

หรืออัตราของขาราชการหรือลูกจางเพิ่มขึ้น ใหตราเปนพระราชบัญญัติ การรวมหรือการโอนกระทรวง ทบวง กรม ที่มีผลเปนการจัดตั้งเปนกระทรวง

ทบวง กรม ขึ้นใหม หรือการรวมหรือการโอนกระทรวง ทบวง กรม ที่มิไดมีการจัดตั้งเปน

กระทรวง ทบวง กรม ขึ้นใหม ทั้งนี้ โดยไมมีการกําหนดตําแหนงหรืออัตราของขาราชการหรือลูกจางเพิ่มขึ้น หรือการยุบกระทรวง ทบวง กรม ใหตราเปนพระราช

กฤษฎีกา ภายในสามปนับแตวันที่มีการรวมหรือการโอนกระทรวง ทบวง กรม ตามวรรค

สอง จะกาํหนดตําแหนงหรืออัตราของขาราชการหรือลูกจางเพิ่มขึ้นในกระทรวง ทบวง

กรม ที่จัดตั้งขึ้นใหม หรือในกระทรวง ทบวง กรม ที่ถูกรวมหรือโอนไป มิได พระราชกฤษฎีกาตามวรรคสอง ใหระบุอํานาจหนาที่ของกระทรวง ทบวง กรม

ที่จัดตั้งขึ้นใหม การโอนอํานาจหนาที่ตามบทบัญญัติแหงกฎหมายซึ่งหนวยราชการหรือ

เจาพนักงานที่มีอยูเดิม การโอนขาราชการและลูกจาง งบประมาณรายจาย รวมทั้ง

ทรัพยสินและหนี้สิน เอาไวดวย

การดําเนินการตามวรรคสองกับกระทรวง ทบวง กรม ที่มีพระราชบัญญัติจัดตั้งขึ้นแลว ใหตราเปนพระราชกฤษฎีกา โดยใหถือวาพระราชกฤษฎีกาที่ตราขึ้นนั้น มีผลเปนการแกไขเพิ่มเติมบทบัญญัติในพระราชบัญญัติหรือกฎหมายที่มีผลใชบังคับได

ดังเชนพระราชบัญญัติในสวนที่เกี่ยวของดวย

Page 45: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๓๖

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) สวนที่ ๔

แนวนโยบายดานศาสนา สังคม การศึกษา และวัฒนธรรม

มาตรา ๗๓ รัฐตองใหความอุปถัมภและคุมครองพระพุทธ ศาสนาและศาสนา

อื่น สงเสริมความเขาใจอันดีและความสมานฉันทระหวางศาสนิกชนของทุกศาสนา รวมทั้งสนับสนุนการนําหลักธรรมของศาสนามาใชเพื่อเสริมสรางคุณธรรมและพัฒนา

คุณภาพชีวิต

มาตรา ๗๓๗๘ รัฐตองใหความอุปถัมภและคุมครองพระพุทธ ศาสนาและ

ศาสนาอื่น สงเสริมความเขาใจอันดีและความสมานฉันทระหวางศาสนิกชนของทุกศาสนา รวมทั้งสนับสนุนการนําหลักธรรมของศาสนามาใชเพื่อเสริมสรางคุณธรรมและ

พัฒนาคุณภาพชีวิต มาตรา ๘๐ รัฐตองคุมครองและพัฒนาเด็กและเยาวชน สงเสริมความเสมอภาค

ของหญิงและชาย เสริมสรางและพัฒนาความเปนปกแผนของครอบครัว และความเขมแข็งของชุมชน รัฐตองสงเคราะหคนชรา ผูยากไร ผูพิการหรือทุพพลภาพและผูดอยโอกาสใหมีคุณภาพชีวิตที่ดีและพึ่งตนเองได มาตรา ๘๑ รัฐตองจัดการศึกษาอบรมและสนับสนุนใหเอกชนจัดการศึกษาอบรมใหเกิดความรูคูคุณธรรม จัดใหมีกฎหมายเกี่ยวกับการศึกษาแหงชาติ ปรับปรุงการศึกษาใหสอดคลองกับความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม สรางเสริมความรู

และปลูกฝงจิตสํานึกที่ถูกตองเกี่ยวกับการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมี

พระมหากษัตริยทรงเปนประมุข สนับสนุนการคนควาวิจัยในศิลปวิทยาการตาง ๆ เรงรัด

พัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีเพื่อการพัฒนาประเทศ พัฒนาวิชาชีพคร ูและสงเสริมภูมิปญญาทองถิ่น ศิลปะและวัฒนธรรมของชาต ิ มาตรา ๘๒ รัฐตองจัดและสงเสริมการสาธารณสุขใหประชาชนไดรับบริการที่

ไดมาตรฐานและมีประสิทธิภาพอยางทั่วถึง

มาตรา ๘๐๗๙ รัฐตองคุมครองและพัฒนาเด็กและเยาวชน สงเสริมความเสมอ

ภาคของหญิงและชาย เสริมสรางและพัฒนาความเปนปกแผนของครอบครัว และความ

เขมแข็งของชุมชนรัฐตองดําเนินการตามแนวนโยบายดานสังคม การศึกษา และ

วัฒนธรรม ดังตอไปนี ้

(๑) คุมครองและพัฒนาเด็กและเยาวชน สงเสริมความเสมอภาคของหญิงและ

ชาย เสริมสรางและพัฒนาความเปนปกแผนของสถาบันครอบครัว รวมทั้งตองสงเคราะห

และจัดสวัสดิการใหแกคนชรา ผูยากไร ผูพิการหรือทุพพลภาพ และผูอยูในสภาวะ

ยากลําบากใหมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นและพึ่งพาตนเองได

(๒) สงเสริม สนับสนุน และพัฒนาการสรางเสริมสุขภาพ อันนําไปสูสุขภาวะที่

ยั่งยืนของประชาชน รวมทั้งจัดและสงเสริมใหประชาชนไดรับบริการสาธารณสุขที่มี

มาตรฐาน อยางทั่วถึง และมีประสิทธิภาพ และสงเสริมใหองคกรปกครองสวนทองถิ่น

และเอกชนมีสวนรวมในการจัดบริการสาธารณสุข

(๓) พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาใหสอดคลองกับความเปลี่ยนแปลง

ทางเศรษฐกิจและสังคม สนับสนุนใหผูเรียนมีความคิดสรางสรรค สรางเสริมและปลูกฝง

Page 46: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๓๗

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) ความรูและจิตสํานึกที่ถูกตองเกี่ยวกับคุณธรรม จริยธรรม แนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

ความรูรักสามัคคี ความมีระเบียบวินัย พัฒนาคณุภาพผูประกอบวิชาชีพครูและบุคลากร

ทางการศึกษา และจัดสรรงบประมาณเพื่อการศึกษาอยางเหมาะสมและเพียงพอ

(๔) สงเสริมและสนับสนุนการกระจายอํานาจการจัดการศึกษาเพื่อใหองคกร

ปกครองสวนทองถิ่น ชุมชน องคการทางศาสนา และเอกชน จัดและมีสวนรวมในการจัด

การศึกษาเพื่อพัฒนามาตรฐานและคุณภาพการศึกษาใหเทาเทียมและสอดคลองกับความ

ตองการในแตละพื้นที่

(๕) สงเสริมและสนับสนุนการศึกษาวิจัยในศิลปวิทยาการแขนงตาง ๆ และ

เผยแพรขอมูลผลการศึกษาวิจัยที่ไดรับทุนสนับสนุนการศึกษาวิจัยจากรัฐ รวมทั้งเปด

โอกาสใหประชาชนเขาถึงขอมูลดังกลาวได

(๖) อนุรักษ ฟนฟู ปกปอง และเผยแพรศิลปวัฒนธรรมและขนบธรรมเนียม

ประเพณีของชาติ ตลอดจนคานิยมอันดีงามและภูมิปญญาทองถิ่น และตองปลูกฝงและ

สงเสริมใหประชาชนมีจิตสํานึกในเรื่องดังกลาว

รัฐตองสงเคราะหคนชรา ผูยากไร ผูพิการหรือทุพพลภาพและผูดอยโอกาสใหมีคุณภาพชีวิตที่ดีและพึ่งตนเองได มาตรา ๘๑ รัฐตองจัดการศึกษาอบรมและสนับสนุนใหเอกชนจัดการศึกษาอบรมใหเกิดความรูคูคุณธรรม จัดใหมีกฎหมายเกี่ยวกับการศึกษาแหงชาติ ปรับปรุงการศึกษาใหสอดคลองกับความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม สรางเสริมความรู

และปลูกฝงจิตสํานึกที่ถูกตองเกี่ยวกับการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมี

พระมหากษัตริยทรงเปนประมุข สนับสนุนการคนควาวิจัยในศิลปวิทยาการตาง ๆ เรงรัด

พัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีเพื่อการพัฒนาประเทศ พัฒนาวิชาชีพคร ูและสงเสริมภูมิปญญาทองถิ่น ศิลปะและวัฒนธรรมของชาต ิ

Page 47: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๓๘

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) มาตรา ๘๒ รัฐตองจัดและสงเสริมการสาธารณสุขใหประชาชนไดรับบริการที่ได

มาตรฐานและมีประสิทธิภาพอยางทั่วถึง

สวนที่ ๕ แนวนโยบายดานกฎหมายและการยุติธรรม

มาตรา ๗๕ รัฐตองดูแลใหมีการปฏิบัติตามกฎหมาย คุมครองสิทธิและเสรีภาพ

ของบุคคล จัดระบบงานของกระบวนการยุติธรรมใหมีประสิทธิภาพและอํานวยความยุติธรรมแกประชาชนอยางรวดเร็วและเทาเทียมกัน รวมทั้งจัดระบบงานราชการและงานของรัฐอยางอื่นใหมีประสิทธิภาพเพื่อตอบสนองความตองการของประชาชน รัฐตองจัดสรรงบประมาณใหพอเพียงกับการบริหารงานโดยอิสระของ

คณะกรรมการการเลือกตั้ง ผูตรวจการ แผนดินของรัฐสภา คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน

แหงชาติ ศาลรัฐธรรมนูญ ศาลยุติธรรม ศาลปกครอง คณะกรรมการปองกันและ

ปราบปรามการทุจริตแหงชาติ และคณะกรรมการตรวจเงินแผนดิน

มาตรา ๗๕๘๐ รัฐตองดูแลใหมีการปฏิบัติตามกฎหมาย คุมครองสิทธิและ

เสรีภาพของบุคคล จัดระบบงานของกระบวนการยุติธรรมใหมีประสิทธิภาพและอํานวยความยุติธรรมแกประชาชนอยางรวดเร็วและเทาเทียมกัน รวมทั้งจัดระบบงานราชการและงานของรัฐอยางอื่นใหมีประสิทธิภาพเพื่อตอบสนองความตองการของประชาชนรัฐ

ตองดําเนินการตามแนวนโยบายดานกฎหมายและการยุติธรรม ดังตอไปนี้

(๑) ดูแลใหมีการปฏิบัติและบังคับการใหเปนไปตามกฎหมายอยางเปนธรรม

รวดเร็ว ทั่วถึง และมีประสิทธิภาพ

(๒) คุมครองสิทธิและเสรีภาพของบุคคลใหพนจากการลวงละเมิดทั้งโดย

เจาหนาที่ของรัฐและโดยบุคคลอื่น และตองอํานวยความยุติธรรมแกประชาชนทุกคน

อยางเทาเทียมกัน

(๓) สงเสริมและสนับสนุนใหประชาชนมีสวนรวมในกระบวนการยุติธรรมและ

สามารถเขาถึงกระบวนการยุติธรรมไดโดยงาย สะดวก และรวดเร็ว

(๔) ดูแลใหมีการปฏิบัติตามกฎหมาย คุมครองสิทธิและเสรีภาพของบุคคล การ

ใหความชวยเหลือทางกฎหมายแกประชาชน และจัดระบบงานราชการและงานของรัฐ

อยางอื่นในกระบวนการยุติธรรมใหมีประสิทธิภาพและอํานวยความยุติธรรมแกประชาชน

อยางรวดเร็วและเทาเทียมกัน

Page 48: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๓๙

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) (๕) จัดใหมีกฎหมายเพื่อจัดตั้งองคกรเพื่อการปฏิรูปกฎหมาย ที่ดําเนินการเปน

อิสระเพื่อทําการปรับปรุงและพัฒนากฎหมายของประเทศใหเปนไปอยางเหมาะสม และ

ดําเนินการใหหนวยงานของรัฐพิจารณาทบทวนความเหมาะสมและจําเปนของกฎหมาย

ในความรับผิดชอบโดยตองรับฟงความคิดเห็นของผูที่ไดรับผลกระทบจากกฎหมายนั้น

ประกอบดวย

(๖) จัดใหมีกฎหมายเพื่อจัดตั้งองคกรเพื่อการปฏิรูปกระบวนการยุติธรรมทาง

อาญา ที่ดําเนินการเปนอิสระ เพื่อทําการศึกษา วิเคราะห และติดตามการดําเนินงานของ

หนวยงานที่เกี่ยวของกับกระบวนการยุติธรรมทางอาญา

รัฐตองจัดสรรงบประมาณใหพอเพียงกับการบริหารงานโดยอิสระของ

คณะกรรมการการเลือกตั้ง ผูตรวจการ แผนดินของรัฐสภา คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน

แหงชาติ ศาลรัฐธรรมนูญ ศาลยุติธรรม ศาลปกครอง คณะกรรมการปองกันและ

ปราบปรามการทุจริตแหงชาติ และคณะกรรมการตรวจเงินแผนดิน สวนที่ ๖

แนวนโยบายดานการตางประเทศ

มาตรา ๗๔ รัฐตองสงเสริมสัมพันธไมตรีกับนานาประเทศ และพึงถือหลักในการปฏิบัติตอกันอยางเสมอภาค

มาตรา ๗๔๘๑ รัฐตองสงเสริมสัมพันธไมตรีและความรวมมือกับนานาประเทศ และพึงถือหลักในการปฏิบัติตอกันอยางเสมอภาค ตลอดจนตองปฏิบัติตามพันธกรณีที่

ไดกระทําไวกับนานาประเทศและองคการระหวางประเทศ รัฐตองสงเสริมการคา การลงทุน และการทองเที่ยวกับนานาประเทศ ตลอดจนตองใหความคุมครองและดูแลผลประโยชนของคนไทยในตางประเทศ

Page 49: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๔๐

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) สวนที่ ๗

แนวนโยบายดานเศรษฐกิจ

มาตรา ๘๒ รัฐตองสงเสริมและสนับสนุนใหมีการดําเนินการตามแนวปรัชญา

เศรษฐกิจพอเพียง

มาตรา ๘๓ รัฐตองดําเนินการใหมีการกระจายรายไดอยางเปนธรรม มาตรา ๘๔ รัฐตองจัดระบบการถือครองที่ดินและการใชที่ดินอยางเหมาะสม จัดหาแหลงน้ําเพื่อเกษตรกรรมใหเกษตรกรอยางทั่วถึง และรักษาผลประโยชนของเกษตรกรในการผลิตและการตลาดสินคาเกษตรใหไดรับผลตอบแทนสูงสุด รวมทั้งสงเสริมการรวมตัวของเกษตรกรเพื่อวางแผนการเกษตรและรักษาผลประโยชนรวมกัน

ของเกษตรกร มาตรา ๘๕ รัฐตองสงเสริม สนับสนุน และคุมครองระบบสหกรณ มาตรา ๘๖ รัฐตองสงเสริมใหประชากรวัยทํางานมีงานทํา คุมครองแรงงานโดยเฉพาะแรงงานเด็กและแรงงานหญิง จัดระบบแรงงานสัมพันธ การประกันสังคม

รวมทั้งคาตอบแทน แรงงานใหเปนธรรม มาตรา ๘๗ รัฐตองสนับสนุนระบบเศรษฐกิจแบบเสรีโดยอาศัยกลไกตลาด กํากับดูแลใหมีการแขงขันอยางเปนธรรม คุมครองผูบริโภค และปองกันการผูกขาด

ตัดตอนทั้งทางตรงและทางออม รวมทั้งยกเลิกและละเวนการตรากฎหมายและกฎเกณฑ

ที่ควบคุมธุรกิจที่ไมสอดคลองกับ ความจําเปนทางเศรษฐกิจ และตองไมประกอบกิจการ

แขงขันกับเอกชน เวนแตมีความจําเปนเพื่อประโยชนในการรักษาความมั่นคงของรัฐ รักษาผลประโยชนสวนรวม หรือการจัดใหมีการสาธารณูปโภค

มาตรา ๘๓ รัฐตองดําเนินการใหมีการกระจายรายไดอยางเปนธรรมตามแนวนโยบายดานเศรษฐกิจ ดังตอไปนี ้

(๑) สนับสนุนระบบเศรษฐกิจแบบเสรีโดยอาศัยกลไกตลาด และสนับสนุนใหมี

การพัฒนาเศรษฐกิจอยางยั่งยืน โดยตองยกเลิกและละเวนการตรากฎหมายและ

กฎเกณฑที่ควบคุมธุรกิจที่ไมสอดคลองกับความจําเปนทางเศรษฐกิจ และตองไม

ประกอบกิจการที่มีลักษณะเปนการแขงขันกับเอกชน เวนแตมีความจําเปนเพื่อประโยชน

ในการรักษาความมั่นคงของรัฐ รักษาผลประโยชนสวนรวม หรือการจัดใหมี

สาธารณูปโภค

(๒) สนับสนุนใหมีการใชหลักคุณธรรม จริยธรรม และหลักธรรมาภิบาล ควบคู

กับการประกอบกิจการ

(๓) ปรับปรุงระบบการจัดเก็บภาษีอากรใหมีความเปนธรรม และสอดคลองกับ

การเปลี่ยนแปลงของสภาพเศรษฐกิจและสังคม

(๔) รักษาวินัยการเงินการคลัง เพื่อสนับสนุนเสถียรภาพและความมั่นคงทาง

เศรษฐกิจและสังคมของประเทศ

(๕) จัดใหมีการออมเพื่อการดํารงชีพในยามชราแกประชาชนอยางทั่วถึง

Page 50: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๔๑

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) (๖) กํากับใหการประกอบกิจการมีการแขงขันอยางเสรีและเปนธรรม ปองกัน

การผูกขาดตัดตอนไมวาโดยทางตรงและทางออม และคุมครองผูบริโภค

(๗) ดําเนินการใหมีการกระจายรายไดอยางเปนธรรม ขยายโอกาสในการ

ประกอบอาชีพของประชาชน และสงเสริมและสนับสนุนการพัฒนาภูมิปญญาทองถิ่นและ

ภูมิปญญาไทย เพื่อใชในการผลิตสินคา บริการ และการประกอบอาชีพ

(๘) สงเสริมใหประชากรวัยทํางานมีงานทํา คุมครองแรงงานเด็กและสตรี

จัดระบบแรงงานสัมพันธ และระบบไตรภาคีที่ผูทํางานมีสิทธิเลือกผูแทนของตน จัดระบบ

ประกันสังคม รวมทั้งคุมครองใหผูทํางานมีคุณคาอยางเดียวกัน ไดรับคาตอบแทนที่เปน

ธรรม ไดรับสิทธิประโยชนและสวัสดิการที่เทาเทียมกันโดยไมเลือกปฏิบัติ

(๙) คุมครองและรักษาผลประโยชนของเกษตรกรในการผลิตและการตลาด

สงเสริมใหสินคาเกษตรไดรับผลตอบแทนสูงสุด รวมทั้งสงเสริมการรวมกลุมของ

เกษตรกร เพื่อวางแผนการเกษตรและรักษาผลประโยชนรวมกันของเกษตรกร

(๑๐) สงเสริม สนับสนุน และคุมครองระบบสหกรณ หรือการรวมกลุมของ

ประชาชนในการดําเนินกิจการดานเศรษฐกิจ

(๑๑) จัดใหมีสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐานอันจําเปนตอการดํารงชีวิตของประชาชน

เพื่อประโยชนในการรักษาความมั่นคงของรัฐในทางเศรษฐกิจ และตองใชความระมัดระวัง

ในการกระทําใดอันอาจทําใหสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐานอันจําเปนตอการดํารงชีวิตของ

ประชาชนอยูในความผูกขาดของเอกชนอันอาจกอความเสียหายแกรัฐ

(๑๒) คุมครองและสงเสริมการประกอบอาชีพของประชาชนเพื่อการพัฒนา

เศรษฐกิจ รวมทั้งการสนับสนุนการรวมกลุมของผูประกอบวิชาชีพ

มาตรา ๘๔ รัฐตองจัดระบบการถือครองที่ดินและการใชที่ดินอยางเหมาะสม จัดหาแหลงน้ําเพื่อเกษตรกรรมใหเกษตรกรอยางทั่วถึง และรักษาผลประโยชนของ

Page 51: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๔๒

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) เกษตรกรในการผลิตและการตลาดสินคาเกษตรใหไดรับผลตอบแทนสูงสุด รวมทั้ง

สงเสริมการรวมตัวของเกษตรกรเพื่อวางแผนการเกษตรและรักษาผลประโยชนรวมกัน

ของเกษตรกร มาตรา ๘๕ รัฐตองสงเสริม สนับสนุน และคุมครองระบบสหกรณ มาตรา ๘๖ รัฐตองสงเสริมใหประชากรวัยทํางานมีงานทํา คุมครองแรงงานโดยเฉพาะแรงงานเด็กและแรงงานหญิง จัดระบบแรงงานสัมพันธ การประกันสังคม

รวมทั้งคาตอบแทน แรงงานใหเปนธรรม มาตรา ๘๗ รัฐตองสนับสนุนระบบเศรษฐกิจแบบเสรีโดยอาศัยกลไกตลาด กํากับดูแลใหมีการแขงขันอยางเปนธรรม คุมครองผูบริโภค และปองกันการผูกขาด

ตัดตอนทั้งทางตรงและทางออม รวมทั้งยกเลิกและละเวนการตรากฎหมายและกฎเกณฑ

ที่ควบคุมธุรกิจที่ไมสอดคลองกับ ความจําเปนทางเศรษฐกิจ และตองไมประกอบกิจการ

แขงขันกับเอกชน เวนแตมีความจําเปนเพื่อประโยชนในการรักษาความมั่นคงของรัฐ รักษาผลประโยชนสวนรวม หรือการจัดใหมีการสาธารณูปโภค

สวนที่ ๘ แนวนโยบายดานที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม

มาตรา ๗๙ รัฐตองสงเสริมและสนับสนุนใหประชาชนมีสวนรวมในการสงวน

บํารุงรักษา และใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพอยางสมดุล รวมทั้งมีสวนรวมในการสงเสริม บํารุงรักษา และคุมครองคุณภาพ

สิ่งแวดลอมตามหลักการการพัฒนาที่ยั่งยืน ตลอดจนควบคุมและกําจัดภาวะมลพิษที่มีผลตอสุขภาพอนามัย สวัสดิภาพ และคุณภาพชีวิตของประชาชน

มาตรา ๗๙๘๔ รัฐตองสงเสริมและสนับสนุนใหประชาชนมีสวนรวมในการสงวน บํารุงรักษา และใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพอยางสมดุล รวมทั้งมีสวนรวมในการสงเสริม บํารุงรักษา และคุมครองคุณภาพ

สิ่งแวดลอมตามหลักการการพัฒนาที่ยั่งยืน ตลอดจนควบคุมและกําจัดภาวะมลพิษที่มีผลตอสุขภาพอนามัย สวัสดิภาพ และคุณภาพชีวิตของประชาชนรัฐตองดําเนินการตาม

แนวนโยบายดานที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอมดังตอไปนี้

Page 52: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๔๓

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) (๑) กําหนดหลักเกณฑการใชที่ดินโดยใหคํานึงถึงสภาพแวดลอมทางธรรมชาติ

ของพื้นที่นั้น ๆ ตามหลักวิชาใหครอบคลุมทั่วประเทศทั้งผืนดิน ผืนน้ํา และจัดใหม ี

ผังเมืองรวม ที่สอดคลองกับสภาพแวดลอมดังกลาวโดยกําหนดมาตรฐานการใชอยาง

ยั่งยืนดวยการใหประชาชนในพื้นที่ที่มีผลกระทบตอนโยบายการใชที่ดินนั้นรวมในการ

ตัดสินใจดวย

(๒) ดําเนินการใหเกษตรกรมีกรรมสิทธิ์หรือสิทธิในที่ดินเพื่อประกอบ

เกษตรกรรมอยางทั่วถึงโดยการปฏิรูปที่ดินหรือวิธีอื่น

(๓) จัดใหมีการวางผังเมือง พัฒนา และดําเนินการตามผังเมืองอยางมี

ประสิทธิภาพเพื่อประโยชนตอการดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติอยางมีประสิทธิภาพ

(๔) จัดระบบการดูแลและการใชทรัพยากรน้ําใหเกิดประโยชนแกสวนรวม

รวมทั้งจัดหาแหลงน้ําเพื่อใหเกษตรกรมีน้ําใชอยางพอเพียงและเหมาะสมแกการเกษตร

(๕) จัดใหมีแผนการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติอยางเปนระบบ โดยให

ประชาชน ชุมชน และองคกรปกครองสวนทองถิ่นที่เกี่ยวของมีสวนรวมในการจดัทําแผน

ดังกลาวดวย

(๖) สงเสริมและสนับสนุนใหประชาชนมีสวนรวมในการสงวน บํารุงรักษาและใช

ประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพอยางสมดุล

(๗) สงเสริม บํารุงรักษา และคุมครองคุณภาพสิ่งแวดลอมตามหลักการพัฒนาที่

ยั่งยืน โดยใหประชาชน ชุมชนทองถิ่น และองคกรปกครองสวนทองถิ่นมีสวนรวมในการ

กําหนดแนวทางการดําเนินงาน

(๘) ควบคุมและกําจัดภาวะมลพิษที่มีผลตอสุขภาพอนามัย สวัสดิภาพ และ

คุณภาพชีวิตของประชาชน

Page 53: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๔๔

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) สวนที่ ๙

แนวนโยบายดานวิทยาศาสตร ทรัพยสินทางปญญา และพลังงาน

มาตรา ๘๕ รัฐตองดําเนินการตามแนวนโยบายดานวิทยาศาสตร ทรัพยสินทาง

ปญญา และพลังงานดังตอไปนี ้

(๑) สงเสริมใหมีการพัฒนาดานวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และนวัตกรรมดาน

ตาง ๆ โดยจัดใหมีกฎหมายเฉพาะดาน จัดงบประมาณสนับสนุนการศึกษา คนควา วิจัย

และใหมีสถาบันการศึกษาและพัฒนา จัดใหมีการใชประโยชนจากผลการศึกษาและ

พัฒนา จัดใหมีระบบการถายทอดเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพและการพัฒนาบุคลากรที่

เหมาะสม

(๒) สงเสริมการประดิษฐหรือการคนคิดสิ่งใหม รักษาและพัฒนาภูมิปญญา

ทองถิ่น รวมทั้งใหความคุมครองทรัพยสินทางปญญา

(๓) เผยแพรความรูดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีสมัยใหม และสนับสนุนให

ประชาชนใชหลักดานวิทยาศาสตรในการดํารงชีวิต

(๔) สงเสริมและสนับสนุนการวิจัย พัฒนา และใชประโยชนจากพลังงาน

ทดแทนซึ่งไดจากธรรมชาติและเปนมิตรตอสิ่งแวดลอมอยางตอเนื่องและเปนระบบ

Page 54: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๔๕

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) สวนที่ ๑๐

แนวนโยบายดานการมีสวนรวมของประชาชน

มาตรา ๗๖ รัฐตองสงเสริมและสนับสนุนการมีสวนรวมของประชาชนในการกําหนดนโยบายการตัดสินใจทางการเมือง การวางแผนพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม และ

การเมือง รวมทั้งการตรวจสอบการใชอํานาจรัฐทุกระดับ

มาตรา ๗๖๘๖ รัฐตองสงเสริมและสนับสนุนดําเนินการตามแนวนโยบายดานการมีสวนรวมของประชาชนในการกําหนดนโยบายการตัดสินใจทางการเมือง การวาง

แผนพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง รวมทั้งการตรวจสอบการใชอํานาจรัฐทุกระดับดังตอไปนี ้

(๑) สงเสริมใหประชาชนมีสวนรวมในการกําหนดนโยบายและวางแผนพัฒนา

เศรษฐกิจทั้งในระดับทองถิ่นและระดับประเทศ

(๒) สงเสริมและสนับสนุนการมีสวนรวมของประชาชนในการตัดสินใจทาง

การเมือง การวางแผนพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง รวมทั้งการจัดทําบริการ

สาธารณะ โดยตองจัดใหมีการใหขอมูลที่ถูกตองครบถวนและรับฟงความคิดเห็นของ

ประชาชนกอนการวางแผนพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง ตลอดจนการจัดทํา

บริการสาธารณะ และตองจัดใหประชาชนสามารถเขาถึงขอมูล สรุปผลการรับฟงความ

คิดเห็น และผลการตัดสินใจของรัฐไดโดยไมเสียคาใชจาย

(๓) สงเสริมและสนับสนุนการมีสวนรวมของประชาชนในการตรวจสอบการใช

อํานาจรัฐทุกระดับ ในรูปแบบองคการทางวิชาชีพที่หลากหลายหรือรูปแบบอื่น และตอง

ไมกระทําการที่มีลักษณะเปนการแทรกแซงการดําเนินงานของสื่อมวลชนทั้งของรัฐและ

เอกชนในการเสนอขอมูลขาวสารเกี่ยวกับการใชอํานาจรัฐ เพื่อใหประชาชนไดรบัขอมูล

ขาวสาร

Page 55: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๔๖

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) (๔) จัดใหมีมาตรฐานกลางในการกํากับดูแล ตรวจสอบ และประเมินผลการ

ดําเนินงานขององคกรปกครองสวนทองถิ่น และตองสงเสริมและสนับสนุนใหประชาชน

และชุมชนมีสวนรวมในการปกครองทองถิ่น ตลอดจนการตรวจสอบและประเมินผลการ

ดําเนินงานขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

(๕) สงเสริมใหประชาชนมีความเขมแข็งในทางการเมือง และใหมีการตรา

กฎหมายเพื่อจัดตั้งกองทุนพัฒนาการเมืองภาคพลเมืองเพื่อชวยเหลือการดําเนินกิจกรรม

สาธารณะของชุมชน รวมทั้งสนับสนุนการดําเนินการของกลุมประชาชนที่รวมตัวกันใน

ลักษณะเครือขายทุกรูปแบบที่จะสามารถแสดงความคิดเห็นและเสนอความตองการของ

ชุมชนในพื้นที่

(๖) สงเสริมและใหการศึกษาแกประชาชนเกี่ยวกับการปกครองระบอบ

ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข รวมทั้งสงเสริมใหประชาชนไดใชสิทธิ

เลือกตั้ง หมวด ๖ รัฐสภา

ไมมีการแกไข

สวนที่ ๑ บททั่วไป

ไมมีการแกไข

มาตรา ๙๐ รัฐสภาประกอบดวยสภาผูแทนราษฎรและวุฒิสภา

มาตรา ๙๐๘๗ รัฐสภาประกอบดวยสภาผูแทนราษฎรและวุฒิสภา

Page 56: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๔๗

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) รัฐสภาจะประชุมรวมกันหรือแยกกัน ยอมเปนไปตามบทบัญญัติแหง

รัฐธรรมนูญนี้ มาตรา ๙๕ บุคคลจะเปนสมาชิกสภาผูแทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภาในขณะเดียวกันมิได

รัฐสภาจะประชุมรวมกันหรือแยกกัน ยอมเปนไปตามบทบัญญัติแหง

รัฐธรรมนูญนี้ บุคคลจะเปนสมาชิกสภาผูแทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภาในขณะเดียวกันมิได มาตรา ๙๕ บุคคลจะเปนสมาชกิสภาผูแทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภาในขณะเดียวกันมิได

มาตรา ๙๑ ประธานสภาผูแทนราษฎรเปนประธานรัฐสภา ประธานวุฒิสภาเปนรองประธานรัฐสภา ในกรณีที่ไมมีประธานสภาผูแทนราษฎร หรือประธานสภาผูแทนราษฎรไมอยูหรือไมสามารถปฏิบัติหนาที่ประธานรัฐสภาได ใหประธานวุฒิสภาทําหนาที่ประธานรัฐสภาแทน ประธานรัฐสภามีอํานาจหนาที่ตามที่บัญญัติไวในรัฐธรรมนูญนี้ และดําเนินกิจการของรัฐสภาในกรณีประชุมรวมกันใหเปนไปตามขอบังคับ ประธานรัฐสภาและผูทําหนาที่แทนประธานรัฐสภาตองวางตนเปนกลางในการ

ปฏิบัติหนาที่ รองประธานรัฐสภามีอํานาจหนาที่ตามที่บัญญัติไวในรัฐธรรมนูญนี้และตามที่

ประธานรัฐสภามอบหมาย

มาตรา ๙๑๘๘ ประธานสภาผูแทนราษฎรเปนประธานรัฐสภา ประธานวุฒิสภาเปนรองประธานรัฐสภา ในกรณีที่ไมมีประธานสภาผูแทนราษฎร หรือประธานสภาผูแทนราษฎรไมอยูหรือไมสามารถปฏิบัติหนาที่ประธานรัฐสภาได ใหประธานวุฒิสภาทําหนาที่ประธานรัฐสภาแทน ประธานรัฐสภามีอํานาจหนาที่ตามที่บัญญัติไวในรัฐธรรมนูญนี้ และดําเนินกิจการของรัฐสภา ในกรณีประชุมรวมกันใหเปนไปตามขอบังคับ ประธานรัฐสภาและผูทําหนาที่แทนประธานรัฐสภาตองวางตนเปนกลางในการ

ปฏิบัติหนาที่ รองประธานรัฐสภามีอํานาจหนาที่ตามที่บัญญัติไวในรัฐธรรมนูญนี้และตามที่

ประธานรัฐสภามอบหมาย มาตรา ๙๖ สมาชิกสภาผูแทนราษฎรหรือสมาชิกวุฒิสภาจํานวนไมนอยกวา

หนึ่งในสิบของจํานวนสมาชิกทั้งหมดเทาที่มีอยูของแตละสภา มีสิทธิเขาชื่อรองตอ

ประธานแหงสภาที่ตนเปนสมาชิกวาสมาชิกภาพของสมาชิกคนใดคนหนึ่งแหงสภานั้น

สิ้นสุดลงตามมาตรา ๑๑๘ (๓) (๔) (๕) (๖) (๗) (๘) (๙) (๑๑) หรือ (๑๒) หรือมาตรา ๑๓๓

(๓) (๔) (๕) (๖) (๗) (๙) หรือ (๑๐) แลวแตกรณี และใหประธานแหงสภาที่ไดรับคํารองสง

มาตรา ๙๖๘๙ สมาชิกสภาผูแทนราษฎรหรือสมาชิกวุฒิสภาจํานวนไมนอย

กวาหนึ่งในสิบของจํานวนสมาชิกทั้งหมดเทาที่มีอยูของแตละสภา มีสิทธิเขาชื่อรองตอ

ประธานแหงสภาที่ตนเปนสมาชิกวา สมาชิกภาพของสมาชิกคนใดคนหนึ่งแหงสภานั้น

สิ้นสุดลงตามมาตรา ๑๑๘๑๐๑ (๓) (๔) (๕) (๖) (๗) (๘) (๙๑๐) หรือ (๑๑) หรือ (๑๒) หรือ

มาตรา ๑๓๓๑๑๔ (๓) (๔) (๕) (๖) (๗) (๙) หรือ (๑๐๘) แลวแตกรณี และใหประธานแหง

Page 57: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๔๘

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) คํารองนั้นไปยังศาลรัฐธรรมนูญเพื่อวินิจฉัยวาสมาชิกภาพของสมาชิกผูนั้นสิ้นสุดลง

หรือไม

เมื่อศาลรัฐธรรมนูญมีคําวินิจฉัยแลว ใหศาลรัฐธรรมนูญแจงคําวินิจฉัยนั้นไปยัง

ประธานแหงสภาที่ไดรับคํารองตามวรรคหนึ่ง

สภาที่ไดรับคํารองสงคํารองนั้นไปยังศาลรัฐธรรมนูญเพื่อวินิจฉัยวาสมาชิกภาพของ

สมาชิกผูนั้นสิ้นสุดลงหรือไม

เมื่อศาลรัฐธรรมนูญมีคําวินิจฉัยแลว ใหศาลรัฐธรรมนูญแจงคําวินิจฉัยนั้นไปยัง

ประธานแหงสภาที่ไดรับคํารองตามวรรคหนึ่ง

ในกรณีที่คณะกรรมการการเลือกตั้งเห็นวาสมาชิกภาพของสมาชิกสภาผูแทน

ราษฎรหรือสมาชิกวุฒิสภาคนใดคนหนึ่งมีเหตุสิ้นสุดลงตามวรรคหนึ่ง ใหสงเรื่องไปยังประธานแหงสภาที่ผูนั้นเปนสมาชิก และใหประธานแหงสภานั้นสงเรื่องไปยังศาลรัฐธรรมนูญเพื่อวินิจฉัยตามวรรคหนึ่งและวรรคสอง

มาตรา ๙๗ การออกจากตําแหนงของสมาชิกสภาผูแทนราษฎรหรือสมาชิกวุฒิสภาภายหลังวันที่สมาชิกภาพสิ้นสุดลง หรือวันที่ศาลรัฐธรรมนูญมีคําวินิจฉัยวาสมาชิกภาพของสมาชิก คนใดคนหนึ่งสิ้นสุดลง ยอมไมกระทบกระเทือนกิจการที่สมาชิกผูนั้นไดกระทําไปในหนาที่สมาชิก รวมทั้งการไดรับเงินประจําตําแหนงหรือประโยชนตอบแทนอยางอื่นกอนที่สมาชิกผูนั้นออกจากตําแหนง หรือกอนที่ประธานแหงสภาที่ ผูนั้นเปนสมาชิกไดรับแจงคําวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ แลวแตกรณี เวนแตในกรณีที่

ออกจากตําแหนงเพราะเหตุที่ผูนั้นไดรับเลือกตั้งมาโดยไมชอบดวยกฎหมายประกอบ

รัฐธรรมนูญวาดวยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภา ใหคืนเงิน

ประจํา ตําแหนงและประโยชนตอบแทนอยางอื่นที่ผูนั้นไดรับมาเนื่องจากการดํารงตําแหนงดังกลาว

มาตรา ๙๗๙๐ การออกจากตําแหนงของสมาชิกสภาผูแทนราษฎรหรือสมาชิกวุฒิสภาภายหลังวันที่สมาชิกภาพสิ้นสุดลง หรือวันที่ศาลรัฐธรรมนูญมีคําวินิจฉัยวาสมาชิกภาพของสมาชิก คนใดคนหนึ่งสิ้นสุดลง ยอมไมกระทบกระเทือนกิจการที่สมาชิกผูนั้นไดกระทําไปในหนาที่สมาชิก รวมทั้งการไดรับเงินประจําตําแหนงหรือประโยชนตอบแทนอยางอื่นกอนที่สมาชิกผูนั้นออกจากตําแหนง หรือกอนที่ประธานแหงสภาที่ ผูนั้นเปนสมาชิกไดรับแจงคําวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ แลวแตกรณี เวนแตในกรณีที่

ออกจากตําแหนงเพราะเหตุที่ผูนั้นไดรับเลือกตั้งหรือสรรหามาโดยไมชอบดวยกฎหมาย

พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรและการ

สรรหาสมาชิกวุฒิสภา ใหคืนเงินประจํา ตําแหนงและประโยชนตอบแทนอยางอื่นที่ผูนั้นไดรับมาเนื่องจากการดํารงตําแหนงดังกลาว

Page 58: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๔๙

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) สวนที่ ๒

สภาผูแทนราษฎร

ไมมีการแกไข

มาตรา ๙๘ สภาผูแทนราษฎรประกอบดวยสมาชิกจํานวนหารอยคน โดยเปน

สมาชิกซึ่งมาจากการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อตามมาตรา ๙๙ จํานวนหนึ่งรอยคน และ

สมาชิกซึ่งมาจากการเลือกตั้งแบบแบงเขตเลือกตั้งตามมาตรา ๑๐๒ จํานวนสี่รอยคน ในกรณีที่ตําแหนงสมาชิกสภาผูแทนราษฎรวางลงไมวาดวยเหตุใด และยังมิไดมีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรขึ้นแทนตําแหนงที่วาง ใหสภาผูแทนราษฎรประกอบดวยสมาชิกสภาผูแทนราษฎรเทาที่มีอยู

มาตรา ๙๘๙๑ สภาผูแทนราษฎรประกอบดวยสมาชิกจํานวนหาสี่รอยคน โดย

เปนสมาชิกซึ่งมาจากการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อตามมาตรา ๙๙ จํานวนหนึ่งรอยคน

และสมาชิกซึ่งมาจากการเลือกตั้งแบบแบงเขตเลือกตั้งตามมาตรา ๑๐๒ จํานวนสี่รอยคน ในกรณีที่ตําแหนงสมาชิกสภาผูแทนราษฎรวางลงไมวาดวยเหตุใด และยังมิไดมีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรขึ้นแทนตําแหนงที่วาง ใหสภาผูแทนราษฎรประกอบดวยสมาชิกสภาผูแทนราษฎรเทาที่มีอยู ในกรณีที่มีเหตุการณใด ๆ ทําใหการเลือกตั้งทั่วไปครั้งใดมีจํานวนสมาชิกสภา ผูแทนราษฎรไมถึงสี่รอยคน แตมีจํานวนไมนอยกวารอยละเกาสิบหาของจํานวนสมาชิก

สภาผูแทนราษฎรทั้งหมด ใหถือวาสมาชิกจํานวนนั้นประกอบเปนสภาผูแทนราษฎร และตองมีการเลือกตั้งจนครบจํานวนสี่รอยคนภายในหนึ่งรอยแปดสิบวัน และใหสมาชิกสภา ผูแทนราษฎรผูไดรับเลือกตั้งเขามานั้นอยูในตําแหนงไดเพียงเทาอายุของสภาผูแทน

ราษฎรที่เหลืออยู มาตรา ๙๙ การเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ ใหผูมีสิทธิ

เลือกตั้งมีสิทธิออกเสียงลงคะแนนเลือกบัญชีรายชื่อผูสมัครรับเลือกตั้งที่พรรคการเมือง

จัดทําขึ้น โดยใหเลือกบัญชี รายชื่อใดบัญชีรายชื่อหนึ่งเพียงบัญชีเดียว และใหถือเขต

ประเทศเปนเขตเลือกตั้ง

มาตรา ๙๙๙๒ การเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ ใหผูมี

สิทธิเลือกตั้งมีสิทธิออกเสียงลงคะแนนเลือกบัญชีรายชื่อผูสมคัรรับเลือกตั้งที่พรรค

การเมืองจัดทําขึ้น โดยใหเลือกบัญชี รายชื่อใดบัญชีรายชื่อหนึ่งเพียงบัญชีเดียว และให

ถือเขตประเทศเปนเขตเลือกตั้งตามมาตรา ๙๑ ใหดําเนินการตามวิธีการดังตอไปนี้

(๑) ใหมีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรแบบแบงเขตเลือกตั้งจํานวน

สามรอยยี่สิบคน โดยการนําจํานวนประชาชนทั้งประเทศตามหลักฐานการทะเบียน

Page 59: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๕๐

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) บัญชีรายชื่อผูสมัครรับเลือกตั้งตามวรรคหนึ่ง ใหพรรคการเมืองจัดทําขึ้นพรรค

การเมืองละหนึ่งบัญชี ไมเกินบัญชีละหนึ่งรอยคน และใหยื่นตอคณะกรรมการการ

เลือกตั้งกอนวันเปดสมัครรับเลือกตั้งสมาชิกซึ่งมาจากการเลือกตั้งแบบแบงเขตเลือกตั้ง

รายชื่อของบุคคลในบัญชีรายชื่อตามวรรคหนึ่งจะตอง

(๑) ประกอบดวยรายชื่อผูสมัครรับเลือกตั้งจากภูมิภาคตาง ๆ อยางเปนธรรม

(๒) ไมซ้ํากบัรายชื่อในบัญชีที่พรรคการเมืองอื่นจัดทําขึ้น และไมซ้ํากับรายชื่อ

ของผูสมัครรับเลือกตั้งแบบแบงเขตเลือกตั้งตามมาตรา ๑๐๒ และ

(๓) จัดทํารายชื่อเรียงตามลําดับหมายเลข

มาตรา ๑๐๐ บัญชีรายชื่อของพรรคการเมืองใดไดคะแนนเสียงนอยกวารอยละ

หาของจํานวนคะแนนเสียงรวมทั้งประเทศ ใหถือวาไมมีผูใดในบัญชีนั้นไดรับเลือกตั้ง

และมิใหนําคะแนนเสียงดังกลาวมารวมคํานวณเพื่อหาสัดสวนจํานวนสมาชิกสภาผูแทน

ราษฎรตามวรรคสอง วิธีคํานวณสัดสวนคะแนนเสียงที่บัญชีรายชื่อของพรรคการเมืองแตละพรรค

ไดรับ อันจะถือวาบุคคลซึ่งมีรายชื่ออยูในบัญชีของพรรคการเมืองนั้นไดรับเลือกตั้งตาม

สัดสวนที่คํานวณได ใหเปนไปตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขที่กําหนดในกฎหมาย

ประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภา

ใหถือวาผูสมัครรับเลือกตั้งซึ่งมีรายชื่ออยูในบัญชีรายชื่อของแตละพรรค

การเมือง ไดรับเลือกตั้งเรียงตามลําดับจากหมายเลขตนบัญชีลงไปตามจํานวนสัดสวน

สมาชิกสภาผูแทนราษฎรที่คํานวณไดสําหรับบัญชีรายชื่อนั้น

มาตรา ๑๐๑ ภายใตบังคับมาตรา ๑๑๙ (๑) ในกรณีที่มีเหตุใด ๆ ทําใหใน

ระหวางอายุของสภาผูแทนราษฎรมีสมาชิกซึ่งไดรับเลือกตั้งจากการเลือกตั้งแบบบัญชี

ราษฎรที่ประกาศในปสุดทายกอนปที่มีการเลือกตั้งเฉลี่ยดวยจํานวนสมาชิกสภาผูแทน

ราษฎรสามรอยยี่สิบคน เพื่อเปนฐานในการคํานวณหาจํานวนสมาชิกสภาผูแทนราษฎรที่

จะพึงมีในแตละจังหวัด แลวใหแบงเขตเลือกตั้งในจังหวัดโดยใหมีการเลือกตั้ง

สมาชิกสภาผูแทนราษฎรไดเขตเลือกตั้งละสามคน ในกรณีที่จังหวัดใดไมอาจจัดใหเขต

เลือกตั้งใดมีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรไดครบจํานวนสามคน ใหแบงเขต

เลือกตั้งตามวิธีการที่กําหนดในพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการเลือกตั้ง

สมาชิกสภาผูแทนราษฎรและการสรรหาสมาชิกวุฒิสภา

(๒) ใหมีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรแบบสัดสวนจํานวนแปดสิบคน

โดยใหแบงเปนสี่เขตเลือกตั้ง โดยใหแตละเขตเลือกตั้งมีจํานวนประชาชนที่ใกลเคียงกัน

และมีพื้นที่ติดตอกัน ในแตละเขตเลือกตั้งใหมีสมาชิกสภาผูแทนราษฎรจํานวนยี่สิบคน

โดยใชวิธีการคํานวณหาสัดสวนจํานวนสมาชิกสภาผูแทนราษฎรจากสัดสวนคะแนนตาม

บัญชีรายชื่อที่พรรคการเมืองจัดทําขึ้น บัญชีรายชื่อที่พรรคการเมืองไดจัดทําขึ้นจะมี

สัดสวนที่ไดรับการเลือกตั้งเปนสมาชิกสภาผูแทนราษฎรจํานวนเทาใด ใหเปนไปตาม

หลักเกณฑที่กําหนดในพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการเลือกตั้ง

สมาชิกสภาผูแทนราษฎรและการสรรหาสมาชิกวุฒิสภา

การแบงเขตเลือกตั้ง วิธีการเลือกตั้ง การลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง การนับคะแนน

เลือกตั้ง และวิธีคํานวณสัดสวนในการเลือกตั้ง ใหเปนไปตามพระราชบัญญัติประกอบ

รัฐธรรมนูญวาดวยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรและการสรรหาสมาชิกวุฒิสภา

บัญชีรายชื่อผูสมัครรับเลือกตั้งตามวรรคหนึ่ง ใหพรรคการเมืองจัดทําขึ้นพรรค

การเมืองละหนึ่งบัญชี ไมเกินบัญชีละหนึ่งรอยคน และใหยื่นตอคณะกรรมการการ

เลือกตั้งกอนวันเปดสมัครรับเลือกตั้งสมาชิกซึ่งมาจากการเลือกตั้งแบบแบงเขตเลือกตั้ง

รายชื่อของบุคคลในบัญชีรายชื่อตามวรรคหนึ่งจะตอง

(๑) ประกอบดวยรายชื่อผูสมัครรับเลือกตั้งจากภูมิภาคตาง ๆ อยางเปนธรรม

Page 60: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๕๑

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) รายชื่อมีจํานวนไมถึงหนึ่งรอยคน ใหสมาชิกซึ่งมาจากการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ

ประกอบดวยสมาชิกเทาที่มีอยู

มาตรา ๑๐๒ การเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรซึ่งมาจากการเลือกตั้งแบบ

แบงเขตเลือกตั้ง ใหผูมีสิทธิเลือกตั้งออกเสียงลงคะแนนเลือกตั้งผูสมัครรับเลือกตั้งไดเขต

ละหนึ่งคน

การคํานวณเกณฑจํานวนราษฎรตอสมาชิกหนึ่งคน ใหคํานวณจากจํานวน

ราษฎรทั้งประเทศตามหลักฐานการทะเบียนราษฎรที่ประกาศในปสุดทายกอนปที่มีการ

เลือกตั้ง เฉลี่ยดวยจํานวนสมาชิกสภาผูแทนราษฎรสี่รอยคน

จํานวนสมาชิกสภาผูแทนราษฎรที่แตละจังหวัดจะพึงมี ใหนําจํานวนราษฎรตอ

สมาชิกหนึ่งคนที่คํานวณไดตามวรรคสองมาเฉลี่ยจํานวนราษฎรในจังหวัดนั้น จังหวัดใด

มีราษฎรไมถึงเกณฑจํานวนราษฎรตอสมาชิกหนึ่งคนตามวรรคสอง ใหมี

สมาชิกสภาผูแทนราษฎรในจังหวัดนั้นไดหนึ่งคน จังหวัดใดมีราษฎรเกินเกณฑจํานวน

ราษฎรตอสมาชิกหนึ่งคน ใหมีสมาชิกสภาผูแทนราษฎรในจังหวัดนั้นเพิ่มขึ้นอีกหนึ่งคน

ทุกจํานวนราษฎรที่ถึงเกณฑจํานวนราษฎรตอสมาชกิหนึ่งคน

เมื่อไดจํานวนสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของแตละจังหวัดตามวรรคสามแลว ถา

จํานวนสมาชิกสภาผูแทนราษฎรยังไมครบสี่รอยคน จังหวัดใดมีเศษที่เหลือจากการ

คํานวณตามวรรคสามมากที่สุด ใหจังหวัดนั้นมีสมาชิกสภาผูแทนราษฎรเพิ่มขึ้นอีกหนึ่ง

คน และใหเพิ่มสมาชิกสภาผูแทนราษฎรตามวิธีการดังกลาวแกจังหวัดที่มีเศษที่เหลือจาก

การคํานวณตามวรรคสามในลําดับรองลงมาตามลําดับจนครบจํานวนสี่รอยคน

มาตรา ๑๐๓ จังหวัดใดมีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรไดไมเกินหนึ่ง

คน ใหถือเขตจังหวัดเปนเขตเลือกตั้ง และจังหวัดใดมีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทน

ราษฎรไดเกินหนึ่งคน ใหแบงเขตจังหวัดออกเปนเขตเลือกตั้งมีจํานวนเทาจํานวน

(๒) ไมซ้ํากับรายชื่อในบัญชีที่พรรคการเมืองอื่นจัดทําขึ้น และไมซ้ํากับรายชื่อ

ของผูสมัครรับเลือกตั้งแบบแบงเขตเลือกตั้งตามมาตรา ๑๐๒ และ

(๓) จัดทํารายชื่อเรียงตามลําดับหมายเลข

มาตรา ๑๐๐ บัญชีรายชื่อของพรรคการเมืองใดไดคะแนนเสียงนอยกวารอยละ

หาของจํานวนคะแนนเสียงรวมทั้งประเทศ ใหถือวาไมมีผูใดในบัญชีนั้นไดรับเลือกตั้ง

และมิใหนําคะแนนเสียงดังกลาวมารวมคํานวณเพื่อหาสัดสวนจํานวนสมาชิกสภาผูแทน

ราษฎรตามวรรคสอง

วิธีคํานวณสัดสวนคะแนนเสียงที่บัญชีรายชื่อของพรรคการเมืองแตละพรรค

ไดรับ อันจะถือวาบุคคลซึ่งมีรายชื่ออยูในบัญชีของพรรคการเมืองนั้นไดรับเลือกตั้งตาม

สัดสวนที่คํานวณได ใหเปนไปตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขที่กําหนดในกฎหมาย

ประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภา ใหถือวาผูสมัครรับเลือกตั้งซึ่งมีรายชื่ออยูในบัญชีรายชื่อของแตละพรรค

การเมือง ไดรับเลือกตั้งเรียงตามลําดับจากหมายเลขตนบัญชีลงไปตามจํานวนสัดสวน

สมาชิกสภาผูแทนราษฎรที่คํานวณไดสําหรับบัญชีรายชื่อนั้น

มาตรา ๑๐๑ ภายใตบังคับมาตรา ๑๑๙ (๑) ในกรณีที่มีเหตุใด ๆ ทําใหในระหวาง

อายุของสภาผูแทนราษฎรมีสมาชิกซึ่งไดรับเลือกตั้งจากการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อมี

จํานวนไมถึงหนึ่งรอยคน ใหสมาชิกซึ่งมาจากการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อประกอบดวย

สมาชิกเทาที่มีอยู

มาตรา ๑๐๒ การเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรซึ่งมาจากการเลือกตั้งแบบ

แบงเขตเลือกตั้ง ใหผูมีสิทธิเลือกตั้งออกเสียงลงคะแนนเลือกตั้งผูสมัครรับเลือกตั้งไดเขต

ละหนึ่งคน

Page 61: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๕๒

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) สมาชิกสภาผูแทนราษฎรที่พึงมี โดยจัดใหแตละเขตเลือกตั้งมีจํานวนสมาชิกสภาผูแทน

ราษฎรหนึ่งคน

จังหวัดใดมีการแบงเขตเลือกตั้งมากกวาหนึ่งเขต ตองแบงพื้นที่ของเขตเลือก

ตั้งแตละเขตใหติดตอกัน และตองใหจํานวนราษฎรในแตละเขตใกลเคียงกัน

มาตรา ๑๐๔ ในการเลือกตั้งทั่วไป ใหผูมีสิทธิเลือกตั้งมีสิทธิ ออกเสียง

ลงคะแนนเลือกบัญชีรายชื่อผูสมัครรับเลือกตั้งที่พรรคการเมืองจัดทําขึ้นเพียงบัญชีเดียว

และมีสิทธิออกเสียง ลงคะแนนเลือกผูสมัครรับเลือกตั้งแบบแบงเขตเลือกตั้งในเขต

เลือกตั้งนั้นไดหนึ่งคน

ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรแทนตําแหนงสมาชิกสภาผูแทนราษฎร

ที่มาจากการเลือกตั้งแบบแบงเขตเลือกตั้งซึ่งวางลงตามมาตรา ๑๑๙ (๒) ใหผูมีสิทธิ

เลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรมีสิทธิออกเสียงลงคะแนนเลือกตั้งผูสมัครรับเลือกตั้งใน

เขตเลือกตั้งนั้นไดหนึ่งคน

การเลือกตั้ง ใหใชวิธีออกเสียงลงคะแนนโดยตรงและลับ

ในแตละเขตเลือกตั้ง ใหดําเนินการนับคะแนนทุกหนวยเลือกตั้งรวมกันและ

ประกาศผลการนับคะแนนโดยเปดเผย ทั้งนี้ ณ สถานที่แหงใดแหงหนึ่งแตเพียงแหงเดียว

ในเขตเลือกตั้งนั้นตามที่คณะกรรมการการเลือกตั้งกําหนด เวนแตเปนกรณีที่มีความ

จําเปนเฉพาะทองที่ คณะกรรมการการเลือกตั้งจะกําหนดเปนอยางอื่นก็ได ทั้งนี้ ตามที่

บัญญัติใน กฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรและ

สมาชิกวุฒิสภา

การนับคะแนนและการประกาศคะแนนที่บัญชีรายชื่อแตละบัญชีไดรับในแตละ

เขตเลือกตั้งตามมาตรา ๑๐๓ ให นําบทบัญญัติวรรคสี่มาใชบังคับโดยอนุโลม

การคํานวณเกณฑจํานวนราษฎรตอสมาชิกหนึ่งคน ใหคํานวณจากจํานวน

ราษฎรทั้งประเทศตามหลักฐานการทะเบียนราษฎรที่ประกาศในปสุดทายกอนปที่มีการ

เลือกตั้ง เฉลี่ยดวยจํานวนสมาชิกสภาผูแทนราษฎรสี่รอยคน

จํานวนสมาชิกสภาผูแทนราษฎรที่แตละจังหวัดจะพึงมี ใหนําจํานวนราษฎรตอ

สมาชิกหนึ่งคนที่คํานวณไดตามวรรคสองมาเฉลี่ยจํานวนราษฎรในจังหวัดนั้น จังหวัดใด

มีราษฎรไมถึงเกณฑจํานวนราษฎรตอสมาชิกหนึ่งคนตามวรรคสอง ใหมี

สมาชิกสภาผูแทนราษฎรในจังหวัดนั้นไดหนึ่งคน จังหวัดใดมีราษฎรเกินเกณฑจํานวน

ราษฎรตอสมาชิกหนึ่งคน ใหมีสมาชิกสภาผูแทนราษฎรในจังหวัดนั้นเพิ่มขึ้นอีกหนึ่งคน

ทุกจํานวนราษฎรที่ถึงเกณฑจํานวนราษฎรตอสมาชิกหนึ่งคน

เมื่อไดจํานวนสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของแตละจังหวัดตามวรรคสามแลว ถา

จํานวนสมาชิกสภาผูแทนราษฎรยงัไมครบสี่รอยคน จังหวัดใดมีเศษที่เหลือจากการ

คํานวณตามวรรคสามมากที่สุด ใหจังหวัดนั้นมีสมาชิกสภาผูแทนราษฎรเพิ่มขึ้นอีกหนึ่ง

คน และใหเพิ่มสมาชิกสภาผูแทนราษฎรตามวิธีการดังกลาวแกจังหวัดที่มีเศษที่เหลือจาก

การคํานวณตามวรรคสามในลําดับรองลงมาตามลําดับจนครบจํานวนสี่รอยคน มาตรา ๑๐๓ จังหวัดใดมีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรไดไมเกินหนึ่งคน

ใหถือเขตจังหวัดเปนเขตเลือกตั้ง และจังหวัดใดมีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎร

ไดเกินหนึ่งคน ใหแบงเขตจังหวัดออกเปนเขตเลือกตั้งมีจํานวนเทาจํานวนสมาชิกสภา

ผูแทนราษฎรที่พึงมี โดยจัดใหแตละเขตเลือกตั้งมีจํานวนสมาชิกสภาผูแทนราษฎรหนึ่ง

คน

จังหวัดใดมีการแบงเขตเลือกตั้งมากกวาหนึ่งเขต ตองแบงพื้นที่ของเขตเลือก

ตั้งแตละเขตใหติดตอกัน และตองใหจํานวนราษฎรในแตละเขตใกลเคียงกัน

มาตรา ๑๐๔ ในการเลือกตั้งทั่วไป ใหผูมีสิทธิเลือกตั้งมีสิทธิ ออกเสียงลงคะแนน

เลือกบัญชีรายชื่อผูสมัครรับเลือกตั้งที่พรรคการเมืองจัดทําขึ้นเพียงบัญชีเดียว และมีสิทธิ

Page 62: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๕๓

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) มาตรา ๑๑๒ ภายใตบังคับบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญนี ้หลักเกณฑและวิธีการ

เลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรใหเปนไปตามกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการ

เลือกตั้ง สมาชิกสภาผูแทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภา

ออกเสียง ลงคะแนนเลือกผูสมัครรับเลือกตั้งแบบแบงเขตเลือกตั้งในเขตเลือกตั้งนั้นได

หนึ่งคน

ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรแทนตําแหนงสมาชิกสภาผูแทนราษฎร

ที่มาจากการเลือกตั้งแบบแบงเขตเลือกตั้งซึ่งวางลงตามมาตรา ๑๑๙ (๒) ใหผูมีสิทธิ

เลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรมีสิทธิออกเสียงลงคะแนนเลือกตั้งผูสมัครรับเลือกตั้งใน

เขตเลือกตั้งนั้นไดหนึ่งคน

การเลือกตั้ง ใหใชวิธีออกเสียงลงคะแนนโดยตรงและลับ

ในแตละเขตเลือกตั้ง ใหดําเนินการนับคะแนนทุกหนวยเลือกตั้งรวมกันและ

ประกาศผลการนับคะแนนโดยเปดเผย ทั้งนี้ ณ สถานที่แหงใดแหงหนึ่งแตเพียงแหงเดียว

ในเขตเลือกตั้งนั้นตามที่คณะกรรมการการเลือกตั้งกําหนด เวนแตเปนกรณีที่มีความ

จําเปนเฉพาะทองที่ คณะกรรมการการเลือกตั้งจะกําหนดเปนอยางอื่นก็ได ทั้งนี้ ตามที่

บัญญัติใน กฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรและ

สมาชิกวุฒิสภา

การนับคะแนนและการประกาศคะแนนที่บัญชีรายชื่อแตละบัญชีไดรับในแตละ

เขตเลือกตั้งตามมาตรา ๑๐๓ ให นําบทบัญญัติวรรคสี่มาใชบังคับโดยอนุโลม

มาตรา ๑๑๒ ภายใตบังคับบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญนี ้หลักเกณฑและวิธีการ

เลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรใหเปนไปตามกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการ

เลือกตั้ง สมาชกิสภาผูแทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภา มาตรา ๑๐๕ บุคคลผูมีคุณสมบัติดังตอไปนี้ เปนผูมีสิทธิเลือกตั้ง

(๑) มีสัญชาติไทย แตบุคคลผูมีสัญชาติไทยโดยการแปลงสัญชาติ ตองได

สัญชาติไทยมาแลวไมนอยกวาหาป

(๒) มีอายุไมต่ํากวาสิบแปดปบริบูรณในวันที่ ๑ มกราคมของปที่มีการเลือกตั้ง

และ

มาตรา ๑๐๕๙๓ บุคคลผูมีคุณสมบัติดังตอไปนี้ เปนผูมีสิทธิเลือกตั้ง

(๑) มีสัญชาติไทย แตบุคคลผูมีสัญชาติไทยโดยการแปลงสัญชาติ ตองได

สัญชาติไทยมาแลวไมนอยกวาหาป

(๒) มีอายุไมต่ํากวาสิบแปดปบริบูรณในวันที่ ๑ มกราคมของปที่มีการเลือกตั้ง

และ

Page 63: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๕๔

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) (๓) มีชื่ออยูในทะเบียนบานในเขตเลือกตั้งมาแลวเปนเวลาไมนอยกวาเกาสิบวัน

นับถึงวันเลือกตั้ง

ผูมีสิทธิเลือกตั้งซึ่งอยูนอกเขตเลือกตั้งตามมาตรา ๑๐๓ ที่ตนมีชื่ออยูใน

ทะเบียนบาน หรือมีชื่ออยูในทะเบียนบานในเขตเลือกตั้งเปนเวลานอยกวาเกาสิบวันนับ

ถึงวันเลือกตั้ง หรือมีถิ่นที่อยูนอกราชอาณาจักร ยอมมีสิทธิออกเสียงลงคะแนนเลือกตั้ง

ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขที่กฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการ

เลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภาบัญญัติ

(๓) มีชื่ออยูในทะเบียนบานในเขตเลือกตั้งมาแลวเปนเวลาไมนอยกวาเกาสิบวัน

นับถึงวันเลือกตั้ง

ผูมีสิทธิเลือกตั้งซึ่งอยูนอกเขตเลือกตั้งตามมาตรา ๑๐๓๙๒ (๑) ที่ตนมีชื่ออยูใน

ทะเบียนบาน หรือมีชื่ออยูในทะเบียนบานในเขตเลือกตั้งเปนเวลานอยกวาเกาสิบวันนับ

ถึงวันเลือกตั้ง หรือมีถิ่นที่อยูนอกราชอาณาจักร ยอมมีสิทธิออกเสียงลงคะแนนเลือกตั้ง

ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขที่กฎหมายพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ

วาดวยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรและการสรรหาสมาชิกวุฒิสภาบัญญัติ

มาตรา ๑๐๖ บุคคลผูมีลักษณะดังตอไปนี้ในวันเลือกตั้ง เปนบุคคลตองหาม

มิใหใชสิทธิเลือกตั้ง คือ

(๑) วิกลจริต หรือจิตฟนเฟอนไมสมประกอบ

(๒) เปนภิกษุ สามเณร นักพรต หรือนักบวช

(๓) ตองคุมขังอยูโดยหมายของศาลหรือโดยคําสั่งที่ชอบดวยกฎหมาย

(๔) อยูในระหวางถูกเพิกถอนสิทธิเลือกตั้ง

มาตรา ๑๐๖๙๔ บุคคลผูมีลักษณะดังตอไปนี้ในวันเลือกตั้ง เปนบุคคลตองหาม

มิใหใชสิทธิเลือกตั้ง คือ

(๑) วิกลจริต หรือจิตฟนเฟอนไมสมประกอบเปนภิกษุ สามเณร นักพรต หรือ

นักบวช

(๒) เปนภิกษุ สามเณร นักพรต หรือนักบวชวิกลจริต หรือจิตฟนเฟอนไม

สมประกอบ

(๓) ตองคุมขังอยูโดยหมายของศาลหรือโดยคําสั่งที่ชอบดวยกฎหมาย

(๔) อยูในระหวางถูกเพิกถอนสิทธิเลือกตั้ง มาตรา ๑๐๗ บุคคลผูมีคุณสมบัติดังตอไปนี้ เปนผูมีสิทธิสมัครรับเลือกตั้งเปน

สมาชิกสภาผูแทนราษฎร

(๑) มีสัญชาติไทยโดยการเกิด

(๒) มีอายุไมต่ํากวายี่สิบหาปบริบูรณในวันเลือกตั้ง

(๓) สําเร็จการศึกษาไมต่ํากวาปริญญาตรีหรือเทียบเทา เวนแตเคยเปน

สมาชิกสภาผูแทนราษฎรหรือสมาชิกวุฒิสภา

มาตรา ๑๐๗๙๕ บุคคลผูมีคุณสมบัติดังตอไปนี้ เปนผูมีสิทธิสมัครรับเลือกตั้ง

เปนสมาชิกสภาผูแทนราษฎร

(๑) มีสัญชาติไทยโดยการเกิด

(๒) มีอายุไมต่ํากวายี่สิบหาปบริบูรณในวันเลือกตั้ง

(๓) สําเร็จการศึกษาไมต่ํากวาปริญญาตรีหรือเทียบเทา เวนแตเคยเปน

สมาชิกสภาผูแทนราษฎรหรือสมาชิกวุฒิสภา

Page 64: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๕๕

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) (๔) เปนสมาชิกพรรคการเมืองใดพรรคการเมืองหนึ่งแตเพียงพรรคเดียวนับถึง

วันสมัครรับเลือกตั้งเปนเวลาติดตอกันไมนอยกวาเกาสิบวัน

(๕) ผูสมัครรับเลือกตั้งแบบแบงเขตเลือกตั้งตองมีลักษณะอยางใดอยางหนึ่ง

ดังตอไปนี้ ดวย คือ

(ก) มีชื่ออยูในทะเบียนบานในจังหวัดที่สมัครรับเลือกตั้งมาแลวเปนเวลา

ติดตอกันไมนอยกวาหนึ่งปนับถึงวันสมัครรับเลือกตั้ง

(ข)เคยเปนสมาชิกสภาผูแทนราษฎรจังหวัดที่สมัครรับเลือกตั้งหรือเคยเปน

สมาชิกสภาทองถิ่นหรือผูบริหารทองถิ่นในจังหวัดนั้น

(ค) เปนบุคคลซึ่งเกิดในจังหวัดที่สมัครรับเลือกตั้ง

(ง) เคยศึกษาในสถานศึกษาที่ตั้งอยูในจังหวัดที่สมัครรับเลือกตั้งเปนเวลา

ติดตอกันไมนอยกวาสองปการศึกษา

(จ) เคยรับราชการหรือเคยมีชื่ออยูในทะเบียนบานในจังหวัดที่สมัคร

รับเลือกตั้งเปนเวลาติดตอกันไมนอยกวาสองป

(๔๓) เปนสมาชิกพรรคการเมืองใดพรรคการเมืองหนึ่งแตเพียงพรรคเดียวเปน

เวลาติดตอกันไมนอยกวาเกาสิบวันนับถึงวันสมัครรับเลือกตั้งเปนเวลาติดตอกันไมนอย

กวาเกาสิบวัน เวนแตในกรณีที่มีการเลือกตั้งทั่วไปเพราะเหตุยุบสภา ตองเปนสมาชิก

พรรคการเมืองใดพรรคการเมืองหนึ่งแตเพียงพรรคเดียวเปนเวลาติดตอกันไมนอยกวา

สามสิบวันนับถึงวันเลือกตั้ง (๕๔) ผูสมัครรับเลือกตั้งแบบแบงเขตเลือกตั้งตองมีลักษณะอยางใดอยางหนึ่ง

ดังตอไปนี้ ดวย คือ

(ก) มีชื่ออยูในทะเบียนบานในจังหวัดที่สมัครรับเลือกตั้งมาแลวเปนเวลา

ติดตอกันไมนอยกวาหนึ่งปนับถึงวันสมัครรับเลือกตั้ง

(ข)เคยเปนสมาชิกสภาผูแทนราษฎรหรือสมาชิกวุฒิสภาในจังหวัดที่สมัคร

รับเลือกตั้งหรือเคยเปนสมาชิกสภาทองถิ่นหรือผูบริหารทองถิ่นในจังหวัดนั้น

(ค) เปนบุคคลซึ่งเกิดในจังหวัดที่สมัครรับเลือกตั้ง

(ง) เคยศึกษาในสถานศึกษาที่ตั้งอยูในจังหวัดที่สมัครรับเลือกตั้งเปนเวลา

ติดตอกันไมนอยกวาสองปการศึกษา

(จ) เคยรับราชการหรือเคยมีชื่ออยูในทะเบียนบานในจังหวัดที่สมัครรับ

เลือกตั้งเปนเวลาติดตอกันไมนอยกวาสองป

(๕) คุณสมบัติอื่นตามที่บัญญัติไวในพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวย

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรและการสรรหาสมาชิกวุฒิสภา มาตรา ๑๐๙ บุคคลผูมีลักษณะดังตอไปนี้ เปนบุคคลตองหามมิใหใชสิทธิสมัคร

รับเลือกตั้งเปนสมาชิกสภาผูแทนราษฎร คือ

(๑) ติดยาเสพติดใหโทษ

(๒) เปนบุคคลลมละลายซึ่งศาลยังไมสั่งใหพนจากคดี

มาตรา ๑๐๙๙๖ บุคคลผูมีลักษณะดังตอไปนี้ เปนบุคคลตองหามมิใหใชสิทธิ

สมัครรับเลือกตั้งเปนสมาชิกสภาผูแทนราษฎร คือ

(๑) ติดยาเสพติดใหโทษ

Page 65: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๕๖

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) (๓) เปนบุคคลผูมีลักษณะตองหามมิใหใชสิทธิเลือกตั้งสมาชิกสภาแทนราษฎร

ตามมาตรา ๑๐๖ (๑) (๒) หรือ (๔)

(๔) ตองคําพิพากษาใหจําคุกและถูกคุมขังอยูโดยหมายของศาล

(๕) เคยตองคําพิพากษาใหจําคุกตั้งแตสองปขึ้นไปโดยไดพนโทษมายังไมถึง

หาปในวันเลือกตั้ง เวนแตในความผิดอันไดกระทําโดยประมาท

(๖) เคยถูกไลออก ปลดออก หรือใหออกจากราชการ หนวยงานของรัฐ หรือ

รัฐวิสาหกิจ เพราะทุจริตตอหนาที่ หรือถือวากระทําการทุจริตและประพฤติมิชอบใน

วงราชการ

(๗) เคยตองคําพิพากษาหรือคําสั่งของศาลใหทรัพยสินตกเปนของแผนดิน

เพราะร่ํารวยผิดปกติหรือมีทรัพยสินเพิ่มขึ้นผิดปกติ

(๘) เปนขาราชการซึ่งมีตําแหนงหรือเงินเดือนประจํานอกจากขาราชการ

การเมือง

(๙) เปนสมาชิกสภาทองถิ่นหรือผูบริหารทองถิ่น

(๑๐) เปนสมาชิกวุฒิสภา

(๑๑) เปนพนักงานหรือลูกจางของหนวยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ หรือของ

ราชการสวนทองถิ่น หรือเปนเจาหนาที่อื่นของรัฐ

(๑๒) เปนกรรมการการเลือกตั้ง ผูตรวจการแผนดินของรัฐสภา กรรมการสิทธิ

มนุษยชนแหงชาติ ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ตุลาการศาลปกครอง กรรมการปองกันและ

ปราบปรามการทุจริตแหงชาติ หรือกรรมการตรวจเงินแผนดิน

(๑๓) อยูในระหวางตองหามมิใหดาํรงตําแหนงทางการเมืองตามมาตรา ๒๙๕

(๑๔) เคยถูกวุฒิสภามีมติตามมาตรา ๓๐๗ ใหถอดถอนออกจากตําแหนงและ

ยังไมพนกําหนดหาปนับแตวันที่วุฒิสภามีมติจนถึงวันเลือกตั้ง

(๒) เปนบุคคลลมละลายซึ่งศาลยังไมสั่งใหพนจากคดีหรือเคยเปนบุคคล

ลมละลายทุจริต

(๓) เปนบุคคลผูมีลักษณะตองหามมิใหใชสิทธิเลือกตั้งสมาชิกสภาแทนราษฎร

ตามมาตรา ๑๐๖๙๔ (๑) (๒) หรือ (๔)

(๔) ตองคําพิพากษาใหจําคุกและถูกคุมขังอยูโดยหมายของศาล

(๕) เคยตองคําพิพากษาใหจําคุกตั้งแตสองปขึ้นไปโดยไดพนโทษมายังไมถึง

หาปในวันเลือกตั้ง เวนแตในความผิดอันไดกระทําโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ

(๖) เคยถูกไลออก ปลดออก หรือใหออกจากราชการ หนวยงานของรัฐ หรือ

รัฐวิสาหกิจ เพราะทุจริตตอหนาที่ หรือถือวากระทําการทุจริตและประพฤติมิชอบใน

วงราชการ

(๗) เคยตองคําพิพากษาหรือคําสั่งของศาลใหทรัพยสินตกเปนของแผนดิน

เพราะร่ํารวยผิดปกติหรือมีทรัพยสินเพิ่มขึ้นผิดปกติ

(๘) เปนขาราชการซึ่งมีตําแหนงหรือเงินเดือนประจํานอกจากขาราชการ

การเมือง

(๙) เปนสมาชิกสภาทองถิ่นหรือผูบริหารทองถิ่น

(๑๐) เปนสมาชิกวุฒิสภา

(๑๑) เปนพนักงานหรือลูกจางของหนวยราชการ หนวยงานของรัฐ หรือ

รัฐวิสาหกิจ หรือของราชการสวนทองถิ่น หรือเปนเจาหนาที่อื่นของรัฐ

(๑๒) เปนตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ กรรมการการเลือกตั้ง ผูตรวจการแผนดิน

ของรัฐสภา กรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ กรรมการตรวจเงิน

แผนดิน หรือกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ตุลาการศาล

Page 66: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๕๗

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) ปกครอง กรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ หรือกรรมการตรวจเงิน

แผนดิน

(๑๓) อยูในระหวางตองหามมิใหดํารงตําแหนงทางการเมืองตามมาตรา

๒๙๕๒๕๔

(๑๔) เคยถูกวุฒิสภามีมติตามมาตรา ๓๐๗๒๖๕ ใหถอดถอนออกจากตําแหนง

และยังไมพนกําหนดหาปนับแตวันที่วุฒิสภามีมติจนถึงวันเลือกตั้ง

มาตรา ๑๐๘ พรรคการเมืองที่สงสมาชิกเขาเปนผูสมัครรับเลือกตั้ง ในการเลือกตั้งแบบแบงเขตเลือกตั้งในเขตเลือกตั้งใด จะสงไดคนเดียวในเขตเลือกตั้งนั้น

มาตรา ๑๐๘๙๗ พรรคการเมืองที่สงสมาชิกเขาเปนผูสมัครรับเลือกตั้งในการเลือกตั้งแบบแบงเขตเลือกตั้งในเขตเลือกตั้งใด จะสงผูสมัครรับเลือกตั้งไดคนเดียวไมเกินจํานวนสมาชิกสภาผูแทนราษฎรที่จะพึงมใีนเขตเลือกตั้งนั้น

มาตรา ๙๘ เมื่อพรรคการเมืองใดสงสมาชิกเขาสมัครรับเลือกตั้งแลว พรรคการเมืองนั้นหรือผูสมัครรับเลือกตั้งของพรรคการเมืองนั้น จะถอนการสมัครรับเลือกตั้งมิได

มาตรา ๑๑๓ เพื่อใหการเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรเปนไปดวยความ

สุจริตและเที่ยงธรรม ใหรัฐสนับสนุนการเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรในเรื่อง

ดังตอไปนี้

(๑) จัดที่ปดประกาศและที่ติดแผนปายเกี่ยวกับการเลือกตั้งในสาธารณสถานซึ่ง

เปนของรัฐ

(๒) พิมพและจัดสงเอกสารเกี่ยวกับการเลือกตั้งไปใหผูมีสิทธิออกเสียงเลือกตั้ง

(๓) จัดหาสถานที่หาเสียงเลือกตั้งใหแกผูสมัครรับเลือกตั้ง

(๔) จัดสรรเวลาออกอากาศทางวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศนใหแกพรรค

การเมือง

มาตรา ๑๑๓ เพื่อใหการเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรเปนไปดวยความ

สุจริตและเที่ยงธรรม ใหรัฐสนับสนุนการเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรในเรื่อง

ดังตอไปนี้

(๑) จัดที่ปดประกาศและที่ติดแผนปายเกี่ยวกับการเลือกตั้งในสาธารณสถานซึ่ง

เปนของรัฐ

(๒) พิมพและจัดสงเอกสารเกี่ยวกับการเลือกตั้งไปใหผูมีสิทธิออกเสียงเลือกตั้ง

(๓) จัดหาสถานที่หาเสียงเลือกตั้งใหแกผูสมัครรับเลือกตั้ง

(๔) จัดสรรเวลาออกอากาศทางวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศนใหแกพรรค

การเมือง

Page 67: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๕๘

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) (๕) กิจการอื่นที่คณะกรรมการการเลือกตั้งประกาศกําหนด

การดําเนินการตาม (๑) (๔) และ (๕) โดยผูสมัครรับเลือกตั้ง พรรคการเมือง

หรือบุคคลอื่นนอกจากรัฐ จะกระทํามิได

หลักเกณฑ เงื่อนไข และวิธีการดําเนินการตามมาตรานี้ ใหเปนไปตามกฎหมาย

ประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภา ซึ่ง

ตองใหโอกาสโดยเทาเทียมกัน

(๕) กิจการอื่นที่คณะกรรมการการเลือกตั้งประกาศกําหนด

การดําเนินการตาม (๑) (๔) และ (๕) โดยผูสมัครรับเลือกตั้ง พรรคการเมือง

หรือบุคคลอื่นนอกจากรัฐ จะกระทํามิได

หลักเกณฑ เงื่อนไข และวิธีการดําเนินการตามมาตรานี้ ใหเปนไปตามกฎหมาย

ประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภา ซึ่ง

ตองใหโอกาสโดยเทาเทียมกัน

มาตรา ๑๑๔ อายุของสภาผูแทนราษฎรมีกําหนดคราวละสี่ปนับแตวันเลือกตั้ง มาตรา ๑๑๔๙๙ อายุของสภาผูแทนราษฎรมีกําหนดคราวละสี่ปนับแต วันเลือกตั้ง ในระหวางอายุของสภาผูแทนราษฎร ถามีการดําเนินการเพื่อควบรวมพรรคการเมืองที่มีสมาชิกเปนสมาชิกสภาผูแทนราษฎร ใหการควบรวมพรรคการเมืองนั้นมีผลเมื่ออายุของสภาผูแทนราษฎรสิ้นสุดลง

มาตรา ๑๑๗ สมาชิกภาพของสมาชิกสภาผูแทนราษฎรเริ่มตั้งแตวันเลือกตั้ง มาตรา ๑๑๗๑๐๐ สมาชิกภาพของสมาชิกสภาผูแทนราษฎรเริ่มตั้งแต วันเลือกตั้ง

มาตรา ๑๑๘ สมาชิกภาพของสมาชิกสภาผูแทนราษฎรสิ้นสุดลง เมื่อ

(๑) ถึงคราวออกตามอายุของสภาผูแทนราษฎร หรือมีการยุบสภาผูแทนราษฎร

(๒) ตาย

(๓) ลาออก

(๔) ขาดคุณสมบัติตามมาตรา ๑๐๗

(๕) มีลักษณะตองหามตามมาตรา ๑๐๙ (๑) (๒) (๓) (๕) (๖) (๗) (๘) (๙) (๑๐)

(๑๑) (๑๒) (๑๓) หรือ (๑๔)

(๖) กระทําการอันตองหามตามมาตรา ๑๑๐ หรือมาตรา ๑๑๑

(๗) ไดรับแตงตั้งเปนนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรี

มาตรา ๑๑๘๑๐๑ สมาชิกภาพของสมาชิกสภาผูแทนราษฎรสิ้นสุดลง เมื่อ

(๑) ถึงคราวออกตามอายุของสภาผูแทนราษฎร หรือมีการยุบสภาผูแทนราษฎร

(๒) ตาย (๓) ลาออก

(๔) ขาดคุณสมบัติตามมาตรา ๑๐๗๙๕

(๕) มีลักษณะตองหามตามมาตรา ๑๐๙๙๖ (๑) (๒) (๓) (๕) (๖) (๗) (๘) (๙)

(๑๐) (๑๑) (๑๒) (๑๓) หรือ (๑๔)

(๖) กระทําการอันตองหามตามมาตรา ๑๑๐๒๕๖ หรือมาตรา ๑๑๑๒๕๗

(๗) ไดรับแตงตั้งเปนนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรี

Page 68: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๕๙

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) (๘) ลาออกจากพรรคการเมืองที่ตนเปนสมาชิก หรือพรรคการเมืองที่ตนเปน

สมาชิกมีมติดวยคะแนนเสียงไมนอยกวาสามในสี่ของที่ประชุมรวมของคณะกรรมการ

บริหารของพรรคการเมืองและสมาชิกสภาผูแทนราษฎรที่สังกัดพรรคการเมืองนั้น ใหพน

จากการเปนสมาชิกของพรรคการเมืองที่ตนเปนสมาชิก ในกรณีเชนนี้ ใหถือวาสิ้นสุด

สมาชิกภาพนับแตวันที่ลาออกหรือพรรคการเมืองมีมติ เวนแตสมาชิกสภาผูแทนราษฎร

ผูนั้นไดอุทธรณตอศาลรัฐธรรมนูญภายใน สามสิบวันนับแตวันที่พรรคการเมืองมีมติ

คัดคานวามติดังกลาวมีลักษณะตามมาตรา ๔๗ วรรคสาม ถาศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยวา

มติดังกลาวมิไดมีลักษณะตามมาตรา ๔๗ วรรคสาม ใหถือวาสมาชิกภาพสิ้นสุดลงนับแต

วันที่ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัย แตถาศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยวามติดังกลาวมีลักษณะตาม

มาตรา ๔๗ วรรคสาม สมาชิกสภาผูแทนราษฎรผูนั้นอาจเขาเปนสมาชิกของพรรค

การเมืองอื่นไดภายในสามสิบวันนบัแตวันที่ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัย

(๙) ขาดจากการเปนสมาชิกของพรรคการเมืองในกรณีที่ศาลรัฐธรรมนูญมีคําสั่ง

ยุบพรรคการเมืองที่สมาชิกสภาผูแทนราษฎรผูนั้นเปนสมาชิก และไมอาจเขาเปนสมาชิก

ของพรรคการเมืองอื่นไดภายในหกสิบวันนับแตวันที่ศาลรัฐธรรมนูญมีคําสั่ง ในกรณี

เชนนี้ใหถือวาสิ้นสุดสมาชิกภาพนับแตวันถัดจากวันที่ครบกําหนดหกสิบวันนั้น

(๑๐) วุฒิสภามีมติตามมาตรา ๓๐๗ ใหถอดถอนออกจากตาํแหนง หรือศาล

รัฐธรรมนูญมีคําวินิจฉัยใหพนจากสมาชิกภาพตามมาตรา ๙๖ ในกรณีเชนนี้ ใหถือวา

สิ้นสุดสมาชิกภาพนับแตวันที่วุฒิสภามีมติหรือศาลรัฐธรรมนูญมีคําวินิจฉัย แลวแตกรณี

(๑๑) ขาดประชุมเกินจํานวนหนึ่งในสี่ของจํานวนวันประชุมในสมัยประชุมที่มี

กําหนดเวลาไมนอยกวาหนึ่งรอยยี่สิบวันโดยไมไดรับอนุญาตจากประธานสภาผูแทน

ราษฎร

(๘๗) ลาออกจากพรรคการเมืองที่ตนเปนสมาชิก หรือพรรคการเมืองที่ตนเปน

สมาชิกมีมติดวยคะแนนเสียงไมนอยกวาสามในสี่ของที่ประชุมรวมของคณะกรรมการ

บริหารของพรรคการเมืองและสมาชิกสภาผูแทนราษฎรที่สังกัดพรรคการเมืองนั้น ใหพน

จากการเปนสมาชิกของพรรคการเมืองที่ตนเปนสมาชิก ในกรณีเชนนี้ ใหถือวาสิ้นสุด

สมาชิกภาพนับแตวันที่ลาออกหรือพรรคการเมืองมีมติ เวนแตสมาชิกสภาผูแทนราษฎร

ผูนั้นไดอุทธรณตอศาลรัฐธรรมนูญภายใน สามสิบวันนับแตวันที่พรรคการเมืองมมีติ

คัดคานวามติดังกลาวมีลักษณะตามมาตรา ๔๗๖๔ วรรคสาม ถาศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัย

วามติดังกลาวมิไดมีลักษณะตามมาตรา ๔๗๖๔ วรรคสาม ใหถือวาสมาชิกภาพสิ้นสุดลง

นับแตวันที่ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัย แตถาศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยวามติดังกลาวมีลักษณะ

ตามมาตรา ๔๗๖๔ วรรคสาม สมาชิกสภาผูแทนราษฎรผูนั้นอาจเขาเปนสมาชิกของ

พรรคการเมืองอื่นไดภายในสามสิบวันนับแตวันที่ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัย

(๙๘) ขาดจากการเปนสมาชิกของพรรคการเมืองในกรณีที่ศาลรัฐธรรมนูญมี

คําสั่งยุบพรรคการเมืองที่สมาชิกสภาผูแทนราษฎรผูนั้นเปนสมาชิก และไมอาจเขาเปน

สมาชิกของพรรคการเมืองอื่นไดภายในหกสิบวันนับแตวันที่ศาลรัฐธรรมนูญมีคําสั่ง ใน

กรณีเชนนี้ใหถือวาสิ้นสุดสมาชิกภาพนับแตวันถัดจากวันที่ครบกําหนดหกสิบวันนั้น

(๑๐๙) วุฒิสภามีมติตามมาตรา ๓๐๗๒๖๕ ใหถอดถอนออกจากตําแหนง หรือ

ศาลรัฐธรรมนูญมีคําวินิจฉัยใหพนจากสมาชิกภาพตามมาตรา ๙๖๘๙ ในกรณีเชนนี้ ใหถือ

วาสิ้นสุดสมาชิกภาพนับแตวันที่วุฒิสภามีมติหรือศาลรัฐธรรมนูญมีคําวินิจฉัย แลวแต

กรณี

(๑๑๑๐) ขาดประชุมเกินจํานวนหนึ่งในสี่ของจํานวนวันประชุมในสมัยประชุมที่

มีกําหนดเวลาไมนอยกวาหนึ่งรอยยี่สิบวันโดยไมไดรับอนุญาตจากประธานสภาผูแทน

ราษฎร

Page 69: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๖๐

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) (๑๒) ถูกจําคุกโดยคําพิพากษาถึงที่สุดใหจําคุก เวนแตในความผิดอันไดกระทํา

โดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ

การสิ้นสุดสมาชิกภาพของสมาชิกสภาผูแทนราษฎรตาม (๗) ใหมีผลในวันถัด

จากวันที่ครบสามสิบวันนับแตวันที่มีพระบรมราชโองการแตงตั้ง

(๑๒๑๑) ถูกจําคุกโดยตองคําพิพากษาถึงที่สุดใหจําคุก แมจะมีการรอการ

ลงโทษ เวนแตในความผิดอันไดกระทําโดยประมาท หรือความผิดลหุโทษ

การสิ้นสุดสมาชกิภาพของสมาชิกสภาผูแทนราษฎรตาม (๗) ใหมีผลในวันถัด

จากวันที่ครบสามสิบวันนับแตวันที่มีพระบรมราชโองการแตงตั้ง

มาตรา ๑๑๕ เมื่ออายุของสภาผูแทนราษฎรสิ้นสุดลง พระมหากษัตริยจะไดทรงตราพระราชกฤษฎีกาใหมีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรใหมเปนการเลือกตั้ง

ทั่วไป ซึ่งตองกําหนดวันเลือกตั้งภายในสี่สิบหาวันนับแตวันที่อายุของสภาผูแทนราษฎรสิ้นสุดลง และวันเลือกตั้งนั้นตองกําหนดเปนวันเดียวกันทั่วราชอาณาจักร

มาตรา ๑๑๕๑๐๒ เมื่ออายุของสภาผูแทนราษฎรสิ้นสุดลง พระมหากษัตริยจะไดทรงตราพระราชกฤษฎีกาใหมีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรใหมเปนการ

เลือกตั้งทั่วไป ซึ่งตองกําหนดวันเลือกตั้งภายในสี่สิบหาวันนับแตวันที่อายุของสภาผูแทนราษฎรสิ้นสุดลง และวันเลือกตั้งนั้นตองกําหนดเปนวันเดียวกันทั่วราชอาณาจักร

มาตรา ๑๑๖ พระมหากษัตริยทรงไวซึ่งพระราชอํานาจที่จะยุบสภาผูแทนราษฎรเพื่อใหมีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรใหม การยุบสภาผูแทนราษฎรใหกระทําโดยพระราชกฤษฎีกา ซึ่งตองกําหนดวันเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรใหมเปนการเลือกตั้งทั่วไปภายในหกสิบวัน และวันเลือกตั้งนั้นตองกําหนดเปนวันเดียวกันทั่วราชอาณาจักร การยุบสภาผูแทนราษฎรจะกระทําไดเพียงครั้งเดียวในเหตุการณเดียวกัน

มาตรา ๑๑๖๑๐๓ พระมหากษัตริยทรงไวซึ่งพระราชอํานาจที่จะยุบสภาผูแทนราษฎรเพื่อใหมีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรใหม การยุบสภาผูแทนราษฎรใหกระทําโดยพระราชกฤษฎีกา ซึ่งตองกําหนดวันเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรใหมเปนการเลือกตั้งทั่วไปภายในระยะเวลาไมนอยกวา

สี่สิบหาวันแตไมเกินหกสิบวัน และวันเลือกตั้งนั้นตองกําหนดเปนวันเดียวกันทั่วราชอาณาจักร การยุบสภาผูแทนราษฎรจะกระทําไดเพียงครั้งเดียวในเหตุการณเดียวกัน

มาตรา ๑๑๙ เมื่อตําแหนงสมาชิกสภาผูแทนราษฎรวางลงเพราะเหตุอื่นใด

นอกจากถึงคราวออกตามอายุของสภาผูแทนราษฎรหรือเมื่อมีการยุบสภาผูแทนราษฎร

ใหดําเนินการดังตอไปนี้

(๑) ในกรณีที่ตําแหนงที่วางเปนตําแหนงสมาชิกสภาผูแทนราษฎร ในบัญชี

รายชื่อที่พรรคการเมืองใดจัดทําขึ้นตามมาตรา ๙๙ ใหประธานสภาผูแทนราษฎรประกาศ

ในราชกิจจานุเบกษาภายในเจ็ดวันนับแตวันที่ตําแหนงนั้นวางลง ใหผูมีชื่ออยูในบัญชี

มาตรา ๑๑๙๑๐๔ เมื่อตําแหนงสมาชิกสภาผูแทนราษฎรวางลงเพราะเหตุอื่นใด

นอกจากถึงคราวออกตามอายุของสภาผูแทนราษฎรหรือเมื่อมีการยุบสภาผูแทนราษฎร

ใหดําเนินการดังตอไปนี้

(๑) ในกรณีที่ตําแหนงที่วางเปนตําแหนงสมาชิกสภาผูแทนราษฎร ในบัญชี

รายชื่อที่พรรคที่มาจากการเมืองใดจัดทําขึ้นตามมาตรา ๙๙เลือกตั้งแบบแบงเขตเลือกตั้ง

ใหประธานมีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรประกาศในราชกิจจานุเบกษาขึ้นแทน

ตําแหนงที่วางภายในเจ็ดสี่สิบหาวันนับแตวันที่ตําแหนงนั้นวางลง ใหผูมีชื่ออยูในบัญชี

Page 70: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๖๑

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) รายชื่อของพรรคการเมืองนั้นในลําดับถัดไปเลื่อนขึ้นมาเปนสมาชิกสภาผูแทนราษฎร

แทน

(๒) ในกรณีที่ตําแหนงที่วางเปนตําแหนงสมาชิกสภาผูแทนราษฎรที่มาจากการ

เลือกตั้งแบบแบงเขตเลือกตั้งตาม มาตรา ๑๐๒ ใหมีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทน

ราษฎรขึ้นแทนภายในสี่สิบหาวันนับแตวันที่ตําแหนงนั้นวาง เวนแตอายุของสภา

ผูแทนราษฎรจะเหลือไมถึงหนึ่งรอยแปดสิบวัน

สมาชิกภาพของสมาชิกสภาผูแทนราษฎรผูเขามาแทนตาม (๑) ใหเริ่มตั้งแต

วันถัดจากวันที่ผูเขามาแทนนั้นไดรับการประกาศชื่อ สวนสมาชิกภาพของสมาชิกสภา

ผูแทนราษฎรผูเขามาแทนตาม (๒) ใหเริ่มตั้งแตวันเลือกตั้งแทนตําแหนงที่วาง สมาชิก

สภาผูแทนราษฎรผูเขามาแทนนั้นใหอยูในตําแหนงไดเพียงเทาอายุของสภาผูแทน

ราษฎรที่เหลืออยู

รายชื่อเวนแตอายุของพรรคการเมืองนั้นในลําดับถัดไปเลื่อนขึ้นมาเปนสมาชิกสภาผูแทน

ราษฎรแทนจะเหลือไมถึงหนึ่งรอยแปดสิบวัน

(๒) ในกรณีที่ตําแหนงที่วางเปนตําแหนงสมาชิกสภาผูแทนราษฎรที่มาจากการ

เลือกตั้งแบบแบงเขตเลือกตั้งตาม มาตรา ๑๐๒สัดสวน ใหประธานสภาผูแทนราษฎร

ประกาศใหผูมีชือ่อยูในลําดับถัดไปในบัญชีรายชื่อของพรรคการเมืองนั้นในเขตเลือกตั้ง

นั้น เลื่อนขึ้นมาเปนสมาชิกสภาผูแทนราษฎรขึ้นแทนตําแหนงที่วาง โดยตองประกาศใน

ราชกิจจานุเบกษาภายในสี่สิบหาเจ็ดวันนับแตวันที่ตําแหนงนั้นวางลง เวนแตอายุของ

สภาผูแทนราษฎรจะเหลือไมถึงหนึ่งรอยแปดสิบวัน

สมาชิกภาพของสมาชิกสภาผูแทนราษฎรผูเขามาแทนตาม (๑) ใหเริ่มตั้งแตนับ

แตวันถัดจากวันที่ผูเขามาเลือกตั้งแทนนั้นไดรับการประกาศชื่อตําแหนงที่วาง สวน

สมาชิกภาพของสมาชิกสภาผูแทนราษฎรผูเขามาแทนตาม (๒) ใหเริ่มตั้งแตนับแตวัน

เลือกตั้งแทนตําแหนงที่วางถัดจากวันประกาศชื่อในราชกิจจานุเบกษา และใหสมาชิก

สภาผูแทนราษฎรผูเขามาแทนตําแหนงที่วางนั้น ใหอยูในตําแหนงไดเพียงเทาอายุของ

สภาผูแทนราษฎรที่เหลืออยู มาตรา ๑๒๐ ภายหลังที่คณะรัฐมนตรีเขาบริหารราชการแผนดินแลว พระมหา กษัตริยจะทรงแตงตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรผูเปนหัวหนาพรรคการเมืองในสภาผูแทน

ราษฎรที่สมาชิกในสังกัดของพรรคตนมิไดดํารงตําแหนงรัฐมนตรี และมีจํานวนมากที่สุดในบรรดาพรรคการเมืองที่สมาชิกในสังกัดมิไดดํารงตําแหนงรัฐมนตรี แตไมนอยกวา หนึ่งในหาของจํานวนสมาชิกทั้งหมดเทาที่มีอยูของสภาผูแทนราษฎรในขณะแตงตั้ง เปน

ผูนําฝายคานในสภาผูแทนราษฎร ในกรณีที่ไมมีพรรคการเมืองใดในสภาผูแทนราษฎรมีลักษณะที่กําหนดไวตาม

วรรคหนึ่ง ใหสมาชิกสภาผูแทนราษฎรผูเปนหัวหนาพรรคการเมืองซึ่งไดรับเสียงสนับสนุนขางมากจากสมาชิกสภาผูแทนราษฎรในพรรคการเมืองที่สมาชิกในสังกัดของ

มาตรา ๑๒๐๑๐๕ ภายหลังที่คณะรัฐมนตรีเขาบริหารราชการแผนดินแลว พระมหากษัตริยจะทรงแตงตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรผูเปนหัวหนาพรรคการเมืองใน

สภาผูแทนราษฎรที่สมาชิกในสังกัดของพรรคตนมิไดดํารงตําแหนงรัฐมนตรี และมีจํานวนมากที่สุดในบรรดาพรรคการเมืองที่สมาชิกในสังกัดมิไดดํารงตําแหนงรัฐมนตรี แตไมนอยกวาหนึ่งในหาของจํานวนสมาชิกทั้งหมดเทาที่มีอยูของสภาผูแทนราษฎรในขณะ

แตงตั้งเปนผูนําฝายคานในสภาผูแทนราษฎร ในกรณีที่ไมมีพรรคการเมืองใดในสภาผูแทนราษฎรมีลักษณะที่กําหนดไวตาม

วรรคหนึ่ง ใหสมาชิกสภาผูแทนราษฎรผูเปนหัวหนาพรรคการเมืองซึ่งไดรับเสียงสนับสนุนขางมากจากสมาชิกสภาผูแทนราษฎรในพรรคการเมืองที่สมาชิกในสังกัดของ

Page 71: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๖๒

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) พรรคนั้น มิไดดํารงตําแหนงรัฐมนตรี เปนผูนําฝายคานในสภาผูแทนราษฎร ในกรณีที่มี

เสียงสนับสนุนเทากัน ใหใชวิธีจับสลาก ใหประธานสภาผูแทนราษฎรเปนผูลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ แตงตั้งผูนําฝายคานในสภาผูแทนราษฎร ผูนําฝายคานในสภาผูแทนราษฎรยอมพนจากตําแหนงเมื่อขาด

คุณสมบัติดังกลาวในวรรคหนึ่งหรือวรรคสอง และใหนําบทบัญญัติมาตรา ๑๕๒ มาใชบังคับโดยอนุโลม ในกรณีเชนนี้พระมหากษัตริยจะไดทรงแตงตั้งผูนําฝายคานในสภา

ผูแทนราษฎรแทนตําแหนงที่วาง

พรรคนั้นมิไดดํารงตําแหนงรัฐมนตรี เปนผูนําฝายคานในสภาผูแทนราษฎร ในกรณีที่มี

เสียงสนับสนุนเทากัน ใหใชวิธีจับสลาก ใหประธานสภาผูแทนราษฎรเปนผูลงนามรับสนองพระบรมราชโองการแตงตั้ง

ผูนําฝายคานในสภาผูแทนราษฎร ผูนําฝายคานในสภาผูแทนราษฎรยอมพนจากตําแหนงเมื่อขาดคุณสมบัติ

ดังกลาวในวรรคหนึ่งหรือวรรคสอง และใหนําบทบัญญัติมาตรา ๑๕๒๑๑๙ วรรคสี ่มาใชบังคับโดยอนุโลม ในกรณีเชนนี้พระมหากษัตริยจะไดทรงแตงตั้งผูนําฝายคานในสภา

ผูแทนราษฎรแทนตําแหนงที่วาง

สวนที่ ๓ วุฒิสภา

ไมมีการแกไข

มาตรา ๑๒๑ วุฒิสภาประกอบดวยสมาชิกซึ่งราษฎรเลือกตั้งจํานวนสองรอยคน ในกรณีที่ตําแหนงสมาชิกวุฒิสภาวางลงไมวาดวยเหตุใด ๆ และยังมิไดมีการเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาขึ้นแทนตําแหนงที่วาง ใหวุฒิสภาประกอบดวยสมาชิกวุฒิสภาเทาที่มีอยู

มาตรา ๑๒๑๑๐๖ วุฒิสภาประกอบดวยสมาชิกซึ่งราษฎรเลือกตั้งจํานวนสองหนึ่งรอยหกสิบคนซึ่งพระมหากษัตริยทรงแตงตั้งจากบุคคลที่ไดรับการสรรหา ตามขอเสนอแนะของคณะกรรมการสรรหาสมาชิกวฒุิสภา

ในกรณีที่ตําแหนงสมาชิกวุฒิสภาวางลงไมวาดวยเหตุใด ๆ และยังมิไดมีการเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาสรรหาขึ้นแทนตําแหนงที่วาง ใหวุฒิสภาประกอบดวยสมาชิกวุฒิสภาเทาที่มีอยู ในกรณีที่มีเหตุการณใด ๆ ทําใหมีสมาชิกวุฒิสภาไมครบจํานวนหนึ่งรอยหกสิบคนภายในกําหนดเวลาตามมาตรา ๑๐๗ แตมีจํานวนไมนอยกวารอยละเกาสิบหาของจํานวนสมาชิกวุฒิสภาทั้งหมด ใหถือวาวุฒิสภาประกอบดวยสมาชิกจํานวนดังกลาว แตตองมีการสรรหาใหไดสมาชิกวุฒิสภาครบจํานวนหนึ่งรอยหกสิบคนภายในหนึ่งรอยแปด

สิบวันนับแตวันที่ไดรับบัญชีรายชื่อจากคณะกรรมการการเลือกตั้งตามมาตรา ๑๐๗

Page 72: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๖๓

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) มาตรา ๑๒๒ การเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภา ใหใชเขตจังหวัด เปนเขตเลือกตั้ง การคํานวณเกณฑจํานวนสมาชิกวุฒิสภาที่แตละจังหวัดจะพึงมี ใหคํานวณตาม

วิธีที่บัญญัติไวในมาตรา ๑๐๒ วรรคสอง วรรคสาม และวรรคสี่ โดยอนุโลม มาตรา ๑๒๓ ผูมีสิทธิเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภา มีสิทธิออกเสียงลงคะแนนเลือกตั้งผูสมัครรับเลือกตั้งในเขตเลือกตั้งนั้นไดหนึ่งคน การเลือกตั้งใหใชวิธีออกเสียงลงคะแนนโดยตรงและลับ ในกรณีที่จังหวัดใดมีสมาชิกวุฒิสภาไดมากกวาหนึ่งคน ใหผูสมัครรับเลือกตั้งที่ไดคะแนนสูงสุดเรียงตามลําดับจนครบจํานวนสมาชิกวุฒิสภาที่จะพึงมีไดในจังหวัดนั้น เปนผูไดรับเลือกตั้งเปนสมาชิกวุฒิสภา

ในกรณีนี้ ใหสมาชิกวุฒิสภาผูไดรับการสรรหาเขามานั้น อยูในตําแหนงเพียงเทาอายุของวุฒิสภาที่เหลืออยู มาตรา ๑๒๒ การเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภา ใหใชเขตจังหวัด เปนเขตเลือกตั้ง การคํานวณเกณฑจํานวนสมาชิกวุฒิสภาที่แตละจังหวัดจะพึงมี ใหคํานวณตาม

วิธีที่บัญญัติไวในมาตรา ๑๐๒ วรรคสอง วรรคสาม และวรรคสี่ โดยอนุโลม มาตรา ๑๒๓ ผูมีสิทธิเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภา มีสิทธิออกเสียงลงคะแนนเลือกตั้ง

ผูสมัครรับเลือกตั้งในเขตเลือกตั้งนั้นไดหนึ่งคน การเลือกตั้งใหใชวิธีออกเสียงลงคะแนนโดยตรงและลับ ในกรณีที่จังหวัดใดมีสมาชิกวุฒิสภาไดมากกวาหนึ่งคน ใหผูสมัครรับเลือกตั้งที่ไดคะแนนสูงสุดเรียงตามลําดับจนครบจํานวนสมาชิกวุฒิสภาที่จะพึงมีไดในจังหวัดนั้น เปนผูไดรับเลือกตั้งเปนสมาชิกวุฒิสภา

มาตรา ๑๒๔ ใหนําบทบัญญัติมาตรา ๑๐๕ และมาตรา ๑๐๖ มาใชบังคับกับคุณสมบัติและลักษณะตองหามของผูมีสิทธิเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาดวย โดยอนุโลม

มาตรา ๑๒๔ ใหนําบทบัญญัติมาตรา ๑๐๕ และมาตรา ๑๐๖ มาใชบังคับกับคุณสมบัติและลักษณะตองหามของผูมีสิทธิเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาดวย โดยอนุโลม

มาตรา ๑๐๗ ใหมีคณะกรรมการสรรหาสมาชิกวุฒิสภาคณะหนึ่ง ประกอบดวย

ประธานศาลรัฐธรรมนูญ ประธานกรรมการการเลือกตั้ง ประธานผูตรวจการแผนดินของ

รัฐสภา ประธานกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ ประธานกรรมการ

ตรวจเงินแผนดิน ผูพิพากษาในศาลฎีกาซึ่งดํารงตําแหนงไมต่ํากวาผูพิพากษาศาลฎีกา

ที่ที่ประชุมใหญศาลฎีกามอบหมายจํานวนหนึ่งคน และตุลาการในศาลปกครองสูงสุดที่

ที่ประชุมใหญตุลาการในศาลปกครองสูงสุดมอบหมายจํานวนหนึ่งคนเปนกรรมการ ทํา

หนาที่สรรหาบุคคลตามมาตรา ๑๐๘ ใหแลวเสร็จภายในเกาสิบวันนับแตวันที่ไดรับบัญชี

รายชื่อจากคณะกรรมการการเลือกตั้งตามมาตรา ๑๐๙ แลวจัดสงใหประธานสภา

ผูแทนราษฎรนําความกราบบังคมทูลเพื่อทรงแตงตั้งเปนสมาชิกวุฒิสภา

Page 73: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๖๔

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) ในกรณีที่ไมมีกรรมการในตําแหนงใด หรือมีแตไมสามารถปฏิบัติหนาที่ได ถา

กรรมการที่เหลืออยูนั้นมีจํานวนไมนอยกวากึ่งหนึ่ง ใหคณะกรรมการสรรหาสมาชิก

วุฒิสภาประกอบดวยกรรมการที่เหลืออยู

ใหประธานสภาผูแทนราษฎรเปนผูลงนามรับสนองพระบรมราชโองการแตงตั้ง

สมาชิกวุฒิสภา

มาตรา ๑๐๘ ใหคณะกรรมการสรรหาสมาชิกวุฒิสภาดําเนินการสรรหาสมาชิก

วุฒิสภา โดยวิธีการดังตอไปนี้

(๑) ใหสรรหาบุคคลที่มีความเหมาะสมจากผูสมัครเขารับการสรรหาในแตละ

จังหวัด เพื่อใหไดบุคคลที่สมควรเปนสมาชิกวุฒิสภาจังหวัดละหนึ่งคน

(๒) ใหสรรหาบุคคลที่มีความเหมาะสมจากผูไดรับการเสนอชื่อจากองคกร

ตาง ๆ ในภาควิชาการ ภาครัฐ ภาคเอกชน ภาควิชาชีพ และภาคอื่นที่เปนประโยชนใน

การปฏิบัติการตามอํานาจหนาที่ของวุฒิสภา เพื่อใหไดบุคคลที่สมควรเปนสมาชิกวุฒิสภา

ตามจํานวนที่เหลืออยูจนครบจํานวนสมาชิกวุฒิสภาที่จะพึงมี

ในการสรรหาบุคคลตามวรรคหนึ่ง ใหคํานึงถึงความรู ความเชี่ยวชาญ หรือ

ประสบการณที่จะเปนประโยชนในการปฏิบัติงานของวุฒิสภาเปนสําคัญ และใหคํานึงถึง

องคประกอบจากบุคคลที่มีความรูในดานตาง ๆ ที่แตกตางกัน ความเทาเทียมกันทาง

เพศ รวมทั้งการใหโอกาสกับผูดอยโอกาสทางสังคมดวย

หลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขในการสรรหาสมาชิกวุฒิสภา ใหเปนไปตาม

พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรและการ

สรรหาสมาชิกวุฒิสภา

มาตรา ๑๐๙ ใหเปนหนาที่ของคณะกรรมการการเลือกตั้งในการรับสมัคร

บุคคลเขารับการสรรหาตามมาตรา ๑๐๘ (๑) การรับรายชื่อบุคคลที่องคกรตาง ๆ เสนอ

Page 74: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๖๕

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) ตามมาตรา ๑๐๘ (๒) การตรวจสอบคุณสมบัติ ลักษณะตองหาม รวมทั้งประวัติ และ

ความประพฤติของผูสมัครและผูไดรับการเสนอชื่อและนําเสนอคณะกรรมการสรรหา

สมาชิกวุฒิสภาเพื่อพิจารณา

มาตรา ๑๒๕ บุคคลผูมีคุณสมบัติดังตอไปนี้ เปนผูมีสิทธิสมัครรับเลือกตั้งเปน

สมาชิกวุฒิสภา

(๑) มีสัญชาติไทยโดยการเกิด

(๒) มีอายุไมต่ํากวาสี่สิบปบริบูรณในวันเลือกตั้ง

(๓) สําเร็จการศึกษาไมต่ํากวาปริญญาตรีหรือเทียบเทา

(๔) มีลักษณะอยางใดอยางหนึ่งตามมาตรา ๑๐๗ (๕) มาตรา ๑๒๖ บุคคลผูมีลักษณะดังตอไปนี้ เปนบุคคลตองหามมิใหใชสิทธิสมัคร

รับเลือกตั้งเปนสมาชิกวุฒิสภา (๑) เปนสมาชิกหรือผูดํารงตําแหนงอื่นของพรรคการเมือง

(๒) เปนสมาชิกสภาผูแทนราษฎร หรือเคยเปนสมาชิกสภาผูแทนราษฎรและ

พนจากการเปนสมาชิกสภาผูแทนราษฎรมาแลวยังไมเกินหนึ่งปนับถึงวันสมัครรับ

เลือกตั้ง

(๓) เปนหรือเคยเปนสมาชิกวุฒิสภาตามบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญนี้ในอายุ

ของวุฒิสภาคราวกอนการสมัครรับเลือกตั้ง

(๔) เปนบุคคลตองหามมิใหใชสิทธิสมัครรับเลือกตั้งตามมาตรา ๑๐๙ (๑) (๒)

(๓) (๔) (๕) (๖) (๗) (๘) (๙) (๑๑) (๑๒) (๑๓) หรือ (๑๔)

มาตรา ๑๒๕๑๑๐ บุคคลผูมีคุณสมบัติและไมมีลักษณะตองหามดังตอไปนี้เปน

ผูมีสิทธิสมัครไดรับการเสนอชื่อเพื่อเขารับเลือกตั้งการสรรหาเปนสมาชิกวุฒิสภา

(๑) มีสัญชาติไทยโดยการเกิด

(๒) มีอายุไมต่ํากวาสี่สิบปบริบูรณในวันเลือกตั้งสมัครหรือวันที่ไดรับการเสนอ

ชื่อ

(๓) สําเร็จการศึกษาไมต่ํากวาปริญญาตรีหรือเทียบเทา

(๔) มีลักษณะอยางใดอยางหนึ่งตามมาตรา ๑๐๗๙๕ (๕๔) ในกรณีที่เปน

ผูสมัครตามมาตรา ๑๐๘ (๑) (๕) ไมเปนผูดํารงตําแหนงใดในพรรคการเมืองหรือเคยดํารงตําแหนงและพน

จากการดํารงตําแหนงใด ๆ ในพรรคการเมืองมาแลวยังไมเกินสองปนับถึงวันสมัคร

หรือวันที่ไดรับการเสนอชื่อ

(๖) ไมเปนสมาชิกสภาผูแทนราษฎร หรือเคยเปนสมาชิกสภาผูแทนราษฎรและ

พนจากการเปนสมาชิกสภาผูแทนราษฎรมาแลวไมเกินหนึ่งปนับถึงวันสมัครหรือวันที่

ไดรับการเสนอชื่อ

(๗) เปนบุคคลตองหามมิใหใชสิทธิสมัครรับเลือกตั้งตามมาตรา ๙๖ (๑) (๒) (๓)

(๔) (๕) (๖) (๗) (๘) (๙) (๑๑) (๑๒) (๑๓) หรือ (๑๔)

มาตรา ๑๒๖ บุคคลผูมีลักษณะดังตอไปนี้ เปนบุคคลตองหามมิใหใชสิทธิสมัคร

รับเลือกตั้งเปนสมาชิกวุฒิสภา

Page 75: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๖๖

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) (๑) เปนสมาชิกหรือผูดํารงตําแหนงอื่นของพรรคการเมือง

(๒) เปนสมาชิกสภาผูแทนราษฎร หรือเคยเปนสมาชิกสภาผูแทนราษฎรและ

พนจากการเปนสมาชิกสภาผูแทนราษฎรมาแลวยังไมเกินหนึ่งปนับถึงวันสมัครรับ

เลือกตั้ง

(๓) เปนหรือเคยเปนสมาชิกวุฒิสภาตามบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญนี้ในอายุ

ของวุฒิสภาคราวกอนการสมัครรับเลือกตั้ง

(๔) เปนบุคคลตองหามมิใหใชสทิธิสมัครรับเลือกตั้งตามมาตรา ๑๐๙ (๑) (๒)

(๓) (๔) (๕) (๖) (๗) (๘) (๙) (๑๑) (๑๒) (๑๓) หรือ (๑๔)

มาตรา ๑๒๗ สมาชิกวุฒิสภาจะเปนรัฐมนตรีหรือขาราชการการเมืองอื่นมิได

บุคคลผูเคยดํารงตําแหนงสมาชิกวุฒิสภาและสมาชิกภาพสิ้นสุดลงมาแลวยัง

ไมเกินหนึ่งป เวนแตสมาชิกภาพสิ้นสุดลงตามมาตรา ๑๓๓ (๑) จะเปนรัฐมนตรีหรือ

ขาราชการการเมืองอื่นมิได

มาตรา ๑๒๗๑๑๑ สมาชิกวุฒิสภาจะเปนรัฐมนตรีหรือขาราชการการเมืองอื่น

มิได

บุคคลผูเคยดํารงตําแหนงสมาชิกวุฒิสภาและสมาชิกภาพสิ้นสุดลงมาแลวยัง

ไมเกินหนึ่งป เวนแตสมาชิกภาพสิ้นสุดลงตามมาตรา ๑๓๓ (๑) จะเปนรัฐมนตรีหรือ

ขาราชการการเมืองอื่นมิได มาตรา ๑๒๘ ใหนําบทบัญญัติมาตรา ๑๑๐ และมาตรา ๑๑๑ มาใชบังคับกับ

การกระทําอันตองหามของสมาชิกวุฒิสภาดวย โดยอนุโลม มาตรา ๑๒๘ ใหนําบทบัญญัติมาตรา ๑๑๐ และมาตรา ๑๑๑ มาใชบังคับกับการ

กระทําอันตองหามของสมาชิกวุฒิสภาดวย โดยอนุโลม มาตรา ๑๒๙ ภายใตบังคับบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญนี้ หลักเกณฑและวิธีการ

เลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาใหเปนไปตามกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการเลือกตั้ง

สมาชิกสภาผูแทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภา

เพื่อประโยชนในการแนะนําผูสมัครรับเลือกตั้งโดยเทาเทียมกัน ใหรัฐ

ดําเนินการดังตอไปนี้

(๑) จัดใหมีการปดประกาศและติดแผนปายเกี่ยวกับการเลือกตั้งและผูสมัครรับ

เลือกตั้ง

มาตรา ๑๒๙ ภายใตบังคับบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญนี้ หลักเกณฑและวิธีการ

เลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาใหเปนไปตามกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการเลือกตั้ง

สมาชิกสภาผูแทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภา

เพื่อประโยชนในการแนะนําผูสมัครรับเลือกตั้งโดยเทาเทียมกัน ใหรัฐ

ดําเนินการดังตอไปนี้

(๑) จัดใหมีการปดประกาศและติดแผนปายเกี่ยวกับการเลือกตั้งและผูสมัครรับ

เลือกตั้ง

Page 76: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๖๗

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) (๒) พิมพและจัดสงเอกสารเกี่ยวกับการเลือกตั้งและผูสมัครรับเลือกตั้งไปใหผูมี

สิทธิออกเสียงเลือกตั้ง

(๓) จัดหาสถานที่ และจัดสรรเวลาออกอากาศทางวิทยุกระจายเสียงและวิทยุ

โทรทัศน เพื่อแนะนําผูสมัครรับเลือกตั้ง

(๔) กิจการอื่นที่คณะกรรมการการเลือกตั้งประกาศกําหนด

หลักเกณฑและวิธีการดําเนินการตามวรรคสอง ใหเปนไปตามกฎหมาย

ประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภา

การแนะนําผูสมัครรบัเลือกตั้งโดยผูสมัครรับเลือกตั้งเองหรือบุคคลอื่นจะกระทํา

ไดเฉพาะเทาที่มีบัญญัติไวในกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการเลือกตั้งสมาชิก

สภาผูแทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภาเทานั้น

(๒) พิมพและจัดสงเอกสารเกี่ยวกับการเลือกตั้งและผูสมัครรับเลือกตั้งไปใหผูมี

สิทธิออกเสียงเลือกตั้ง

(๓) จัดหาสถานที่ และจัดสรรเวลาออกอากาศทางวิทยุกระจายเสียงและวิทยุ

โทรทัศน เพื่อแนะนําผูสมัครรับเลือกตั้ง

(๔) กิจการอื่นที่คณะกรรมการการเลือกตั้งประกาศกําหนด

หลักเกณฑและวิธีการดําเนินการตามวรรคสอง ใหเปนไปตามกฎหมาย

ประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภา

การแนะนําผูสมคัรรับเลือกตั้งโดยผูสมัครรับเลือกตั้งเองหรือบุคคลอื่นจะกระทํา

ไดเฉพาะเทาที่มีบัญญัติไวในกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการเลือกตั้งสมาชิก

สภาผูแทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภาเทานั้น

มาตรา ๑๓๐ อายุของวุฒิสภามีกําหนดคราวละหกปนับแตวันเลือกตั้ง มาตรา ๑๓๒ สมาชิกภาพของสมาชิกวุฒิสภาเริ่มตั้งแตวันเลือกตั้ง

มาตรา ๑๓๐ อายุของวุฒิสภามีกําหนดคราวละหกปนับแตวันเลือกตั้ง มาตรา ๑๓๒๑๑๒ สมาชิกภาพของสมาชิกวุฒิสภาเริ่มตั้งแตวันเลือกตั้งที่มีพระบรมราชโองการแตงตั้ง อายุของวุฒิสภามีกําหนดคราวละหกปนับแตวันแตงตั้ง โดยสมาชิกวุฒิสภาจะดํารงตําแหนงติดตอกันเกินหนึ่งวาระไมได ใหสมาชิกวุฒิสภาซึ่งสิ้นสุดสมาชิกภาพตามวาระ อยูในตําแหนงเพื่อปฏิบัติหนาที่ตอไปจนกวาจะมีพระบรมราชโองการแตงตั้งสมาชิกวุฒิสภาขึ้นใหม

มาตรา ๑๓๑ เมื่ออายุของวุฒิสภาสิ้นสุดลง พระมหากษัตริยจะไดทรงตราพระราชกฤษฎีกาใหมีการเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาใหมเปนการเลือกตั้งทั่วไป ซึ่งตองกําหนดวันเลือกตั้งภายในสามสิบวันนับแตวันที่อายุของวุฒิสภาสิ้นสุดลง และวันเลือกตั้งตองกําหนดเปนวันเดียวกันทั่วราชอาณาจักร

มาตรา ๑๓๑ เมื่ออายุของวุฒิสภาสิ้นสุดลง พระมหากษัตริยจะไดทรงตราพระ

ราชกฤษฎีกาใหมีการเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาใหมเปนการเลือกตั้งทั่วไป ซึ่งตองกําหนดวันเลือกตั้งภายในสามสิบวันนับแตวันที่อายุของวุฒิสภาสิ้นสุดลง และวันเลือกตั้งตองกําหนดเปนวันเดียวกันทั่วราชอาณาจักร

Page 77: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๖๘

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) เพื่อประโยชนในการดําเนินการตามมาตรา ๑๖๘ ใหสมาชิกวุฒิสภาที่ดํารงตําแหนงอยูในวันที่อายุของวุฒิสภาสิ้นสุดลงตามวรรคหนึ่ง ทําหนาที่ตอไปจนกวาสมาชิกวุฒิสภาที่ไดรับเลือกตั้งใหมจะเขารับหนาที่

เพื่อประโยชนในการดําเนินการตามมาตรา ๑๖๘ ใหสมาชิกวุฒิสภาที่ดํารงตําแหนงอยูในวันที่อายุของวุฒิสภาสิ้นสุดลงตามวรรคหนึ่ง ทําหนาที่ตอไปจนกวาสมาชิกวุฒิสภาที่ไดรับเลือกตั้งใหมจะเขารับหนาที่

มาตรา ๑๑๓ ในวาระเริ่มแรกเมื่อครบกําหนดสามปนับแตวันที่มีพระบรมราช

โองการแตงตั้งสมาชิกวุฒิสภา ใหสมาชิกวุฒิสภาประชุมกันเพื่อใหมีการจับสลากให

สมาชิกวุฒิสภาจํานวนกึ่งหนึ่งของจํานวนสมาชิกวุฒิสภาแตละประเภทพนจากตําแหนง

และใหถือวาการพนจากตําแหนงโดยการจับสลากดังกลาวเปนการสิ้นสุดสมาชิกภาพตาม

วาระ

มาตรา ๑๓๓ สมาชิกภาพของสมาชิกวุฒิสภาสิ้นสุดลง เมื่อ

(๑) ถึงคราวออกตามอายุของวุฒิสภา

(๒) ตาย

(๓) ลาออก

(๔) ขาดคุณสมบัติตามมาตรา ๑๒๕

(๕) มีลักษณะตองหามตามมาตรา ๑๒๖

(๖) มีลักษณะตองหามตามมาตรา ๑๒๗

(๗) มีลักษณะตองหามตามมาตรา ๑๒๘

(๘) วุฒิสภามีมติตามมาตรา ๓๐๗ ใหถอดถอนออกจากตําแหนง หรอืศาล

รัฐธรรมนูญมีคําวินิจฉัยใหพนจาก สมาชิกภาพตามมาตรา ๙๖ ในกรณีเชนนี้ ใหถือวา

สิ้นสุดสมาชิกภาพนับแตวันที่วุฒิสภามีมติหรือศาลรัฐธรรมนูญมีคําวินิจฉัย แลวแตกรณี

(๙) ขาดประชุมเกินจํานวนหนึ่งในสี่ของจํานวนวันประชุมในสมัยประชุมที่มี

กําหนดเวลาไมนอยกวาหนึ่งรอยยี่สิบวัน โดยไมไดรับอนุญาตจากประธานวุฒิสภา

มาตรา ๑๓๓๑๑๔ สมาชิกภาพของสมาชิกวุฒิสภาสิ้นสุดลง เมื่อ

(๑) ถึงคราวออกตามอายุของวุฒิสภา

(๒) ตาย (๓) ลาออก

(๔) ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะตองหามตามมาตรา ๑๒๕๑๑๐

(๕) มีลักษณะกระทําการอันตองหามตามมาตรา ๑๒๖๑๑๑ มาตรา ๒๕๖ หรือมาตรา ๒๕๗

(๖) มีลักษณะตองหามตามมาตรา ๑๒๗

(๗) มีลักษณะตองหามตามมาตรา ๑๒๘

(๘๖) วุฒิสภามีมติตามมาตรา ๓๐๗๒๖๕ ใหถอดถอนออกจากตําแหนง หรือ

ศาลรัฐธรรมนูญมีคําวินิจฉัยใหพนจาก สมาชิกภาพตามมาตรา ๙๖๘๙ ในกรณีเชนนี้ ให

ถือวาสิ้นสุดสมาชิกภาพนับแตวันที่วุฒิสภามีมติหรือศาลรัฐธรรมนูญมีคําวินิจฉัย แลวแต

กรณี

Page 78: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๖๙

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) (๑๐) ถูกจําคุกโดยคําพิพากษาถึงที่สุดใหจําคุก เวนแตในความผิดอันไดกระทํา

โดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ (๙๗) ขาดประชุมเกินจํานวนหนึ่งในสี่ของจํานวนวันประชุมในสมัยประชุมที่มี

กําหนดเวลาไมนอยกวาหนึ่งรอยยี่สิบวัน โดยไมไดรับอนุญาตจากประธานวุฒิสภา

(๑๐๘) ถูกจําคุกโดยตองคําพิพากษาถึงที่สุดใหจําคุก แมจะมีการรอการลงโทษ

เวนแตในความผิดอันไดกระทําโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ มาตรา ๑๓๔ เมื่อตําแหนงสมาชิกวุฒิสภาวางลงเพราะเหตุอื่นใดนอกจากถึงคราวออกตามอายุของวุฒิสภา ใหมีการเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาขึ้นแทนภายในสี่สิบหาวันนับแตวันที่ตําแหนงนั้นวางลง เวนแตอายุของวุฒิสภาจะเหลือไมถึงหนึ่งรอยแปดสิบวัน สมาชิกวุฒิสภาผูเขามาแทนนั้นใหอยูในตําแหนงไดเพียงเทาอายุของวุฒิสภาที่เหลืออยู

มาตรา ๑๓๔๑๑๕ เมื่อตําแหนงสมาชิกวุฒิสภาวางลงเพราะเหตุอื่นใดนอกจากถึงคราวออกตามอายุของวุฒิสภามาตรา ๑๑๓ หรือมาตรา ๑๑๔ ใหมีการเลือกตั้งนําบทบัญญัติมาตรา ๑๐๗ มาตรา ๑๐๘ และมาตรา ๑๐๙ มาใชบังคับกับการสรรหาสมาชิกวุฒิสภาขึ้นแทนภายในสี่สิบหาวันนับแตวันที่ตําแหนงนั้นทีว่างลง เวนแตอายุของวุฒิสภาจะเหลือไมถึงหนึ่งรอยแปดสิบวัน สมาชิกวุฒิสภาผูเขามาแทนนั้นใหอยูในตําแหนงไดเพียงเทาอายุของวุฒิสภาที่

เหลืออยู มาตรา ๑๓๕ ในการพิจารณาเลือก แตงตั้ง ใหคําแนะนํา หรือใหความเห็นชอบ

ใหบุคคลดํารงตําแหนงใดตามมาตรา ๑๓๘ มาตรา ๑๔๓ มาตรา ๑๙๖ มาตรา ๑๙๙

มาตรา ๒๕๗ มาตรา ๒๖๑ มาตรา ๒๗๔ (๓) มาตรา ๒๗๗ มาตรา ๒๗๘ มาตรา ๒๗๙

(๓) มาตรา ๒๙๗ มาตรา ๓๐๒ และมาตรา ๓๑๒ ใหวุฒิสภาแตงตั้งคณะกรรมาธิการขึ้น

คณะหนึ่ง ทําหนาที่ตรวจสอบประวัติและความประพฤติของบุคคลผูไดรับการเสนอชื่อให

ดํารงตําแหนงนั้น รวมทั้งรวบรวมขอเท็จจริงและ พยานหลักฐานอันจําเปน แลวรายงาน

ตอวุฒิสภาเพื่อประกอบการพิจารณาตอไป

การดําเนินการของคณะกรรมาธิการตามวรรคหนึ่ง ใหเปนไปตามวิธีการที่

กําหนดในขอบังคับการประชุมวุฒิสภา

มาตรา ๑๓๕๑๑๖ ในการพิจารณาเลือก แตงตั้ง ใหคําแนะนํา หรือใหความ

เห็นชอบ ใหบุคคลดํารงตําแหนงใดตามมาตรา ๑๓๘ มาตรา ๑๔๓ มาตรา ๑๙๖ มาตรา

๑๙๙ มาตรา ๒๕๗ มาตรา ๒๖๑ มาตรา ๒๗๔ (๓) มาตรา ๒๗๗ มาตรา ๒๗๘ มาตรา

๒๗๙ (๓) มาตรา ๒๙๗ มาตรา ๓๐๒ และมาตรา ๓๑๒บทบัญญัติของรัฐธรรมนญูนี ้ใหวุฒิสภาแตงตั้งคณะกรรมาธิการขึ้นคณะหนึ่ง ทําหนาที่ตรวจสอบประวัติ และความ

ประพฤติ และพฤติกรรมทางจริยธรรมของบุคคลผูไดรับการเสนอชื่อใหดํารงตําแหนงนั้น

รวมทั้งรวบรวมขอเท็จจริงและ พยานหลักฐานอันจําเปน แลวรายงานตอวุฒิสภาเพื่อ

ประกอบการพิจารณาตอไป

การดําเนินการของคณะกรรมาธิการตามวรรคหนึ่ง ใหเปนไปตามวิธีการที่

กําหนดในขอบังคับการประชุมวุฒิสภา

Page 79: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๗๐

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) สวนที่ ๕

บทที่ใชแกสภาทั้งสอง

สวนที่ ๕๔ บทที่ใชแกสภาทั้งสอง

มาตรา ๑๔๙ สมาชิกสภาผูแทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภายอมเปนผูแทนปวงชนชาวไทย และตองปฏิบัติหนาที่ดวยความซื่อสัตยสุจริตเพื่อประโยชนสวนรวมของปวงชนชาวไทย

มาตรา ๑๔๙๑๑๗ สมาชิกสภาผูแทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภายอมเปนผูแทนปวงชนชาวไทย โดยไมอยูในความผูกมัดแหงอาณัติมอบหมาย หรือความครอบงําใด ๆ และตองปฏิบัติหนาที่ดวยความซื่อสัตยสุจริต เพื่อประโยชนสวนรวมของปวงชน

ชาวไทย โดยปราศจากผลประโยชนทับซอน

มาตรา ๑๕๐ กอนเขารับหนาที่ สมาชิกสภาผูแทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภา

ตองปฏิญาณตนในที่ประชุมแหงสภาที่ตนเปนสมาชิกดวยถอยคําดังตอไปนี้

"ขาพเจา (ชื่อผูปฏิญาณ) ขอปฏิญาณวา ขาพเจาจะปฏิบัติหนาที่ดวยความ

ซื่อสัตยสุจริต เพื่อประโยชนสวนรวม ของปวงชนชาวไทย ทั้งจะรักษาไวและปฏิบัติตาม

ซึ่งรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยทุกประการ"

มาตรา ๑๕๐๑๑๘ กอนเขารับหนาที่ สมาชิกสภาผูแทนราษฎรและสมาชิก

วุฒิสภาตองปฏิญาณตนในที่ประชุมแหงสภาที่ตนเปนสมาชิกดวยถอยคําดังตอไปนี้

"ขาพเจา (ชื่อผูปฏิญาณ) ขอปฏิญาณวา ขาพเจาจะปฏิบัติหนาที่ดวยความ

ซื่อสัตยสุจริต เพื่อประโยชนสวนรวมของปวงชนชาวไทยประเทศและประชาชน ทั้งจะ

รักษาไวและปฏิบัติตามซึ่งรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยทุกประการ" มาตรา ๑๕๑ สภาผูแทนราษฎรและวุฒิสภาแตละสภา มีประธานสภาคนหนึ่ง

และรองประธานคนหนึ่งหรือสองคน ซึ่งพระมหากษัตริยทรงแตงตั้งจากสมาชิกแหงสภา

นั้น ๆ ตามมติของสภา

มาตรา ๑๕๒ ประธานและรองประธานสภาผูแทนราษฎรดํารงตําแหนงจนสิ้น

อายุของสภาหรือมีการยุบสภา

ประธานและรองประธานวุฒิสภาดํารงตําแหนงจนถึงวันกอนวันเลือกประธาน

และรองประธานวุฒิสภาใหม

ประธานและรองประธานสภาผูแทนราษฎรและประธานและรองประธานวุฒิสภา

ยอมพนจากตําแหนงกอนวาระตามวรรคหนึ่งหรือวรรคสอง แลวแตกรณี เมื่อ

มาตรา ๑๕๑๑๑๙ สภาผูแทนราษฎรและวุฒิสภาแตละสภา มปีระธานสภา

คนหนึ่งและรองประธานคนหนึ่งหรือสองคน ซึ่งพระมหากษัตริยทรงแตงตั้งจากสมาชิก

แหงสภานั้น ๆ ตามมติของสภา

ประธานและรองประธานสภาผูแทนราษฎรดํารงตําแหนงจนสิ้นอายุของสภาหรือมี

การยุบสภา

ประธานและรองประธานวุฒิสภาดํารงตําแหนงจนถึงวันกอนวันเลือกประธาน

และรองประธานวุฒิสภาใหม ซึ่งตองกระทําทุกสามป

ประธานและรองประธานสภาผูแทนราษฎร และประธานและรองประธาน

วุฒิสภา ยอมพนจากตําแหนงกอนวาระตามวรรคสองหรือวรรคสาม แลวแตกรณี เมื่อ

Page 80: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๗๑

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) (๑) ขาดจากสมาชิกภาพแหงสภาที่ตนเปนสมาชิก

(๒) ลาออกจากตําแหนง

(๓) ดํารงตําแหนงนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี หรือขาราชการการเมืองอื่น

(๔) ตองคําพิพากษาใหจําคุก

(๑) ขาดจากสมาชิกภาพแหงสภาที่ตนเปนสมาชิก

(๒) ลาออกจากตําแหนง

(๓) ดํารงตําแหนงนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี หรือขาราชการการเมืองอื่น

(๔) ตองคําพิพากษาใหจําคุก แมคดีนั้นจะยังไมถึงที่สุดหรือมีการรอการลงโทษ

เวนแตในความผิดอันไดกระทําโดยประมาท ความผิดลหุโทษ หรือความผิดฐานหมิ่น

ประมาท

ในระหวางการดํารงตําแหนง ประธานและรองประธานสภาผูแทนราษฎรจะเปน

กรรมการบริหารหรือดํารงตําแหนงใดในพรรคการเมืองขณะเดียวกันมิได

มาตรา ๑๕๒ ประธานและรองประธานสภาผูแทนราษฎรดํารงตําแหนงจนสิ้น

อายุของสภาหรือมีการยุบสภา

ประธานและรองประธานวุฒิสภาดํารงตําแหนงจนถึงวันกอนวันเลือกประธาน

และรองประธานวุฒิสภาใหม

ประธานและรองประธานสภาผูแทนราษฎรและประธานและรองประธานวุฒิสภา

ยอมพนจากตําแหนงกอนวาระตามวรรคหนึ่งหรือวรรคสอง แลวแตกรณี เมื่อ

(๑) ขาดจากสมาชิกภาพแหงสภาที่ตนเปนสมาชิก

(๒) ลาออกจากตําแหนง

(๓) ดํารงตําแหนงนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี หรือขาราชการการเมืองอื่น

(๔) ตองคําพิพากษาใหจําคุก มาตรา ๑๕๓ ประธานสภาผูแทนราษฎรและประธานวุฒิสภามีอํานาจหนาที่

ดําเนินกิจการของสภานั้น ๆ ใหเปนไปตามขอบังคับ รองประธานมีอํานาจหนาที่ตามที่

ประธานมอบหมายและ ปฏิบัติหนาที่แทนประธานเมื่อประธานไมอยูหรือไมสามารถ

ปฏิบัติหนาที่ได

มาตรา ๑๕๓๑๒๐ ประธานสภาผูแทนราษฎรและประธานวุฒิสภามีอํานาจ

หนาที่ดําเนินกิจการของสภานั้น ๆ ใหเปนไปตามขอบังคับ รองประธานมีอํานาจหนาที่

ตามที่ประธานมอบหมายและ ปฏิบัติหนาที่แทนประธานเมื่อประธานไมอยูหรือไม

สามารถปฏิบัติหนาที่ได

Page 81: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๗๒

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) ประธานสภาผูแทนราษฎร ประธานวุฒิสภา และผูทําหนาที่แทน ตองวางตน

เปนกลางในการปฏิบัติหนาที่

มาตรา ๑๕๔ เมื่อประธานและรองประธานสภาผูแทนราษฎรหรือประธานและ

รองประธานวุฒิสภาไมอยูในที่ประชุม ใหสมาชิกแหงสภานั้น ๆ เลือกตั้งกันขึ้นเองเปน

ประธานในคราวประชุมนั้น

ประธานสภาผูแทนราษฎร ประธานวุฒิสภา และผูทําหนาที่แทน ตองวางตน

เปนกลางในการปฏิบัติหนาที่

เมื่อประธานและรองประธานสภาผูแทนราษฎรหรือประธานและรองประธาน

วุฒิสภาไมอยูในที่ประชุม ใหสมาชิกแหงสภานั้น ๆ เลือกตั้งกันขึ้นเองเปนประธานในคราวประชุมนั้น มาตรา ๑๕๔ เมื่อประธานและรองประธานสภาผูแทนราษฎรหรือประธานและ

รองประธานวุฒิสภาไมอยูในที่ประชุม ใหสมาชกิแหงสภานั้น ๆ เลือกตั้งกันขึ้นเองเปน

ประธานในคราวประชุมนั้น

มาตรา ๑๕๕ การประชุมสภาผูแทนราษฎรและการประชุมวุฒิสภาตองมี

สมาชิกมาประชมุไมนอยกวากึ่งหนึ่งของจํานวนสมาชิกทั้งหมดเทาที่มีอยูของแตละสภา

จึงจะเปนองคประชุม เวนแตในกรณีการพิจารณาระเบียบวาระกระทูถามตามมาตรา

๑๘๓ และมาตรา ๑๘๔ สภาผูแทนราษฎรและวุฒิสภาจะกําหนดเรื่ององคประชุมไวใน

ขอบังคับเปนอยางอื่นก็ได

มาตรา ๑๕๖ การลงมติวินิจฉัยขอปรึกษาใหถือเอาเสียงขางมาก เปนประมาณ

เวนแตที่มีบัญญัติไวเปนอยางอื่นในรัฐธรรมนูญนี ้

สมาชิกคนหนึ่งยอมมีเสียงหนึ่งในการออกเสียงลงคะแนน ถามีคะแนนเสียง

เทากัน ใหประธานในที่ประชุมออกเสียงเพิ่มขึ้นอีกเสียงหนึ่งเปนเสียงชี้ขาด

ประธานรัฐสภา ประธานสภาผูแทนราษฎร และประธานวุฒิสภา ตองจัดใหมี

การบันทึกการออกเสียงลงคะแนนของสมาชิกแตละคน และเปดเผยบันทึกดังกลาวไวใน

ที่ที่ประชาชนอาจเขาไปตรวจสอบได เวนแตกรณีการออก เสียงลงคะแนนเปนการลับ

การออกเสียงลงคะแนนเลือกหรือใหความเห็นชอบใหบุคคลดํารงตําแหนงใด ให

กระทําเปนการลับ เวนแตที่มีบัญญัติไวเปนอยางอื่นในรัฐธรรมนูญนี้ และสมาชิกยอมมี

อิสระและไมถูกผูกพันโดยมติของพรรคการเมืองหรืออาณัติอื่นใด

มาตรา ๑๕๕๑๒๑ การประชุมสภาผูแทนราษฎรและการประชุมวุฒิสภาตองมี

สมาชิกมาประชมุไมนอยกวากึ่งหนึ่งของจํานวนสมาชิกทั้งหมดเทาที่มีอยูของแตละสภา

จึงจะเปนองคประชุม เวนแตในกรณีการพิจารณาระเบียบวาระกระทูถามตามมาตรา

๑๘๓๑๕๒ และมาตรา ๑๘๔๑๕๓ สภาผูแทนราษฎรและวุฒิสภาจะกําหนดเรื่ององค

ประชุมไวในขอบังคับเปนอยางอื่นก็ได

การลงมติวินิจฉัยขอปรึกษาใหถือเอาเสียงขางมากเปนประมาณ เวนแตที่มี

บัญญัติไวเปนอยางอื่นในรัฐธรรมนูญนี้

สมาชิกคนหนึ่งยอมมีเสียงหนึ่งในการออกเสียงลงคะแนน ถามีคะแนนเสียง

เทากัน ใหประธานในที่ประชุมออกเสียงเพิ่มขึ้นอีกเสียงหนึ่งเปนเสียงชี้ขาด

ประธานรัฐสภา ประธานสภาผูแทนราษฎร และประธานวุฒิสภา ตองจัดใหมีการ

บันทึกการออกเสียงลงคะแนนของสมาชิกแตละคน และเปดเผยบันทึกดังกลาวไวในที่

ที่ประชาชนอาจเขาไปตรวจสอบได เวนแตกรณีการออกเสียงลงคะแนนเปนการลับ

การออกเสียงลงคะแนนเลือกหรือใหความเห็นชอบใหบุคคลดํารงตําแหนงใด

ใหกระทําเปนการลับ เวนแตที่มีบัญญัติไวเปนอยางอื่นในรัฐธรรมนูญนี้ และสมาชิกยอมมี

อิสระและไมถูกผูกพันโดยมติของพรรคการเมืองหรืออาณัติอื่นใด

Page 82: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๗๓

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) มาตรา ๑๕๖ การลงมติวินิจฉัยขอปรึกษาใหถือเอาเสียงขางมาก เปนประมาณ

เวนแตที่มีบัญญัติไวเปนอยางอื่นในรัฐธรรมนูญนี ้

สมาชิกคนหนึ่งยอมมีเสียงหนึ่งในการออกเสียงลงคะแนน ถามีคะแนนเสียง

เทากัน ใหประธานในที่ประชุมออกเสียงเพิ่มขึ้นอีกเสียงหนึ่งเปนเสียงชี้ขาด

ประธานรัฐสภา ประธานสภาผูแทนราษฎร และประธานวุฒิสภา ตองจัดใหมีการ

บันทึกการออกเสียงลงคะแนนของสมาชิกแตละคน และเปดเผยบันทึกดังกลาวไวในที่ที่

ประชาชนอาจเขาไปตรวจสอบได เวนแตกรณีการออก เสียงลงคะแนนเปนการลับ

การออกเสียงลงคะแนนเลือกหรือใหความเห็นชอบใหบุคคลดํารงตําแหนงใด ให

กระทําเปนการลับ เวนแตที่มีบัญญัติไวเปนอยางอื่นในรัฐธรรมนูญนี ้และสมาชิกยอมมี

อิสระและไมถูกผูกพันโดยมติของพรรคการเมืองหรืออาณัติอื่นใด มาตรา ๑๕๙ ภายในสามสิบวันนับแตวันเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎร ใหมีการเรียกประชุมรัฐสภาเพื่อใหสมาชิกไดมาประชุมครั้งแรก ในปหนึ่งใหมีสมัยประชุมสามัญทั่วไป และสมัยประชุมสามัญนิติบัญญัติ วันประชุมครั้งแรกตามวรรคหนึ่ง ใหถือเปนวันเริ่มสมัยประชุมสามัญทั่วไป สวน

วันเริ่มสมัยประชุมสามัญ นิติบัญญัติใหสภาผูแทนราษฎรเปนผูกําหนด ในกรณีที่การเริ่ม

ประชุมครั้งแรกตามวรรคหนึ่งมีเวลาจนถึงสิ้นปปฏิทินไมถึงหนึ่งรอยหาสิบวัน จะไมมีการ

ประชุมสมัยสามัญนิติบัญญัติสําหรับปนั้นก็ได ในสมัยประชุมสามัญนิติบัญญัติ ใหรัฐสภาดําเนินการประชุมไดเฉพาะกรณีที่

บัญญัติไวในหมวด ๒ หรือการพิจารณารางพระราชบัญญัติหรือรางพระราชบัญญัติ

ประกอบรัฐธรรมนูญการอนุมัติพระราชกําหนด การใหความเห็นชอบในการประกาศ

สงคราม การใหความเห็นชอบหนังสือสัญญา การเลือกหรือการใหความเห็นชอบใหบุคคลดํารงตําแหนง การถอดถอนบุคคลออกจากตําแหนง การตั้งกระทูถาม และการ

มาตรา ๑๕๙๑๒๒ ภายในสามสิบวันนับแตวันเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎร ใหมีการเรียกประชุมรัฐสภาเพื่อใหสมาชิกไดมาประชุมครั้งแรก ในปหนึ่งใหมีสมัยประชุมสามัญทั่วไป และสมัยประชุมสามัญนิติบัญญัติ วันประชุมครั้งแรกตามวรรคหนึ่ง ใหถือเปนวันเริ่มสมัยประชุมสามัญทั่วไป สวน

วันเริ่มสมัยประชุมสามัญ นิติบัญญัติใหสภาผูแทนราษฎรเปนผูกําหนด ในกรณีที่การเริ่ม

ประชุมครั้งแรกตามวรรคหนึ่งมีเวลาจนถึงสิ้นปปฏิทินไมถึงหนึ่งรอยหาสิบวัน จะไมมีการ

ประชุมสมัยสามัญนิติบัญญัติสําหรับปนั้นก็ได ในสมัยประชุมสามัญนิติบัญญัติ ใหรัฐสภาดําเนินการประชุมไดเฉพาะกรณีที่

บัญญัติไวในหมวด ๒ หรือการพิจารณารางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญหรือราง

พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญการอนุมัติพระราชกําหนด การใหความเห็นชอบใน

การประกาศสงคราม การรับฟงคําชี้แจงและการใหความเห็นชอบหนังสือสนธสิัญญา การเลือกหรือการใหความเห็นชอบใหบุคคลดํารงตําแหนง การถอดถอนบุคคลออกจากตําแหนง การตั้งกระทูถาม และการแกไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ เวนแตรัฐสภาจะมีมติให

Page 83: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๗๔

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) แกไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ เวนแตรัฐสภาจะมีมติใหพิจารณาเรื่องอื่นใดดวยคะแนนเสียง

เกินกึ่งหนึ่งของจํานวนสมาชิกทั้งหมดเทาที่มีอยูของทั้งสองสภา มาตรา ๑๖๐ สมัยประชุมสามัญของรัฐสภาสมัยหนึ่ง ๆ ใหมีกําหนดเวลาหนึ่ง

รอยยี่สิบวัน แตพระมหากษัตริยจะโปรดเกลาโปรดกระหมอมใหขยายเวลาออกไปก็ได การปดสมัยประชุมสามัญกอนครบกําหนดเวลาหนึ่งรอยยี่สิบวัน จะกระทําไดแตโดยความเห็นชอบของรัฐสภา

พิจารณาเรื่องอื่นใดดวยคะแนนเสียงเกินกึ่งหนึ่งของจํานวนสมาชิกทั้งหมดเทาที่มีอยูของ

ทั้งสองสภา สมัยประชุมสามัญของรัฐสภาสมัยหนึ่ง ๆ ใหมกีําหนดเวลาหนึ่งรอยยี่สิบวัน แตพระมหากษัตริยจะโปรดเกลาโปรดกระหมอมใหขยายเวลาออกไปก็ได

การปดสมัยประชุมสมัยสามัญกอนครบกําหนดเวลาหนึ่งรอยยี่สิบวัน จะกระทําไดแตโดยความเห็นชอบของรัฐสภา มาตรา ๑๖๐ สมัยประชุมสามัญของรัฐสภาสมัยหนึ่ง ๆ ใหมีกําหนดเวลาหนึ่ง

รอยยี่สิบวัน แตพระมหากษัตริยจะโปรดเกลาโปรดกระหมอมใหขยายเวลาออกไปก็ได การปดสมัยประชุมสามัญกอนครบกําหนดเวลาหนึ่งรอยยี่สิบวัน จะกระทําไดแตโดยความเห็นชอบของรัฐสภา

มาตรา ๑๖๑ พระมหากษัตริยทรงเรียกประชุมรัฐสภา ทรงเปดและทรงปดประชุม พระมหากษัตริยจะเสด็จพระราชดําเนินมาทรงทํารัฐพิธีเปดประชุมสมัยประชุม

สามัญทั่วไปครั้งแรกตาม มาตรา ๑๕๙ วรรคหนึ่ง ดวยพระองคเอง หรือจะโปรดเกลาโปรดกระหมอมใหพระรัชทายาทซึ่งบรรลุนิติภาวะแลว หรือผูใดผูหนึ่งเปนผูแทนพระองค มาทํารัฐพิธีก็ได มาตรา ๑๖๒ เมื่อมีความจําเปนเพื่อประโยชนแหงรัฐ พระมหากษัตริยจะทรงเรียกประชุมรัฐสภาเปนการประชุมสมัยวิสามัญก็ได มาตรา ๑๖๔ ภายใตบังคับมาตรา ๑๖๓ การเรียกประชุม การขยาย เวลา

ประชุม และการปดประชุมรัฐสภา ใหกระทําโดยพระราชกฤษฎีกา

มาตรา ๑๖๑๑๒๓ พระมหากษัตริยทรงเรียกประชุมรัฐสภา ทรงเปดและทรงปดประชุม พระมหากษัตริยจะเสด็จพระราชดําเนินมาทรงทํารัฐพิธีเปดประชุมสมัยประชุม

สามัญทั่วไปครั้งแรกตาม มาตรา ๑๕๙๑๒๒ วรรคหนึ่ง ดวยพระองคเอง หรือจะโปรดเกลาโปรดกระหมอมใหพระรัชทายาทซึ่งบรรลุนิติภาวะแลว หรือผูใดผูหนึ่งเปนผูแทนพระองค มาทํารัฐพิธีก็ได เมื่อมีความจําเปนเพื่อประโยชนแหงรัฐ พระมหากษัตริยจะทรงเรียกประชุมรัฐสภาเปนการประชุมสมัยวิสามัญก็ได

ภายใตบังคับมาตรา ๑๒๔ การเรียกประชุม การขยายเวลาประชุม และการปดประชุมรัฐสภา ใหกระทําโดยพระราชกฤษฎีกา มาตรา ๑๖๒ เมื่อมีความจําเปนเพื่อประโยชนแหงรัฐ พระมหากษัตริยจะทรงเรียกประชุมรัฐสภาเปนการประชุมสมัยวิสามญัก็ได

Page 84: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๗๕

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) มาตรา ๑๖๔ ภายใตบังคับมาตรา ๑๖๓ การเรียกประชุม การขยาย เวลาประชุม

และการปดประชุมรัฐสภา ใหกระทําโดยพระราชกฤษฎีกา

มาตรา ๑๖๓ สมาชิกสภาผูแทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภาทั้งสองสภารวมกัน หรือสมาชิกสภาผูแทนราษฎร มีจํานวนไมนอยกวาหนึ่งในสามของจํานวนสมาชิก

ทั้งหมดเทาที่มีอยูของทั้งสองสภา มีสิทธิเขาชื่อรองขอใหนําความกราบบังคมทูลเพื่อมีพระบรมราชโองการประกาศเรียกประชุม รัฐสภาเปนการประชุมสมัยวิสามัญได คํารองขอดังกลาวในวรรคหนึ่ง ใหยื่นตอประธานรัฐสภา ใหประธานรัฐสภานําความกราบบังคมทูลและลงนามรับสนองพระบรมราช

โองการ

มาตรา ๑๖๓๑๒๔ สมาชิกสภาผูแทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภาทั้งสองสภารวมกัน หรือสมาชิกสภาผูแทนราษฎร มีจํานวนไมนอยกวาหนึ่งในสามของจํานวนสมาชิกทั้งหมดเทาที่มีอยูของทั้งสองสภา มีสิทธิเขาชื่อรองขอใหนําความกราบบังคมทูลเพื่อมีพระบรมราชโองการประกาศเรียกประชุม รัฐสภาเปนการประชุมสมัยวิสามัญได คํารองขอดังกลาวในวรรคหนึ่ง ใหยื่นตอประธานรัฐสภา ใหประธานรัฐสภานําความกราบบังคมทูลและลงนามรับสนองพระบรมราช

โองการ มาตรา ๑๕๗ ในที่ประชุมสภาผูแทนราษฎร ที่ประชุมวุฒิสภา หรือที่ประชุม

รวมกันของรัฐสภา สมาชิกผูใดจะกลาวถอยคําใดในทางแถลงขอเท็จจริง แสดงความ

คิดเห็น หรือออกเสียงลงคะแนน ยอมเปนเอกสิทธิ์โดยเด็ดขาด ผูใดจะนําไปเปนเหตุ

ฟองรองวากลาวสมาชิกผูนั้นในทางใดมิได

เอกสิทธิ์ตามวรรคหนึ่งไมคุมครองสมาชิกผูกลาวถอยคําในการประชุมที่มีการ

ถายทอดทางวิทยุกระจายเสียงหรือ วิทยุโทรทัศน หากถอยคําที่กลาวในที่ประชุมไป

ปรากฏนอกบริเวณรัฐสภา และการกลาวถอยคํานั้นมีลักษณะเปนความผิดทางอาญาหรือ

ละเมิดสิทธิในทางแพงตอบุคคลอื่น ซึ่งมิใชรัฐมนตรีหรือสมาชิกแหงสภานั้น

ในกรณีตามวรรคสอง ถาสมาชิกกลาวถอยคําใดที่อาจเปนเหตุใหบุคคลอื่นซึ่ง

มิใชรัฐมนตรีหรือสมาชิกแหงสภานั้นไดรับความเสียหาย ใหประธานแหงสภานั้นจัดใหมี

การโฆษณาคําชี้แจงตามที่บุคคลนั้นรองขอตามวิธีการและภายในระยะเวลาที่กําหนดใน

ขอบังคับการประชุมของสภานั้น ทั้งนี้ โดยไมกระทบกระเทือนถึงสิทธิของบุคคลในการ

ฟองคดีตอศาล

มาตรา ๑๕๗๑๒๕ ในที่ประชุมสภาผูแทนราษฎร ที่ประชุมวุฒสิภา หรือที่

ประชุมรวมกันของรัฐสภา สมาชิกผูใดจะกลาวถอยคําใดในทางแถลงขอเท็จจริง แสดง

ความคิดเห็น หรือออกเสียงลงคะแนน ยอมเปนเอกสิทธิ์โดยเด็ดขาด ผูใดจะนําไปเปน

เหตุฟองรองวากลาวสมาชิกผูนั้นในทางใดมิได

เอกสิทธิ์ตามวรรคหนึ่งไมคุมครองสมาชิกผูกลาวถอยคําในการประชุมที่มีการ

ถายทอดทางวิทยุกระจายเสียงหรือ วิทยุโทรทัศน หากถอยคําที่กลาวในที่ประชุมไป

ปรากฏนอกบริเวณรัฐสภา และการกลาวถอยคํานั้นมีลักษณะเปนความผิดทางอาญาหรือ

ละเมิดสิทธิในทางแพงตอบุคคลอื่นซึ่งมิใชรัฐมนตรีหรือสมาชิกแหงสภานั้น

ในกรณีตามวรรคสอง ถาสมาชิกกลาวถอยคําใดที่อาจเปนเหตุใหบุคคลอื่นซึ่ง

มิใชรัฐมนตรีหรือสมาชิกแหงสภานั้นไดรับความเสียหาย ใหประธานแหงสภานั้นจัดใหมี

การโฆษณาคําชี้แจงตามที่บุคคลนั้นรองขอตามวิธีการและภายในระยะเวลาที่กําหนดใน

ขอบังคับการประชุมของสภานั้น ทั้งนี้ โดยไมกระทบกระเทือนถึงสิทธิของบุคคลในการ

ฟองคดีตอศาล

Page 85: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๗๖

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) มาตรา ๑๕๘ เอกสิทธิ์ที่บัญญัติไวในมาตรา ๑๕๗ ยอมคุมครองไปถึงผูพิมพ

และผูโฆษณารายงานการประชุมตามขอบังคับของสภาผูแทนราษฎร วุฒิสภา หรือ

รัฐสภา แลวแตกรณี และคุมครองไปถึงบุคคลซึ่งประธานในที่ประชุมอนุญาตใหแถลง

ขอเท็จจริง หรือแสดงความคิดเห็นในที่ประชุมตลอดจนผูดําเนินการถายทอดการประชุม

สภาทางวิทยุกระจายเสียงหรือวิทยุโทรทัศนที่ไดรับอนุญาตจากประธานแหงสภานั้น ดวย

โดยอนุโลม

เอกสิทธิ์ที่บัญญัติไวในมาตรานี้ ยอมคุมครองไปถึงผูพิมพและผูโฆษณา

รายงานการประชุมตามขอบังคับของสภาผูแทนราษฎร วุฒิสภา หรือรัฐสภา แลวแตกรณี และคุมครองไปถึงบุคคลซึ่งประธานในที่ประชุมอนุญาตใหแถลงขอเท็จจริง หรือแสดงความคิดเห็นในที่ประชุมตลอดจนผูดําเนินการถายทอดการประชุมสภาทาง

วิทยุกระจายเสียงหรือวิทยุโทรทัศนที่ไดรับอนุญาตจากประธานแหงสภานั้นดวยโดย

อนุโลม

มาตรา ๑๕๘ เอกสิทธิ์ที่บัญญัติไวในมาตรา ๑๕๗ ยอมคุมครองไปถึงผูพิมพและ

ผูโฆษณารายงานการประชุมตามขอบังคับของสภาผูแทนราษฎร วุฒิสภา หรือรัฐสภา

แลวแตกรณี และคุมครองไปถึงบุคคลซึ่งประธานในที่ประชุมอนุญาตใหแถลงขอเท็จจริง

หรือแสดงความคิดเห็นในที่ประชุมตลอดจนผูดําเนินการถายทอดการประชุมสภาทาง

วิทยุกระจายเสียงหรือวิทยุโทรทัศนที่ไดรับอนุญาตจากประธานแหงสภานั้น ดวย โดย

อนุโลม มาตรา ๑๖๕ ในระหวางสมัยประชุม หามมิใหจับ คุมขัง หรือหมายเรียกตัวสมาชิกสภาผูแทนราษฎรหรือสมาชิกวุฒิสภา ไปทําการสอบสวนในฐานะที่สมาชิกผูนั้นเปนผูตองหาในคดีอาญา เวนแตในกรณีที่ไดรับอนุญาตจากสภาที่ผูนั้นเปนสมาชิก หรือในกรณีที่จับในขณะกระทําความผิด ในกรณีที่มีการจับสมาชิกสภาผูแทนราษฎรหรือสมาชิกวุฒิสภาในขณะกระทํา

ความผิดใหรายงานไปยังประธานแหงสภาที่ผูนั้นเปนสมาชิกโดยพลัน และประธานแหงสภาที่ผูนั้นเปนสมาชิกอาจสั่งใหปลอยผูถูกจับได มาตรา ๑๖๖ ในกรณีที่มีการฟองสมาชิกสภาผูแทนราษฎรหรือสมาชิกวุฒิสภา

ในคดีอาญา ไมวาจะไดฟองนอกหรือในสมัยประชุม ศาลจะพิจารณาคดีนั้นในระหวาง

สมัยประชุมมิได เวนแตจะไดรับอนุญาตจากสภาที่ผูนั้นเปนสมาชิก หรือเปนคดีอันเกี่ยวกับกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรและ

มาตรา ๑๖๕๑๒๖ ในระหวางสมัยประชุม หามมิใหจับ คุมขัง หรือหมายเรียกตัวสมาชิกสภาผูแทนราษฎรหรือสมาชิกวุฒิสภา ไปทําการสอบสวนในฐานะที่สมาชิก

ผูนั้นเปนผูตองหาในคดีอาญา เวนแตในกรณีที่ไดรับอนุญาตจากสภาที่ผูนั้นเปนสมาชิก หรือในกรณีที่จับในขณะกระทําความผิด ในกรณีที่มีการจับสมาชิกสภาผูแทนราษฎรหรือสมาชิกวุฒิสภาในขณะกระทํา

ความผิดใหรายงานไปยังประธานแหงสภาที่ผูนั้นเปนสมาชิกโดยพลัน และประธานแหงสภาที่ผูนั้นเปนสมาชิกอาจสั่งใหปลอยผูถูกจับได ในกรณีที่มีการฟองสมาชิกสภาผูแทนราษฎรหรือสมาชิกวุฒิสภาในคดีอาญา ไมวาจะไดฟองนอกหรือในสมัยประชุม ศาลจะพิจารณาคดีนั้นในระหวางสมัยประชุมมิได เวนแตจะไดรับอนุญาตจากสภาที่ผูนั้นเปนสมาชิก หรือเปนคดีอันเกี่ยวกับพระราช

บัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรและการสรรหา

Page 86: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๗๗

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) สมาชิกวุฒิสภา กฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยคณะกรรมการการเลือกตั้ง หรือกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยพรรคการเมืองแตการพิจารณาคดีตองไมเปนการ

ขัดขวางตอการที่สมาชิกผูนั้นจะมาประชุมสภา การพิจารณาพิพากษาคดีที่ศาลไดกระทํากอนมีคําอางวาจําเลยเปนสมาชิกของ

สภาใดสภาหนึ่ง ยอมเปนอันใชได มาตรา ๑๖๗ ถาสมาชิกสภาผูแทนราษฎรหรือสมาชิกวุฒิสภา ถูกคุมขังในระหวางสอบสวนหรือพิจารณาอยูกอนสมัยประชุม เมื่อถึงสมัยประชุม พนักงานสอบสวนหรือศาล แลวแตกรณี ตองสั่งปลอยทันทีถาประธานแหงสภาที่ผูนั้นเปนสมาชิกไดรองขอ คําสั่งปลอยตามวรรคหนึ่งใหมีผลบังคับตั้งแตวันสั่งปลอยจนถึงวันสุดทายแหงสมัย

ประชุม

สมาชิกวุฒิสภา พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยคณะกรรมการการเลือกตั้ง หรือพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยพรรคการเมือง แตการพิจารณาคดีตอง

ไมเปนการขัดขวางตอการที่สมาชิกผูนั้นจะมาประชุมสภา

การพิจารณาพิพากษาคดีที่ศาลไดกระทํากอนมีคําอางวาจําเลยเปนสมาชิกของ

สภาใดสภาหนึ่ง ยอมเปนอันใชได ถาสมาชิกสภาผูแทนราษฎรหรือสมาชิกวุฒิสภาถูกคุมขังในระหวางสอบสวน

หรือพิจารณาอยูกอนสมัยประชุม เมื่อถึงสมัยประชุม พนักงานสอบสวนหรือศาล แลวแตกรณี ตองสั่งปลอยทันทีถาประธานแหงสภาที่ผูนั้นเปนสมาชิกไดรองขอ

คําสั่งปลอยใหมีผลบังคับตั้งแตวันสั่งปลอยจนถึงวันสุดทายแหงสมัยประชุม มาตรา ๑๖๖ ในกรณีที่มีการฟองสมาชิกสภาผูแทนราษฎรหรือสมาชิกวุฒิสภา

ในคดีอาญา ไมวาจะไดฟองนอกหรือในสมัยประชุม ศาลจะพิจารณาคดีนั้นในระหวาง

สมัยประชุมมิได เวนแตจะไดรับอนุญาตจากสภาที่ผูนั้นเปนสมาชิก หรือเปนคดีอัน เกี่ยวกับกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรและ

สมาชิกวุฒิสภา กฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยคณะกรรมการการเลือกตั้ง หรือกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยพรรคการเมืองแตการพิจารณาคดีตองไมเปนการ

ขัดขวางตอการที่สมาชิกผูนั้นจะมาประชุมสภา การพิจารณาพิพากษาคดีที่ศาลไดกระทํากอนมีคําอางวาจําเลยเปนสมาชิกของ

สภาใดสภาหนึ่ง ยอมเปนอันใชได มาตรา ๑๖๗ ถาสมาชิกสภาผูแทนราษฎรหรือสมาชิกวุฒิสภา ถูกคุมขังในระหวางสอบสวนหรือพิจารณาอยูกอนสมัยประชุม เมื่อถึงสมัยประชุม พนักงานสอบสวนหรือศาล แลวแตกรณี ตองสั่งปลอยทันทีถาประธานแหงสภาที่ผูนั้นเปนสมาชกิไดรองขอ คําสั่งปลอยตามวรรคหนึ่งใหมีผลบังคับตั้งแตวันสั่งปลอยจนถึงวันสุดทายแหงสมัย

ประชุม

Page 87: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๗๘

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) มาตรา ๑๖๘ ในระหวางที่อายุของสภาผูแทนราษฎรสิ้นสุดลงหรือสภา

ผูแทนราษฎรถูกยุบ จะมีการประชุมวุฒิสภามิได เวนแตเปนกรณีดังตอไปนี้

(๑) การประชุมที่ใหวุฒิสภาทําหนาที่รัฐสภาตามมาตรา ๑๙ มาตรา ๒๑ มาตรา

๒๒ มาตรา ๒๓ และมาตรา ๒๒๓ โดยถือคะแนนเสียงจากจํานวนสมาชิกของวุฒิสภา

(๒) การประชุมที่ใหวุฒิสภาทําหนาที่เลือก แตงตั้ง ใหคําแนะนํา หรือใหความ

เห็นชอบ ใหบุคคลดํารงตําแหนงใด ตามมาตรา ๑๓๘ มาตรา ๑๔๓ มาตรา ๑๙๖ มาตรา

๑๙๙ มาตรา ๒๕๗ มาตรา ๒๖๑ มาตรา ๒๗๔ (๓) มาตรา ๒๗๗ มาตรา ๒๗๘ มาตรา

๒๗๙ (๓) มาตรา ๒๙๗ มาตรา ๓๐๒ และมาตรา ๓๑๒

(๓) การประชุมที่ใหวุฒิสภาทําหนาที่พิจารณาและมีมติใหถอดถอนบุคคลออก

จากตําแหนง

มาตรา ๑๖๘๑๒๗ ในระหวางที่อายุของสภาผูแทนราษฎรสิ้นสุดลงหรือสภา

ผูแทนราษฎรถูกยุบ จะมีการประชุมวุฒิสภามิได เวนแตเปนกรณีดังตอไปนี้

(๑) การประชุมที่ใหวุฒิสภาทําหนาที่รัฐสภาตามมาตรา ๑๙ มาตรา ๒๑ มาตรา

๒๒ มาตรา ๒๓ และมาตรา ๒๒๓๑๘๕ โดยถือคะแนนเสียงจากจํานวนสมาชิกของ

วุฒิสภา

(๒) การประชุมที่ใหวุฒิสภาทําหนาที่เลือก แตงตั้ง ใหคําแนะนํา หรือใหความ

เห็นชอบ ใหบุคคลดํารงตําแหนงใดตามมาตรา ๑๓๘ มาตรา ๑๔๓ มาตรา ๑๙๖ มาตรา

๑๙๙ มาตรา ๒๕๗ มาตรา ๒๖๑ มาตรา ๒๗๔ (๓) มาตรา ๒๗๗ มาตรา ๒๗๘ มาตรา

๒๗๙ (๓) มาตรา ๒๙๗ มาตรา ๓๐๒ และมาตรา ๓๑๒บทบัญญัติของรัฐธรรมนูญนี ้

(๓) การประชุมที่ใหวุฒิสภาทําหนาที่พิจารณาและมีมติใหถอดถอนบุคคลออก

จากตําแหนง มาตรา ๑๘๒ สภาผูแทนราษฎรและวุฒิสภามีอํานาจควบคุมการบริหารราชการแผนดินโดยบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญนี ้

มาตรา ๑๘๒ สภาผูแทนราษฎรและวุฒิสภามีอํานาจควบคุมการบริหารราชการแผนดินโดยบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญนี้

มาตรา ๑๘๘ การประชุมสภาผูแทนราษฎร การประชุมวุฒิสภา และการประชุมรวมกันของรัฐสภา ยอมเปนการเปดเผยตามลักษณะที่กําหนดไวในขอบังคับการ

ประชุมแตละสภา แตถาคณะรัฐมนตรี หรือสมาชิกของแตละสภา หรือสมาชิกของทั้งสอง

สภารวมกัน มีจํานวนไมนอยกวาหนึ่งในสี่ของจํานวนสมาชิกทั้งหมดเทาที่มีอยูของแตละ สภา หรือจํานวนสมาชิกของทั้งสองสภาเทาที่มีอยูรวมกัน แลวแตกรณี รองขอใหประชุม

ลับ ก็ใหประชุมลับ

มาตรา ๑๘๘๑๒๘ การประชุมสภาผูแทนราษฎร การประชุมวุฒิสภา และการประชุมรวมกันของรัฐสภา ยอมเปนการเปดเผยตามลักษณะที่กําหนดไวในขอบังคับการ

ประชุมแตละสภา แตถาคณะรัฐมนตรี หรือสมาชิกของแตละสภา หรือสมาชิกของทั้งสอง

สภารวมกัน มีจํานวนไมนอยกวาหนึ่งในสี่ของจํานวนสมาชิกทั้งหมดเทาที่มีอยูของแตละสภา หรือจํานวนสมาชิกของทั้งสองสภาเทาที่มีอยูรวมกัน แลวแตกรณี รองขอใหประชุม

ลับ ก็ใหประชุมลับ มาตรา ๑๙๑ สภาผูแทนราษฎรและวุฒิสภา มีอํานาจตราขอบังคับการประชุมเกี่ยวกับการเลือกและการปฏิบัติหนาที่ของประธานสภา รองประธานสภา เรื่องหรือกิจการอันเปนอํานาจหนาที่ของคณะกรรมาธิการสามัญแตละชุด การปฏิบัติหนาที่และ

มาตรา ๑๙๑๑๒๙ สภาผูแทนราษฎรและวุฒิสภามีอํานาจตราขอบังคับการประชุมเกี่ยวกับการเลือกและการปฏิบัติหนาที่ของประธานสภา รองประธานสภา เรื่องหรือกิจการอันเปนอํานาจหนาที่ของคณะกรรมาธิการสามัญแตละชุด การปฏบิัติหนาที่

Page 88: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๗๙

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) องคประชุมของคณะกรรมาธิการ วิธีการประชุม การเสนอและพิจารณารางพระราช

บัญญัติและรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ การเสนอญัตติ การปรึกษา การอภิปราย การลงมติ การบันทึกการลงมติ การเปดเผยการลงมต ิการตั้งกระทูถาม การ

เปดอภิปรายทั่วไป การรักษาระเบียบและความเรียบรอย ประมวลจริยธรรมของสมาชิกและกรรมาธิการ และกิจการอื่นเพื่อดําเนินการตามบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญนี้

และองคประชุมของคณะกรรมาธิการ วิธีการประชุม การเสนอและพิจารณารางพระราช

บัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญและรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ การเสนอญัตติ การปรึกษา การอภิปราย การลงมติ การบันทึกการลงมติ การเปดเผยการลงมต ิการตั้งกระทูถาม การเปดอภิปรายทั่วไป การรักษาระเบียบและความเรียบรอย ประมวลจริยธรรมของสมาชิกและกรรมาธิการ และกิจการอื่นเพื่อดําเนินการตามบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญนี้

มาตรา ๑๘๙ สภาผูแทนราษฎรและวุฒิสภา มีอํานาจเลือกสมาชิกของแตละสภาตั้งเปนคณะกรรมาธิการสามัญ และมีอํานาจเลือกบุคคลผูเปนสมาชิกหรือมิไดเปนสมาชิก ตั้งเปนคณะกรรมาธิการวิสามัญ เพื่อกระทํากิจการ พิจารณาสอบสวน หรือ

ศึกษาเรื่องใด ๆ อันอยูในอํานาจหนาที่ของสภา แลวรายงานตอสภา มติตั้งคณะ

กรรมาธิการวิสามัญดังกลาวตองระบุกิจการหรือเรื่องใหชัดเจนและไมซ้ําหรือซอนกัน คณะกรรมาธิการตามวรรคหนึ่งยอมมีอํานาจออกคําสั่งเรียกเอกสารจากบุคคล

ใด หรือเรียกบุคคลใด มาแถลงขอเท็จจริง หรือแสดงความเห็นในกิจการที่กระทําหรือในเรื่องที่พิจารณาสอบสวนหรือศึกษาอยูนั้นได ในกรณีที่บุคคลตามวรรคสองเปนขาราชการ พนักงาน หรือลูกจางของหนวย

ราชการ หนวยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือราชการสวนทองถิ่น ใหประธานคณะ

กรรมาธิการแจงใหรัฐมนตรีซึ่งบังคับบัญชาหรือกํากับดูแลหนวยงานที่บุคคลนั้นสังกัด

ทราบและมีคําสั่งใหบุคคลนั้นดําเนินการตามวรรคสอง เวนแตเปนกรณีที่เกี่ยวกับความ ปลอดภัยหรือประโยชนสําคัญของแผนดิน ใหถือวาเปนเหตุยกเวนการปฏิบัติตามวรรคสอง เอกสิทธิ์ที่บัญญัติไวในมาตรา ๑๕๗ และมาตรา ๑๕๘ นั้น ใหคุมครองถึงบุคคล

ผูกระทําหนาที่ตามมาตรานี้ดวย

มาตรา ๑๘๙๑๓๐ สภาผูแทนราษฎรและวุฒิสภา มีอํานาจเลือกสมาชิกของแตละสภาตั้งเปนคณะกรรมาธิการสามัญ และมีอํานาจเลือกบุคคลผูเปนสมาชิกหรือมิไดเปนสมาชิก ตั้งเปนคณะกรรมาธิการวิสามัญ เพื่อกระทํากิจการ พิจารณาสอบสวน หรือ

ศึกษาเรื่องใด ๆ อันอยูในอํานาจหนาที่ของสภา แลวรายงานตอสภา มติตั้งคณะ

กรรมาธิการวิสามัญดังกลาวตองระบุกิจการหรือเรื่องใหชัดเจนและไมซ้ําหรือซอนกัน คณะกรรมาธิการตามวรรคหนึ่งยอมมีอํานาจออกคําสั่งเรียกเอกสารจากบุคคล

ใด หรือเรียกบุคคลใดมาแถลงขอเท็จจริง หรือแสดงความเห็นในกิจการที่กระทําหรือในเรื่องที่พิจารณาสอบสวนหรือศึกษาอยูนั้นได ในกรณีที่บุคคลตามวรรคสองเปนขาราชการ พนักงาน หรือลูกจางของหนวย

ราชการ หนวยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือราชการสวนทองถิ่น ใหประธานคณะ

กรรมาธิการแจงใหรัฐมนตรีซึ่งบังคับบัญชาหรือกํากับดูแลหนวยงานที่บุคคลนั้นสังกัด

ทราบและมีคําสั่งใหบุคคลนั้นดําเนินการตามวรรคสอง เวนแตเปนกรณีที่เกี่ยวกับความ

ปลอดภัยหรือประโยชนสําคัญของแผนดิน ใหถือวาเปนเหตุยกเวนการปฏิบัติตามวรรคสอง เอกสิทธิ์ที่บัญญัติไวในมาตรา ๑๕๗ และมาตรา ๑๕๘๑๒๕ นั้น ใหคุมครองถึง

บุคคลผูกระทําหนาที่ตามมาตรานี้ดวย

Page 89: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๘๐

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) กรรมาธิการสามัญซึ่งตั้งจากผูซึ่งเปนสมาชิกสภาผูแทนราษฎรทั้งหมด ตองมี

จํานวนตามหรือใกลเคียงกับอัตราสวนของจํานวนสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของแตละ

พรรคการเมืองหรือกลุมพรรคการเมืองที่มีอยูในสภาผูแทนราษฎร ในระหวางที่ยังไมมีขอบังคับการประชุมสภาผูแทนราษฎรตามมาตรา ๑๙๑ ใหประธานสภาผูแทนราษฎรเปนผูกําหนดอัตราสวนตามวรรคหา

กรรมาธิการสามัญซึ่งตั้งจากผูซึ่งเปนสมาชิกสภาผูแทนราษฎรทั้งหมด ตองมี

จํานวนตามหรือใกลเคียงกับอัตราสวนของจํานวนสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของแตละ

พรรคการเมืองหรือกลุมพรรคการเมืองที่มีอยูในสภาผูแทนราษฎร ในระหวางที่ยังไมมีขอบังคับการประชุมสภาผูแทนราษฎรตามมาตรา

๑๙๑๑๒๙ ใหประธานสภาผูแทนราษฎรเปนผูกําหนดอัตราสวนตามวรรคหา มาตรา ๑๙๒ สาระสําคัญที่ตองมีในกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญเรื่องตาง ๆ ตามที่บัญญัติไวในบทเฉพาะกาล ใหเปนสาระสําคัญที่ตองมีในกฎหมายประกอบ

รัฐธรรมนูญเรื่องนั้น ๆ ตามรัฐธรรมนูญนี ้

มาตรา ๑๙๒ สาระสําคัญที่ตองมีในกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญเรื่องตาง ๆ ตามที่บัญญัติไวในบทเฉพาะกาล ใหเปนสาระสําคัญที่ตองมีในกฎหมายประกอบ

รัฐธรรมนูญเรื่องนั้น ๆ ตามรัฐธรรมนูญนี ้

สวนที่ ๖ การประชุมรวมกันของรัฐสภา

สวนที่ ๖๕

การประชุมรวมกันของรัฐสภา

มาตรา ๑๙๓ ในกรณีตอไปนี้ ใหรัฐสภาประชุมรวมกัน

(๑) การใหความเห็นชอบในการแตงตั้งผูสําเร็จราชการแทนพระองค ตาม

มาตรา ๑๙

(๒) การปฏิญาณตนของผูสําเร็จราชการแทนพระองคตอรัฐสภาตามมาตรา ๒๑

(๓) การรับทราบการแกไขเพิ่มเติมกฎมณเฑียรบาลวาดวยการสืบราชสันตติ

วงศ พระพุทธศักราช ๒๔๖๗ มาตรา ๒๒

(๔) การรับทราบหรือใหความเห็นชอบในการสืบราชสมบัติตามมาตรา ๒๓

(๕) การปรึกษารางพระราชบัญญัติหรือรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ

ใหมมาตรา ๙๔

มาตรา ๑๙๓๑๓๑ ในกรณีตอไปนี้ ใหรัฐสภาประชุมรวมกัน

(๑) การใหความเห็นชอบในการแตงตั้งผูสําเร็จราชการแทนพระองค ตาม

มาตรา ๑๙

(๒) การปฏิญาณตนของผูสําเร็จราชการแทนพระองคตอรัฐสภาตามมาตรา ๒๑

(๓) การรับทราบการแกไขเพิ่มเติมกฎมณเฑียรบาลวาดวยการสืบราชสันตติ

วงศ พระพุทธศักราช ๒๔๖๗ มาตรา ๒๒

(๔) การรับทราบหรือใหความเห็นชอบในการสืบราชสมบัติตามมาตรา ๒๓

(๕) การปรึกษารางพระราชบัญญัติหรอืรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ

ใหมมาตรา ๙๔

Page 90: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๘๑

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) (๖) การมีมติใหรัฐสภาพิจารณาเรื่องอื่นในสมัยประชุมสามัญนิติบัญญัติไดตาม

มาตรา ๑๕๙

(๗) การใหความเห็นชอบในการปดสมัยประชุมตามมาตรา ๑๖๐

(๘) การเปดประชุมรัฐสภาตามมาตรา ๑๖๑

(๙) การใหความเห็นชอบใหพิจารณารางรัฐธรรมนูญหรือรางพระราชบัญญัติ

ประกอบรัฐธรรมนูญตามมาตรา ๑๗๓

(๑๐) การใหความเห็นชอบใหพิจารณารางรัฐธรรมนูญแกไขเพิ่มเติม ราง

พระราชบัญญัติหรือรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนญูตอไปตามมาตรา ๑๗๘ วรรค

สอง

(๑๑) การตราขอบังคับการประชุมรัฐสภาตามมาตรา ๑๙๔

(๑๒) การแถลงนโยบายตามมาตรา ๒๑๑

(๑๓) การเปดอภิปรายทั่วไปตามมาตรา ๒๑๓

(๑๔) การใหความเห็นชอบในการประกาศสงครามตามมาตรา ๒๒๓

(๑๕) การใหความเห็นชอบหนังสือสัญญาตามมาตรา ๒๒๔

(๑๖) การแกไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญตามมาตรา ๓๑๓

(๖๕) การมีมติใหรัฐสภาพิจารณาเรื่องอื่นในสมัยประชุมสามัญนิติบัญญัติไดตาม

มาตรา ๑๕๙๑๒๒

(๗๖) การใหความเห็นชอบในการปดสมัยประชุมตามมาตรา ๑๖๐๑๒๒

(๘๗) การเปดประชุมรัฐสภาตามมาตรา ๑๖๑๑๒๓

(๘) การตราขอบังคับการประชุมรัฐสภาตามมาตรา ๑๓๒

(๙) การใหความเห็นชอบใหพิจารณารางรัฐธรรมนูญประกอบรัฐธรรมนูญหรือ

รางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญตามมาตรา ๑๗๓๑๔๑

(๑๐) การปรึกษารางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญหรือรางพระราช

บัญญัติใหมตามมาตรา ๑๔๗

(๑๐๑๑) การใหความเห็นชอบใหพิจารณารางรัฐธรรมนูญแกไขเพิ่มเติม ราง

พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ หรือรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญตอไป

ตามมาตรา ๑๗๘๑๔๙ วรรคสอง

(๑๑) การตราขอบังคับการประชุมรัฐสภาตามมาตรา ๑๙๔

(๑๒) การแถลงนโยบายตามมาตรา ๒๑๑๑๗๒

(๑๓) การเปดอภิปรายทั่วไปตามมาตรา ๒๑๓๑๗๕

(๑๔) การใหความเห็นชอบในการประกาศสงครามตามมาตรา ๒๒๓๑๘๕

(๑๕) การรับฟงคําชี้แจงและการใหความเห็นชอบหนังสือสนธิสัญญาตามมาตรา

๒๒๔๑๘๖

(๑๖) การแกไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญตามมาตรา ๓๑๓๒๘๒

มาตรา ๑๙๔ ในการประชุมรวมกันของรัฐสภาใหใชขอบังคับการประชุมรัฐสภา ในระหวางที่ยังไมมีขอบังคับการประชุมรัฐสภา ใหใชขอบังคับการประชุมสภาผูแทน

ราษฎรโดยอนุโลมไปพลางกอน

มาตรา ๑๙๔๑๓๒ ในการประชุมรวมกันของรัฐสภาใหใชขอบังคับการประชุมรัฐสภา ในระหวางที่ยังไมมีขอบังคับการประชุมรัฐสภา ใหใชขอบังคับการประชุมสภาผูแทนราษฎรโดยอนุโลมไปพลางกอน

Page 91: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๘๒

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) มาตรา ๑๙๕ ในการประชุมรวมกันของรัฐสภา ใหนําบทที่ใชแก สภาทั้งสองมาใชบังคับโดยอนุโลม เวนแตในเรื่องการตั้งคณะกรรมาธิการ กรรมาธิการซึ่งตั้งจากผูซึ่ง

เปนสมาชิกของแตละสภา จะตองมีจํานวนตามหรือใกลเคียงกับอัตราสวนของจํานวนสมาชิกของแตละสภา

ในการประชุมรวมกันของรัฐสภา ใหนําบทที่ใชแกสภาทั้งสองมาใชบังคับโดย

อนุโลม เวนแตในเรื่องการตั้งคณะกรรมาธิการ กรรมาธิการซึ่งตั้งจากผูซึ่งเปนสมาชิกของ

แตละสภาจะตองมีจํานวนตามหรือใกลเคียงกับอัตราสวนของจํานวนสมาชิกของแตละ

สภา มาตรา ๑๙๕ ในการประชุมรวมกันของรัฐสภา ใหนําบทที่ใชแก สภาทั้งสองมาใชบังคับโดยอนุโลม เวนแตในเรื่องการตั้งคณะกรรมาธิการ กรรมาธิการซึ่งตั้งจากผูซึ่ง เปนสมาชิกของแตละสภา จะตองมีจํานวนตามหรือใกลเคียงกับอัตราสวนของจํานวนสมาชิกของแตละสภา

สวนที่ ๖

การตราพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ

มาตรา ๑๓๓ รางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญจะตราขึ้นเปนกฎหมาย

ไดก็แตโดยคําแนะนําและยินยอมของรัฐสภา

ใหมีพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ ดังตอไปนี ้

(๑) พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทน

ราษฎรและการสรรหาสมาชิกวุฒิสภา

(๒) พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยคณะกรรมการการเลือกตั้ง

(๓) พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยพรรคการเมือง

(๔) พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการออกเสียงประชามต ิ

(๕) พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยวิธีพิจารณาของศาลรัฐธรรมนูญ

Page 92: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๘๓

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) (๖) พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยวิธีพิจารณาคดีอาญาของผูดํารง

ตําแหนงทางการเมือง

(๗) พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยผูตรวจการแผนดินของรัฐสภา

(๘) พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการปองกันและปราบปรามการ

ทุจริต

(๙) พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการตรวจเงินแผนดิน

มาตรา ๑๓๔ รางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญจะเสนอไดก็แตโดย

(๑) สมาชิกสภาผูแทนราษฎรจํานวนไมนอยกวาหนึ่งในหาของจํานวนสมาชิก

ทั้งหมดเทาที่มีอยูของสภาผูแทนราษฎร หรือสมาชิกสภาผูแทนราษฎรและสมาชิก

วุฒิสภา มีจํานวนไมนอยกวาหนึ่งในหาของจํานวนสมาชิกทั้งหมดเทาที่มีอยูของทั้งสอง

สภา หรือ

(๒) ศาลรัฐธรรมนูญ ศาลฎีกา หรือองคกรอิสระตามรัฐธรรมนูญ ซึ่งเปน

ผูรักษาการตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนั้น

มาตรา ๑๓๕ การพิจารณารางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญของสภา

ผูแทนราษฎรและวุฒิสภาใหกระทําเปนสามวาระ ดังตอไปนี ้

(๑) การออกเสียงลงคะแนนในวาระที่หนึ่งขั้นรับหลักการ และในวาระที่สองขั้น

พิจารณาเรียงลําดับมาตรา ใหถือเสียงขางมากของแตละสภา

(๒) การออกเสียงลงคะแนนในวาระที่สาม ตองมีคะแนนเสียงเห็นชอบดวยใน

การที่จะใหออกใชเปนพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญมากกวากึ่งหนึ่งของจํานวน

สมาชิกทั้งหมดเทาที่มีอยูของแตละสภา

ใหนําบทบัญญัติในหมวด ๖ สวนที่ ๗ การตราพระราชบัญญัติ มาใชบังคับกับ

การพิจารณารางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญดวยโดยอนุโลม

Page 93: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๘๔

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) มาตรา ๑๓๖ เมื่อรัฐสภาใหความเห็นชอบกับรางพระราชบัญญัติประกอบ

รัฐธรรมนูญแลว กอนนําขึ้นทูลเกลาทูลกระหมอมถวายเพื่อทรงลงพระปรมาภิไธย ใหสง

ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาความชอบดวยรัฐธรรมนูญซึ่งตองกระทําใหแลวเสร็จภายใน

สามสิบวันนับแตวันที่ไดรับเรื่อง

คําวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญที่วินิจฉัยวารางพระราชบัญญัติประกอบ

รัฐธรรมนูญใดมีขอความขัดหรือแยงตอรัฐธรรมนูญ ใหขอความที่ขัดหรือแยงนั้นเปนอัน

ตกไป ในกรณีที่วินิจฉัยวาขอความดังกลาวเปนสาระสําคัญหรือรางพระราชบัญญัติ

ประกอบรัฐธรรมนูญตราขึ้นโดยไมถูกตองตามบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญ ใหราง

พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนั้นเปนอันตกไป สวนที่ ๗

การตราพระราชบัญญัติ

มาตรา ๙๒ รางพระราชบัญญัติหรือรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญจะตราขึ้นเปนกฎหมายไดก็แตโดยคําแนะนําและยินยอมของรัฐสภา

มาตรา ๙๒๑๓๗ รางพระราชบัญญัติหรือรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญจะตราขึ้นเปนกฎหมายไดก็แตโดยคําแนะนําและยินยอมของรัฐสภา

มาตรา ๑๖๙ ภายใตบังคับมาตรา ๑๗๐ รางพระราชบัญญัติหรือรางพระราช

บัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญจะเสนอไดก็แตโดยสมาชิกสภาผูแทนราษฎรหรือคณะ

รัฐมนตรี แตรางพระราชบัญญัติเกี่ยวดวยการเงิน สมาชิกสภาผูแทนราษฎรจะเสนอไดก็

ตอเมื่อมีคํารับรองของนายกรัฐมนตรี

การเสนอรางพระราชบัญญัติหรือรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญของ

สมาชิกสภาผูแทนราษฎร จะกระทําไดเมื่อพรรคการเมืองที่สมาชิกสภาผูแทนราษฎรผูนั้น

สังกัด มีมตใิหเสนอได และตองมีสมาชิกสภาผูแทนราษฎรไมนอยกวายี่สิบคนรับรอง

มาตรา ๑๖๙๑๓๘ ภายใตบังคับมาตรา ๑๗๐๑๓๔ รางพระราชบัญญัติหรือราง

พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญจะเสนอไดก็แตโดยสมาชิกสภาผูแทนราษฎรหรือ

คณะรัฐมนตรี แตรางพระราชบัญญัติเกี่ยวดวยการเงิน สมาชิกสภาผูแทนราษฎรจะเสนอ

ไดก็ตอเมื่อมีคํารับรองของนายกรัฐมนตรี

(๑) คณะรัฐมนตร ี

(๒) สมาชิกสภาผูแทนราษฎรจํานวนไมนอยกวายี่สิบคน

Page 94: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๘๕

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) รางพระราชบัญญัติเกี่ยวกับการเงิน หมายความถึงรางพระราชบัญญัติวาดวย

เรื่องใดเรื่องหนึ่ง ตอไปนี้

(๑) การตั้งขึ้น ยกเลิก ลด เปลี่ยนแปลง แกไข ผอน หรือวางระเบียบการบังคับ

อันเกี่ยวกับภาษีหรืออากร

(๒) การจัดสรร รับ รักษา หรือจายเงินแผนดิน หรือการโอนงบประมาณรายจาย

ของแผนดิน

(๓) การกูเงิน การค้ําประกัน หรือการใชเงินกู

(๔) เงินตรา

ในกรณีที่เปนที่สงสัยวารางพระราชบัญญัติหรือรางพระราชบัญญัติประกอบ

รัฐธรรมนูญใดเปนรางพระราชบัญญัติเกี่ยวดวยการเงินที่จะตองมีคํารับรองของนายก

รัฐมนตรีหรือไมใหเปนอํานาจของที่ประชุมรวมกันของประธานสภาผูแทนราษฎร และ

ประธานคณะกรรมาธิการสามัญของสภาผูแทนราษฎรทุกคณะเปนผูวินิจฉัย

ใหประธานสภาผูแทนราษฎรจัดใหมีการประชมุรวมกันเพื่อพิจารณากรณีตาม

วรรคสี่ภายในสิบหาวันนับแตวันที่มีกรณีดังกลาว

มติของที่ประชุมรวมกันตามวรรคสี่ใหใชเสียงขางมากเปนประมาณ ถาคะแนน

เสียงเทากันใหประธานสภาผูแทนราษฎรออกเสียงเพิ่มขึ้นอีกเสียงหนึ่งเปนเสียงชี้ขาด

มาตรา ๑๗๒ รางพระราชบัญญัติและรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญใหเสนอตอสภาผูแทนราษฎรกอน

(๓) ศาลหรือองคกรอิสระตามรัฐธรรมนูญ เฉพาะกฎหมายที่เกี่ยวกับการจัด

องคกรและกฎหมายที่องคกรนั้นเปนผูรักษาการ หรือ

(๔) ผูมีสิทธิเลือกตั้งจํานวนไมนอยกวาสองหมื่นคนเขาชื่อเสนอกฎหมายตาม

มาตรา ๑๕๙

ในกรณีที่รางพระราชบัญญัติซึ่งมีผูเสนอตาม (๒) (๓) หรือ (๔) เปนราง

พระราชบัญญัติเกี่ยวดวยการเงินจะเสนอไดก็ตอเมื่อมีคํารับรองของนายกรัฐมนตรี

รางพระราชบัญญัติใหเสนอตอสภาผูแทนราษฎรกอน

ในการเสนอรางพระราชบัญญัติตามวรรคหนึ่งตองมีบันทึกวิเคราะหสรุป

สาระสําคัญของรางพระราชบัญญัติเสนอมาพรอมกับรางพระราชบัญญัติดวย

รางพระราชบัญญัติที่เสนอตอรัฐสภาตองเปดเผยใหประชาชนทราบและให

ประชาชนสามารถเขาถึงขอมูลรายละเอียดของรางพระราชบัญญัตินั้นไดโดยสะดวก

การเสนอรางพระราชบัญญัติหรือรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญของ

สมาชิกสภาผูแทนราษฎร จะกระทําไดเมื่อพรรคการเมืองที่สมาชิกสภาผูแทนราษฎรผูนั้น

สังกัด มีมติใหเสนอได และตองมีสมาชิกสภาผูแทนราษฎรไมนอยกวายี่สิบคนรับรอง

รางพระราชบัญญัติเกี่ยวกับการเงิน หมายความถึงรางพระราชบัญญัติวาดวย

เรื่องใดเรื่องหนึ่ง ตอไปนี้

(๑) การตั้งขึ้น ยกเลิก ลด เปลี่ยนแปลง แกไข ผอน หรือวางระเบียบการบังคับ

อันเกี่ยวกับภาษีหรืออากร

(๒) การจัดสรร รับ รักษา หรือจายเงินแผนดิน หรือการโอนงบประมาณรายจาย

ของแผนดิน

(๓) การกูเงิน การค้ําประกัน หรือการใชเงินกู

(๔) เงินตรา

Page 95: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๘๖

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) ในกรณีที่เปนที่สงสัยวารางพระราชบัญญัติหรือรางพระราชบัญญัติประกอบ

รัฐธรรมนูญใดเปนรางพระราชบัญญัติเกี่ยวดวยการเงินที่จะตองมีคํารับรองของนายก

รัฐมนตรีหรือไมใหเปนอํานาจของที่ประชุมรวมกันของประธานสภาผูแทนราษฎร และ

ประธานคณะกรรมาธิการสามัญของสภาผูแทนราษฎรทุกคณะเปนผูวินิจฉัย

ใหประธานสภาผูแทนราษฎรจัดใหมีการประชมุรวมกันเพื่อพิจารณากรณีตาม

วรรคสี่ภายในสิบหาวันนับแตวันที่มีกรณีดังกลาว

มติของที่ประชุมรวมกันตามวรรคสี่ใหใชเสียงขางมากเปนประมาณ ถาคะแนน

เสียงเทากันใหประธานสภาผูแทนราษฎรออกเสียงเพิ่มขึ้นอีกเสียงหนึ่งเปนเสียงชี้ขาด

มาตรา ๑๗๒ รางพระราชบัญญัติและรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญใหเสนอตอสภาผูแทนราษฎรกอน

มาตรา ๑๓๙ รางพระราชบัญญัติเกี่ยวดวยการเงิน หมายความถึงรางพระราช

บัญญัติวาดวยเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ดังตอไปนี ้

(๑) การตั้งขึ้น ยกเลิก ลด เปลี่ยนแปลง แกไข ผอน หรือวางระเบียบการ

บังคับอันเกี่ยวกับภาษีหรืออากร

(๒) การจัดสรร รับ รักษา หรือจายเงินแผนดิน หรือการโอนงบประมาณรายจาย

ของแผนดิน

(๓) การกูเงิน การค้ําประกัน การใชเงินกู หรือการดําเนินการที่ผูกพันทรัพยสิน

ของรัฐ

(๔) เงินตรา

ในกรณีที่เปนที่สงสัยวารางพระราชบัญญัติใดเปนรางพระราชบัญญัติเกี่ยวดวย

การเงินที่จะตองมีคํารับรองของนายกรัฐมนตรีหรือไม ใหเปนอํานาจของที่ประชุมรวมกัน

ของประธานสภาผูแทนราษฎรและประธานคณะกรรมาธิการสามัญของสภาผูแทนราษฎร

ทุกคณะ เปนผูวินิจฉัย

Page 96: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๘๗

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) ใหประธานสภาผูแทนราษฎรจัดใหมีการประชมุรวมกันเพื่อพิจารณากรณีตาม

วรรคสองภายในสิบหาวันนับแตวันที่มีกรณีดังกลาว

มติของที่ประชุมรวมกันตามวรรคสองใหใชเสียงขางมากเปนประมาณ ถา

คะแนนเสียงเทากัน ใหประธานสภาผูแทนราษฎรออกเสียงเพิ่มขึ้นอีกเสียงหนึ่งเปนเสียง

ชี้ขาด

มาตรา ๑๗๑ รางพระราชบัญญัติหรือรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญใดที่สมาชิกสภาผูแทนราษฎรเปนผูเสนอและในขั้นรับหลักการไมเปนรางพระราชบัญญัติ เกี่ยวดวยการเงิน แตสภาผูแทนราษฎรไดแกไขเพิ่มเติม และประธานสภาผูแทนราษฎร

เห็นวาการแกไขเพิ่มเติมนั้นทําใหมีลักษณะเปนรางพระราชบัญญัติเกี่ยวดวยการเงิน ให

ประธานสภาผูแทนราษฎรสั่งระงับการพิจารณาไวกอน และภายในสิบหาวันนับแตวันที่มีกรณีดังกลาว ใหประธานสภาผูแทนราษฎรสงรางพระราชบัญญัติหรือรางพระราชบัญญัติ

ประกอบรัฐธรรมนูญนั้นไปใหที่ประชุมรวมกันของประธานสภาผูแทนราษฎรและประธาน

คณะกรรมาธิการสามัญของสภาผูแทนราษฎรทุกคณะเปนผูวินิจฉัย ถาที่ประชุมรวมกันวินิจฉัยวาการแกไขเพิ่มเติมนั้นทําใหรางพระราชบัญญัติหรือรางพระราชบัญญัติประกอบ

รัฐธรรมนูญนั้นมีลักษณะเปนรางพระราชบัญญัติเกี่ยวดวยการเงิน ใหประธานสภาผูแทน

ราษฎรสงรางพระราชบัญญัติหรือรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนั้นไปใหนายก

รัฐมนตรีรับรอง ในกรณีที่นายกรัฐมนตรีไมใหคํารับรอง ใหสภาผูแทนราษฎรดําเนินการ แกไขเพื่อมิใหรางพระราชบัญญัติหรือรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนั้นเปนราง

พระราชบัญญัติเกี่ยวดวยการเงิน

มาตรา ๑๗๑๑๔๐ รางพระราชบัญญัติหรือรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญใดที่สมาชิกสภาผูแทนราษฎรเปนผูเสนอและในขั้นรับหลักการไมเปนราง

พระราชบัญญัติเกี่ยวดวยการเงิน แตสภาผูแทนราษฎรไดแกไขเพิ่มเติม และประธาน

สภาผูแทนราษฎรเห็นวาการแกไขเพิ่มเติมนั้นทําใหมีลักษณะเปนรางพระราชบัญญัติ

เกี่ยวดวยการเงิน ใหประธานสภาผูแทนราษฎรสั่งระงับการพิจารณาไวกอน และภายในสิบหาวันนับแตวันที่มีกรณีดังกลาว ใหประธานสภาผูแทนราษฎรสงรางพระราชบัญญัติ

หรือรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนั้นไปใหที่ประชุมรวมกันของประธานสภา

ผูแทนราษฎรและประธานคณะกรรมาธิการสามัญของสภาผูแทนราษฎรทุกคณะเปน

ผูวินิจฉัย ถาที่ประชุมรวมกันวินิจฉัยวาการแกไขเพิ่มเติมนั้นทําใหรางพระราชบัญญัติหรือรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนั้นมีลักษณะเปนรางพระราชบัญญัติเกี่ยว

ดวยการเงิน ใหประธานสภาผูแทนราษฎรสงรางพระราชบัญญัติหรือรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนั้นไปใหนายกรัฐมนตรีรับรอง ในกรณีที่นายกรัฐมนตรีไมใหคํา

รับรอง ใหสภาผูแทนราษฎรดําเนินการแกไขเพื่อมิใหรางพระราชบัญญัติหรือรางพระราช

บัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนั้นเปนรางพระราชบัญญัติเกี่ยวดวยการเงิน ในกรณีที่ที่ประชุมรวมกันตามวรรคหนึ่งวินิจฉัยวาการแกไขเพิ่มเติมนั้น ทําให

รางพระราชบัญญัตินั้นมีลักษณะเปนรางพระราชบัญญัติเกี่ยวดวยการเงิน ใหประธาน

สภาผูแทนราษฎรสงรางพระราชบัญญัตินั้นไปใหนายกรัฐมนตรีรับรอง ในกรณีที่นายก

Page 97: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๘๘

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) รัฐมนตรีไมใหคํารับรอง ใหสภาผูแทนราษฎรดําเนินการแกไขเพื่อมิใหรางพระราช

บัญญัตินั้นเปนรางพระราชบัญญัติเกี่ยวดวยการเงิน

มาตรา ๑๗๓ รางพระราชบัญญัติที่คณะรัฐมนตรีระบุไวในนโยบายที่แถลงตอ

รัฐสภาตามมาตรา ๒๑๑ วาจําเปนตอการบริหารราชการแผนดิน หรือรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญใด หากสภาผูแทนราษฎรมีมติไมใหความเห็นชอบ และคะแนนเสียงที่ไมใหความเห็นชอบไมถึงกึ่งหนึ่งของจํานวนสมาชิกสภาผูแทนราษฎรทั้งหมดเทาที่มี

อยู คณะรัฐมนตรีอาจขอใหรัฐสภาประชุมรวมกันเพื่อมีมติอีกครั้งหนึ่ง หากรัฐสภามีมติใหความเห็นชอบ ใหตั้งบุคคลซึ่งเปนหรือมิไดเปนสมาชิกของแตละสภามีจํานวนเทากัน ตามที่คณะรัฐมนตรีเสนอ ประกอบกันเปนคณะกรรมาธิการรวมกันของรัฐสภาเพื่อ

พิจารณารางพระราชบัญญัติหรือรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนั้น และใหคณะกรรมาธิการรวมกันของรัฐสภารายงานและเสนอรางพระราชบัญญัติหรือราง

พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญที่ไดพิจารณาแลวตอรัฐสภา ถารัฐสภามีมติเห็นชอบดวยรางพระราชบัญญัติหรือรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนั้น ใหดําเนินการตอไปตามมาตรา ๙๓ ถารัฐสภามีมติไมใหความเห็นชอบ ใหรางพระราชบัญญัติหรือรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนั้นเปนเปนตกไป

มาตรา ๑๗๓๑๔๑ รางพระราชบัญญัติที่คณะรัฐมนตรีระบุไวในนโยบายที่แถลง

ตอรัฐสภาตามมาตรา ๒๑๑๑๗๒ วาจําเปนตอการบริหารราชการแผนดิน หรือรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญใด หากสภาผูแทนราษฎรมีมติไมใหความเห็นชอบ และคะแนนเสียงที่ไมใหความเห็นชอบไมถึงกึ่งหนึ่งของจํานวนสมาชิกสภาผูแทนราษฎร

ทั้งหมดเทาที่มีอยู คณะรัฐมนตรีอาจขอใหรัฐสภาประชุมรวมกันเพื่อมีมติอีกครั้งหนึ่ง หากรัฐสภามีมติใหความเห็นชอบ ใหตั้งบุคคลซึ่งเปนหรือมิไดเปนสมาชิกของแตละสภามีจํานวนเทากันตามที่คณะรัฐมนตรีเสนอ ประกอบกันเปนคณะกรรมาธิการรวมกันของ

รัฐสภาเพื่อพิจารณารางพระราชบัญญัติหรือรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนั้น และใหคณะกรรมาธิการรวมกันของรัฐสภารายงานและเสนอรางพระราชบัญญัติหรือราง

พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญที่ไดพิจารณาแลวตอรัฐสภา ถารัฐสภามีมติเห็นชอบดวยรางพระราชบัญญัติหรือรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนั้น ใหดําเนินการตอไปตามมาตรา ๙๓๑๔๖ ถารัฐสภามีมติไมใหความเห็นชอบ ใหรางพระราชบัญญัติหรือรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนั้นเปนเปนตกไป

มาตรา ๑๗๔ ภายใตบังคับมาตรา ๑๘๐ เมื่อสภาผูแทนราษฎรไดพิจารณาราง

พระราชบัญญัติหรือรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญที่เสนอตามมาตรา ๑๗๒ และลงมติเห็นชอบแลว ใหสภาผูแทนราษฎรเสนอรางพระราชบัญญัติหรือรางพระราช

บัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนั้นตอวุฒิสภา วุฒิสภาตองพิจารณารางพระราชบัญญัติหรือ

รางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญที่เสนอมานั้นใหเสร็จภายในหกสิบวัน แตถารางพระราชบัญญัติ หรือรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนั้นเปนรางพระราชบัญญัติเกี่ยวดวยการเงิน ตองพิจารณาใหเสร็จภายในสามสิบวัน ทั้งนี้ เวนแตวุฒิสภาจะไดลงมติใหขยายเวลาออกไปเปนกรณีพิเศษซึ่งตอง ไมเกินสามสิบวัน กําหนดวันดังกลาวให

มาตรา ๑๗๔๑๔๒ ภายใตบังคับมาตรา ๑๘๐๑๖๔ เมื่อสภาผูแทนราษฎรไดพิจารณารางพระราชบัญญัติหรือรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญที่เสนอตาม

มาตรา ๑๗๒๑๓๘ และลงมติเห็นชอบแลว ใหสภาผูแทนราษฎรเสนอรางพระราชบัญญัติหรือรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนั้นตอวุฒิสภา วุฒิสภาตองพิจารณาราง

พระราชบัญญัติหรือรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญที่เสนอมานั้นใหเสร็จภายใน

หกสิบวัน แตถารางพระราชบัญญัติหรือรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนั้นเปนรางพระราชบัญญัติเกี่ยวดวยการเงิน ตองพิจารณาใหเสร็จภายในสามสิบวัน ทั้งนี้ เวนแตวุฒิสภาจะไดลงมติใหขยายเวลาออกไปเปนกรณีพิเศษซึ่งตองไมเกินสามสิบวัน กําหนด

Page 98: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๘๙

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) หมายถึงวันในสมัยประชุม และใหเริ่มนับแตวันที่รางพระราชบัญญัติหรือรางพระราช

บัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนั้นมาถึงวุฒิสภา ระยะเวลาดังกลาวในวรรคหนึ่ง ไมใหนับรวมระยะเวลาที่อยูในระหวางการพิจารณาของศาลรัฐธรรมนูญตามมาตรา ๑๗๗ ถาวุฒิสภาพิจารณารางพระราชบัญญัติหรือรางพระราชบัญญัติประกอบ

รัฐธรรมนูญไมเสร็จภายในกําหนดเวลาที่กลาวในวรรคหนึ่ง ใหถือวาวุฒิสภาไดใหความเห็นชอบในรางพระราชบัญญัติหรือรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนั้น ในกรณีที่สภาผูแทนราษฎรเสนอรางพระราชบัญญัติเกี่ยวดวยการเงินไปยัง

วุฒิสภา ใหประธานสภาผูแทนราษฎรแจงไปดวยวารางพระราชบัญญัติหรือรางพระราช

บัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญที่เสนอไปนั้นเปนรางพระราชบัญญัติเกี่ยวดวยการเงิน คํา

แจงของประธานสภาผูแทนราษฎรใหถือเปนเด็ดขาด

ในกรณีที่ประธานสภาผูแทนราษฎรมิไดแจงไปวารางพระราชบัญญัติหรือราง

พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญใดเปนรางพระราชบัญญัติเกี่ยวดวยการเงิน ใหถือวารางพระราชบัญญัติหรือรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนั้นไมเปนรางพระราช

บัญญัติเกี่ยวกับการเงิน

วันดังกลาวใหหมายถึงวันในสมัยประชุม และใหเริ่มนับแตวันที่รางพระราชบัญญัติหรือรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนั้นมาถึงวุฒิสภา ระยะเวลาดังกลาวในวรรคหนึ่ง ไมใหนับรวมระยะเวลาที่อยูในระหวางการพิจารณาของศาลรัฐธรรมนูญตามมาตรา ๑๗๗๑๔๕ ถาวุฒิสภาพิจารณารางพระราชบัญญัติหรือรางพระราชบัญญัติประกอบ

รัฐธรรมนูญไมเสร็จภายในกําหนดเวลาที่กลาวในวรรคหนึ่ง ใหถือวาวุฒิสภาไดใหความเห็นชอบในรางพระราชบัญญัติหรือรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนั้น ในกรณีที่สภาผูแทนราษฎรเสนอรางพระราชบัญญัติเกี่ยวดวยการเงินไปยัง

วุฒิสภา ใหประธานสภาผูแทนราษฎรแจงไปดวยวารางพระราชบัญญัติหรือรางพระราช

บัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญที่เสนอไปนั้นเปนรางพระราชบัญญัติเกี่ยวดวยการเงิน คํา

แจงของประธานสภาผูแทนราษฎรใหถือเปนเด็ดขาด

ในกรณีที่ประธานสภาผูแทนราษฎรมิไดแจงไปวารางพระราชบัญญัติหรือราง

พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญใดเปนรางพระราชบัญญัติเกี่ยวดวยการเงิน ใหถือวารางพระราชบัญญัติหรือรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนั้นไมเปนรางพระราช

บัญญัติเกี่ยวกับการเงิน มาตรา ๑๗๕ ภายใตบังคับมาตรา ๑๘๐ เมื่อวุฒิสภาไดพิจารณารางพระราช

บัญญัติหรือรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญเสร็จแลว

(๑) ถาเห็นชอบดวยกับสภาผูแทนราษฎร ใหดําเนินการตอไปตามมาตรา ๙๓

(๒) ถาไมเห็นชอบดวยกับสภาผูแทนราษฎร ใหยับยั้งรางพระราชบัญญัติหรือ

รางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนั้นไวกอน และสงรางพระราชบัญญัติหรือราง

พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนั้นคืนไปยังสภาผูแทนราษฎร

มาตรา ๑๗๕๑๔๓ ภายใตบังคับมาตรา ๑๘๐๑๖๔ เมื่อวุฒิสภาไดพิจารณาราง

พระราชบัญญัติหรือรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญเสร็จแลว

(๑) ถาเห็นชอบดวยกับสภาผูแทนราษฎร ใหดําเนินการตอไปตามมาตรา

๙๓๑๔๖

(๒) ถาไมเห็นชอบดวยกับสภาผูแทนราษฎร ใหยับยั้งรางพระราชบัญญัติหรือ

รางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนั้นไวกอน และสงรางพระราชบัญญัติหรือราง

พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนั้นคืนไปยังสภาผูแทนราษฎร

Page 99: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๙๐

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) (๓) ถาแกไขเพิ่มเติม ใหสงรางพระราชบัญญัติหรือรางพระราชบัญญัติประกอบ

รัฐธรรมนูญตามที่แกไขเพิ่มเติมนั้นไปยังสภาผูแทนราษฎร ถาสภาผูแทนราษฎร

เห็นชอบดวยกับการแกไขเพิ่มเติม ใหดําเนินการตอไปตามมาตรา ๙๓ ถาเปนกรณีอื่น

ใหแตละสภาตั้งบุคคลซึ่งเปนหรือมิไดเปนสมาชิกแหงสภานั้น ๆ มีจํานวนเทากันตามที่

สภาผูแทนราษฎรกําหนด ประกอบเปนคณะกรรมาธิการรวมกันเพื่อพิจารณารางพระราช

บัญญัติหรือรางพระราชบัญญัติประกอบ รัฐธรรมนูญนั้น และใหคณะกรรมาธิการรวมกัน

รายงานและเสนอรางพระราชบัญญัติหรือรางพระราชบัญญัติประกอบ รัฐธรรมนูญที่

คณะกรรมาธิการรวมกันไดพิจารณาแลวตอสภาทั้งสอง ถาสภาทั้งสองตางเห็นชอบดวย

รางพระราชบัญญัติหรือรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญที่คณะกรรมาธิการ

รวมกันไดพิจารณาแลว ใหดําเนินการตอไปตามมาตรา ๙๓ ถาสภาใดสภาหนึ่งไม

เห็นชอบดวย ก็ใหยับยั้งรางพระราชบัญญัติหรือรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ

นั้นไวกอน

คณะกรรมาธิการรวมกันอาจเรียกเอกสารจากบุคคลใด หรือเรียกบุคคลใดมา

แถลงขอเท็จจริง หรือแสดงความคิดเห็นในการพิจารณารางพระราชบัญญัติหรือราง

พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญได และเอกสิทธิ์ที่บัญญัติไวในมาตรา ๑๕๗ และ

มาตรา ๑๕๘ นั้น ใหคุมครองถึงบุคคลผูกระทําหนาที่ตามมาตรานี้ดวย

การประชุมคณะกรรมาธิการรวมกันตองมีกรรมาธิการของสภาทั้งสองมา

ประชมุไมนอยกวากึ่งหนึ่งของจํานวนกรรมาธิการทั้งหมดจึงจะเปนองคประชุม และใหนํา

บทบัญญัติมาตรา ๑๙๔ มาใชบังคับโดยอนุโลม

(๓) ถาแกไขเพิ่มเติม ใหสงรางพระราชบัญญัติหรือรางพระราชบัญญัติประกอบ

รัฐธรรมนูญตามที่แกไขเพิ่มเติมนั้นไปยังสภาผูแทนราษฎร ถาสภาผูแทนราษฎร

เห็นชอบดวยกับการแกไขเพิ่มเติม ใหดําเนินการตอไปตามมาตรา ๙๓๑๔๖ ถาเปนกรณี

อื่น ใหแตละสภาตั้งบุคคลซึ่งเปนหรือมิไดเปนสมาชิกแหงสภานั้น ๆ มีจํานวนเทากัน

ตามที่สภาผูแทนราษฎรกําหนด ประกอบเปนคณะกรรมาธิการรวมกันเพื่อพิจารณาราง

พระราชบัญญัติหรือรางพระราชบัญญัติประกอบ รัฐธรรมนูญนั้น และใหคณะกรรมาธิการ

รวมกันรายงานและเสนอรางพระราชบัญญัติหรือรางพระราชบัญญัติประกอบ รัฐธรรมนูญ

ที่คณะกรรมาธิการรวมกันไดพิจารณาแลวตอสภาทั้งสอง ถาสภาทั้งสองตางเห็นชอบดวย

รางพระราชบัญญัติหรือรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญที่คณะกรรมาธิการ

รวมกันไดพิจารณาแลว ใหดําเนินการตอไปตามมาตรา ๙๓๑๔๖ ถาสภาใดสภาหนึ่งไม

เห็นชอบดวย ก็ใหยับยั้งรางพระราชบัญญัติหรือรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ

นั้นไวกอน

คณะกรรมาธิการรวมกันอาจเรียกเอกสารจากบุคคลใด หรือเรียกบุคคลใดมา

แถลงขอเท็จจริง หรือแสดงความคิดเห็นในการพิจารณารางพระราชบัญญัติหรือราง

พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญได และเอกสิทธิ์ที่บัญญัติไวในมาตรา ๑๕๗ และ

มาตรา ๑๕๘๑๒๕ นั้น ใหคุมครองถึงบุคคลผูกระทําหนาที่ตามมาตรานี้ดวย

การประชุมคณะกรรมาธิการรวมกันตองมีกรรมาธิการของสภาทั้งสองมา

ประชุมไมนอยกวากึ่งหนึ่งของจํานวนกรรมาธิการทั้งหมดจึงจะเปนองคประชุม และใหนํา

บทบัญญัติมาตรา ๑๙๔๑๓๒ มาใชบังคับโดยอนุโลม

ถาวุฒิสภาไมสงรางพระราชบัญญัติคืนไปยังสภาผูแทนราษฎรภายในกําหนด

เวลาตามมาตรา ๑๔๒ ใหถือวาวุฒิสภาไดใหความเห็นชอบในรางพระราชบัญญัตินั้น

และใหดําเนินการตามมาตรา ๑๔๖ ตอไป

Page 100: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๙๑

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) มาตรา ๑๗๖ รางพระราชบัญญัติหรือรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ

ที่ตองยับยั้งไวตามมาตรา ๑๗๕ นั้น สภาผูแทนราษฎรจะยกขึ้นพิจารณาใหมไดตอเมื่อ

เวลาหนึ่งรอยแปดสิบวันไดลวงพนไปนับแตวันที่วุฒิสภาสงรางพระราชบัญญัติหรือราง

พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนั้นคืนไปยังสภาผูแทนราษฎร สําหรับกรณีการ

ยับยั้งตามมาตรา ๑๗๕ (๒) และนับแตวันที่สภาใดสภาหนึ่งไมเห็นชอบดวย สําหรับกรณี

การยับยั้งตามมาตรา ๑๗๕ (๓) ในกรณีเชนวานี้ ถาสภาผูแทนราษฎรลงมติยืนยันราง

เดิมหรือรางที่คณะกรรมาธิการรวมกันพิจารณาดวยคะแนนเสียงมากกวากึ่งหนึ่งของ

จํานวนสมาชิกทั้งหมดเทาที่มีอยูของสภาผูแทนราษฎรแลว ใหถือวารางพระราชบัญญัติ

หรือรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนั้นเปนอันไดรับความเห็นชอบของรัฐสภา

และใหดําเนินการตอไปตามมาตรา ๙๓

ถารางพระราชบัญญัติหรือรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญที่ตองยับยั้ง

ไวเปนรางพระราชบัญญัติเกี่ยวดวยการเงิน สภาผูแทนราษฎรอาจยกรางพระราชบัญญัติ

หรือรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนั้นขึ้นพิจารณาใหมไดทันที ในกรณีเชนวานี้

ถาสภาผูแทนราษฎรลงมติยืนยันรางเดิมหรือรางที่คณะกรรมาธิการรวมกันพิจารณาดวย

คะแนนเสียงมากกวากึ่งหนึ่งของจํานวนสมาชิกทั้งหมดเทาที่มีอยูของสภาผูแทนราษฎร

แลว ใหถือรางพระราชบัญญัติหรือรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนั้นเปนอัน

ไดรับความเห็นชอบของรัฐสภา และใหดําเนินการตอไป ตามมาตรา ๙๓

มาตรา ๑๗๖๑๔๔ รางพระราชบัญญัติหรือรางพระราชบัญญัติประกอบ

รัฐธรรมนูญที่ตองยับยั้งไวตามมาตรา ๑๗๕๑๔๓ นั้น สภาผูแทนราษฎรจะยกขึ้น

พิจารณาใหมไดตอเมื่อเวลาหนึ่งรอยแปดสิบวันไดลวงพนไปนับแตวันที่วุฒิสภาสงราง

พระราชบัญญัติหรือรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนั้นคืนไปยังสภาผูแทน

ราษฎร สําหรับกรณีการยับยั้งตามมาตรา ๑๗๕๑๔๓ (๒) และนับแตวันที่สภาใดสภาหนึ่ง

ไมเห็นชอบดวย สําหรับกรณีการยับยั้งตามมาตรา ๑๗๕๑๔๓ (๓) ในกรณีเชนวานี้ ถา

สภาผูแทนราษฎรลงมติยืนยันรางเดิมหรือรางที่คณะกรรมาธิการรวมกันพิจารณาดวย

คะแนนเสียงมากกวากึ่งหนึ่งของจํานวนสมาชิกทั้งหมดเทาที่มีอยูของสภาผูแทนราษฎร

แลว ใหถือวารางพระราชบัญญัติหรือรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนั้นเปนอัน

ไดรับความเห็นชอบของรัฐสภา และใหดําเนินการตอไปตามมาตรา ๙๓๑๔๖

ถารางพระราชบัญญัติหรือรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญที่ตองยับยั้ง

ไวเปนรางพระราชบัญญัติเกี่ยวดวยการเงิน สภาผูแทนราษฎรอาจยกรางพระราชบัญญัติ

หรือรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนั้นขึ้นพิจารณาใหมไดทันที ในกรณีเชนวานี้

ถาสภาผูแทนราษฎรลงมติยืนยันรางเดิมหรือรางที่คณะกรรมาธิการรวมกันพิจารณาดวย

คะแนนเสียงมากกวากึ่งหนึ่งของจํานวนสมาชิกทั้งหมดเทาที่มีอยูของสภาผูแทนราษฎร

แลว ใหถือรางพระราชบัญญัติหรือรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนั้นเปนอัน

ไดรับความเห็นชอบของรัฐสภา และใหดําเนินการตอไป ตามมาตรา ๙๓๑๔๖ มาตรา ๑๗๗ ในระหวางที่มีการยับยั้งรางพระราชบัญญัติหรือรางพระราช

บัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญใดตามมาตรา ๑๗๕ คณะรัฐมนตรีหรือสมาชิกสภาผูแทน

ราษฎรจะเสนอรางพระราชบัญญัติหรือรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญที่มี

หลักการอยางเดียวกันหรือคลายกันกับหลักการของรางพระราชบัญญัติหรือรางพระราช

บัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญที่ตองยับยั้งไวมิได

มาตรา ๑๗๗๑๔๕ ในระหวางที่มีการยับยั้งรางพระราชบัญญัติหรือรางพระราช

บัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญใดตามมาตรา ๑๗๕๑๔๓ คณะรัฐมนตรีหรือสมาชิกสภา

ผูแทนราษฎรจะเสนอรางพระราชบัญญัติหรือรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญที่มี

หลักการอยางเดียวกันหรือคลายกันกับหลักการของรางพระราชบัญญัติหรือรางพระราช

บัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญที่ตองยับยั้งไวมิได

Page 101: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๙๒

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) ในกรณีที่สภาผูแทนราษฎรหรือวุฒิสภา เห็นวารางพระราชบัญญัติหรือรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญที่เสนอหรือสงใหพิจารณานั้น เปนรางพระราช

บัญญัติหรือรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญที่มีหลักการอยางเดียวกันหรือ

คลายกันกับหลักการของรางพระราชบัญญัติหรือรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ ที่ตองยับยั้งไว ใหประธานสภาผูแทนราษฎรหรือประธานวุฒิสภาสงรางพระราชบัญญัติหรือรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญดังกลาวใหศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัย ถาศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยวาเปนรางพระราชบัญญัติหรือรางพระราชบัญญัติประกอบ

รัฐธรรมนูญที่มีหลักการอยางเดียวกันหรือคลายกันกับหลักการของรางพระราชบัญญัติ หรือรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญที่ตองยับยั้งไว ใหรางพระราชบัญญัติ หรือรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนั้นเปนอันตกไป

ในกรณีที่สภาผูแทนราษฎรหรือวุฒิสภาเห็นวารางพระราชบัญญัติหรือราง

พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญที่เสนอหรือสงใหพิจารณานั้น เปนรางพระราช

บัญญัติหรือรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญที่มีหลักการอยางเดียวกันหรือ

คลายกันกับหลักการของรางพระราชบัญญัติหรือรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ

ที่ตองยับยั้งไว ใหประธานสภาผูแทนราษฎรหรือประธานวุฒิสภาสงรางพระราชบัญญัติหรือรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญดังกลาวใหศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัย ถาศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยวาเปนรางพระราชบัญญัติหรือรางพระราชบัญญัติประกอบ

รัฐธรรมนูญที่มีหลักการอยางเดียวกันหรือคลายกันกับหลักการของรางพระราชบัญญัติ

หรือรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญที่ตองยับยั้งไว ใหรางพระราชบัญญัติหรือ

รางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนั้นเปนอันตกไป มาตรา ๙๓ รางพระราชบัญญัติหรือรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญที่ไดรับความเห็นชอบของรัฐสภาแลว ใหนายกรัฐมนตรีนําขึ้นทูลเกลาทูลกระหมอมถวาย

ภายในยี่สิบวันนับแตวันที่ ไดรับรางพระราชบัญญัติหรือรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนั้นจากรัฐสภา เพื่อพระมหากษัตริยทรงลงพระปรมาภิไธย และเมื่อประกาศ

ในราชกิจจานุเบกษาแลว ใหใชบังคับเปนกฎหมายได

มาตรา ๙๓๑๔๖ รางพระราชบัญญัติหรือรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญที่ไดรับความเห็นชอบของรัฐสภาแลว ใหนายกรัฐมนตรีนําขึ้นทูลเกลา

ทูลกระหมอมถวายภายในยี่สิบวันนับแตวันที่ ไดรับรางพระราชบัญญัติหรือรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนั้นจากรัฐสภา เพื่อพระมหากษัตริยทรงลงพระปรมาภิไธย และเมื่อประกาศในราชกิจจานุเบกษาแลว ใหใชบังคับเปนกฎหมายได

มาตรา ๙๔ รางพระราชบัญญัติหรือรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญใดพระมหากษัตริยไมทรงเห็นชอบดวยและพระราชทานคืนมายังรัฐสภา หรือเมื่อพนเกาสิบวันแลว มิไดพระราชทานคืนมา รัฐสภาจะตองปรึกษารางพระราชบัญญัติหรือรางพระราช

บัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนั้นใหม ถารัฐสภามีมติยืนยันตามเดิมดวยคะแนนเสียงไมนอยกวาสองในสามของจํานวนสมาชิกทั้งหมดเทาที่มีอยูของทั้งสองสภาแลว ใหนายก

รัฐมนตรีนํารางพระราชบัญญัติหรือรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนั้นขึ้น

ทูลเกลาทูลกระหมอมถวายอีกครั้งหนึ่ง เมื่อพระมหากษัตริยมิไดทรงลงพระปรมาภิไธยพระราชทานคืนมาภายในสามสิบวัน ใหนายกรัฐมนตรีนําพระราชบัญญัติหรือพระราช

มาตรา ๙๔๑๔๗ รางพระราชบัญญัติหรือรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญใด พระมหากษัตริยไมทรงเห็นชอบดวยและพระราชทานคืนมายังรัฐสภา หรือเมื่อพนเกาสิบวันแลว มิไดพระราชทานคืนมา รัฐสภาจะตองปรึกษารางพระราช

บัญญัติหรือรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนั้นใหม ถารัฐสภามีมติยืนยันตามเดิมดวยคะแนนเสียงไมนอยกวาสองในสามของจํานวนสมาชิกทั้งหมดเทาที่มีอยูของ

ทั้งสองสภาแลว ใหนายกรัฐมนตรีนํารางพระราชบัญญัติหรือรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนั้นขึ้นทูลเกลาทูลกระหมอมถวายอีกครั้งหนึ่ง เมื่อพระมหากษัตริยมิไดทรงลงพระปรมาภิไธยพระราชทานคืนมาภายในสามสิบวัน ใหนายกรัฐมนตรีนําพระราช

Page 102: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๙๓

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) บัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนั้นประกาศในราชกิจจานุเบกษาใชบังคับเปนกฎหมายได

เสมือนหนึ่งวาพระมหากษัตริยไดทรงลงพระปรมาภิไธยแลว

บัญญัติหรือพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนั้นประกาศในราชกิจจานุเบกษาใช

บังคับเปนกฎหมายไดเสมือนหนึ่งวาพระมหากษัตริยไดทรงลงพระปรมาภิไธยแลว

มาตรา ๑๙๐ การพิจารณารางพระราชบัญญัติที่ประธานสภาผูแทนราษฎร

วินิจฉัยวามีสาระสําคัญเกี่ยวกับเด็ก สตรี และคนชรา หรือผูพิการหรือทุพพลภาพ หาก

สภาผูแทนราษฎรมิได พิจารณาโดยกรรมาธิการเต็มสภา ใหสภาผูแทนราษฎรตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญขึ้นประกอบดวยผูแทนองคการเอกชน เกี่ยวกับบุคคลประเภทนั้นมีจํานวนไมนอยกวาหนึ่งในสามของจํานวนกรรมาธิการทั้งหมด

มาตรา ๑๙๐๑๔๘ การพิจารณารางพระราชบัญญัติที่ประธานสภา

ผูแทนราษฎรวินิจฉัยวามีสาระสําคัญเกี่ยวกับเด็ก สตรี และคนชรา หรือผูพิการหรือทุพพลภาพ หากสภาผูแทนราษฎรมิได พิจารณาโดยกรรมาธิการเต็มสภา ใหสภาผูแทนราษฎรตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญขึ้นประกอบดวยผูแทนองคการเอกชน เกี่ยวกับบุคคลประเภทนั้นมีจํานวนไมนอยกวาหนึ่งในสามของจํานวนกรรมาธิการทั้งหมด

มาตรา ๑๗๘ ในกรณีที่อายุของสภาผูแทนราษฎรสิ้นอายุลงหรือมีการยุบสภา

ผูแทนราษฎร รางรัฐธรรมนูญแกไขเพิ่มเติมหรือบรรดารางพระราชบัญญัติหรือรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญที่พระมหากษัตริยไมทรงเห็นชอบดวย หรือเมื่อพนเกาสิบวันแลวมิไดพระราชทานคืนมา ใหเปนอันตกไป ในกรณีที่อายุของสภาผูแทนราษฎรสิ้นสุดลงหรือมีการยุบสภาผูแทนราษฎร ภายหลังการเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรอันเปนการเลือกตั้งทั่วไป รัฐสภา สภาผูแทนราษฎร หรือวุฒิสภา แลวแตกรณี จะพิจารณารางรัฐธรรมนูญแกไขเพิ่มเติม หรือรางพระราชบัญญัติหรือรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญที่รัฐสภายังมิไดใหความ

เห็นชอบตอไปได ถาคณะรัฐมนตรีที่ตั้งขึ้นใหมภายหลังการเลือกตั้งทั่วไปรองขอภายใน

หกสิบวันนับแตวันเรียกประชุมรัฐสภาครั้งแรกหลังการเลือกตั้งทั่วไป และรัฐสภามีมติ

เห็นชอบดวย แตถาคณะรัฐมนตรีมิไดรองขอภายในกําหนดเวลาดังกลาว ใหรางรัฐธรรมนูญแกไขเพิ่มเติม รางพระราชบัญญัติ หรือรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนั้นเปนอันตกไป การพิจารณารางรัฐธรรมนูญแกไขเพิ่มเติม รางพระราชบัญญัติ หรือรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญตอไปตามวรรคสอง ใหเปนไปตามที่กําหนดในขอบังคับการประชุมรัฐสภา

มาตรา ๑๗๘๑๔๙ ในกรณีที่อายุของสภาผูแทนราษฎรสิ้นอายุลงหรือมีการยุบ

สภาผูแทนราษฎร รางรัฐธรรมนูญแกไขเพิ่มเติมหรือบรรดารางพระราชบัญญัติหรือรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญที่พระมหากษัตริยไมทรงเห็นชอบดวย หรือเมื่อพนเกาสิบวันแลวมิไดพระราชทานคืนมา ใหเปนอันตกไป ในกรณีที่อายุของสภาผูแทนราษฎรสิ้นสุดลงหรือมีการยุบสภาผูแทนราษฎร ภายหลังการเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรอันเปนการเลือกตั้งทั่วไป รัฐสภา สภาผูแทนราษฎร หรือวุฒิสภา แลวแตกรณี จะพิจารณารางรัฐธรรมนูญแกไขเพิ่มเติม หรือรางพระราชบัญญัติหรือรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญที่รัฐสภายังมิไดใหความ

เห็นชอบตอไปได ถาคณะรัฐมนตรีที่ตั้งขึ้นใหมภายหลังการเลือกตั้งทั่วไปรองขอภายใน

หกสิบวันนับแตวันเรียกประชุมรัฐสภาครั้งแรกหลังการเลือกตั้งทั่วไป และรัฐสภามีมติ

เห็นชอบดวย แตถาคณะรัฐมนตรีมิไดรองขอภายในกําหนดเวลาดังกลาว ใหรางรัฐธรรมนูญแกไขเพิ่มเติม รางพระราชบัญญัติ หรือรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนั้นเปนอันตกไป การพิจารณารางรัฐธรรมนูญแกไขเพิ่มเติม รางพระราชบัญญัติ หรือรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญตอไปตามวรรคสอง ใหเปนไปตามที่กําหนดในขอบังคับการประชุมรัฐสภา

Page 103: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๙๔

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) สวนที่ ๘

การควบคุมการตรากฎหมายที่ขัดหรือแยงตอรัฐธรรมนูญ

มาตรา ๒๖๒ รางพระราชบัญญัติหรือรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ

ใดที่รัฐสภาใหความเห็นชอบแลว กอนที่นายกรัฐมนตรีจะนํารางพระราชบัญญัติหรือราง

พระราชบัญญัติ ประกอบรัฐธรรมนูญนั้นขึ้นทูลเกลาทูลกระหมอมถวายเพื่อพระมหา

กษัตริยทรงลงพระปรมาภิไธยตามมาตรา ๙๓ หรือรางพระราชบัญญัติหรือรางพระราช

บัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญใดที่รัฐสภาลงมติยืนยันตามมาตรา ๙๔ กอนที่นายกรัฐมนตรี

จะนํารางพระราชบัญญตัิหรือรางพระราชบัญญัติ ประกอบรัฐธรรมนูญนั้นขึ้นทูลเกลา

ทูลกระหมอมถวายอีกครั้งหนึ่ง

(๑) หากสมาชิกสภาผูแทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา หรือสมาชิกของทั้งสองสภา

รวมกันมีจํานวนไมนอยกวาหนึ่งในสิบของจํานวนสมาชิกทั้งหมดเทาที่มีอยูของทั้งสอง

สภา เห็นวารางพระราชบัญญัติดังกลาวมีขอความขัดหรือแยงตอรัฐธรรมนูญนี้ หรือตรา

ขึ้นโดยไมถูกตองตามบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญนี้ ใหเสนอความเห็นตอประธานสภา

ผูแทนราษฎร ประธานวุฒิสภา หรือประธานรัฐสภา แลวแตกรณี แลวใหประธานแหงสภา

ที่ไดรับความเห็นดังกลาว สงความเห็นนั้นไปยังศาลรัฐธรรมนูญเพื่อวินิจฉัย และแจงให

นายกรัฐมนตรีทราบโดยไมชักชา

(๒) หากสมาชิกสภาผูแทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา หรือสมาชิกของทั้งสองสภา

รวมกันมีจํานวนไมนอยกวายี่สิบคน เห็นวารางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ

ดังกลาวมีขอความขัดหรือแยงตอรัฐธรรมนูญนี้ หรือตราขึ้นโดยไมถูกตองตามบทบัญญัติ

แหงรัฐธรรมนูญนี้ ใหเสนอความเห็นตอประธานสภาผูแทนราษฎร ประธานวุฒิสภา หรือ

มาตรา ๒๖๒๑๕๐ รางพระราชบัญญัติหรือรางพระราชบัญญัติประกอบ

รัฐธรรมนูญใดที่รัฐสภาใหความเห็นชอบแลว กอนที่นายกรัฐมนตรีจะนํารางพระราช

บัญญัติหรือรางพระราชบัญญัติ ประกอบรัฐธรรมนูญนั้นขึ้นทูลเกลาทูลกระหมอมถวาย

เพื่อพระมหากษัตริยทรงลงพระปรมาภิไธยตามมาตรา ๙๓๑๔๖ หรือรางพระราชบัญญัติ

หรือรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญใดที่รัฐสภาลงมติยืนยันตามมาตรา ๙๔๑๔๗

กอนที่นายกรัฐมนตรีจะนํารางพระราชบัญญัติหรือรางพระราชบัญญัติ ประกอบ

รัฐธรรมนูญนั้นขึ้นทูลเกลาทูลกระหมอมถวายอีกครั้งหนึ่ง

(๑) หากสมาชิกสภาผูแทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา หรือสมาชิกของทั้งสองสภา

รวมกันมีจํานวนไมนอยกวาหนึ่งในสิบของจํานวนสมาชิกทั้งหมดเทาที่มีอยูของทั้งสอง

สภา เห็นวารางพระราชบัญญัติดังกลาวมีขอความขัดหรือแยงตอรัฐธรรมนูญนี้ หรือตรา

ขึ้นโดยไมถูกตองตามบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญนี้ ใหเสนอความเห็นตอประธานสภา

ผูแทนราษฎร ประธานวุฒิสภา หรือประธานรัฐสภา แลวแตกรณี แลวใหประธานแหงสภา

ที่ไดรับความเห็นดังกลาว สงความเห็นนั้นไปยังศาลรัฐธรรมนูญเพื่อวินิจฉัย และแจงให

นายกรัฐมนตรีทราบโดยไมชักชา

(๒) หากสมาชิกสภาผูแทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา หรือสมาชิกของทั้งสองสภา

รวมกันมีจํานวนไมนอยกวายี่สิบคน เห็นวารางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ

ดังกลาวมีขอความขัดหรือแยงตอรัฐธรรมนูญนี้ หรือตราขึ้นโดยไมถูกตองตามบทบัญญัติ

แหงรัฐธรรมนูญนี้ ใหเสนอความเห็นตอประธานสภาผูแทนราษฎร ประธานวุฒิสภา หรือ

Page 104: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๙๕

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) ประธานรัฐสภา แลวแตกรณี แลวใหประธานแหงสภาที่ไดรับความเห็นดังกลาว สง

ความเห็นนั้นไปยังศาลรัฐธรรมนูญเพื่อวินิจฉัยและแจงใหนายกรัฐมนตรีทราบโดยไม

ชักชา

(๓) หากนายกรัฐมนตรีเห็นวารางพระราชบัญญัติหรือรางพระราชบัญญัติ

ประกอบรัฐธรรมนูญดังกลาวมีขอความขัดหรือแยงตอรัฐธรรมนูญนี้ หรือตราขึ้นโดยไม

ถูกตองตามบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญนี้ ใหสงความเห็นเชนวานั้น ไปยังศาลรัฐธรรมนูญ

เพื่อวินิจฉัย และแจงใหประธานสภาผูแทนราษฎรและประธานวุฒิสภาทราบโดยไมชักชา

ในระหวางที่ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาวินิจฉัย ใหนายกรัฐมนตรีระงับการ

ดําเนินการเพื่อประกาศใชรางพระราชบัญญัติหรือรางพระราชบัญญัติประกอบ

รัฐธรรมนูญดังกลาวไวจนกวาศาลรัฐธรรมนูญจะมีคําวินิจฉัย

ถาศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยวารางพระราชบัญญัติหรือรางพระราชบัญญัติ

ประกอบรัฐธรรมนูญนั้นมีขอความขัดหรือแยงตอรัฐธรรมนูญนี้ หรือตราขึ้นโดยไมถูกตอง

ตามบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญนี้ และขอความดังกลาวเปนสาระสําคัญของราง

พระราชบัญญัติหรือรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนั้น ใหรางพระราชบัญญัติ

หรือรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนั้นเปนอันตกไป

ถาศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยวารางพระราชบัญญัติหรือรางพระราชบัญญัติ

ประกอบรัฐธรรมนูญนั้นมีขอความขัดหรือแยงตอรัฐธรรมนูญนี้แตมิใชกรณีตามวรรคสาม

ใหขอความที่ขดัหรือแยงนั้นเปนอันตกไป และใหนายกรัฐมนตรีดําเนินการตามมาตรา

๙๓ หรือมาตรา ๙๔ แลวแตกรณี ตอไป

ประธานรัฐสภา แลวแตกรณี แลวใหประธานแหงสภาที่ไดรับความเห็นดังกลาว สง

ความเห็นนั้นไปยังศาลรัฐธรรมนูญเพื่อวินิจฉัยและแจงใหนายกรัฐมนตรีทราบโดยไม

ชักชา

(๓๒) หากนายกรัฐมนตรีเห็นวารางพระราชบัญญัติหรือรางพระราชบัญญัติ

ประกอบรัฐธรรมนูญดังกลาวมีขอความขัดหรือแยงตอรัฐธรรมนูญนี้ หรือตราขึ้นโดยไม

ถูกตองตามบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญนี้ ใหสงความเห็นเชนวานั้น ไปยังศาลรัฐธรรมนูญ

เพื่อวินิจฉัย และแจงใหประธานสภาผูแทนราษฎรและประธานวุฒิสภาทราบโดยไมชักชา

ในระหวางที่ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาวินิจฉัย ใหนายกรัฐมนตรีระงับการ

ดําเนินการเพื่อประกาศใชรางพระราชบัญญัติหรือรางพระราชบัญญัติประกอบ

รัฐธรรมนูญดังกลาวไวจนกวาศาลรัฐธรรมนูญจะมีคําวินิจฉัย

ถาศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยวารางพระราชบัญญัติหรือรางพระราชบัญญัติ

ประกอบรัฐธรรมนูญนั้นมีขอความขัดหรือแยงตอรัฐธรรมนูญนี้ หรือตราขึ้นโดยไมถูกตอง

ตามบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญนี้ และขอความดังกลาวเปนสาระสําคัญของรางพระราช

บัญญัติหรือรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนญูนั้น ใหรางพระราชบัญญัติหรือราง

พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนั้นเปนอันตกไป

ถาศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยวารางพระราชบัญญัติหรือรางพระราชบัญญัติ

ประกอบรัฐธรรมนูญนั้นมีขอความขัดหรือแยงตอรัฐธรรมนูญนี้แตมิใชกรณีตามวรรคสาม

ใหขอความที่ขัดหรือแยงนั้นเปนอันตกไป และใหนายกรัฐมนตรีดําเนินการตามมาตรา

๙๓๑๔๖ หรือมาตรา ๙๔๑๔๗ แลวแตกรณี ตอไป มาตรา ๒๖๓ บทบัญญัติมาตรา ๒๖๒ (๒) ใหนํามาใชบังคับกับรางขอบังคับ

การประชุมสภาผูแทนราษฎร รางขอบังคับการประชุมวุฒิสภา และรางขอบังคับการ

ประชุมรัฐสภา ที่สภาผูแทนราษฎร วุฒิสภา หรือรัฐสภา แลวแตกรณี ใหความเห็นชอบ

แลว แตยังมิไดประกาศในราชกิจจานุเบกษา ดวยโดยอนุโลม

มาตรา ๒๖๓๑๕๑ บทบัญญัติมาตรา ๒๖๒ (๒)๑๕๐ ใหนํามาใชบังคับกับราง

ขอบังคับการประชุมสภาผูแทนราษฎร รางขอบังคับการประชุมวุฒิสภา และรางขอบังคับ

การประชุมรัฐสภา ที่สภาผูแทนราษฎร วุฒิสภา หรือรัฐสภา แลวแตกรณี ใหความ

เห็นชอบแลว แตยังมิไดประกาศในราชกิจจานุเบกษาดวยโดยอนุโลม

Page 105: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๙๖

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) สวนที่ ๙

การควบคุมการบริหารราชการแผนดิน

มาตรา ๑๘๓ สภาผูแทนราษฎรหรือสมาชิกวุฒิสภาทุกคนมีสิทธิตั้งกระทูถามรัฐมนตรีในเรื่องใดเกี่ยวกับงานในหนาที่ได แตรัฐมนตรียอมมีสิทธิที่จะไมตอบเมื่อ คณะรัฐมนตรีเห็นวาเรื่องนั้นยังไมควรเปดเผยเพราะเกี่ยวกับความปลอดภัยหรือ

ประโยชนสําคัญของแผนดิน

มาตรา ๑๘๓๑๕๒ สภาผูแทนราษฎรหรือสมาชิกวุฒิสภาทุกคนมีสิทธิตั้งกระทูถามรัฐมนตรีในเรื่องใดเกี่ยวกับงานในหนาที่ได แตรัฐมนตรียอมมีสิทธิที่จะไมตอบเมื่อคณะรัฐมนตรีเห็นวาเรื่องนั้นยังไมควรเปดเผยเพราะเกี่ยวกับความปลอดภัยหรือ

ประโยชนสําคัญของแผนดิน มาตรา ๑๘๔ การบริหารราชการแผนดินเรื่องใดที่เปนปญหาสําคัญที่อยูในความสนใจของประชาชน เปนเรื่องที่กระทบถึงประโยชนของประเทศชาติหรือประชาชน

หรือที่เปนเรื่องเรงดวน สภาผูแทนราษฎรอาจแจงเปนลายลักษณอักษรตอประธานสภา

ผูแทนราษฎรกอนเริ่มประชุมในวันนั้นวาจะถามนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีผูรับผิดชอบ

ในการบริหารราชการแผนดินเรื่องนั้นโดยไมตองระบุคําถาม และใหประธานสภาผูแทน

ราษฎรบรรจุเรื่องดังกลาวไวในวาระการประชุมวันนั้น การถามและการตอบกระทูตามวรรคหนึ่งใหกระทําไดสัปดาหละหนึ่งครั้ง และใหสมาชิกสภาผูแทนราษฎรผูนั้นตั้งกระทูถามดวยวาจาเรื่องการบริหารราชการแผนดิน

นั้นไดเรื่องละไมเกินสามครั้ง ทั้งนี้ ตามขอบังคับการประชุมสภาผูแทนราษฎร

มาตรา ๑๘๔๑๕๓ การบริหารราชการแผนดินเรื่องใดที่เปนปญหาสําคัญที่อยูในความสนใจของประชาชน เปนเรื่องที่กระทบถึงประโยชนของประเทศชาติหรือประชาชน หรือที่เปนเรื่องเรงดวน สภาผูแทนราษฎรอาจแจงเปนลายลักษณอักษรตอ

ประธานสภาผูแทนราษฎรกอนเริ่มประชุมในวันนั้นวาจะถามนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรี

ผูรับผิดชอบในการบริหารราชการแผนดินเรื่องนั้นโดยไมตองระบุคําถาม และใหประธาน

สภาผูแทนราษฎรบรรจุเรื่องดังกลาวไวในวาระการประชุมวันนั้น การถามและการตอบกระทูตามวรรคหนึ่งใหกระทําไดสัปดาหละหนึ่งครั้ง และใหสมาชิกสภาผูแทนราษฎรผูนั้นตั้งกระทูถามดวยวาจาเรื่องการบริหารราชการแผนดิน

นั้นไดเรื่องละไมเกินสามครั้ง ทั้งนี้ ตามขอบังคับการประชุมสภาผูแทนราษฎร มาตรา ๑๘๕ สมาชิกสภาผูแทนราษฎรจํานวนไมนอยกวาสองในหาของจํานวนสมาชิกทั้งหมดเทาที่มีอยูของสภาผูแทนราษฎร มีสิทธิเขาชื่อเสนอญัตติขอเปดอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติ ไมไววางใจนายกรัฐมนตร ีญัตติดังกลาวตองเสนอชื่อผูสมควรดํารงตําแหนงนายกรัฐมนตรีคนตอไปซึ่งเปนบุคคลตามมาตรา ๒๐๑ วรรคสอง ดวย และ

มาตรา ๑๘๕๑๕๔ สมาชิกสภาผูแทนราษฎรจํานวนไมนอยกวาสองในหา หนึ่งในสี่ของจํานวนสมาชิกทั้งหมดเทาที่มีอยูของสภาผูแทนราษฎร มีสิทธิเขาชื่อเสนอญัตติขอเปดอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติ ไมไววางใจนายกรัฐมนตร ีญัตติดังกลาวตองเสนอชื่อผูสมควรดํารงตําแหนงนายกรัฐมนตรีคนตอไปซึ่งเปนบุคคลตามมาตรา ๒๐๑๑๖๗

Page 106: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๙๗

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) เมื่อไดมีการเสนอญัตติแลว จะมีการยุบสภาผูแทนราษฎรมิได เวนแตจะมีการถอนญัตติหรือการลงมตินั้นไมไดคะแนนเสียงตามวรรคสาม การเสนอญัตติขอเปดอภิปรายทั่วไปตามวรรคหนึ่ง ถาเปนเรื่องที่เกี่ยวกับพฤติกรรมของนายกรัฐมนตรีที่มีพฤติการณร่ํารวยผิดปกติ สอไปในทางทุจริตตอหนาที่ราชการ หรือจงใจฝาฝนบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญหรือกฎหมาย จะเสนอโดยไมมีการ

ยื่นคํารองขอตามมาตรา ๓๐๔ กอน มิได และเมื่อไดมีการยื่นคํารองขอตามมาตรา ๓๐๔ แลว ใหดําเนินการตอไปไดโดยไมตองรอผลการดําเนินการตามมาตรา ๓๐๕ เมื่อการอภิปรายทั่วไปสิ้นสุดลงโดยมิใชดวยมติใหผานระเบียบวาระเปด

อภิปรายนั้นไป ใหสภาผูแทนราษฎรลงมติไววางใจหรือไมไววางใจ การลงมติในกรณี

เชนวานี้ มิใหกระทําในวันเดียวกับวันที่การอภิปรายสิ้นสุด มติไมไววางใจตองมีคะแนน

เสียงมากกวากึ่งหนึ่งของจํานวนสมาชิกทั้งหมดเทาที่มีอยูของสภาผูแทนราษฎร ในกรณีที่มติไมไววางใจมีคะแนนเสียงไมมากกวากึ่งหนึ่งของจํานวนสมาชิก

ทั้งหมดเทาที่มีอยูของสภาผูแทนราษฎร สมาชิกสภาผูแทนราษฎรซึ่งเขาชื่อเสนอญัตติ

ขอเปดอภิปรายนั้นเปนอันหมดสิทธิที่จะเขาชื่อเสนอญัตติขอเปดอภิปรายทั่วไปเพื่อลง

มติไมไววางใจนายกรัฐมนตรีอีกตลอดสมัยประชุมนั้น ในกรณีที่มติไมไววางใจมีคะแนนเสียงมากกวากึ่งหนึ่งของจํานวนสมาชิก

ทั้งหมดเทาที่มีอยูของสภาผูแทนราษฎร ใหประธานสภาผูแทนราษฎรนําชื่อที่ไดรับการเสนอชื่อตามวรรคหนึ่งกราบบังคลทูลเพื่อทรงแตงตั้งตอไป และมิใหนํา มาตรา ๒๐๒ มาใชบังคับ

วรรคสอง ดวย และเมื่อไดมีการเสนอญัตติแลว จะมีการยุบสภาผูแทนราษฎรมิได เวนแตจะมีการถอนญัตติหรือการลงมตินั้นไมไดคะแนนเสียงตามวรรคสาม การเสนอญัตติขอเปดอภิปรายทั่วไปตามวรรคหนึ่ง ถาเปนเรื่องที่เกี่ยวกับพฤติกรรมของนายกรัฐมนตรีที่มีพฤติการณร่ํารวยผิดปกติ สอไปในทางทุจริตตอหนาที่ราชการ หรือจงใจฝาฝนบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญหรือกฎหมาย จะเสนอโดยไมมีการ

ยื่นคํารองขอตามมาตรา ๓๐๔๒๖๒ กอนมิได และเมื่อไดมีการยื่นคํารองขอตามมาตรา ๓๐๔๒๖๒ แลว ใหดําเนินการตอไปไดโดยไมตองรอผลการดําเนินการตามมาตรา ๓๐๕๒๖๓ เมื่อการอภิปรายทั่วไปสิ้นสุดลงโดยมิใชดวยมติใหผานระเบียบวาระเปด

อภิปรายนั้นไป ใหสภาผูแทนราษฎรลงมติไววางใจหรือไมไววางใจ การลงมติในกรณี

เชนวานี้มิใหกระทําในวันเดียวกับวันที่การอภิปรายสิ้นสุด มติไมไววางใจตองมีคะแนน

เสียงมากกวากึ่งหนึ่งของจํานวนสมาชิกทั้งหมดเทาที่มีอยูของสภาผูแทนราษฎร ในกรณีที่มติไมไววางใจมีคะแนนเสียงไมมากกวากึ่งหนึ่งของจํานวนสมาชิก

ทั้งหมดเทาที่มีอยูของสภาผูแทนราษฎร สมาชิกสภาผูแทนราษฎรซึ่งเขาชื่อเสนอญัตติ

ขอเปดอภิปรายนั้นเปนอันหมดสิทธิที่จะเขาชื่อเสนอญัตติขอเปดอภิปรายทั่วไปเพื่อลง

มติไมไววางใจนายกรัฐมนตรีอีกตลอดสมัยประชุมนั้น ในกรณีที่มติไมไววางใจมีคะแนนเสียงมากกวากึ่งหนึ่งของจํานวนสมาชิก

ทั้งหมดเทาที่มีอยูของสภาผูแทนราษฎร ใหประธานสภาผูแทนราษฎรนําชื่อที่ไดรับการเสนอชื่อตามวรรคหนึ่งกราบบังคลทูลเพื่อทรงแตงตั้งตอไป และมิใหนํา มาตรา ๒๐๒๑๖๘ มาใชบังคับ

มาตรา ๑๘๖ สมาชิกสภาผูแทนราษฎรจํานวนไมนอยกวาหนึ่งในหาของจํานวนสมาชิกทั้งหมดเทาที่มีอยูของสภาผูแทนราษฎร มีสิทธิเขาชื่อเสนอญัตติขอเปดอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไมไววางใจรัฐมนตรีเปนรายบุคคล

มาตรา ๑๘๖๑๕๕ สมาชิกสภาผูแทนราษฎรจํานวนไมนอยกวาหนึ่งในหาของจํานวนสมาชิกทั้งหมดเทาที่มีอยูของสภาผูแทนราษฎร มีสิทธิเขาชื่อเสนอญัตติขอเปด

Page 107: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๙๘

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) ใหนําบทบัญญัติมาตรา ๑๘๕ วรรคสอง วรรคสาม และวรรคสี่ มาใชบังคับโดย

อนุโลม อภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไมไววางใจรัฐมนตรีเปนรายบุคคล และใหนําบทบัญญัติมาตรา

๑๕๔ วรรคสอง วรรคสาม และวรรคสี่ มาใชบังคับโดยอนุโลม

รัฐมนตรีคนใดพนจากตําแหนงเดิมแตยังคงเปนรัฐมนตรีในตําแหนงอื่นภาย

หลังจากวันที่สมาชิกสภาผูแทนราษฎรเขาชื่อตามวรรคหนึ่ง ใหรัฐมนตรีคนนั้นยังคงตอง

ถูกอภิปรายเพื่อลงมติไมไววางใจตามวรรคหนึ่งตอไป

ใหนําบทบัญญัติมาตรา ๑๘๕ความในวรรคสอง วรรคสาม และวรรคสี่ มาใช

บังคับแกรัฐมนตรีผูซึ่งพนจากตําแหนงเดิมไมเกินเกาสิบวันกอนวันที่สมาชิกสภาผูแทน

ราษฎรเขาชื่อตามวรรคหนึ่งแตยังคงเปนรัฐมนตรีในตําแหนงอื่นดวยโดยอนุโลม

มาตรา ๑๕๖ ในกรณีที่สมาชิกสภาผูแทนราษฎรที่มิไดอยูในพรรคการเมืองที่

สมาชิกในสังกัดของพรรคนั้นดํารงตําแหนงรัฐมนตรีมีจํานวนไมถึงเกณฑที่จะเสนอญัตติ

ขอเปดอภิปรายทั่วไปตามมาตรา ๑๕๔ หรือมาตรา ๑๕๕ ใหสมาชิกสภาผูแทนราษฎร

ดังกลาวทั้งหมดเทาที่มีอยูมีสิทธิเขาชื่อเสนอญัตติขอเปดอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม

ไววางใจนายกรฐัมนตรีหรือรัฐมนตรีเปนรายบุคคลตามมาตรา ๑๕๔ หรือมาตรา ๑๕๕ ได

เมื่อคณะรัฐมนตรีไดบริหารราชการแผนดินมาเกินกวาสองปแลว

มาตรา ๑๘๗ สมาชิกวุฒิสภาจํานวนไมนอยกวาสามในหาของจํานวนสมาชิกทั้งหมดเทาที่มีอยูของวุฒิสภา มีสิทธิเขาชื่อขอเปดอภิปรายทั่วไปในวุฒิสภาเพื่อใหคณะรัฐมนตรีแถลงขอเท็จจริง หรือชี้แจงปญหาสําคัญเกี่ยวกับการบริหารราชการแผนดินโดยไมมีการลงมต ิ การขอเปดอภิปรายทั่วไปตามมาตรานี้ จะกระทําไดครั้งเดียวในสมัยประชุม

หนึ่ง

มาตรา ๑๘๗๑๕๗ สมาชิกวุฒิสภาจํานวนไมนอยกวาสามในหาของจํานวนสมาชิกทั้งหมดเทาที่มีอยูของวุฒิสภา มีสิทธิเขาชื่อขอเปดอภิปรายทั่วไปในวุฒิสภาเพื่อใหคณะรัฐมนตรีแถลงขอเท็จจริง หรือชี้แจงปญหาสําคัญเกี่ยวกับการบริหารราชการแผนดินโดยไมมีการลงมติ การขอเปดอภิปรายทั่วไปตามมาตรานี้ จะกระทําไดครั้งเดียวในสมัยประชุม

หนึ่ง มาตรา ๑๕๘ ในกรณีที่มีการประชุมสภาผูแทนราษฎรหรือวุฒิสภาเพื่อตั้ง

กระทูถามในเรื่องใดเกี่ยวกับงานในหนาที่ หรือการอภิปรายไมไววางใจนายกรัฐมนตรี

หรือรัฐมนตรีผูใด ใหเปนหนาที่ของนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีผูนั้นตองเขารวมประชุม

Page 108: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๙๙

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) สภาผูแทนราษฎรหรือวุฒิสภาเพื่อชี้แจงหรือตอบกระทูถามในเรื่องนั้นดวยตนเอง เวนแต

มีเหตุจําเปนอันมิอาจหลีกเลี่ยงไดทําใหไมอาจเขาชี้แจงหรือตอบกระทู แตตองแจงให

ประธานสภาผูแทนราษฎรหรือประธานวุฒิสภาทราบกอนหรือในวันประชุมสภาในเรื่อง

ดังกลาว

สมาชิกสภาผูแทนราษฎรมีอิสระจากมติพรรคการเมืองในการตั้งกระทูถาม การ

อภิปราย และการลงมติในการอภิปรายไมไววางใจ หมวด ๗

การมีสวนรวมทางการเมืองโดยตรงของประชาชน

มาตรา ๑๗๐ ผูมีสิทธิเลือกตั้งไมนอยกวาหาหมื่นคน มีสิทธิเขาชื่อรองขอตอประธานรัฐสภาเพื่อใหรัฐสภาพิจารณากฎหมายตามที่กําหนดในหมวด ๓ และหมวด ๕ แหงรัฐธรรมนูญนี ้ คํารองขอตามวรรคหนึ่งตองจัดทํารางพระราชบัญญัติเสนอมาดวย หลักเกณฑและวิธีการเขาชื่อรวมทั้งการตรวจสอบ ใหเปนไปตามที่กฎหมาย

บัญญัติ

มาตรา ๑๗๐๑๕๙ ประชาชนผูมีสิทธิเลือกตั้งไมนอยกวาหาสองหมื่นคน มีสิทธิเขาชื่อรองขอตอประธานรัฐสภาเพื่อใหรัฐสภาพิจารณากฎหมายตามที่กําหนดในหมวด ๓ และหมวด ๕ แหงรัฐธรรมนูญนี ้ คํารองขอตามวรรคหนึ่งตองจัดทํารางพระราชบัญญัติเสนอมาดวย หลักเกณฑและวิธีการเขาชื่อรวมทั้งการตรวจสอบ ใหเปนไปตามที่กฎหมาย

บัญญัติ มาตรา ๓๐๔ สมาชิกสภาผูแทนราษฎรจํานวนไมนอยกวาหนึ่งในสี่ของจํานวนสมาชิกทั้งหมดเทาที่มีอยูของสภาผูแทนราษฎร หรือประชาชนผูมีสิทธิเลือกตั้งจํานวน

ไมนอยกวาหาหมื่นคน มีสิทธิเขาชื่อรองขอตอประธานวุฒิสภาเพื่อใหวุฒิสภามีมติตามมาตรา ๓๐๗ ใหถอดถอนบุคคลตามมาตรา ๓๐๓ ออกจากตําแหนงได คํารองขอดังกลาวตองระบุพฤติการณที่กลาวหาวาผูดํารงตําแหนงดังกลาวกระทําความผิด เปนขอ ๆ ให

ชัดเจน

มาตรา ๓๐๔๑๖๐ สมาชิกสภาผูแทนราษฎรจํานวนไมนอยกวาหนึ่งในสี่ของจํานวนสมาชิกทั้งหมดเทาที่มีอยูของสภาผูแทนราษฎร หรือประชาชนผูมีสิทธิเลือกตั้งจํานวนไมนอยกวาหาสองหมื่นคน มีสิทธิเขาชื่อรองขอตอประธานวุฒิสภาเพื่อใหวุฒิสภามีมติตามมาตรา ๓๐๗๒๖๕ ใหถอดถอนบุคคลตามมาตรา ๓๐๓๒๖๑ ออกจากตําแหนงได คํารองขอดังกลาวตองระบุพฤติการณที่กลาวหาวาผูดํารงตําแหนงดังกลาวกระทํา

ความผิด เปนขอ ๆ ใหชัดเจน

Page 109: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๑๐๐

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) สมาชิกวุฒิสภาจํานวนไมนอยกวาหนึ่งในสี่ของจํานวนสมาชิกทั้งหมดเทาที่มีอยู

ของวุฒิสภา มีสิทธิเขาชื่อรองขอตอประธานวุฒิสภาเพื่อใหวุฒิสภามีมติตามมาตรา ๓๐๗ ใหถอดถอนสมาชิกวุฒิสภาออกจากตําแหนงได หลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขในการที่ประชาชนจะเขาชื่อรองขอตามวรรคหนึ่ง ใหเปนไปตามกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการปองกันและปราบปรามการ

ทุจริต

คํารองขอตามวรรคหนึ่งตองระบุพฤติการณที่กลาวหาวาผูดํารงตําแหนง

ดังกลาวกระทําความผิดเปนขอ ๆ ใหชัดเจน สมาชิกวุฒิสภาจํานวนไมนอยกวาหนึ่งในสี่ของจํานวนสมาชิกทั้งหมดเทาที่มีอยู

ของวุฒิสภา มีสทิธิเขาชื่อรองขอตอประธานวุฒิสภาเพื่อใหวุฒิสภามีมติตามมาตรา ๓๐๗ ใหถอดถอนสมาชิกวุฒิสภาออกจากตําแหนงได หลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขในการที่ประชาชนจะเขาชื่อรองขอตามวรรคหนึ่ง ใหเปนไปตามกฎหมายพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการปองกันและ

ปราบปรามการทุจริต มาตรา ๒๑๔ ในกรณีที่คณะรัฐมนตรีเห็นวา กิจการในเรื่องใดอาจกระทบถึงประโยชนไดเสียของประเทศชาติหรือประชาชน นายกรัฐมนตรีโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรีอาจปรึกษาประธานสภาผูแทนราษฎรและประธานวุฒิสภาเพื่อประกาศใน

ราชกิจจานุเบกษาใหมีการออกเสียงประชามติได การออกเสียงประชามติตองเปนไปเพื่อประโยชนในการขอปรึกษาความเห็น

ของประชาชนวาจะเห็นชอบหรือไมเห็นชอบกิจการสําคัญในเรื่องใดเรื่องหนึ่งตามวรรค

หนึ่งซึ่งมิใชเรื่องที่ขัดหรือแยงตอรัฐธรรมนูญนี้ การออกเสียงประชามติที่เกี่ยวกับตัวบุคคลใดบุคคลหนึ่งหรือคณะบุคคลใดคณะบุคคลหนึ่งโดยเฉพาะ จะกระทํามิได ประกาศตามวรรคหนึ่งตองกําหนดวันใหประชาชนออกเสียงประชามติซึ่ง

จะตองไมกอนเกาสิบวันแตไมชากวาหนึ่งรอยยี่สิบวันนับแตวันประกาศในราชกิจจา

นุเบกษา และวันออกเสียงประชามติตองกําหนดเปนวันเดียวกันทั่วราชอาณาจักร ในระหวางที่ประกาศตามวรรคหนึ่งมีผลใชบังคับ รัฐตองดําเนินการใหบุคคลฝายที่เห็นชอบและไมเห็นชอบกับกิจการนั้น แสดงความคิดเห็นของตนไดโดยเทาเทียมกัน บุคคลผูมีสิทธิเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรยอมมีสิทธิออกเสียงประชามติ

มาตรา ๒๑๔๑๖๑ ในกรณีที่คณะรัฐมนตรีเห็นวา กิจการในเรื่องใดอาจกระทบถึงประโยชนไดเสียของประเทศชาติหรือประชาชน นายกรัฐมนตรีโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรีอาจปรึกษาประธานสภาผูแทนราษฎรและประธานวุฒิสภาเพื่อประกาศใน

ราชกิจจานุเบกษาใหมีการออกเสียงประชามติไดประชาชนผูมสีิทธิเลือกตั้งยอมมีสิทธิ

ออกเสียงประชามติ

การจัดใหมีการออกเสียงประชามติใหกระทําไดในเหตุ ดังตอไปนี้

(๑) ในกรณีที่คณะรัฐมนตรีเห็นวากิจการในเรื่องใดอาจกระทบถึงประโยชนได

เสียของประเทศชาติหรือประชาชน นายกรัฐมนตรีโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี

อาจปรึกษาประธานสภาผูแทนราษฎรและประธานวุฒิสภาเพื่อประกาศในราชกิจจา

นุเบกษาใหมีการออกเสียงประชามติได

(๒) ในกรณีที่มีกฎหมายบัญญัติใหมีการออกเสียงประชามติ

การออกเสียงประชามติตาม (๑) หรือ (๒) อาจจัดใหเปนการออกเสียงเพื่อมีขอ

ยุติโดยเสียงขางมากของผูมีสิทธิออกเสียงประชามติในปญหาที่จัดใหมีการออกเสียง

ประชามติ หรือเปนการออกเสียงเพื่อใหคําปรึกษาแกคณะรัฐมนตรีก็ได เวนแตจะมี

กฎหมายบัญญัติไวเปนการเฉพาะ

Page 110: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๑๐๑

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) ในการออกเสียงประชามติ หากผลปรากฏวามีผูมาใชสิทธิออกเสียงประชามติเปนจํานวนไมมากกวาหนึ่งในหาของจํานวนผูมีสิทธิออกเสียงประชามติ ใหถือวาประชาชนโดยเสียงขางมากไมเห็นชอบดวยกับเรื่องที่ขอปรึกษานั้น แตถามีผูมาใชสิทธิออกเสียงประชามติมากกวาหนึ่งในหาของจํานวนผูมีสิทธิออกเสียงประชามติและปรากฏ

วาผูออกเสียงประชามติโดยเสียงขางมากใหความเห็นชอบ ใหถือวาประชาชนโดยเสียงขางมากเห็นชอบดวยกับเรื่องที่ขอปรึกษานั้น การออกเสียงประชามติตามมาตรานี้ใหมีผลเปนเพียงการใหคําปรึกษาแก

คณะรัฐมนตรีในเรื่องนั้น หลักเกณฑและวิธีการออกเสียงประชามติใหเปนไปตามกฎหมายประกอบ

รัฐธรรมนูญวาดวยการออกเสียงประชามติ

การออกเสียงประชามติตองเปนไปเพื่อประโยชนในการขอปรึกษาความเห็น

ของประชาชนวาจะใหออกเสียงเห็นชอบหรือไมเห็นชอบในกิจการสําคัญในเรื่องใดเรื่อง

หนึ่งตามวรรคหนึ่งซึ่งมิใชที่จัดใหมีการออกเสียงประชามติ และการจัดการออกเสียงประชามติในเรื่องที่ขัดหรือแยงตอรัฐธรรมนูญนี้ การออกเสียงประชามติที่หรือเกี่ยวกับตัวบุคคลใดบุคคลหนึ่งหรือคณะบุคคลใดคณะบุคคลหนึ่งโดยเฉพาะ จะกระทํามิได ประกาศตามวรรคหนึ่งตองกําหนดวันใหประชาชนออกเสียงประชามติซึ่ง

จะตองไมกอนเกาสิบวันแตไมชากวาหนึ่งรอยยี่สิบวันนับแตวันประกาศในราชกิจจา

นุเบกษา และวันออกเสียงประชามติตองกําหนดเปนวันเดียวกันทั่วราชอาณาจักร ในระหวางที่ประกาศตามวรรคหนึ่งมีผลใชบังคับกอนการออกเสียงประชามติ รัฐตองดําเนินการใหขอมูลอยางเพียงพอ บุคคลฝายที่เห็นชอบและไมเห็นชอบกับกิจการนั้น มีโอกาสแสดงความคิดเห็นของตนไดโดยอยางเทาเทียมกัน บุคคลผูมีสิทธิเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรยอมมีสิทธิออกเสียงประชามติ ในการออกเสียงประชามติ หากผลปรากฏวามีผูมาใชสิทธิออกเสียงประชามติเปนจํานวนไมมากกวาหนึ่งในหาของจํานวนผูมีสิทธิออกเสียงประชามติ ใหถือวาประชาชนโดยเสียงขางมากไมเห็นชอบดวยกับเรื่องที่ขอปรึกษานั้น แตถามีผูมาใชสิทธิออกเสียงประชามติมากกวาหนึ่งในหาของจํานวนผูมีสิทธิออกเสียงประชามติและปรากฏ

วาผูออกเสียงประชามติโดยเสียงขางมากใหความเห็นชอบ ใหถือวาประชาชนโดยเสียงขางมากเห็นชอบดวยกับเรื่องที่ขอปรึกษานั้น การออกเสียงประชามติตามมาตรานี้ใหมีผลเปนเพียงการใหคําปรึกษาแก

คณะรัฐมนตรีในเรื่องนั้น หลักเกณฑและวิธีการออกเสียงประชามติใหเปนไปตามกฎหมายพระราช

บัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการออกเสียงประชามติซึ่งอยางนอยตองกําหนด

Page 111: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๑๐๒

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) รายละเอียดเกี่ยวกับวิธีการออกเสียงประชามติ ระยะเวลาในการดําเนินการ และจํานวน

เสียงประชามติเพื่อมีขอยุติ

หมวด ๘ การเงิน การคลัง และงบประมาณ

มาตรา ๑๗๙ งบประมาณรายจายของแผนดินใหทําเปนพระราชบัญญัติ ถาพระราชบัญญัติงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณออกไมทันงบประมาณใหม ใหใชกฎหมายวาดวย งบประมาณรายจายในปงบประมาณปกอนนั้นไปพลางกอน

มาตรา ๑๗๙๑๖๒ งบประมาณรายจายของแผนดินใหทําเปนพระราชบัญญัติ ถาพระราชบัญญัติงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณออกไมทันงบประมาณใหม ใหใชกฎหมายวาดวย งบประมาณรายจายในปงบประมาณปกอนนั้นไปพลางกอน

มาตรา ๑๖๓ ในการนําเสนอรางพระราชบัญญัติงบประมาณรายจายประจําป

งบประมาณ ตองมีรายละเอียดเกี่ยวกับประมาณการรายรับ และกําหนดวัตถุประสงค

กิจกรรม แผนงาน และโครงการในแตละรายจายงบประมาณ รวมทั้งตองแสดงฐานะ

ทางการคลังของประเทศเกี่ยวกับภาพรวมจากการใชจายและการจัดหารายได การขาด

รายไดจากการยกเวนภาษีเฉพาะรายในรูปแบบตาง ๆ ความจําเปนในการตั้งงบประมาณ

ผูกพันขามป การกอหนี้ของรัฐและฐานะทางการเงินของรัฐวิสาหกิจ

ถารายจายใดที่ไมสามารถจัดสรรเปนรายจายในรายการใดได ใหจัดสรรไวใน

รายการรายจายงบกลาง โดยตองแสดงเหตุผลและความจําเปนในการกาํหนดงบประมาณ

รายจายงบกลางนั้นดวย

ใหมีกฎหมายการเงินการคลังของรัฐเพื่อกําหนดหลักเกณฑเกี่ยวกับการจัดหา

รายได การกําหนดรายจาย การกอหนี้หรือการดําเนินการที่ผูกพันทรัพยสินของรัฐ

หลักเกณฑการกําหนดวงเงินสํารองจายเพื่อกรณีฉุกเฉินหรือจําเปน และการอื่นที่

เกี่ยวของ ซึ่งจะใชเปนกรอบในการกํากับการใชจายเงินตามแนวทางการรักษาวินัย

Page 112: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๑๐๓

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) การเงิน การคลัง และรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจอยางยั่งยืน รวมทั้งเปนแนวทางใน

การจัดทํางบประมาณรายจายของแผนดิน

มาตรา ๑๘๐ รางพระราชบัญญัติงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ ราง

พระราชบัญญัติงบประมาณรายจายเพิ่มเติม และรางพระราชบัญญัติโอนงบประมาณ

รายจาย สภาผูแทนราษฎรจะตองพิจารณาใหเสร็จภายในหนึ่งรอยหาวันนับแตวันที่ราง

พระราชบัญญัติดังกลาวมาถึงสภาผูแทนราษฎร

ถาสภาผูแทนราษฎรพิจารณารางพระราชบัญญัตินั้นไมเสร็จภายในกําหนด

เวลาที่กลาวในวรรคหนึ่ง ใหถือวาสภาผูแทนราษฎรไดใหความเห็นชอบในรางพระราช

บัญญัตินั้น และใหเสนอรางพระราชบัญญัติดังกลาวตอวุฒิสภา

ในการพิจารณาของวุฒิสภา วุฒิสภาจะตองใหความเห็นชอบหรือไมใหความ

เห็นชอบภายในยี่สิบวันนับแตวันที่รางพระราชบัญญัตินั้นมาถึงวุฒิสภา โดยจะแกไข

เพิ่มเติมใด ๆ มิได ถาพนกําหนดเวลาดังกลาวใหถือวาวุฒิสภาไดใหความเห็นชอบในราง

พระราชบัญญัตินั้น ในกรณีเชนนี้และในกรณีที่วุฒิสภาใหความเห็นชอบ ใหดําเนินการ

ตอไปตาม มาตรา ๙๓

ถารางพระราชบัญญัติดังกลาววุฒิสภาไมเห็นชอบดวย ใหนําบทบัญญัติมาตรา

๑๗๖ วรรคสอง มาใชบังคับโดยอนุโลม

ในการพิจารณารางพระราชบัญญัติงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ

รางพระราชบัญญัติงบประมาณรายจายเพิ่มเติม และรางพระราชบัญญัติโอนงบประมาณ

รายจาย สมาชิกสภาผูแทนราษฎรจะแปรบัญญัติเพิ่มเติมรายการหรือจํานวนในรายการ

มิได แตอาจแปรญัตติไดในทางลดหรือตัดทอนรายจายซึ่งมิใชรายจายตามขอผูกพัน

อยางใดอยางหนึ่ง ดังตอไปนี้

(๑) เงินสงใชตนเงินกู

(๒) ดอกเงินเงินกู

มาตรา ๑๘๐๑๖๔ รางพระราชบัญญัติงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ

รางพระราชบัญญัติงบประมาณรายจายเพิ่มเติม และรางพระราชบัญญัติโอนงบประมาณ

รายจาย สภาผูแทนราษฎรจะตองวิเคราะหและพิจารณาใหแลวเสร็จภายในหนึ่งรอยหา

วันนับแตวันที่รางพระราชบัญญัติดังกลาวมาถึงสภาผูแทนราษฎร

ถาสภาผูแทนราษฎรพิจารณารางพระราชบัญญัตินั้นไมแลวเสร็จภายในกําหนด

เวลาที่กลาวในวรรคหนึ่ง ใหถือวาสภาผูแทนราษฎรไดใหความเห็นชอบในรางพระราช

บัญญัตินั้นและใหเสนอรางพระราชบัญญัติดังกลาวตอวุฒิสภา

ในการพิจารณาของวุฒิสภา วุฒิสภาจะตองใหความเห็นชอบหรือไมใหความ

เห็นชอบภายในยี่สิบวันนับแตวันที่รางพระราชบัญญัตินั้นมาถึงวุฒิสภา โดยจะแกไข

เพิ่มเติมใด ๆ มิได ถาพนกําหนดเวลาดังกลาวใหถือวาวุฒิสภาไดใหความเห็นชอบในราง

พระราชบัญญัตินั้นในกรณีเชนนี้และในกรณีที่วุฒิสภาใหความเห็นชอบ ใหดําเนินการ

ตอไปตาม มาตรา ๙๓๑๔๖

ถารางพระราชบัญญัติดังกลาววุฒิสภาไมเห็นชอบดวย ใหนําบทบัญญัติมาตรา

๑๗๖๑๔๔ วรรคสอง มาใชบังคับโดยอนุโลม

ในการพิจารณารางพระราชบัญญัติงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ

รางพระราชบัญญัติงบประมาณรายจายเพิ่มเติม และรางพระราชบัญญัติโอนงบประมาณ

รายจาย สมาชิกสภาผูแทนราษฎรจะแปรบัญญัติเพิ่มเติมรายการหรือจํานวนในรายการ

มิได แตอาจแปรญัตติไดในทางลดหรือตัดทอนรายจายซึ่งมิใชรายจายตามขอผูกพัน

อยางใดอยางหนึ่ง ดังตอไปนี้

(๑) เงินสงใชตนเงินกู

(๒) ดอกเงินเงินกู

Page 113: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๑๐๔

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) (๓) เงินที่กําหนดใหจายตามกฎหมาย

ในการพิจารณาของสภาผูแทนราษฎรหรือของคณะกรรมาธิการ การเสนอ การ

แปรญัตติ หรือการกระทําดวยประการใด ๆ ที่มีผลใหสมาชิกสภาผูแทนราษฎร สมาชิก

วุฒิสภา หรือกรรมาธิการ มีสวนไมวาโดยตรงหรือโดยออมในการใชงบประมาณรายจาย

จะกระทํามิได

ในกรณีที่สมาชิกสภาผูแทนราษฎรหรือสมาชิกวุฒิสภา มีจํานวนไมนอยกวา

หนึ่งในสิบของจํานวนสมาชิกทั้งหมดเทาที่มีอยูของแตละสภา เห็นวามีการกระทําฝาฝน

บทบัญญัติตามวรรคหก ใหเสนอความเห็นตอศาลรัฐธรรมนูญเพื่อพิจารณา และศาล

รัฐธรรมนูญตองพิจารณาวินิจฉัยภายในเจ็ดวันนับแตวันที่ไดรับความเห็นดังกลาว ใน

กรณีที่ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยวามีการกระทําฝาฝนบทบัญญัติตามวรรคหก ใหการเสนอ

การแปรญัตติ หรือการกระทําดังกลาวสิ้นผลไป

(๓) เงินที่กําหนดใหจายตามกฎหมาย

ในการพิจารณาของสภาผูแทนราษฎร วุฒิสภา หรือของคณะกรรมาธิการ การ

เสนอ การแปรญัตติ หรือการกระทําดวยประการใด ๆ ที่มีผลใหสมาชิกสภาผูแทนราษฎร

สมาชิกวุฒิสภา หรือกรรมาธิการ มีสวนไมวาโดยตรงหรือโดยออมในการใชงบประมาณ

รายจาย จะกระทํามิได

ในกรณีที่สมาชิกสภาผูแทนราษฎรหรือสมาชิกวุฒิสภา มีจํานวนไมนอยกวา

หนึ่งในสิบของจํานวนสมาชิกทั้งหมดเทาที่มีอยูของแตละสภา เห็นวามีการกระทําฝาฝน

บทบัญญัติตามวรรคหก ใหเสนอความเหน็ตอศาลรัฐธรรมนูญเพื่อพิจารณา และศาล

รัฐธรรมนูญตองพิจารณาวินิจฉัยภายในเจ็ดวันนับแตวันที่ไดรับความเห็นดังกลาว ใน

กรณีที่ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยวามีการกระทําฝาฝนบทบัญญัติตามวรรคหก ใหการเสนอ

การแปรญัตติหรือการกระทําดังกลาวสิ้นผลไป รัฐตองจัดสรรงบประมาณใหเพียงพอกับการบริหารงานโดยอิสระของรัฐสภา

ศาลรัฐธรรมนูญ ศาลยุติธรรม ศาลปกครอง คณะกรรมการการเลือกตั้ง ผูตรวจการ

แผนดินของรัฐสภา คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ คณะ

กรรมการตรวจเงินแผนดิน และคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ

ในการพิจารณางบประมาณรายจายของรัฐสภา ศาล และองคกรตามวรรคแปด

หากหนวยงานนั้นเห็นวางบประมาณรายจายที่ไดรับการจัดสรรใหนั้นไมเพียงพอให

สามารถเสนอคําขอแปรญัตติตอคณะกรรมาธิการไดโดยตรง มาตรา ๑๘๑ การจายเงินแผนดินจะกระทําไดก็เฉพาะที่ไดอนุญาตไวในกฎหมายวาดวยงบประมาณรายจาย กฎหมายวาดวยวิธีการงบประมาณ กฎหมายเกี่ยว

ดวยการโอนงบประมาณ หรือกฎหมายวาดวยเงินคงคลัง เวนแตในกรณีจําเปนรีบดวนจะ

จายไปกอนก็ได แตตองเปนไปตามหลักเกณฑ และวิธีการที่กฎหมายบัญญัติ ในกรณี

เชนวานี้ตองตั้งงบประมาณรายจายชดใชในพระราชบัญญัติโอนงบประมาณรายจาย

มาตรา ๑๘๑๑๖๕ การจายเงินแผนดินจะกระทําไดก็เฉพาะที่ไดอนุญาตไวในกฎหมายวาดวยงบประมาณรายจาย กฎหมายวาดวยวิธีการงบประมาณ กฎหมายเกี่ยว

ดวยการโอนงบประมาณหรือกฎหมายวาดวยเงินคงคลัง เวนแตในกรณีจําเปนรีบดวนจะ

จายไปกอนก็ไดแตตองเปนไปตามหลักเกณฑ และวิธีการที่กฎหมายบัญญัติ ในกรณีเชน

วานี้จะตองตั้งงบประมาณรายจายชดใชในพระราชบัญญัติโอนงบประมาณรายจาย

Page 114: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๑๐๕

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) พระราชบัญญัติงบประมาณรายจายเพิ่มเติม หรือพระราชบัญญัติงบประมาณรายจาย

ประจําปงบประมาณถัดไป หรือเวนแตเปนกรณีตามมาตรา ๒๓๐ วรรคสอง พระราชบัญญัติงบประมาณรายจายเพิ่มเติม หรือพระราชบัญญัติงบประมาณรายจาย

ประจําปงบประมาณถัดไป หรือเวนแตเปนกรณีตามมาตรา ๒๓๐ วรรคสองทั้งนี้ ใหกําหนดแหลงที่มาของรายไดเพื่อชดใชรายจายที่ไดใชเงินคงคลังจายไปกอนแลวดวย

ในระหวางเวลาที่ประเทศอยูในภาวะสงครามหรือในระหวางเวลาที่มีประกาศ

สถานการณฉุกเฉิน คณะรัฐมนตรีมีอํานาจโอนหรือนํารายจายที่กําหนดไวสําหรับสวน

ราชการหรือรัฐวิสาหกิจใด ไปใชในกิจการที่แตกตางจากที่กําหนดไวในพระราชบัญญัติงบประมาณรายจายประจําปไดทันที และใหรายงานรัฐสภาทราบโดยไมชักชา

มาตรา ๑๖๖ เงินรายไดของหนวยงานใดของรัฐที่ไมตองนําสงเปนรายได

แผนดิน ใหหนวยงานของรัฐนั้นดําเนินการจัดทํารายงานการรับและการใชจายเงิน

ดังกลาวเสนอตอคณะรัฐมนตรีเมื่อสิ้นปงบประมาณทุกปและใหคณะรัฐมนตรีทํารายงาน

เสนอตอสภาผูแทนราษฎรและวุฒิสภาตอไป

หมวด ๗ คณะรัฐมนตรี

หมวด ๗๙

คณะรัฐมนตรี

มาตรา ๒๐๑ พระมหากษัตริยทรงแตงตั้งนายกรัฐมนตรีคนหนึ่งและรัฐมนตรี

อื่นอีกไมเกินสามสิบหาคนประกอบเปนคณะรัฐมนตรี มีหนาที่บริหารราชการแผนดิน

นายกรัฐมนตรีตองแตงตั้งจากสมาชิกสภาผูแทนราษฎรหรือผูเคยเปนสมาชิก

สภาผูแทนราษฎรแตพนจากสมาชิกภาพตามมาตรา ๑๑๘ (๗) ในอายุของสภาผูแทน

ราษฎรชุดเดียวกัน

ใหประธานสภาผูแทนราษฎรเปนผูลงนามรับสนองพระบรมราชโองการแตงตั้ง

นายกรัฐมนตรี

มาตรา ๒๐๑๑๖๗ พระมหากษัตริยทรงแตงตั้งนายกรัฐมนตรีคนหนึ่งและ

รัฐมนตรีอื่นอีกไมเกินสามสิบหาคนประกอบเปนคณะรัฐมนตรี มหีนาที่บริหารราชการ

แผนดินตามหลักความรับผิดชอบรวมกัน

นายกรัฐมนตรีตองแตงตั้งจากสมาชิกสภาผูแทนราษฎรหรือผูเคยเปนสมาชิก

สภาผูแทนราษฎรแตพนจากสมาชิกภาพซึ่งไดรับแตงตั้งตามมาตรา ๑๑๘ (๗)๑๖๘ ใน

อายุของสภาผูแทนราษฎรชุดเดียวกัน

Page 115: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๑๐๖

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) ใหประธานสภาผูแทนราษฎรเปนผูลงนามรับสนองพระบรมราชโองการแตงตั้ง

นายกรัฐมนตรี นายกรัฐมนตรีจะดํารงตําแหนงติดตอกันเกินสองวาระหรือเกินกวาแปดปมิได สุดแตระยะเวลาในการดํารงตําแหนงกรณีใดจะยาวกวากัน

มาตรา ๒๐๒ ใหสภาผูแทนราษฎรพิจารณาใหความเห็นชอบบุคคลซึ่งสมควร

ไดรับแตงตั้งเปนนายกรัฐมนตรีใหแลวเสร็จภายในสามสิบวันนับแตวันที่มีการเรียก

ประชุมรัฐสภาเปนครั้งแรกตามมาตรา ๑๕๙ การเสนอชื่อบุคคลซึ่งสมควรไดรับแตงตั้งเปนนายกรัฐมนตรีตามวรรคหนึ่ง ตองมีสมาชิกสภาผูแทนราษฎรไมนอยกวาหนึ่งในหาของจํานวนสมาชิกทั้งหมดเทาที่มีอยู

ของสภาผูแทนราษฎรรับรอง มติของสภาผูแทนราษฎรที่เห็นชอบดวยในการแตงตั้งบุคคลใดใหเปนนายก

รัฐมนตรี ตองมีคะแนนเสียงมากกวากึ่งหนึ่งของจํานวนสมาชิกทั้งหมดเทาที่มีอยูของสภาผูแทนราษฎร การลงมติในกรณีเชนวานี้ใหกระทําโดยการลงคะแนนโดยเปดเผย

มาตรา ๒๐๒๑๖๘ ใหสภาผูแทนราษฎรพิจารณาใหความเห็นชอบบุคคลซึ่ง

สมควรไดรับแตงตั้งเปนนายกรัฐมนตรีใหแลวเสร็จภายในสามสิบวันนับแตวันที่มีการ

เรียกประชุมรัฐสภาเปนครั้งแรกตามมาตรา ๑๕๙๑๒๒ การเสนอชื่อบุคคลซึ่งสมควรไดรับแตงตั้งเปนนายกรัฐมนตรีตามวรรคหนึ่ง ตองมีสมาชิกสภาผูแทนราษฎรไมนอยกวาหนึ่งในหาของจํานวนสมาชิกทั้งหมดเทาที่มีอยู

ของสภาผูแทนราษฎรรับรอง มติของสภาผูแทนราษฎรที่เห็นชอบดวยในการแตงตั้งบุคคลใดใหเปนนายก

รัฐมนตรี ตองมีคะแนนเสียงมากกวากึ่งหนึ่งของจํานวนสมาชิกทั้งหมดเทาที่มีอยูของสภาผูแทนราษฎร การลงมติในกรณีเชนวานี้ใหกระทําโดยการลงคะแนนโดยเปดเผย

มาตรา ๒๐๓ ในกรณีที่พนกําหนดสามสิบวันนับแตวันที่มีการเรียกประชุม

รัฐสภาเพื่อใหสมาชิกไดมาประชุมเปนครั้งแรกแลว ไมปรากฏวามีบุคคลใดไดรับคะแนนเสียงเห็นชอบใหไดรับแตงตั้งเปนนายกรัฐมนตรีตามมาตรา ๒๐๒ วรรคสาม ภายในสิบหาวันนับแตวันที่พนกําหนดเวลาดังกลาว ใหประธานสภาผูแทนราษฎรนําความขึ้นกราบบังคมทูล เพื่อทรงมีพระบรมราชโองการแตงตั้งบุคคลซึ่งไดรับคะแนนเสียงสูงสุดเปนนายกรัฐมนตรี

มาตรา ๒๐๓๑๖๙ ในกรณีที่พนกําหนดสามสิบวันนับแตวันที่มีการเรียก

ประชุมรัฐสภา เพื่อใหสมาชิกสภาผูแทนราษฎรไดมาประชุมเปนครั้งแรกแลว ไมปรากฏวามีบุคคลใดไดรับคะแนนเสียงเห็นชอบใหไดรับแตงตั้งเปนนายกรัฐมนตรีตามมาตรา

๒๐๒๑๖๘ วรรคสาม ภายในสิบหาวันนับแตวันที่พนกําหนดเวลาดังกลาว ใหประธาน

สภาผูแทนราษฎรนําความขึ้นกราบบังคมทูลภายในสิบหาวันนับแตวันที่พนกําหนดเวลา

ดังกลาวเพื่อทรงมีพระบรมราชโองการแตงตั้งบุคคลซึ่งไดรับคะแนนเสียงสูงสุดเปน

นายกรัฐมนตรี มาตรา ๒๐๔ นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีจะเปนสมาชิกสภาผูแทนราษฎรหรือสมาชิกวุฒิสภาในขณะเดียวกันมิได

มาตรา ๒๐๔ นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีจะเปนสมาชิกสภาผูแทนราษฎรหรือสมาชิกวุฒิสภาในขณะเดียวกันมิได

Page 116: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๑๐๗

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) สมาชิกสภาผูแทนราษฎรซึ่งไดรับแตงตั้งเปนนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรี ใหพนจากตําแหนงสมาชิกสภาผูแทนราษฎรในวันถัดจากวันที่ครบสามสิบวันนับแตวันที่มีพระ

บรมราชโองการแตงตั้ง

สมาชิกสภาผูแทนราษฎรซึ่งไดรับแตงตั้งเปนนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรี ใหพนจากตําแหนงสมาชิกสภาผูแทนราษฎรในวันถัดจากวันที่ครบสามสิบวันนับแตวันที่มีพระ

บรมราชโองการแตงตั้ง

มาตรา ๒๐๖ รัฐมนตรีตองมีคุณสมบัติและไมมีลักษณะตองหาม ดังตอไปนี้

(๑) มีสัญชาติไทยโดยการเกิด

(๒) มีอายุไมต่ํากวาสามสิบหาปบริบูรณ

(๓) สําเร็จการศึกษาไมต่ํากวาปริญญาตรีหรือเทียบเทา

(๔) ไมมีลักษณะตองหามตามมาตรา ๑๐๙ (๑) (๒) (๓) (๔) (๖) (๗) (๑๒) (๑๓)

หรือ (๑๔)

(๕) ไมเคยตองคําพิพากษาใหจําคุกตั้งแตสองปขึ้นไป โดยไดพนโทษมายัง

ไมถึงหาปกอนไดรับแตงตั้ง เวนแตในความผิดอันไดกระทําโดยประมาท

(๖) ไมเปนสมาชิกวุฒิสภา หรือเคยเปนสมาชิกวุฒิสภาซึ่งสมาชิกภาพสิ้นสุดลง

มาแลวยังไมเกินหนึ่งปนับแตวันที่ไดรับแตงตั้งเปนรัฐมนตรี เวนแตสมาชิกภาพสิ้นสุดลง

ตามมาตรา ๑๓๓(๑)

มาตรา ๒๐๖๑๗๐ รัฐมนตรีตองมีคุณสมบัติและไมมีลักษณะตองหาม

ดังตอไปนี้

(๑) มีสัญชาติไทยโดยการเกิด

(๒) มีอายุไมต่ํากวาสามสิบหาปบริบูรณ

(๓) สําเร็จการศึกษาไมต่ํากวาปริญญาตรีหรือเทียบเทา

(๔) ไมมีลักษณะตองหามตามมาตรา ๑๐๙๙๖ (๑) (๒) (๓) (๔) (๖) (๗) (๘) (๙)

(๑๑) (๑๒) (๑๓) หรือ (๑๔)

(๕) ไมเคยตองคําพิพากษาใหจําคุกตั้งแตสองปขึ้นไปโดยไดพนโทษมายัง

ไมถึงหาปกอนไดรับแตงตั้ง เวนแตในความผิดอันไดกระทําโดยประมาทหรือความผิด

ลหุโทษ

(๖) ไมเปนสมาชิกวุฒิสภา หรือเคยเปนสมาชิกวุฒิสภาซึ่งสมาชิกภาพสิ้นสุดลง

มาแลวยังไมเกินหนึ่งปนับแตวันที่ไดรับแตงตั้งเปนรัฐมนตรี เวนแตสมาชิกภาพสิ้นสุดลง

ตามมาตรา ๑๓๓ (๑) มาตรา ๒๐๗ รัฐมนตรีจะเปนขาราชการซึ่งมีตําแหนงหรือเงินเดือนประจํานอกจากขาราชการการเมืองมิได

มาตรา ๒๐๗ รัฐมนตรีจะเปนขาราชการซึ่งมีตําแหนงหรือเงินเดือนประจํานอกจากขาราชการการเมืองมิได

มาตรา ๒๐๕ กอนเขารับหนาที่ รัฐมนตรีตองถวายสัตยปฏิญาณตอพระมหา

กษัตริยดวยถอยคําดังตอไปนี้

"ขาพระพุทธเจา (ชื่อผูปฏิญาณ) ขอถวายสัตยปฏิญาณวา ขาพระพุทธเจาจะ

จงรักภักดีตอพระมหากษัตริย และจะปฏิบัติหนาที่ดวยความซื่อสัตยสุจริต เพื่อประโยชน

มาตรา ๒๐๕๑๗๑ กอนเขารับหนาที่ รัฐมนตรีตองถวายสัตยปฏิญาณตอพระ

มหากษัตริยดวยถอยคําดังตอไปนี้

"ขาพระพุทธเจา (ชื่อผูปฏิญาณ) ขอถวายสัตยปฏิญาณวา ขาพระพุทธเจาจะ

จงรักภักดีตอพระมหากษัตริย และจะปฏิบัติหนาที่ดวยความซื่อสัตยสุจริต เพื่อประโยชน

Page 117: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๑๐๘

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) ของประเทศและประชาชน ทั้งจะรักษาไวและปฏิบัติตามซึ่งรัฐธรรมนูญแหง

ราชอาณาจักรไทยทุกประการ"

ของประเทศและประชาชน ทั้งจะรักษาไวและปฏิบัติตามซึ่งรัฐธรรมนูญแหงราชอาณา

จักรไทยทุกประการ"

มาตรา ๒๑๑ คณะรัฐมนตรีที่จะเขาบริหารราชการแผนดินตองแถลงนโยบาย

ตอรัฐสภาโดยไมมีการลงมติความไววางใจ ทั้งนี ้ภายในสิบหาวันนับแตวันเขารับหนาที่ กอนแถลงนโยบายตอรัฐสภาตามวรรคหนึ่ง หากมีกรณีที่สําคัญและจําเปน

เรงดวนซึ่งหากปลอยใหเนิ่นชาไปจะกระทบตอประโยชนสําคัญของแผนดิน คณะ

รัฐมนตรีที่เขารับหนาที่จะดําเนินการไปพลางกอนเพียงเทาที่จําเปนก็ได

มาตรา ๒๑๑๑๗๒ คณะรัฐมนตรีที่จะเขาบริหารราชการแผนดินตองแถลง

นโยบายตอรัฐสภาและชี้แจงการดําเนินการตามแนวนโยบายพื้นฐานแหงรัฐตามมาตรา ๗๔ โดยไมมีการลงมติความไววางใจ ทั้งนี้ ภายในสิบหาวันนับแตวันเขารับหนาที่ และเมื่อเขารับหนาที่แลวตองจัดทําแผนการบริหารราชการแผนดิน เพื่อกําหนดแนวทางการปฏิบัติราชการแตละปตามมาตรา ๗๕

กอนแถลงนโยบายตอรัฐสภาตามวรรคหนึ่ง หากมีกรณีที่สําคัญและจําเปน

เรงดวนซึ่งหากปลอยใหเนิ่นชาไปจะกระทบตอประโยชนสําคัญของแผนดิน คณะ

รัฐมนตรีที่เขารับหนาที่จะดําเนินการไปพลางกอนเพียงเทาที่จําเปนก็ได มาตรา ๒๑๐ รัฐมนตรียอมมีสิทธิเขาประชุมและแถลงขอเท็จจริงหรือแสดงความคิดเห็นในที่ประชุมสภา แตไมมีสิทธิออกเสียงลงคะแนน ในกรณีที่สภา

ผูแทนราษฎรหรือวุฒิสภามีมติใหเขาประชุมในเรื่องใด รัฐมนตรีตองเขารวมประชุม เอกสิทธิ์ที่บัญญัติไวในมาตรา ๑๕๗ และมาตรา ๑๕๘ ใหนํามาใชบังคับโดยอนุโลม

มาตรา ๒๑๐๑๗๓ รัฐมนตรียอมมีสิทธิเขาประชุมและแถลงขอเท็จจริงหรือแสดงความคิดเห็นในที่ประชุมสภา แตไมมีสิทธิออกเสียงลงคะแนน และในกรณีที่สภา

ผูแทนราษฎรหรือวุฒิสภามีมติใหเขาประชุมในเรื่องใด รัฐมนตรีตองเขารวมประชุม และใหนําเอกสิทธิ์ที่บัญญัติไวในมาตรา ๑๒๕ มาใชบังคับโดยอนุโลม ในการประชุมสภาผูแทนราษฎร ถารัฐมนตรีผูใดเปนสมาชิกสภาผูแทนราษฎรในขณะเดียวกันดวย หามมิใหรัฐมนตรีผูนั้นออกเสียงลงคะแนนในเรื่องที่เกี่ยวกับการดํารงตําแหนง การปฏิบัติหนาที่หรือการมีสวนไดเสียในเรื่องนั้น

เอกสิทธิ์ที่บัญญัติไวในมาตรา ๑๕๗ และมาตรา ๑๕๘ ใหนํามาใชบังคับโดยอนุโลม

มาตรา ๒๑๒ ในการบริหารราชการแผนดิน รัฐมนตรีตองดําเนินการตาม

บทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญ กฎหมาย และนโยบายที่ไดแถลงไวตามมาตรา ๒๑๑ และ

ตองรับผิดชอบตอสภาผูแทนราษฎรในหนาที่ของตน รวมทั้งตองรับผิดชอบรวมกันตอรัฐสภาในนโยบายทั่วไปของคณะรัฐมนตรี

มาตรา ๒๑๒๑๗๔ ในการบริหารราชการแผนดิน รัฐมนตรีตองดําเนินการตาม

บทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญ กฎหมาย และนโยบายที่ไดแถลงไวตามมาตรา ๒๑๑๑๗๒

และตองรับผิดชอบตอสภาผูแทนราษฎรในหนาที่ของตน รวมทั้งตองรับผิดชอบรวมกันตอรัฐสภาในนโยบายทั่วไปของคณะรัฐมนตรี

Page 118: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๑๐๙

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) มาตรา ๒๑๓ ในกรณีที่มีปญหาสําคัญเกี่ยวกับการบริหารราชการแผนดินที่

คณะรัฐมนตรีเห็นสมควรจะฟงความคิดเห็นของสมาชิกสภาผูแทนราษฎรและสมาชิก วุฒิสภา นายกรัฐมนตรีจะแจง ไปยังประธานรัฐสภาขอใหมีการเปดอภิปรายทั่วไปใน

ที่ประชุมรวมกันของรัฐสภาก็ไดในกรณีเชนวานี้ รัฐสภาจะลงมติในปญหาที่อภิปรายมิได

มาตรา ๒๑๓๑๗๕ ในกรณีที่มีปญหาสําคัญเกี่ยวกับการบริหารราชการแผนดิน

ที่คณะรัฐมนตรีเห็นสมควรจะฟงความคิดเห็นของสมาชิกสภาผูแทนราษฎรและสมาชิก วุฒิสภา นายกรัฐมนตรีจะแจง ไปยังประธานรัฐสภาขอใหมีการเปดอภิปรายทั่วไปใน

ที่ประชุมรวมกันของรัฐสภาก็ไดในกรณีเชนวานี้ รัฐสภาจะลงมติในปญหาที่อภิปรายมิได มาตรา ๒๑๕ รัฐมนตรีทั้งคณะพนจากตําแหนง เมื่อ

(๑) ความเปนรัฐมนตรีของนายกรัฐมนตรีสิ้นสุดลงตามมาตรา ๒๑๖

(๒) อายุสภาผูแทนราษฎรสิ้นสุดลงหรือมีการยุบสภาผูแทนราษฎร

(๓) คณะรัฐมนตรีลาออก

คณะรัฐมนตรีที่พนจากตําแหนง ตองอยูในตําแหนงเพื่อปฏิบัติหนาที่ตอไป

จนกวาคณะรัฐมนตรีที่ตั้งขึ้นใหมจะ เขารับหนาที่ แตในกรณีพนจากตําแหนงตาม (๒) จะ

ใชอํานาจแตงตั้งหรือยายขาราชการซึ่งมีตําแหนงหรือเงินเดือนประจํา หรือพนักงานของ

หนวยงานของรัฐหรือรัฐวิสาหกิจ หรือใหบุคคลดังกลาวพนจากตําแหนง มิได เวนแตจะ

ไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการการเลือกตั้ง

มิใหนําบทบัญญัติมาตรา ๑๑๘ (๗) และวรรคสอง และมาตรา ๒๐๔ มาใชบังคับ

กับคณะรัฐมนตรีที่พนจากตําแหนงและอยูในระหวางที่ปฏิบัติหนาที่ตามวรรคสอง

ในกรณีที่ความเปนรัฐมนตรีของนายกรัฐมนตรีสิ้นสุดลงตามมาตรา ๒๑๖ (๑)

(๒) (๓) (๔) (๖) หรือ (๘) ใหดําเนินการตามมาตรา ๒๐๒ และ มาตรา ๒๐๓ โดยอนุโลม

มาตรา ๒๑๕๑๗๖ รัฐมนตรีทั้งคณะพนจากตําแหนง เมื่อ

(๑) ความเปนรัฐมนตรีของนายกรัฐมนตรีสิ้นสุดลงตามมาตรา ๒๑๖๑๗๘

(๒) อายุสภาผูแทนราษฎรสิ้นสุดลงหรือมีการยุบสภาผูแทนราษฎร

(๓) คณะรัฐมนตรีลาออก

คณะรัฐมนตรีที่พนจากตําแหนง ตองอยูในตําแหนงเพื่อปฏิบัติหนาที่ตอไป

จนกวาคณะรัฐมนตรีที่ตั้งขึ้นใหมจะ เขารับหนาที่ แตในกรณีพนจากตําแหนงตาม (๒) จะ

ใชอํานาจแตงตั้งหรือยายขาราชการซึ่งมีตําแหนงหรือเงินเดือนประจํา หรือพนักงานของ

หนวยงานของรัฐหรือรัฐวิสาหกิจ หรือใหบุคคลดังกลาวพนจากตําแหนง มิได เวนแตจะ

ไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการการเลือกตั้ง

มิใหนําบทบัญญัติมาตรา ๑๑๘ (๗) และวรรคสอง และมาตรา ๒๐๔ มาใชบังคับ

กับคณะรัฐมนตรีที่พนจากตําแหนงและอยูในระหวางที่ปฏิบัติหนาที่ตามวรรคสอง

ในกรณีที่ความเปนรัฐมนตรีของนายกรัฐมนตรีสิ้นสุดลงตามมาตรา ๒๑๖๑๗๘

(๑) (๒) (๓) (๔) (๖๕) (๗) หรือ (๘) ใหดําเนินการตามมาตรา ๒๐๒๑๖๘ และ มาตรา

๒๐๓๑๖๙ โดยอนุโลม มาตรา ๑๗๗ คณะรัฐมนตรีที่พนจากตําแหนง ตองอยูในตําแหนงเพื่อปฏิบัติ

หนาที่ตอไปจนกวาคณะรัฐมนตรีที่ตั้งขึ้นใหมจะเขารับหนาที่ แตในกรณีพนจากตําแหนง

ตามมาตรา ๑๗๖ (๒) คณะรัฐมนตรีและรัฐมนตรีจะปฏิบัติหนาที่ไดเทาที่จําเปน ภายใต

เงื่อนไขที่กําหนด ดังตอไปนี ้

Page 119: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๑๑๐

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) (๑) ไมกระทําการอันเปนการใชอํานาจแตงตั้งหรือยายขาราชการซึ่งมีตําแหนง

หรือ เงินเดือนประจํา หรือพนักงานของหนวยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือกิจการที่รัฐถือ

หุนเปนสวนใหญ หรือใหบุคคลดังกลาวพนจากการปฏิบัติหนาที่หรือพนจากตําแหนง

หรือใหผูอื่นมาปฏิบัติหนาที่แทน เวนแตจะไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการการ

เลือกตั้งกอน

(๒)ไมกระทําการอันมีผลเปนการอนุมัติใหใชจายงบประมาณสํารองจายเพื่อ

กรณีฉุกเฉินหรือจําเปน เวนแตจะไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการการเลือกตั้ง

กอน

(๓) ไมกระทําการอันมีผลเปนการอนุมัติงานหรือโครงการ หรือมีผลเปนการ

สรางความผูกพันตอคณะรัฐมนตรีชุดตอไป

(๔) ไมใชทรัพยากรของรัฐหรือบุคลากรของรัฐเพื่อกระทําการใดซึ่งจะมีผลตอ

การเลือกตั้ง และไมกระทําการอันเปนการฝาฝนขอหามตามระเบียบที่คณะกรรมการการ

เลือกตั้งกําหนด มาตรา ๒๑๖ ความเปนรัฐมนตรีสิ้นสุดลงเฉพาะตัว เมื่อ

(๑) ตาย

(๒) ลาออก

(๓) ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะตองหามตามมาตรา ๒๐๖

(๔) ตองคําพิพากษาใหจําคุก

(๕) สภาผูแทนราษฎรมีมติไมไววางใจตามมาตรา ๑๘๕ หรือมาตรา ๑๘๖

(๖) กระทําการอันตองหามตามมาตรา ๒๐๘ หรือมาตรา ๒๐๙

(๗) มีพระบรมราชโองการตามมาตรา ๒๑๗

(๘) วุฒสิภามีมติตามมาตรา ๓๐๗ ใหถอดถอนออกจากตําแหนง

มาตรา ๒๑๖๑๗๘ ความเปนรัฐมนตรีสิ้นสุดลงเฉพาะตัว เมื่อ

(๑) ตาย

(๒) ลาออก

(๓) ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะตองหามตามมาตรา ๒๐๖

(๔๓) ตองคําพิพากษาใหจําคุก แมคดีนั้นจะยังไมถึงที่สุดหรือมีการรอการ

ลงโทษ เวนแตในความผิดอันไดกระทําโดยประมาท ความผิดลหุโทษ หรือความผิดฐานหมิ่นประมาท

(๕๔) สภาผูแทนราษฎรมีมติไมไววางใจตามมาตรา ๑๘๕๑๕๔ หรือมาตรา

๑๘๖๑๕๕

Page 120: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๑๑๑

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) ใหนําบทบัญญัติมาตรา ๙๖ และมาตรา ๙๗ มาใชบังคับกับการสิ้นสุดของความ

เปนรัฐมนตรีตาม (๒) (๓) (๔) หรือ (๖)

(๕) ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะตองหามตามมาตรา ๑๗๐

(๖) กระทําการอันตองหามตามมาตรา ๒๐๘ หรือมาตรา ๒๐๙

(๗๖) มีพระบรมราชโองการใหพนจากความเปนรัฐมนตรตีามมาตรา ๒๑๗๑๗๙

(๘) วุฒิสภามีมติตามมาตรา ๓๐๗๒๖๕ ใหถอดถอนออกจากตําแหนง

ใหนําบทบัญญัติมาตรา ๙๖๘๙ และมาตรา ๙๗๙๐ มาใชบังคับกับการสิ้นสุดของ

ความเปนรัฐมนตรีตาม (๒) (๓) (๔๕) หรือ (๖๗) มาตรา ๒๑๗ พระมหากษัตริยทรงไวซึ่งพระราชอํานาจในการใหรัฐมนตรีพนจากความเปนรัฐมนตรีตามที่นายกรัฐมนตรีถวายคําแนะนํา

มาตรา ๒๑๗๑๗๙ พระมหากษัตริยทรงไวซึ่งพระราชอํานาจในการใหรัฐมนตรีพนจากความเปนรัฐมนตรีตามที่นายกรัฐมนตรีถวายคําแนะนํา

มาตรา ๒๑๘ ในกรณีเพื่อประโยชนในอันที่จะรักษาความปลอดภัยของประเทศ

ความปลอดภัยสาธารณะ ความมั่นคงในทางเศรษฐกิจของประเทศ หรือปองปดภัยพิบัติ

สาธารณะ พระมหากษัตริยจะทรงตราพระราชกําหนดใหใชบังคับดังเชนพระราชบัญญัติก็ได การตราพระราชกําหนดตามวรรคหนึ่ง ใหกระทําไดเฉพาะเมื่อคณะรัฐมนตรี

เห็นวาเปนกรณีฉุกเฉินที่มีความจําเปนรีบดวนอันมิอาจจะหลีกเลี่ยงได ในการประชุมรัฐสภาคราวตอไป ใหคณะรัฐมนตรีเสนอพระราชกําหนดนั้นตอ

รัฐสภาเพื่อพิจารณาโดยไมชักชา ถาอยูนอกสมัยประชุมและการรอการเปดสมัยประชุมสามัญจะเปนการชักชา คณะรัฐมนตรีตองดําเนินการใหมีการเรียกประชุมรัฐสภาสมัย

วิสามัญเพื่อพิจารณาอนุมัติหรือไมอนุมัติพระราชกําหนดโดยเร็ว ถาสภาผูแทนราษฎรไมอนุมัติ หรือ สภาผูแทนราษฎรอนุมัติแตวุฒิสภาไมอนุมัติและสภาผูแทนราษฎรยืนยันการอนุมัติดวยคะแนนเสียงไมมากกวากึ่งหนึ่งของจํานวนสมาชิกทั้งหมดเทาที่มีอยูของสภา

ผูแทนราษฎร ใหพระราชกําหนดนั้นตกไป แตทั้งนี้ไมกระทบกระเทือนกิจการที่ไดเปนไปในระหวางที่ใชพระราชกําหนดนั้น

มาตรา ๒๑๘๑๘๐ ในกรณีเพื่อประโยชนในอันที่จะรักษาความปลอดภัยของ

ประเทศ ความปลอดภัยสาธารณะ ความมั่นคงในทางเศรษฐกิจของประเทศ หรือปองปด

ภัยพิบัติสาธารณะ พระมหากษัตริยจะทรงตราพระราชกําหนดใหใชบังคับดังเชนพระราชบัญญัติก็ได การตราพระราชกําหนดตามวรรคหนึ่ง ใหกระทําไดเฉพาะเมื่อคณะรัฐมนตรี

เห็นวาเปนกรณีฉุกเฉินที่มีความจําเปนรีบดวนอันมิอาจจะหลีกเลี่ยงได ในการประชุมรัฐสภาคราวตอไป ใหคณะรัฐมนตรีเสนอพระราชกําหนดนั้นตอ

รัฐสภาเพื่อพิจารณาโดยไมชักชา ถาอยูนอกสมัยประชุมและการรอการเปดสมัยประชุมสามัญจะเปนการชักชา คณะรัฐมนตรีตองดําเนินการใหมีการเรียกประชุมรัฐสภาสมัย

วิสามัญ เพื่อพิจารณาอนุมัติหรือไมอนุมัติพระราชกําหนดโดยเร็ว ถาสภาผูแทนราษฎรไมอนุมัติ หรือ สภาผูแทนราษฎรอนุมัติแตวุฒิสภาไมอนุมัติและสภาผูแทนราษฎรยืนยันการอนุมัติดวยคะแนนเสียงไมมากกวากึ่งหนึ่งของจํานวนสมาชิกทั้งหมดเทาที่มีอยูของ

สภาผูแทนราษฎร ใหพระราชกําหนดนั้นตกไป แตทั้งนี้ไมกระทบกระเทือนกิจการที่ไดเปนไปในระหวางที่ใชพระราชกําหนดนั้น

Page 121: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๑๑๒

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) หากพระราชกําหนดตามวรรคหนึ่งมีผลเปนการแกไขเพิ่มเติมหรือยกเลิก

บทบัญญัติแหงกฎหมายใด และพระราชกําหนดนั้นตองตกไปตามวรรคสาม ใหบทบัญญัติแหงกฎหมายที่มีอยูกอนการแกไขเพิ่มเติมหรือยกเลิก มีผลใชบังคับตอ ไปนับแตวันที่การไมอนุมัติพระราชกําหนดนั้นมีผล ถาสภาผูแทนราษฎรและวุฒิสภาอนุมัติพระราชกําหนดนั้น หรือถาวุฒิสภาไมอนุมัติและสภาผูแทนราษฎรยืนยันการอนุมัติดวยคะแนนเสียงมากกวากึ่งหนึ่งของ

จํานวนสมาชิกทั้งหมดเทาที่มีอยูของสภาผูแทนราษฎร ใหพระราชกําหนดนั้นมีผลใชบังคับเปนพระราชบัญญัติตอไป การอนุมัติหรือไมอนุมัติพระราชกําหนด ใหนายกรัฐมนตรีประกาศในราชกิจจานุเบกษา ในกรณีไมอนุมัติใหมีผลตั้งแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา การพิจารณาพระราชกําหนดของสภาผูแทนราษฎรและของวุฒิสภาในกรณี

ยืนยันการอนุมัติพระราชกําหนด จะตองกระทําในโอกาสแรกที่มีการประชุมสภานั้น ๆ

หากพระราชกําหนดตามวรรคหนึ่งมีผลเปนการแกไขเพิ่มเติมหรือยกเลิก

บทบัญญัติแหงกฎหมายใด และพระราชกําหนดนั้นตองตกไปตามวรรคสาม ใหบทบัญญัติแหงกฎหมายที่มีอยูกอนการแกไขเพิ่มเติมหรือยกเลิก มีผลใชบังคับตอ ไปนับแตวันที่การไมอนุมัติพระราชกําหนดนั้นมีผล ถาสภาผูแทนราษฎรและวุฒิสภาอนุมัติพระราชกําหนดนั้น หรือถาวุฒิสภาไมอนุมัติและสภาผูแทนราษฎรยืนยันการอนุมัติดวยคะแนนเสียงมากกวากึ่งหนึ่งของ

จํานวนสมาชิกทั้งหมดเทาที่มีอยูของสภาผูแทนราษฎร ใหพระราชกําหนดนั้นมีผลใชบังคับเปนพระราชบัญญัติตอไป การอนุมัติหรือไมอนุมัติพระราชกําหนด ใหนายกรัฐมนตรีประกาศในราชกิจจานุเบกษา ในกรณีไมอนุมัติใหมีผลตั้งแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา การพิจารณาพระราชกําหนดของสภาผูแทนราษฎรและของวุฒิสภาในกรณี

ยืนยันการอนุมัติพระราชกําหนด จะตองกระทําในโอกาสแรกที่มีการประชุมสภานั้น ๆ มาตรา ๒๑๙ กอนที่สภาผูแทนราษฎรหรือวุฒิสภาจะไดอนุมัติพระราชกําหนดใดตามมาตรา ๒๑๘ วรรคสาม สมาชิกสภาผูแทนราษฎรหรือสมาชิกวุฒิสภาจํานวน

ไมนอยกวาหนึ่งในหาของจํานวนสมาชิกทั้งหมดเทาที่มีอยูของแตละสภา มีสิทธิเขาชื่อเสนอความเห็นตอประธานแหงสภาที่ตนเปนสมาชิกวาพระราชกําหนดนั้นไมเปนไปตาม

มาตรา ๒๑๘ วรรคหนึ่ง และใหประธานแหงสภาที่ไดรับความเห็นดังกลาว สงความเห็นนั้นไปยังศาลรัฐธรรมนูญเพื่อวินิจฉัย เมื่อศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยแลว ใหศาลรัฐธรรมนูญแจงคําวินิจฉัยนั้นไปยังประธานแหงสภาที่สงความเห็นนั้นมา เมื่อประธานสภาผูแทนราษฎรหรือประธานวุฒิสภาไดรับความเห็นของสมาชิก

สภาผูแทนราษฎรหรือสมาชิก วุฒิสภาตามวรรคหนึ่งแลว ใหรอการพิจารณาพระราช

กําหนดนั้นไวกอนจนกวาจะไดรับแจงคําวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญตามวรรคหนึ่ง

มาตรา ๒๑๙๑๘๑ กอนที่สภาผูแทนราษฎรหรือวุฒิสภาจะไดอนุมัติพระราชกําหนดใดตามมาตรา ๒๑๘๑๘๐ วรรคสาม สมาชิกสภาผูแทนราษฎรหรือสมาชิกวุฒิสภา

จํานวนไมนอยกวาหนึ่งในหาของจํานวนสมาชิกทั้งหมดเทาที่มีอยูของแตละสภา มีสิทธิเขาชื่อเสนอความเห็นตอประธานแหงสภาที่ตนเปนสมาชิกวาพระราชกําหนดนั้นไมเปนไป

ตามมาตรา ๒๑๘๑๘๐ วรรคหนึ่งหรือวรรคสอง และใหประธานแหงสภาที่ไดรับความเห็นดังกลาวนั้นสงความเห็นนั้นไปยังศาลรัฐธรรมนูญภายในสามวันนับแตวันที่ไดรับ

ความเห็นเพื่อวินิจฉัย เมื่อศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยแลว ใหศาลรัฐธรรมนูญแจงคําวินิจฉัยนั้นไปยังประธานแหงสภาที่สงความเห็นนั้นมา

Page 122: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๑๑๓

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) ในกรณีที่ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยวาพระราชกําหนดใดไมเปนไปตามมาตรา

๒๑๘ วรรคหนึ่ง ใหพระราชกําหนดนั้นไมมีผลบังคับมาแตตน คําวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญวาพระราชกําหนดใดไมเปนไปตามมาตรา ๒๑๘ วรรคหนึ่ง ตองมีคะแนนเสียงไมนอยกวาสองในสามของจํานวนตุลาการศาลรัฐธรรมนูญทั้งหมด

เมื่อประธานสภาผูแทนราษฎรหรือประธานวุฒิสภาไดรับความเห็นของสมาชิก

สภาผูแทนราษฎรหรือสมาชิก วุฒิสภาตามวรรคหนึ่งแลว ใหรอการพิจารณาพระราช

กําหนดนั้นไวกอนจนกวาจะไดรับแจงคําวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญตามวรรคหนึ่ง ในกรณีที่ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยวาพระราชกําหนดใดไมเปนไปตามมาตรา

๒๑๘๑๘๐ วรรคหนึ่งหรือวรรคสอง ใหพระราชกําหนดนั้นไมมีผลบังคับมาแตตน คําวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญวาพระราชกําหนดใดไมเปนไปตามมาตรา

๒๑๘๑๘๐ วรรคหนึ่งหรือวรรคสอง ตองมีคะแนนเสียงไมนอยกวาสองในสามของจํานวนตุลาการศาลรัฐธรรมนูญทั้งหมด

มาตรา ๒๒๐ ในระหวางสมัยประชุม ถามีความจําเปนตองมีกฎหมายเกี่ยว

ดวยภาษีอากรหรือเงินตราซึ่งจะตองไดรับการพิจารณาโดยดวนและลับเพื่อรักษา

ประโยชนของแผนดิน พระมหากษัตริยจะทรงตราพระราชกําหนดใหใชบังคับดังเชนพระราชบัญญัติก็ได พระราชกําหนดที่ไดตราขึ้นตามวรรคหนึ่ง จะตองนําเสนอตอสภาผูแทนราษฎรภายในสามวันนับแตวันถัดจาก วันประกาศในราชกิจจานุเบกษา และใหนําบทบัญญัติมาตรา ๒๑๘ มาใชบังคับโดยอนุโลม

มาตรา ๒๒๐๑๘๒ ในระหวางสมัยประชุม ถามีความจําเปนตองมีกฎหมาย

เกี่ยวดวยภาษีอากรหรือเงินตราซึ่งจะตองไดรับการพิจารณาโดยดวนและลับเพื่อรักษา

ประโยชนของแผนดิน พระมหากษัตริยจะทรงตราพระราชกําหนดใหใชบังคับดังเชนพระราชบัญญัติก็ได พระราชกําหนดที่ไดตราขึ้นตามวรรคหนึ่ง จะตองนําเสนอตอสภาผูแทนราษฎรภายในสามวันนับแตวันถัดจาก วันประกาศในราชกิจจานุเบกษา และใหนําบทบัญญัติมาตรา ๒๑๘๑๘๐ มาใชบังคับโดยอนุโลม

มาตรา ๒๒๑ พระมหากษัตริยทรงไวซึ่งพระราชอํานาจในการตราพระราชกฤษฎีกาโดยไมขัดตอกฎหมาย

มาตรา ๒๒๑๑๘๓ พระมหากษัตริยทรงไวซึ่งพระราชอํานาจในการตราพระราชกฤษฎีกาโดยไมขัดตอกฎหมาย

มาตรา ๒๒๒ พระมหากษัตริยทรงไวซึ่งพระราชอํานาจในการประกาศใชและเลิกใชกฎอัยการศึกตามลักษณะและวิธีการตามกฎหมายวาดวยกฎอัยการศึก ในกรณีที่มีความจําเปนตองประกาศใชกฎอัยการศึกเฉพาะแหงเปนการรีบดวน เจาหนาที่ฝายทหารยอมกระทําไดตามกฎหมายวาดวยกฎอัยการศึก

มาตรา ๒๒๒๑๘๔ พระมหากษัตริยทรงไวซึ่งพระราชอํานาจในการประกาศใชและเลิกใชกฎอัยการศึกตามลักษณะและวิธีการตามกฎหมายวาดวยกฎอัยการศึก ในกรณีที่มีความจําเปนตองประกาศใชกฎอัยการศึกเฉพาะแหงเปนการรีบดวน เจาหนาที่ฝายทหารยอมกระทําไดตามกฎหมายวาดวยกฎอัยการศึก

มาตรา ๒๒๓ พระมหากษัตริยทรงไวซึ่งพระราชอํานาจในการประกาศสงครามเมื่อไดรับความเห็นชอบจากรัฐสภา

มาตรา ๒๒๓๑๘๕ พระมหากษัตริยทรงไวซึ่งพระราชอํานาจในการประกาศสงครามเมื่อไดรับความเห็นชอบจากรัฐสภา

Page 123: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๑๑๔

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) มติใหความเห็นชอบของรัฐสภาตองมีคะแนนเสียงไมนอยกวาสองในสามของ

จํานวนสมาชิกทั้งหมดเทาที่มีอยู ของทั้งสองสภา ในระหวางที่อายุสภาผูแทนราษฎรสิ้นสุดลงหรือสภาผูแทนราษฎรถูกยุบ ให

วุฒิสภาทําหนาที่รัฐสภาในการใหความเห็นชอบตามวรรคหนึ่ง และการลงมติตองมีคะแนนเสียงไมนอยกวาสองในสามของจํานวนสมาชิกวุฒิสภาทั้งหมดเทาที่มีอยู

มติใหความเห็นชอบของรัฐสภาตองมีคะแนนเสียงไมนอยกวาสองในสามของ

จํานวนสมาชิกทั้งหมดเทาที่มีอยู ของทั้งสองสภา ในระหวางที่อายุสภาผูแทนราษฎรสิ้นสุดลงหรือสภาผูแทนราษฎรถูกยุบให

วุฒิสภาทําหนาที่รัฐสภาในการใหความเห็นชอบตามวรรคหนึ่ง และการลงมติตองมีคะแนนเสียงไมนอยกวาสองในสามของจํานวนสมาชิกวุฒิสภาทั้งหมดเทาที่มีอยู

มาตรา ๒๒๔ พระมหากษัตริยทรงไวซึ่งพระราชอํานาจในการทําหนังสือสัญญาสันติภาพ สัญญาสงบศึก และสัญญาอื่น กับนานาประเทศหรือกับองคการระหวาง

ประเทศ หนังสือสัญญาใดมีบทเปลี่ยนแปลงอาณาเขตไทยหรือเขตอํานาจแหงรัฐ หรือ

จะตองออกพระราชบัญญัติเพื่อใหการเปนไปตามสัญญา ตองไดรับความเห็นชอบของ

รัฐสภา

มาตรา ๒๒๔๑๘๖ พระมหากษัตริยทรงไวซึ่งพระราชอํานาจในการทําหนังสือสนธสิัญญาสันติภาพ สนธสิัญญาสงบศึก และสนธสิัญญาอื่น กับนานาประเทศหรือกับ

องคการระหวางประเทศ หนังสือสนธิสัญญาใดมีบทเปลี่ยนแปลงอาณาเขตไทยหรือเขตอํานาจแหงรัฐ

หรือเขตพื้นที่นอกอาณาเขตซึ่งประเทศไทยมีสิทธิอธิปไตยหรือมีเขตอํานาจตาม

สนธิสัญญาหรือตามกฎหมายระหวางประเทศ จะตองออกพระราชบัญญัติเพื่อใหการ

เปนไปตามสนธสิัญญา หรือมีผลกระทบตอความมั่นคงทางเศรษฐกิจหรือสังคมของ

ประเทศอยางรายแรง ตองไดรับความเห็นชอบของรัฐสภา กอนการดําเนินการเพื่อทําสนธิสัญญากับนานาประเทศหรือองคการระหวาง

ประเทศ คณะรัฐมนตรีตองใหขอมูลและจัดใหมีการรับฟงความคิดเห็นของประชาชน และตองชี้แจงตอรัฐสภาเกี่ยวกับสนธิสัญญานั้น เมื่อลงนามในสนธิสัญญาใดแลว คณะรัฐมนตรีตองใหประชาชนสามารถเขาถึง

รายละเอียดของสนธิสัญญานั้น และในกรณีที่การปฏิบัติตามสนธิสัญญากอใหเกิด

ผลกระทบตอประชาชน คณะรัฐมนตรีตองดําเนินการแกไขหรือเยียวยาผูไดรับผลกระทบ

อยางรวดเร็ว เหมาะสม และเปนธรรม มาตรา ๒๒๕ พระมหากษัตริยทรงไวซึ่งพระราชอํานาจ ในการพระราชทาน

อภัยโทษ

มาตรา ๒๒๕๑๘๗ พระมหากษัตริยทรงไวซึ่งพระราชอํานาจ ในการ

พระราชทานอภัยโทษ

Page 124: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๑๑๕

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) มาตรา ๒๒๖ พระมหากษัตริยทรงไวซึ่งพระราชอํานาจในการถอดถอนฐานันดรศักดิ์และเรียกคืนเครื่องราชอิสริยาภรณ

มาตรา ๒๒๖๑๘๘ พระมหากษัตริยทรงไวซึ่งพระราชอํานาจในการถอดถอนฐานันดรศักดิ์และเรียกคืนเครื่องราชอิสริยาภรณ

มาตรา ๒๒๗ พระมหากษัตริยทรงแตงตั้งขาราชการฝายทหารและฝายพลเรือนตําแหนงปลัดกระทรวง อธิบดี และเทียบเทา และทรงใหพนจากตําแหนง เวนแตกรณีที่พนจากตําแหนงเพราะความตาย

มาตรา ๒๒๗๑๘๙ พระมหากษัตริยทรงแตงตั้งขาราชการฝายทหารและฝายพลเรือนตําแหนงปลัดกระทรวง อธิบดี และเทียบเทา และทรงใหพนจากตําแหนง เวนแตกรณีที่พนจากตําแหนงเพราะความตาย

มาตรา ๒๒๘ ขาราชการซึ่งมีตําแหนงหรือเงินเดือนประจําและมิใชขาราชการการเมือง จะเปนขาราชการการเมืองหรือผูดํารงตําแหนงทางการเมืองอื่น มิได

มาตรา ๒๒๘๑๙๐ ขาราชการและพนักงานของรัฐซึ่งมีตําแหนงหรือเงินเดือนประจําและมิใชขาราชการการเมือง จะเปนขาราชการการเมืองหรือผูดํารงตําแหนงทางการเมืองอื่นมิได

มาตรา ๒๓๑ บทกฎหมาย พระราชหัตถเลขา และ พระบรมราชโองการ อันเกี่ยวกับราชการแผนดิน ตองมีรัฐมนตรีลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ เวนแตที่มีบัญญัติไวเปนอยางอื่นในรัฐธรรมนูญนี้ มาตรา ๒๓๒ บทกฎหมายที่ทรงลงพระปรมาภิไธยแลวหรือถือเสมือนหนึ่งวาไดทรงลง พระปรมาภิไธยแลว ใหประกาศในราชกิจจานุเบกษาโดยพลัน

มาตรา ๒๓๑๑๙๑ บทกฎหมาย พระราชหัตถเลขา และ พระบรมราชโองการอันเกี่ยวกับราชการแผนดิน ตองมีรัฐมนตรีลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ เวนแตที่มีบัญญัติไวเปนอยางอื่นในรัฐธรรมนูญนี้ บทกฎหมายที่ทรงลงพระปรมาภิไธยแลวหรือถือเสมือนหนึ่งวาไดทรงลงพระ

ปรมาภิไธยแลว ใหประกาศในราชกิจจานุเบกษาโดยพลัน

มาตรา ๒๓๒ บทกฎหมายที่ทรงลงพระปรมาภิไธยแลวหรือถือเสมือนหนึ่งวาไดทรงลง พระปรมาภิไธยแลว ใหประกาศในราชกิจจานุเบกษาโดยพลัน

มาตรา ๒๒๙ เงินประจําตําแหนงและประโยชนตอบแทนอยางอื่นขององคมนตรี ประธานและรองประธานสภาผูแทนราษฎร ประธานและรองประธานวุฒิสภา ผูนําฝายคานในสภาผูแทนราษฎร สมาชิกสภาผูแทนราษฎร และสมาชิกวุฒิสภา ใหกําหนดโดยพระราชกฤษฎีกา บําเหน็จบํานาญหรือประโยชนตอบแทนอยางอื่นขององคมนตรี ประธานและรองประธานสภาผูแทนราษฎร ประธานและรองประธานวุฒิสภา นายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี ผูนําฝายคานในสภาผูแทนราษฎร สมาชิกสภาผูแทนราษฎร และสมาชิกวุฒิสภา ซึ่งพนจากตําแหนง ใหกําหนดโดยพระราชกฤษฎีกา

มาตรา ๒๒๙๑๙๒ เงินประจําตําแหนงและประโยชนตอบแทนอยางอื่นขององคมนตรี ประธานและรองประธานสภาผูแทนราษฎร ประธานและรองประธานวุฒิสภา ผูนําฝายคานในสภาผูแทนราษฎร สมาชิกสภาผูแทนราษฎร และสมาชิกวุฒิสภา ใหกําหนดโดยพระราชกฤษฎีกา บําเหน็จบํานาญหรือประโยชนตอบแทนอยางอื่นขององคมนตรี ประธานและรองประธานสภาผูแทนราษฎร ประธานและรองประธานวุฒิสภา นายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี ผูนําฝายคานในสภาผูแทนราษฎร สมาชิกสภาผูแทนราษฎร และสมาชิกวุฒิสภา ซึ่งพนจากตําแหนง ใหกําหนดโดยพระราชกฤษฎีกา

Page 125: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๑๑๖

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) หมวด ๘ ศาล

หมวด ๘๑๐

ศาล

สวนที่ ๑ บททั่วไป

ไมมีการแกไข

มาตรา ๒๓๓ การพิจารณาพิพากษาอรรถคดีเปนอํานาจของศาลซึ่งตอง

ดําเนินการตามรัฐธรรมนูญ ตามกฎหมาย และในพระปรมาภิไธยพระมหากษัตริย มาตรา ๒๔๙ ผูพิพากษาและตุลาการมีอิสระในการพิจารณาพิพากษาอรรถคดี

ใหเปนไปตามรฐัธรรมนูญและกฎหมาย การพิจารณาพิพากษาอรรถคดีของผูพิพากษาและตุลาการไมอยูภายใตการ

บังคับบัญชาตามลําดับชั้น การจายสํานวนคดีใหผูพิพากษาและตุลาการ ใหเปนไปตามหลักเกณฑที่

กฎหมายบัญญัติ การเรียกคืนสํานวนคดีหรือการโอนสํานวนคดี จะกระทํามิได เวนแตเปนกรณีที่

จะกระทบกระเทือนตอความยุติธรรมในการพิจารณาพิพากษาอรรถคดี การโยกยายผูพิพากษาและตุลาการโดยไมไดรับความยินยอมจากผูพิพากษา

และตุลาการนั้นจะกระทํามิได เวนแตเปนการโยกยายตามวาระตามที่กฎหมายบัญญัติ

เปนการเลื่อนตําแหนงใหสูงขึ้น เปนกรณีที่อยูในระหวางถูกดําเนินการทางวินัย หรือตก

เปนจําเลยในคดีอาญา

มาตรา ๒๓๓๑๙๓ การพิจารณาพิพากษาอรรถคดีเปนอํานาจของศาลซึ่งตอง

ดําเนินการใหเปนไปโดยยุติธรรมตามรัฐธรรมนูญ ตามกฎหมาย และในพระปรมาภิไธย

พระมหากษัตริย ผูพิพากษาและตุลาการมีอิสระในการพิจารณาพิพากษาอรรถคดีใหเปนไปโดย

ถูกตอง รวดเร็ว และเปนธรรมตามรัฐธรรมนูญและกฎหมาย

การโยกยายผูพิพากษาและตุลาการโดยไมไดรับความยินยอมจากผูพิพากษา

และตุลาการนั้น จะกระทํามิได เวนแตเปนการโยกยายตามวาระตามที่กฎหมายบัญญัติ

เปนการเลื่อนตําแหนงใหสูงขึ้น เปนกรณีที่อยูในระหวางถูกดําเนินการทางวินัย หรือตก

เปนจําเลยในคดีอาญาเปนกรณีที่กระทบกระเทือนตอความยุติธรรมในการพิจารณา

พิพากษาคดี มีเหตุสุดวิสัยหรือเหตุจําเปนอื่นอันไมอาจกาวลวงได ทั้งนี้ ตามที่กฎหมาย

บัญญัติ

ผูพิพากษาและตุลาการจะเปนขาราชการการเมืองหรือผูดํารงตําแหนงทาง

การเมืองมิได

Page 126: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๑๑๗

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) มาตรา ๒๕๐ ผูพิพากษาและตุลาการจะเปนขาราชการการเมืองหรือผูดํารงตําแหนงทางการเมืองมิได

มาตรา ๒๔๙ ผูพิพากษาและตุลาการมีอิสระในการพิจารณาพิพากษาอรรถคดี

ใหเปนไปตามรฐัธรรมนูญและกฎหมาย การพิจารณาพิพากษาอรรถคดีของผูพิพากษาและตุลาการไมอยูภายใตการ

บังคับบัญชาตามลําดับชั้น การจายสํานวนคดีใหผูพิพากษาและตุลาการ ใหเปนไปตามหลักเกณฑที่

กฎหมายบัญญัติ การเรียกคืนสํานวนคดีหรือการโอนสํานวนคดี จะกระทํามิได เวนแตเปนกรณีที่

จะกระทบกระเทือนตอความยุติธรรมในการพิจารณาพิพากษาอรรถคดี การโยกยายผูพิพากษาและตุลาการโดยไมไดรับความยินยอมจากผูพิพากษา

และตุลาการนั้นจะกระทํามิได เวนแตเปนการโยกยายตามวาระตามที่กฎหมายบัญญัติ

เปนการเลื่อนตําแหนงใหสูงขึ้น เปนกรณีที่อยูในระหวางถูกดําเนินการทางวินัย หรือตก

เปนจําเลยในคดีอาญา มาตรา ๒๕๐ ผูพิพากษาและตุลาการจะเปนขาราชการการเมืองหรือผูดํารงตําแหนงทางการเมืองมิได

มาตรา ๒๓๔ บรรดาศาลทั้งหลายจะตั้งขึ้นไดก็แตโดยพระราชบัญญัติ การตั้งศาลขึ้นใหมเพื่อพิจารณาพิพากษาคดีใดคดีหนึ่งหรือคดีที่มีขอหาฐานใด

ฐานหนึ่งโดยเฉพาะแทนศาลที่มี อยูตามกฎหมายสําหรับพิจารณาพิพากษาคดีนั้น จะ

กระทํามิได มาตรา ๒๓๕ การบัญญัติกฎหมายใหมีผลเปนการเปลี่ยนแปลงหรือแกไขเพิ่มเติมกฎหมายวาดวยธรรมนูญศาลหรือวิธีพิจารณาเพื่อใชแกคดีใดคดีหนึ่งโดยเฉพาะ จะกระทํามิได

มาตรา ๒๓๔๑๙๔ บรรดาศาลทั้งหลายจะตั้งขึ้นไดก็แตโดยพระราชบัญญัติ การตั้งศาลขึ้นใหมเพื่อพิจารณาพิพากษาคดีใดคดีหนึ่งหรือคดีที่มีขอหาฐานใด

ฐานหนึ่งโดยเฉพาะแทนศาลที่มี อยูตามกฎหมายสําหรับพิจารณาพิพากษาคดีนั้น จะ

กระทํามิได การบัญญัติกฎหมายใหมีผลเปนการเปลี่ยนแปลงหรือแกไขเพิ่มเติมกฎหมาย

วาดวยธรรมนูญศาลหรือวิธีพิจารณาเพื่อใชแกคดีใดคดีหนึ่งโดยเฉพาะจะกระทํามิได มาตรา ๒๓๕ การบัญญัติกฎหมายใหมีผลเปนการเปลี่ยนแปลงหรือแกไขเพิ่มเติมกฎหมายวาดวยธรรมนูญศาลหรือวิธีพิจารณาเพื่อใชแกคดีใดคดีหนึ่งโดยเฉพาะ จะกระทํามิได

Page 127: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๑๑๘

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) มาตรา ๒๓๖ การนั่งพิจารณาคดีของศาลตองมีผูพิพากษาหรือตุลาการครบ

องคคณะ และผูพิพากษาหรือตุลาการซึ่งมิไดนั่งพิจารณาคดีใด จะทําคําพิพากษาหรือ

คําวินิจฉัยคดีนั้นมิได เวนแตมีเหตุสุดวิสัยหรือมีเหตุจําเปนอื่นอันมิอาจกาวลวงได ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ

มาตรา ๒๓๖ การนั่งพิจารณาคดีของศาลตองมีผูพิพากษาหรือตุลาการครบองค

คณะ และผูพิพากษาหรือตุลาการซึ่งมิไดนั่งพิจารณาคดีใด จะทําคําพิพากษาหรือ

คําวินิจฉัยคดีนั้นมิได เวนแตมีเหตุสุดวิสัยหรือมีเหตุจําเปนอื่นอันมิอาจกาวลวงได ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ

มาตรา ๒๔๘ ในกรณีที่มีปญหาเกี่ยวกับอํานาจหนาที่ระหวางศาลยุติธรรม

ศาลปกครอง ศาลทหาร หรือศาลอื่น ใหพิจารณาวินิจฉัยชี้ขาดโดยคณะกรรมการคณะ

หนึ่งซึ่งประกอบดวยประธานศาลฎีกาเปนประธาน ประธานศาลปกครองสูงสุด ประธาน

ศาลอื่น และผูทรงคุณวุฒิอื่นอีกไมเกินสี่คนตามที่กฎหมายบัญญัติ เปนกรรมการ หลักเกณฑการเสนอปญหาตามวรรคหนึ่งใหเปนไปตามที่กฎหมายบัญญัติ

มาตรา ๒๔๘๑๙๕ ในกรณีที่มีปญหาเกี่ยวกับอํานาจหนาที่ระหวางศาล

ยุติธรรม ศาลปกครอง ศาลทหาร หรือศาลอื่น ใหพิจารณาวินิจฉัยชี้ขาดโดยคณะ

กรรมการคณะหนึ่งซึ่งประกอบดวยประธานศาลฎีกาเปนประธาน ประธานศาลปกครอง

สูงสุด ประธานศาลอื่น และผูทรงคุณวุฒิอื่นอีกไมเกินสี่คนตามที่กฎหมายบัญญัติ เปน

กรรมการ หลักเกณฑการเสนอปญหาตามวรรคหนึ่งใหเปนไปตามที่กฎหมายบัญญัติ

มาตรา ๒๕๑ พระมหากษัตริยทรงแตงตั้งผูพิพากษาและตุลาการ และทรงใหพนจากตําแหนง เวนแตกรณีที่พนจากตําแหนงเพราะความตาย การแตงตั้งและการใหผูพิพากษาและตุลาการในศาลอื่นนอกจากศาล

รัฐธรรมนูญ ศาลยุติธรรม ศาลปกครอง และศาลทหาร พนจากตําแหนง ตลอดจนอํานาจพิพากษาคดีและวิธีพิจารณาของศาลดังกลาว ใหเปนไปตามกฎหมายวาดวยการจัดตั้ง

ศาลนั้น

มาตรา ๒๕๑๑๙๖ พระมหากษัตริยทรงแตงตั้งผูพิพากษาและตุลาการ และทรงใหพนจากตําแหนง เวนแตกรณีที่พนจากตําแหนงเพราะความตาย การแตงตั้งและการใหผูพิพากษาและตุลาการในศาลอื่นนอกจากศาล

รัฐธรรมนูญ ศาลยุติธรรม ศาลปกครอง และศาลทหาร พนจากตําแหนง ตลอดจนอํานาจพิพากษาคดีและวิธีพิจารณาของศาลดังกลาว ใหเปนไปตามกฎหมายวาดวยการจัดตั้ง

ศาลนั้น มาตรา ๒๕๒ กอนเขารับหนาที่ ผูพิพากษาและตุลาการตองถวายสัตยปฏิญาณ

ตอพระมหากษัตริยดวยถอยคําดังตอไปนี้

"ขาพระพุทธเจา (ชื่อผูปฏิญาณ) ขอถวายสัตยปฏิญาณวา ขาพระพุทธเจาจะ

จงรักภักดีตอพระมหากษัตริย และ จะปฏิบัติหนาที่ในพระปรมาภิไธยดวยความซื่อสัตย

สุจริต โดยปราศจากอคติทั้งปวง เพื่อใหเกิดความยุติธรรมแกประชาชน และความสงบสุข

แหงราชอาณาจักร ทั้งจะรกัษาไวและปฏิบัติตามซึ่งการปกครองระบอบประชาธิปไตย

มาตรา ๒๕๒๑๙๗ กอนเขารับหนาที่ ผูพิพากษาและตุลาการตองถวายสัตย

ปฏิญาณตอพระมหากษัตริยดวยถอยคําดังตอไปนี้

"ขาพระพุทธเจา (ชื่อผูปฏิญาณ) ขอถวายสัตยปฏิญาณวา ขาพระพุทธเจาจะ

จงรักภักดีตอพระมหากษัตริย และ จะปฏิบัติหนาที่ในพระปรมาภิไธยดวยความซื่อสัตย

สุจริต โดยปราศจากอคติทั้งปวง เพื่อใหเกิดความยุติธรรมแกประชาชน และความสงบสุข

แหงราชอาณาจักร ทั้งจะรักษาไวและปฏิบัติตามซึ่งการปกครองระบอบประชาธปิไตย

Page 128: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๑๑๙

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) อันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุขตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยและ

กฎหมายทุกประการ"

อันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุขตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยและ

กฎหมายทุกประการ"

มาตรา ๒๕๓ เงินเดือน เงินประจําตําแหนง และประโยชนตอบแทนอื่นของ ผูพิพากษาและตุลาการ ใหเปนไปตามที่กฎหมายบัญญัติ ทั้งนี้ จะนําระบบบัญชีเงินเดือน

หรือเงินประจํา ตําแหนงของขาราชการพลเรือนมาใชบังคับ มิได บทบัญญัติวรรคหนึ่งใหนํามาใชบังคับกับกรรมการการเลือกตั้ง ผูตรวจการแผนดินของรัฐสภา กรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาต ิและกรรมการตรวจเงินแผนดินดวยโดยอนุโลม

มาตรา ๒๕๓๑๙๘ เงินเดือน เงินประจําตําแหนง และประโยชนตอบแทนอื่นของผูพิพากษาและตุลาการ ใหเปนไปตามที่กฎหมายบัญญัติ ทั้งนี้ จะนําระบบบัญชี

เงินเดือนหรือเงินประจํา ตําแหนงของขาราชการพลเรือนมาใชบังคับ มิได บทบัญญัติวรรคหนึ่งใหนํามาใชบังคับกับกรรมการการเลือกตั้ง ผูตรวจการแผนดินของรัฐสภา กรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ และกรรมการตรวจเงินแผนดิน ดวยโดยอนุโลม

มาตรา ๒๕๔ บุคคลจะดํารงตําแหนงกรรมการในคณะกรรมการตุลาการศาล

ยุติธรรม กรรมการในคณะกรรมการตุลาการศาลปกครอง หรือกรรมการในคณะ

กรรมการตุลาการของศาลอื่นตามกฎหมายวาดวยการนั้น ในเวลาเดียวกันมิได ทั้งนี้ ไมวาจะเปนกรรมการโดยตําแหนงหรือกรรมการผูทรงคุณวุฒิ

มาตรา ๒๕๔๑๙๙ บุคคลจะดํารงตําแหนงกรรมการในคณะกรรมการตุลาการ

ศาลยุติธรรม กรรมการในคณะกรรมการตุลาการศาลปกครอง หรือกรรมการในคณะ

กรรมการตุลาการของศาลอื่นตามกฎหมายวาดวยการนั้น ในเวลาเดียวกันมิได ทั้งนี้ ไมวาจะเปนกรรมการโดยตําแหนงหรือกรรมการผูทรงคุณวุฒิ

สวนที่ ๒ ศาลรัฐธรรมนูญ

ไมมีการแกไข

มาตรา ๒๕๕ ศาลรัฐธรรมนูญประกอบดวยประธานศาลรัฐธรรมนูญคนหนึ่ง

และตุลาการศาลรัฐธรรมนูญอื่นอีกสิบสี่คน ซึ่งพระมหากษัตริยทรงแตงตั้งตามคําแนะนํา

ของวุฒิสภาจากบุคคลดังตอไปนี้

(๑) ผูพิพากษาในศาลฎีกา ซึ่งดํารงตําแหนงไมต่ํากวาผูพิพากษาศาลฎีกา ซึ่ง

ไดรับเลือกโดยที่ประชุมใหญศาลฎีกาโดยวิธีลงคะแนนลับ จํานวนหาคน

มาตรา ๒๕๕๒๐๐ ศาลรัฐธรรมนูญประกอบดวยประธานศาลรัฐธรรมนูญคน

หนึ่ง และตุลาการศาลรัฐธรรมนูญอื่นอีกสิบสี่แปดคน ซึ่งพระมหากษัตริยทรงแตงตั้งตาม

คําแนะนําของวุฒิสภาจากบุคคลดังตอไปนี้

(๑) ผูพิพากษาในศาลฎีกาซึ่งดํารงตําแหนงไมต่ํากวาผูพิพากษาศาลฎีกา ซึ่ง

ไดรับเลือกโดยที่ประชุมใหญศาลฎีกาโดยวิธีลงคะแนนลับ จํานวนหาสามคน

Page 129: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๑๒๐

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) (๒) ตุลาการในศาลปกครองสูงสุด ซึ่งไดรับเลือกโดยที่ประชุมใหญ ศาลปกครอง

สูงสุดโดยวิธีลงคะแนนลับ จํานวนสองคน

(๓) ผูทรงคุณวุฒิสาขานิติศาสตร ซึ่งไดรับเลือกตามมาตรา ๒๕๗ จํานวนหาคน

(๔) ผูทรงคุณวุฒิสาขารัฐศาสตร ซึ่งไดรับเลือกตามมาตรา ๒๕๗ จํานวนสามคน

ใหผูไดรับเลือกตามวรรคหนึ่ง ประชุมและเลือกกันเองใหคนหนึ่งเปนประธาน

ศาลรัฐธรรมนูญ แลวแจงผลใหประธานวุฒิสภาทราบ

ใหประธานวุฒิสภาเปนผูลงนามรับสนองพระบรมราชโองการแตงตั้งประธาน

ศาลรัฐธรรมนูญและตุลาการ ศาลรัฐธรรมนูญ

(๒) ตุลาการในศาลปกครองสูงสุดซึ่งไดรับเลือกโดยที่ประชุมใหญตุลาการใน

ศาลปกครองสูงสุดโดยวิธีลงคะแนนลับ จํานวนสองคน

(๓) ผูทรงคุณวุฒิสาขานิติศาสตรซึ่งมีความรูความเชี่ยวชาญทางดานนิติศาสตร

อยางแทจริงและไดรับเลือกตามมาตรา ๒๕๗๒๐๒ จํานวนหาสองคน

(๔) ผูทรงคุณวุฒิสาขารัฐศาสตร รัฐประศาสนศาสตร หรือสังคมศาสตรอื่น ซึ่งมีความรูความเชี่ยวชาญทางดานการบริหารราชการแผนดินอยางแทจริงและไดรับเลือกตาม

มาตรา ๒๕๗๒๐๒ จํานวนสามสองคน

ในกรณีที่ไมมีผูพิพากษาในศาลฎีกาหรือตุลาการในศาลปกครองสูงสุดไดรับ

เลือกตาม (๑) หรือ (๒) ใหที่ประชุมใหญศาลฎีกาหรือที่ประชุมใหญตุลาการในศาล

ปกครองสูงสุด แลวแตกรณี เลือกบุคคลอื่นซึ่งมีคุณสมบัติและไมมีลักษณะตองหามตาม

มาตรา ๒๐๑ และมีความรูความเชี่ยวชาญทางดานนิติศาสตรที่เหมาะสมจะปฏบิัติหนาที่

เปนตุลาการศาลรัฐธรรมนูญใหเปนตุลาการศาลรัฐธรรมนูญตาม (๑) หรือ (๒) แลวแต

กรณี

ใหผูไดรับเลือกตามวรรคหนึ่ง ประชุมและเลือกกันเองใหคนหนึ่งเปนประธาน

ศาลรัฐธรรมนูญ แลวแจงผลใหประธานวุฒิสภาทราบ

ใหประธานวุฒิสภาเปนผูลงนามรับสนองพระบรมราชโองการแตงตั้งประธาน

ศาลรัฐธรรมนูญและตุลาการ ศาลรัฐธรรมนูญ มาตรา ๒๕๖ ผูทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๒๕๕ (๓) และ (๔) ตองมีคุณสมบัติและ

ไมมีลักษณะตองหาม ดังตอไปนี้

(๑) มีสัญชาติไทยโดยการเกิด

(๒) มีอายุไมต่ํากวาสี่สิบหาปบริบูรณ

มาตรา ๒๕๖๒๐๑ ผูทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๒๕๕๒๐๐ (๓) และ (๔) ตองมี

คุณสมบัติและไมมีลักษณะตองหาม ดังตอไปนี้

(๑) มีสัญชาติไทยโดยการเกิด

(๒) มีอายุไมต่ํากวาสี่สิบหาปบริบูรณ

Page 130: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๑๒๑

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) (๓) เคยเปนรัฐมนตรี กรรมการการเลือกตั้ง ผูตรวจการแผนดินของรัฐสภา

กรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ กรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ

หรือกรรมการตรวจเงินแผนดิน หรือเคยรับราชการในตําแหนงไมต่ํากวารองอัยการสูงสุด

อธิบดีหรือเทียบเทา หรือดํารงตําแหนงไมต่ํากวาศาสตราจารย

(๔) ไมมีลักษณะตองหามตามมาตรา ๑๐๖ หรือมาตรา ๑๐๙ (๑) (๒) (๔) (๕)

(๖) (๗) (๑๓) หรือ (๑๔)

(๕) ไมเปนสมาชิกสภาผูแทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา ขาราชการการเมือง

สมาชิกสภาทองถิ่น หรือผูบริหารทองถิ่น

(๖) ไมเปนหรือเคยเปนสมาชิกหรือผูดํารงตําแหนงอื่นของพรรคการเมือง ใน

ระยะสามปกอนดํารงตําแหนง

(๗) ไมเปนกรรมการการเลือกตั้ง ผูตรวจการแผนดินของรัฐสภา กรรมการสิทธิ

มนุษยชนแหงชาติ ตุลาการศาลปกครอง กรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริต

แหงชาติ หรือกรรมการตรวจเงินแผนดิน

(๓) เคยเปนรัฐมนตรี ตุลาการพระธรรมนูญในศาลทหารสูงสุด กรรมการการเลือกตั้ง ผูตรวจการแผนดินของรัฐสภา กรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริต

แหงชาติ กรรมการตรวจเงินแผนดิน หรือกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ กรรมการ

ปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ หรือกรรมการตรวจเงินแผนดิน หรือเคยรับ

ราชการในตําแหนงไมต่ํากวารองอัยการสูงสุด อธิบดีหรือผูดํารงตําแหนงทางบริหารใน

สวนราชการที่มีอํานาจบริหารเทียบเทาอธิบดี หรือดํารงตําแหนงไมต่ํากวาศาสตราจารย

หรือเคยเปนทนายความที่ประกอบวิชาชีพอยางสม่ําเสมอและตอเนื่องไมนอยกวาสามสิบ

ปนับถึงวันที่ไดรับการเสนอชื่อ

(๔) ไมมีลักษณะตองหามตามมาตรา ๑๐๖๙๔ หรือมาตรา ๑๐๙๙๖ (๑) (๒) (๔)

(๕) (๖) (๗) (๑๓) หรือ (๑๔)

(๕) ไมเปนสมาชิกสภาผูแทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา ขาราชการการเมือง

สมาชิกสภาทองถิ่น หรือผูบริหารทองถิ่น

(๖) ไมเปนหรือเคยเปนสมาชิกหรือผูดํารงตําแหนงอื่นของพรรคการเมือง ใน

ระยะสามปกอนดํารงตําแหนง

(๗) ไมเปนกรรมการการเลือกตั้ง ผูตรวจการแผนดินของรัฐสภา กรรมการ

ปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ กรรมการตรวจเงินแผนดิน หรือกรรมการสิทธิ

มนุษยชนแหงชาติ ตุลาการศาลปกครอง กรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริต

แหงชาติ หรือกรรมการตรวจเงินแผนดิน มาตรา ๒๕๗ การสรรหาและการเลือกตั้งตุลาการศาลรัฐธรรมนูญตามมาตรา

๒๕๕ (๓) และ (๔) ใหดําเนินการดังนี้

(๑) ใหมีคณะกรรมการสรรหาตุลาการศาลรัฐธรรมนูญคณะหนึ่ง ประกอบดวย

ประธานศาลฎีกา คณบดีคณะนิติศาสตรหรือเทียบเทาของสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ

มาตรา ๒๕๗๒๐๒ การสรรหาและการเลือกตั้งตุลาการศาลรัฐธรรมนูญตาม

มาตรา ๒๕๕๒๐๐ (๓) และ (๔) ใหดําเนินการดังนี้

(๑) ใหมีคณะกรรมการสรรหาตุลาการศาลรัฐธรรมนูญคณะหนึ่ง ประกอบดวย

ประธานศาลฎีกา คณบดีคณะนิติศาสตรหรือเทียบเทาของสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ

Page 131: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๑๒๒

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) ทุกแหงซึ่งเลือกกันเองใหเหลือสี่คน คณบดีคณะรัฐศาสตรหรือเทียบเทาของสถาบัน

อุดมศึกษาของรัฐทุกแหงซึ่งเลือกกันเองใหเหลือสี่คน ผูแทนพรรคการเมืองทุกพรรคที่มี

สมาชิกเปนสมาชิกสภาผูแทนราษฎร พรรคละหนึ่งคน ซึ่งเลือกกันเองใหเหลือสี่คน เปน

กรรมการ คณะกรรมการดังกลาวมีหนาที่สรรหาและจัดทําบัญชีรายชื่อผูทรงคุณวุฒิตาม

มาตรา ๒๕๕ (๓) จํานวนสิบคน และผูทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๒๕๕ (๔) จํานวนหกคน

เสนอตอประธานวุฒิสภา โดยตองเสนอพรอมความยินยอมของผูไดรับการเสนอชื่อนั้น

ทั้งนี้ ภายในสามสิบวันนับแตวันที่มีเหตุทําใหตองมีการเลือกบุคคลใหดํารงตําแหนง

ดังกลาว มติในการเสนอชื่อดังกลาวตองมีคะแนนเสียงไมนอยกวาสามในสี่ของจํานวน

กรรมการทั้งหมดเทาที่มีอยู

(๒) ใหประธานวุฒิสภาเรียกประชุมวุฒิสภาเพื่อมีมติเลือกบุคคลผูไดรับการ

เสนอชื่อในบัญชีตาม (๑) ซึ่งตองกระทําโดยวิธีลงคะแนนลับ ในการนี้ ใหหาคนแรกใน

บัญชีรายชื่อผูทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๒๕๕ (๓) และสามคนแรกในบัญชีรายชื่อ

ผูทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๒๕๕ (๔) ซึ่งไดรับคะแนนสูงสุดและมีคะแนนมากกวากึ่งหนึ่ง

ของจํานวนสมาชิกทั้งหมดเทาที่มีอยูของวุฒิสภา เปนผูไดรับเลือกเปนตุลาการศาล

รัฐธรรมนูญ แตถาจํานวนผูไดรับเลือกดังกลาวจากบัญชีรายชื่อผูทรงคุณวุฒิตามมาตรา

๒๕๕ (๓) มีไมครบหาคน หรือจากบัญชีรายชื่อผูทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๒๕๕ (๔) มีไม

ครบสามคน ใหนํารายชื่อผูไมไดรับเลือกในคราวแรกในบัญชีนั้นมาใหสมาชิกวุฒิสภาออก

เสียงลงคะแนนเลือกอีกครั้งหนึ่งตอเนื่องกันไป และในกรณีนี้ ใหผูไดรับคะแนนสูงสุดเรียง

ลงไปตามลําดับจนครบจํานวน เปนผูไดรับเลือกใหเปนตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ถามีผู

ไดรับคะแนนเทากันในลําดับใดอันเปนเหตุใหมีผูไดรับเลือกเกินหาคนหรือสามคน

แลวแตกรณี ใหประธานวุฒิสภาจับสลากวาผูใดเปนผูไดรับเลือก

ใหนําบทบัญญัติมาตรา ๒๕๕ วรรคสองและวรรคสาม มาใชบังคับ

ทุกแหงซึ่งเลือกกันเองใหเหลือสี่คน คณบดีคณะรัฐศาสตรหรือเทียบเทาของสถาบัน

อุดมศึกษาของรัฐทุกแหงซึ่งเลือกกันเองใหเหลือสี่คน ผูแทนพรรคการเมืองทุกพรรคที่มี

สมาชิกเปนสมาชิกสภาผูแทนราษฎร พรรคละหนึ่งคน ประธานศาลปกครองสูงสุด ประธานสภาผูแทนราษฎร ผูนําฝายคานในสภาผูแทนราษฎร และประธานองคกรอิสระตามรัฐธรรมนูญซึ่งเลือกกันเองใหเหลือสี่หนึ่งคน เปนกรรมการคณะกรรมการดังกลาวมี

ทําหนาที่สรรหาและจัดทําบัญชีรายชื่อคัดเลือกผูทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๒๕๕๒๐๐ (๓)

จํานวนสิบคน และผูทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๒๕๕ (๔) จํานวนหกคน เสนอตอประธาน

วุฒิสภา โดยตองเสนอพรอมความยินยอมของผูไดรับการเสนอชื่อนั้น ทั้งนี้ ใหแลวเสร็จ

ภายในสามสิบวันนับแตวันที่มีเหตุทําใหตองมีการเลือกบุคคลใหดํารงตําแหนงดังกลาว

แลวใหเสนอรายชื่อผูไดรับเลือกพรอมความยินยอมของผูนั้นตอประธานวุฒิสภา มติใน

การเสนอชื่อคัดเลือกดังกลาวตองลงคะแนนโดยเปดเผยและตองมีคะแนนเสียงไมนอย

กวาสามในสี่ของจํานวนกรรมการทั้งหมดเทาที่มีอยู ในกรณีที่ไมมีกรรมการในตําแหนง

ใด หรือมีแตไมสามารถปฏิบัติหนาที่ได ถากรรมการที่เหลืออยูนั้นมีจํานวนไมนอยกวา กึ่งหนึ่ง ใหคณะกรรมการสรรหาตุลาการศาลรัฐธรรมนูญประกอบดวยกรรมการที่

เหลืออยู

(๒) ใหประธานวุฒิสภาเรียกประชุมวุฒิสภาเพื่อมีมติเลือกใหความเห็นชอบ

บุคคลผูไดรับการเสนอชื่อในบัญชีคัดเลือกตาม (๑) ซึ่งตองกระทําโดยภายในสามสิบวัน

นับแตวันที่ไดรับรายชื่อ การลงมติใหใชวิธีลงคะแนนลับ ในการนี้ ใหหาคนแรกในบัญชี

รายชื่อผูทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๒๕๕ (๓) และสามคนแรกในบัญชีรายชื่อผูทรงคุณวุฒิ

ตามมาตรา ๒๕๕ (๔) ซึ่งไดรับคะแนนสูงสุดและมีคะแนนมากกวากึ่งหนึ่งของจํานวน

สมาชิกในกรณีที่วุฒิสภาใหความเห็นชอบ ใหประธานวุฒิสภานําความกราบบังคมทูลเพื่อทรงแตงตั้งตอไป ในกรณีที่วุฒิสภาไมเห็นชอบ ไมวาทั้งหมดเทาที่มีอยูของวุฒิสภา

Page 132: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๑๒๓

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) เปนหรือบางสวน ใหสงชื่อผูไดรับการคัดเลือกเปนที่วุฒิสภาไมใหความเห็นชอบนั้น

กลับไปยังคณะกรรมการสรรหาตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ แตถาจํานวนผูไดรับเลือก

ดังกลาวจากบัญชีรายชื่อผูทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๒๕๕ (๓) มีไมครบหาคน หรือจาก

บัญชีรายชื่อผูทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๒๕๕ (๔) มีไมครบสามคน ใหนํารายชื่อผูไมไดรับ

เลือกในคราวแรกในบัญชีนั้นมาใหสมาชิกพรอมดวยเหตุผล หากคณะกรรมการสรรหา

ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญเห็นดวยกับวุฒิสภาออกเสียงลงคะแนนเลือกอีกครั้งหนึ่ง

ตอเนื่องกันไป และในกรณีนี้ ใหผูไดรับคะแนนสูงสุดเรียงลงไปตามลําดับจนครบจํานวน

เปนผูไดรับเลือกใหเปนใหเริ่มกระบวนการสรรหาใหม แตหากคณะกรรมการสรรหา

ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ถามีผูไดรับคะแนนเทากันในลําดับใดอันเปนเหตุใหมีผูไดรับ

เลือกเกินหาคนหรือสามคน แลวแตกรณีไมเห็นชอบกับมติของวุฒิสภาและมีมติยืนยัน

ตามมติเดิมดวยคะแนนเอกฉันท ใหประธานวุฒิสภาจับสลากวาผูใดเปนผูไดรับเลือกนํา

ความกราบบังคมทูลเพื่อทรงแตงตั้งตอไป

ใหนําบทบัญญัติมาตรา ๒๕๕ วรรคสองและวรรคสาม มาใชบังคับในกรณีที่ไม

อาจสรรหาผูทรงคุณวุฒิตาม (๑) ไดภายในเวลาที่กําหนด ไมวาดวยเหตุใด ๆ ใหที่ประชุม

ใหญศาลฎีกาแตงตั้งผูพิพากษาในศาลฎีกาซึ่งดํารงตําแหนงไมต่ํากวาผูพิพากษาศาล

ฎีกาจํานวนสามคน และใหที่ประชุมใหญตุลาการในศาลปกครองสูงสุดแตงตั้งตุลาการใน

ศาลปกครองสูงสุดจํานวนสองคน เปนกรรมการสรรหาเพื่อดําเนินการตาม (๑) แทน มาตรา ๒๕๘ ประธานศาลรัฐธรรมนูญและตุลาการศาลรัฐธรรมนูญตอง

(๑) ไมเปนขาราชการซึ่งมีตําแหนงหรือเงินเดือนประจํา

(๒) ไมเปนพนักงานหรือลูกจางของหนวยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือราชการ

สวนทองถิ่น หรือไมเปนกรรมการหรือที่ปรึกษาของรัฐวิสาหกิจ หรือของหนวยงานของรัฐ

มาตรา ๒๕๘๒๐๓ ประธานศาลรัฐธรรมนูญและตุลาการศาลรัฐธรรมนูญตอง

(๑) ไมเปนขาราชการซึ่งมีตําแหนงหรือเงินเดือนประจํา

(๒) ไมเปนพนักงานหรือลูกจางของหนวยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือราชการ

สวนทองถิ่น หรือไมเปนกรรมการหรือที่ปรึกษาของรัฐวิสาหกิจ หรือของหนวยงานของรัฐ

Page 133: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๑๒๔

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) (๓) ไมดํารงตําแหนงใดในหางหุนสวน บริษัท หรือองคการที่ดําเนินธุรกิจโดยมุง

หาผลกําไรหรือรายไดมาแบงปน กัน หรือเปนลูกจางของบุคคลใด

(๔) ไมประกอบวิชาชีพอิสระอื่นใด

ในกรณีที่ที่ประชุมใหญศาลฎีกา ที่ประชุมใหญศาลปกครองสูงสุด หรือวุฒิสภา

แลวแตกรณี เลือกบุคคลตาม (๑) (๒) (๓) หรือ (๔) โดยไดรับความยินยอมของบุคคลนั้น

ผูไดรับเลือกจะเริ่มปฏิบัติหนาที่ไดตอเมื่อตนไดลาออกจากการเปนบุคคลตาม (๑) (๒)

หรือ (๓) หรือแสดงหลักฐานใหเปนที่เชื่อไดวาตนไดเลิกประกอบวิชาชีพอิสระดังกลาว

แลว ซึ่งตองกระทําภายในสิบหาวันนับแตวันที่ไดรับเลือก แตถาผูนั้นมิไดลาออกหรือเลิก

ประกอบวิชาชีพอิสระภายในเวลาที่กําหนด ใหถือวาผูนั้นมิไดเคยรับเลือกใหเปนตุลาการ

ศาลรัฐธรรมนูญ และใหนําบทบัญญัติมาตรา ๒๖๑ มาใชบังคับ

(๓) ไมดํารงตําแหนงใดในหางหุนสวน บริษัท หรือองคการที่ดําเนินธุรกิจโดยมุง

หาผลกําไรหรือรายไดมาแบงปน กัน หรือเปนลูกจางของบุคคลใด

(๔) ไมประกอบวิชาชีพอิสระอื่นใด

ในกรณีที่ที่ประชุมใหญศาลฎีกาหรือที่ประชุมใหญตุลาการในศาลปกครองสูงสุด

เลือกบุคคล หรือวุฒิสภา แลวแตกรณี เลือกใหความเห็นชอบบุคคลตาม (๑) (๒) (๓) หรือ

(๔) โดยไดรับความยินยอมของบุคคลนั้น ผูไดรับเลือกจะเริ่มปฏิบัติหนาที่ไดตอเมื่อตนได

ลาออกจากการเปนบุคคลตาม (๑) (๒) หรือ (๓) หรือแสดงหลักฐานใหเปนที่เชื่อไดวาตน

ไดเลิกประกอบวิชาชีพอิสระดังกลาวแลว ซึ่งตองกระทําภายในสิบหาวันนับแตวันที่ไดรับ

เลือกหรือไดรับความเห็นชอบ แตถาผูนั้นมิไดลาออกหรือเลิกประกอบวิชาชีพอิสระ

ภายในเวลาที่กําหนด ใหถือวาผูนั้นมิไดเคยรับเลือกหรือไดรับความเห็นชอบใหเปน

ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ และใหนําบทบัญญัติมาตรา ๒๖๑๒๐๐ และมาตรา ๒๐๒

แลวแตกรณี มาใชบังคับ

มาตรา ๒๕๙ ประธานศาลรัฐธรรมนูญและตุลาการศาลรัฐธรรมนูญมีวาระการดํารงตําแหนงเกาปนับแตวันที่พระมหากษัตริยทรงแตงตั้ง และใหดํารงตําแหนงไดเพียงวาระเดียว ประธานศาลรัฐธรรมนูญและตุลาการศาลรัฐธรรมนูญซึ่งพนจากตําแหนงตาม

วาระ ใหปฏิบัติหนาที่ตอไปจนกวาประธานศาลรัฐธรรมนูญและตุลาการศาลรัฐธรรมนูญซึ่งไดรับแตงตั้งใหมจะเขารับหนาที ่ ประธานศาลรัฐธรรมนูญและตุลาการศาลรัฐธรรมนูญเปนเจาพนักงานในการ

ยุติธรรมตามกฎหมาย

มาตรา ๒๕๙๒๐๔ ประธานศาลรัฐธรรมนูญและตุลาการศาลรัฐธรรมนูญมีวาระการดํารงตําแหนงเกาปนับแตวันที่พระมหากษัตริยทรงแตงตั้ง และใหดํารงตําแหนงไดเพียงวาระเดียว ประธานศาลรัฐธรรมนูญและตุลาการศาลรัฐธรรมนูญซึ่งพนจากตําแหนงตาม

วาระ ใหปฏิบัติหนาที่ตอไปจนกวาประธานศาลรัฐธรรมนูญและตุลาการศาลรัฐธรรมนูญซึ่งไดรับแตงตั้งใหมจะเขารับหนาที ่ ประธานศาลรัฐธรรมนูญและตุลาการศาลรัฐธรรมนูญเปนเจาพนักงานในการ

ยุติธรรมตามกฎหมาย มาตรา ๒๖๐ นอกจากการพนจากตําแหนงตามวาระ ประธานศาลรัฐธรรมนูญ

และตุลาการศาลรัฐธรรมนูญพนจากตําแหนง เมื่อ มาตรา ๒๖๐๒๐๕ นอกจากการพนจากตําแหนงตามวาระ ประธานศาล

รัฐธรรมนูญและตุลาการศาลรัฐธรรมนูญพนจากตําแหนง เมื่อ

Page 134: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๑๒๕

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) (๑) ตาย

(๒) มีอายุครบเจ็ดสิบปบริบูรณ

(๓) ลาออก

(๔) ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะตองหามตามมาตรา ๒๕๖

(๕) กระทําการอันเปนการฝาฝนมาตรา ๒๕๘

(๖) วุฒิสภามีมติตามมาตรา ๓๐๗ ใหถอดถอนออกจากตําแหนง

(๗) ตองคําพิพากษาใหจําคุก

เมื่อมีกรณีตามวรรคหนึ่ง ใหตุลาการศาลรัฐธรรมนูญที่เหลืออยูปฏิบัติหนาที่

ตอไปไดภายใตบังคับมาตรา ๒๖๗

(๑) ตาย

(๒) มีอายุครบเจ็ดสิบปบริบูรณ

(๓) ลาออก

(๔) ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะตองหามตามมาตรา ๒๕๖๒๐๑

(๕) กระทําการอันเปนการฝาฝนมาตรา ๒๕๘๒๐๓

(๖) วุฒิสภามีมติตามมาตรา ๓๐๗๒๖๕ ใหถอดถอนออกจากตําแหนง

(๗) ตองคําพิพากษาใหจําคุก แมคดีนั้นจะยังไมถึงที่สุดหรือมีการรอการลงโทษ

เวนแตในความผิดอันไดกระทําโดยประมาท ความผิดลหุโทษ หรือความผิดฐานหมิ่น

ประมาท

เมื่อมีกรณีตามวรรคหนึ่ง ใหตุลาการศาลรัฐธรรมนูญที่เหลืออยูปฏิบัติหนาที่

ตอไปไดภายใตบังคับมาตรา ๒๖๗๒๑๑ มาตรา ๒๖๑ ในกรณีที่ประธานศาลรัฐธรรมนูญและตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ

พนจากตําแหนงตามวาระพรอมกันทั้งหมด ใหเริ่มดําเนินการตามมาตรา ๒๕๕ และ

มาตรา ๒๕๗ ภายในสามสิบวันนับแตวันที่พนจากตําแหนง

ในกรณีที่ประธานศาลรัฐธรรมนูญหรือตุลาการศาลรัฐธรรมนูญพนจากตําแหนง

นอกจากกรณีตามวรรคหนึ่ง ใหดําเนินการดังตอไปนี้

(๑) ในกรณีที่เปนตุลาการศาลรัฐธรรมนูญซึ่งไดรับเลือกโดยที่ประชุมใหญศาล

ฎีกา ใหนํามาตรา ๒๕๕ (๑) มาใชบังคับโดยอนุโลม ทั้งนี้ ใหดําเนินการเลือกใหแลวเสร็จ

ภายในสามสิบวันนับแตวันที่พนจากตําแหนง

(๒) ในกรณีที่เปนตุลาการศาลรัฐธรรมนูญซึ่งไดรับเลือกโดยที่ประชุมใหญศาล

ปกครองสูงสุด ใหนํามาตรา ๒๕๕ (๒) มาใชบังคับโดยอนุโลม ทั้งนี้ ใหดําเนินการเลือกให

แลวเสร็จภายในสามสิบวันนับแตวันที่พนจากตําแหนง

มาตรา ๒๖๑๒๐๖ ในกรณีที่ประธานศาลรัฐธรรมนูญและตุลาการศาล

รัฐธรรมนูญพนจากตําแหนงตามวาระพรอมกันทั้งหมด ใหเริ่มดําเนินการตามมาตรา

๒๕๕๒๐๐ และมาตรา ๒๕๗๒๐๒ ภายในสามสิบวันนับแตวันที่พนจากตําแหนง

ในกรณีที่ประธานศาลรัฐธรรมนูญหรือตุลาการศาลรัฐธรรมนูญพนจากตําแหนง

นอกจากกรณีตามวรรคหนึ่ง ใหดําเนินการดังตอไปนี้

(๑) ในกรณีที่เปนตุลาการศาลรัฐธรรมนูญซึ่งไดรับเลือกโดยที่ประชุมใหญศาล

ฎีกา ใหนําดําเนินการตามมาตรา ๒๕๕๒๐๐ (๑) มาใชบังคับโดยอนุโลม ทั้งนี้ ให

ดําเนินการเลือกใหแลวเสร็จภายในสามสิบวันนับแตวันที่พนจากตําแหนง

(๒) ในกรณีที่เปนตุลาการศาลรัฐธรรมนูญซึ่งไดรับเลือกโดยที่ประชุมใหญ

ตุลาการในศาลปกครองสูงสุด ใหนําดําเนินการตามมาตรา ๒๕๕๒๐๐ (๒) มาใชบังคับ

Page 135: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๑๒๖

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) (๓) ในกรณีที่เปนตุลาการศาลรัฐธรรมนูญตามมาตรา ๒๕๕ (๓) หรือ (๔) ใหนํา

มาตรา ๒๕๗ มาใชบังคับโดยอนุโลม ในกรณีนี้ ใหเสนอชื่อผูสมควรเปนตุลาการศาล

รัฐธรรมนูญผูทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๒๕๕ (๓) หรือ (๔) เปนจํานวนสองเทาของผูซึ่งพน

จากตําแหนงตอประธานวุฒิสภา และใหวุฒิสภามีมติเลือก ทั้งนี้ ใหดําเนินการเลือกให

แลวเสร็จภายในสามสิบวันนบัแตวันที่พนจากตําแหนง

ในกรณีที่ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญพนจากตําแหนงไมวาทั้งหมดหรือบางสวนใน

ระหวางที่อยูนอกสมัยประชุมของรัฐสภา ใหดําเนินการตามมาตรา ๒๕๗ ภายในสามสิบ

วันนับแตวันเปดสมัยประชุมของรัฐสภา

ในกรณีที่ประธานศาลรัฐธรรมนูญพนจากตําแหนง ใหนําบทบัญญัติมาตรา

๒๕๕ วรรคสอง มาใชบังคับ

โดยอนุโลม ทั้งนี้ ใหดําเนินการเลือกใหแลวเสร็จภายในสามสิบวันนับแตวันที่พนจาก

ตําแหนง

(๓) ในกรณีที่เปนตุลาการศาลรัฐธรรมนูญตามมาตรา ๒๕๕๒๐๐ (๓) หรือ (๔)

ใหนําดําเนินการตามมาตรา ๒๕๗๒๐๒ มาใชบังคับโดยอนุโลม ในกรณีนี้ ใหเสนอชื่อ

ผูสมควรเปนตุลาการศาลรัฐธรรมนูญผูทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๒๕๕ (๓) หรือ (๔) เปน

จํานวนสองเทาของผูซึ่งพนจากตําแหนงตอประธานวุฒิสภา และใหวุฒิสภามีมติเลือก

ทั้งนี้ ใหดําเนินการเลือกใหแลวเสร็จภายในสามสิบวันนับแตวันที่พนจากตําแหนง

ในกรณีที่ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญพนจากตําแหนงไมวาทั้งหมดหรือบางสวนใน

ระหวางที่อยูนอกสมัยประชุมของรัฐสภา ใหดําเนินการตามมาตรา ๒๕๗๒๐๒ ภายใน

สามสิบวันนับแตวันเปดสมัยประชุมของรัฐสภา

ในกรณีที่ประธานศาลรัฐธรรมนูญพนจากตําแหนง ใหนําบทบัญญัติมาตรา

๒๕๕๒๐๐ วรรคสองสาม มาใชบังคับ มาตรา ๒๖๔ ในการที่ศาลจะใชบทบัญญัติแหงกฎหมายบังคับแกคดีใด ถาศาล

เห็นเองหรือคูความโตแยงวาบทบัญญัติแหงกฎหมายนั้นตองดวยบทบัญญัติมาตรา ๖ และยังไมมีคําวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญในสวนที่เกี่ยวกับบทบัญญัตินั้น ใหศาลรอการ

พิจารณาพิพากษาคดีไวชั่วคราว และสงความเห็นเชนวานั้นตามทางการเพื่อศาลรัฐธรรมนูญจะไดพิจารณาวินิจฉัย ในกรณีที่ศาลรัฐธรรมนูญเห็นวาคําโตแยงของคูความตามวรรคหนึ่งไมเปนสาระ

อันควรไดรับการวินิจฉัย ศาลรัฐธรรมนูญจะไมรับเรื่องดังกลาวไวพิจารณาก็ได คําวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญใหใชไดในคดีทั้งปวง แตไมกระทบกระเทือนถึงคําพิพากษาของศาลอันถึงที่สุดแลว

มาตรา ๒๖๔๒๐๗ ในการที่ศาลจะใชบทบัญญัติแหงกฎหมายบังคับแกคดีใด

ถาศาลเห็นเองหรือคูความโตแยงพรอมดวยเหตุผลวาบทบัญญัติแหงกฎหมายนั้นตอง

ดวยบทบัญญัติมาตรา ๖ และยังไมมีคําวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญในสวนที่เกี่ยวกับบทบัญญัตินั้น ใหศาลรอการพิจารณาพิพากษาคดีไวชั่วคราว และสงความเห็นเชนวานั้นตามทางการเพื่อศาลรัฐธรรมนูญจะไดพิจารณาวินิจฉัย ในระหวางนั้นใหศาลดําเนินการพิจารณาตอไปได แตใหรอการพิพากษาคดีไวชั่วคราว จนกวาจะมีคําวินิจฉัยของศาล

รัฐธรรมนูญ

ในกรณีที่ศาลรัฐธรรมนูญเห็นวาคําโตแยงของคูความตามวรรคหนึ่งไมเปนสาระ

อันควรไดรับการวินิจฉัย ศาลรัฐธรรมนูญจะไมรับเรื่องดังกลาวไวพิจารณาก็ได คําวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญใหใชไดในคดีทั้งปวง แตไมกระทบกระเทือนถึงคําพิพากษาของศาลอันถึงที่สุดแลว

Page 136: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๑๒๗

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) มาตรา ๒๐๘ บุคคลซึ่งถูกละเมิดสิทธิหรือเสรีภาพที่รัฐธรรมนูญนี้รับรองไวมี

สิทธิยื่นคํารองตอศาลรัฐธรรมนูญเพื่อมีคําวินิจฉัยวาบทบัญญัติแหงกฎหมายขัดหรือแยง

ตอรัฐธรรมนูญได

การใชสิทธิตามวรรคหนึ่งตองเปนกรณีที่ไมอาจใชสิทธิโดยวิธีการอื่นได ทั้งนี ้

ตามที่กําหนดในพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยวิธีพิจารณาของศาล

รัฐธรรมนูญ มาตรา ๒๖๕ ในการปฏิบัติหนาที่ ศาลรัฐธรรมนูญมีอํานาจเรียกเอกสารหรือหลักฐานที่เกี่ยวของจากบุคคลใด หรือเรียกบุคคลใดมาใหถอยคํา ตลอดจนขอใหศาล

พนักงานสอบสวน หนวยราชการ หนวยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือราชการสวนทองถิ่น

ดําเนินการใดเพื่อประโยชนแหงการพิจารณาได ศาลรัฐธรรมนูญมีอํานาจแตงตั้งบุคคลหรือคณะบุคคลเพื่อปฏิบัติหนาที่ตามที่

มอบหมาย

มาตรา ๒๖๕๒๐๙ ในการปฏิบัติหนาที่ ศาลรัฐธรรมนูญมีอํานาจเรียกเอกสารหรือหลักฐานที่เกี่ยวของจากบุคคลใด หรือเรียกบุคคลใดมาใหถอยคํา ตลอดจนขอใหศาล

พนักงานสอบสวน หนวยราชการ หนวยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือราชการสวนทองถิ่น

ดําเนินการใดเพื่อประโยชนแหงการพิจารณาได ศาลรัฐธรรมนูญมีอํานาจแตงตั้งบุคคลหรือคณะบุคคลเพื่อปฏิบัติหนาที่ตามที่

มอบหมาย

มาตรา ๒๖๖ ในกรณีที่มีปญหาเกี่ยวกับอํานาจหนาที่ขององคกรตาง ๆ ตาม

รัฐธรรมนูญ ใหองคกรนั้นหรือประธานรัฐสภา เสนอเรื่องพรอมความเห็นตอศาลรัฐธรรมนูญเพื่อพิจารณาวินิจฉัย

มาตรา ๒๖๖๒๑๐ ในกรณีที่มีปญหาความขัดแยงเกี่ยวกับอํานาจหนาที่ของ

ระหวางรัฐสภา คณะรัฐมนตรี หรือองคกรตาง ๆ ตามรัฐธรรมนูญที่มิใชศาลตั้งแตสอง

องคกรขึ้นไป ใหองคกรนั้นหรือประธานรัฐสภา นายกรัฐมนตรี หรือองคกรนั้น เสนอเรื่องพรอมความเห็นตอศาลรัฐธรรมนูญเพื่อพิจารณาวินิจฉัย

มาตรา ๒๖๗ องคคณะของตุลาการศาลรัฐธรรมนูญในการนั่งพิจารณาและใน

การทําคําวินิจฉัย ตองประกอบดวยตุลาการศาลรัฐธรรมนูญไมนอยกวาเกาคน คํา

วินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญใหถือเสียงขางมาก เวนแตจะมีบัญญัติเปนอยางอื่นใน

รัฐธรรมนูญนี้ ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญซึ่งเปนองคคณะทุกคนจะตองทําคําวินิจฉัยในสวนของ

ตนพรอมแถลงดวยวาจาตอที่ประชุมกอนการลงมต ิ

มาตรา ๒๖๗๒๑๑ องคคณะของตุลาการศาลรัฐธรรมนูญในการนั่งพิจารณา

และในการทําคําวินิจฉัย ตองประกอบดวยตุลาการศาลรัฐธรรมนูญไมนอยกวาเกาหาคน

คําวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญใหถือเสียงขางมาก เวนแตจะมีบัญญัติเปนอยางอื่นใน

รัฐธรรมนูญนี้ ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญซึ่งเปนองคคณะทุกคนจะตองทําคําความเห็นในการ

วินิจฉัยในสวนของตนพรอมแถลงดวยวาจาตอที่ประชุมกอนการลงมติ

Page 137: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๑๒๘

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) คําวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญและคําวินิจฉัยของตุลาการรัฐธรรมนูญทุกคน ใหประกาศในราชกิจจานุเบกษา คําวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญอยางนอยตองประกอบดวยความเปนมาหรือคํา

กลาวหา สรุปขอเท็จจริงที่ไดมาจากการพิจารณา เหตุผลในการวินิจฉัยในปญหาขอเท็จจริงและขอกฎหมาย และบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญและกฎหมายที่ยกขึ้นอางอิง มาตรา ๒๖๘ คําวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญใหเปนเด็ดขาด มีผลผูกพันรัฐสภา

คณะรัฐมนตรี ศาล และองคกรอื่นของรัฐ มาตรา ๒๖๙ วิธีพิจารณาของศาลรัฐธรรมนูญใหเปนไปตามที่ศาลรัฐธรรมนูญ

กําหนดซึ่งตองกระทําโดยมติเอกฉันทของคณะตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ และใหประกาศ

ในราชกิจจานุเบกษา วิธีพิจารณาของศาลรัฐธรรมนูญตามวรรคหนึ่ง อยางนอยตองมีหลักประกันขั้นพื้นฐานเรื่องการพิจารณาคดีโดยเปดเผย การใหโอกาสคูกรณีแสดงความเห็นของตน

กอนการวินิจฉัยคด ีการใหสิทธิคูกรณีขอตรวจดูเอกสารที่เกี่ยวกับตน การเปดโอกาสใหมีการคัดคานตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ และการใหเหตุผลประกอบคําวินิจฉัยหรือคําสั่งของศาลรัฐธรรมนูญดวย

คําวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญและคําความเห็นในการวินิจฉัยของตุลาการ

รัฐธรรมนูญทุกคน ใหประกาศในราชกิจจานุเบกษา คําวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญอยางนอยตองประกอบดวยความเปนมาหรือคํา

กลาวหา สรุปขอเท็จจริงที่ไดมาจากการพิจารณา เหตุผลในการวินิจฉัยในปญหาขอเท็จจริงและขอกฎหมาย และบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญและกฎหมายที่ยกขึ้นอางอิง คําวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญใหเปนเด็ดขาด มีผลผูกพันรัฐสภา คณะรัฐมนตรี ศาล และองคกรอื่นของรัฐ วิธีพิจารณาของศาลรัฐธรรมนูญใหเปนไปตามพระราชบัญญัติประกอบ

รัฐธรรมนูญวาดวยวิธีพิจารณาของศาลรัฐธรรมนูญ มาตรา ๒๖๘ คําวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญใหเปนเด็ดขาด มีผลผูกพันรัฐสภา

คณะรัฐมนตรี ศาล และองคกรอื่นของรัฐ มาตรา ๒๖๙ วิธีพิจารณาของศาลรัฐธรรมนูญใหเปนไปตามที่ศาลรัฐธรรมนูญ

กําหนดซึ่งตองกระทําโดยมติเอกฉันทของคณะตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ และใหประกาศ

ในราชกิจจานุเบกษา วิธีพิจารณาของศาลรัฐธรรมนูญตามวรรคหนึ่ง อยางนอยตองมีหลักประกันขั้นพื้นฐานเรื่องการพิจารณาคดีโดยเปดเผย การใหโอกาสคูกรณีแสดงความเห็นของตน

กอนการวินิจฉัยคด ีการใหสิทธิคูกรณีขอตรวจดูเอกสารที่เกี่ยวกับตน การเปดโอกาสใหมีการคัดคานตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ และการใหเหตุผลประกอบคําวินิจฉัยหรือคําสั่งของศาลรัฐธรรมนูญดวย

มาตรา ๒๗๐ ศาลรัฐธรรมนูญมีหนวยธุรการของศาลรัฐธรรมนูญที่เปนอิสระ โดยมีเลขาธิการสํานักงานศาลรัฐธรรมนูญเปนผูบังคับบัญชาขึ้นตรงตอประธานศาล

รัฐธรรมนูญ

มาตรา ๒๗๐๒๑๒ ศาลรัฐธรรมนูญมีหนวยธุรการของศาลรัฐธรรมนูญที่เปนอิสระ โดยมีเลขาธิการสํานักงานศาลรัฐธรรมนูญเปนผูบังคับบัญชาขึ้นตรงตอประธานศาลรัฐธรรมนูญ

Page 138: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๑๒๙

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) การแตงตั้งเลขาธิการสํานักงานศาลรัฐธรรมนูญ ตองไดรับความเห็นชอบของคณะตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ สํานักงานศาลรัฐธรรมนูญมีอิสระในการบริหารงานบุคคล การงบประมาณ และการดําเนินการอื่น ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ

การแตงตั้งเลขาธิการสํานักงานศาลรัฐธรรมนูญ ตองมาจากการเสนอของประธานศาลรัฐธรรมนูญและไดรับความเห็นชอบของคณะตุลาการศาลรัฐธรรมนูญตามที่

กฎหมายบัญญัติ

สํานักงานศาลรัฐธรรมนูญมีอิสระในการบริหารงานบุคคล การงบประมาณ และ

การดําเนินการอื่น ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ

สวนที่ ๓ ศาลยุติธรรม

ไมมีการแกไข

มาตรา ๒๗๑ ศาลยุติธรรมมีอํานาจพิจารณาพิพากษาคดีทั้งปวง เวนแตคดีที่รัฐธรรมนูญนี้หรือกฎหมายบัญญัติใหอยูในอํานาจของศาลอื่น

มาตรา ๒๗๑๒๑๓ ศาลยุติธรรมมีอํานาจพิจารณาพิพากษาคดีทั้งปวง เวนแตคดีที่รัฐธรรมนูญนี้หรือกฎหมายบัญญัติใหอยูในอํานาจของศาลอื่น

มาตรา ๒๗๒ ศาลยุติธรรมมีสามชั้น คือ ศาลชั้นตน ศาลอุทธรณ และศาลฎีกา เวนแตที่มีบัญญัติไวเปนอยางอื่นในรัฐธรรมนูญนี้หรือตามกฎหมายอื่น ใหมีแผนกคดีอาญาของผูดํารงตําแหนงทางการเมืองในศาลฎีกา โดยองคคณะ

ผูพิพากษาประกอบดวยผูพิพากษาในศาลฎีกาซึ่งดํารงตําแหนงไมต่ํากวาผูพิพากษาศาล

ฎีกา จํานวนเกาคน ซึ่งไดรับเลือกโดยที่ประชุมใหญศาลฎีกาโดยวิธีลงคะแนนลับ และให

เลือกเปนรายคด ี อํานาจหนาที่ของศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผูดํารงตําแหนงทางการเมืองและ

วิธีพิจารณาคดีอาญาของผูดํารงตําแหนงทางการเมือง ใหเปนไปตามที่บัญญัติไวในรัฐธรรมนูญนี้และในกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยวิธีพิจารณาคดีอาญาของผูดํารง

ตําแหนงทางการเมือง

มาตรา ๒๗๒๒๑๔ ศาลยุติธรรมมีสามชั้น คือ ศาลชั้นตน ศาลอุทธรณ และ

ศาลฎีกา เวนแตที่มีบัญญัติไวเปนอยางอื่นในรัฐธรรมนูญนี้หรือตามกฎหมายอื่น ศาลฎีกามีอํานาจพิจารณาพิพากษาคดีที่รัฐธรรมนูญหรือกฎหมายบัญญัติให

เสนอตอศาลฎีกาไดโดยตรง และคดีที่อุทธรณหรือฎีกาคําพิพากษาหรือคําสั่งของศาล

ชั้นตนหรือศาลอุทธรณ ตามที่กฏหมายบัญญัติ เวนแตเปนกรณีที่ศาลฎีกาเห็นวา

ขอกฎหมายหรือขอเท็จจริงที่อุทธรณหรือฎีกานั้นจะไมเปนสาระอันควรแกการพิจารณา ศาลฎีกามีอํานาจไมรับคดีไวพิจารณาพิพากษาได ทั้งนี้ ตามระเบียบที่ที่ประชุมใหญศาลฎีกากําหนด ใหศาลฎีกามีอํานาจพิจารณาและวินิจฉัยคดีที่เกี่ยวกับการเลือกตั้งและการ

เพิกถอนสิทธิเลือกตั้ง ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎร และใหศาลอุทธรณมี

อํานาจพิจารณาและวินิจฉัยคดีที่เกี่ยวกับการเลือกตั้งและการเพิกถอนสิทธิเลือกตั้ง ใน

Page 139: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๑๓๐

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) การเลือกตั้งสมาชิกสภาทองถิ่นและผูบริหารทองถิ่น ทั้งนี้ วิธีพิจารณาและวินิจฉัยคดีให

เปนไปตามระเบียบที่ที่ประชุมใหญศาลฎีกากําหนด โดยตองใชระบบไตสวนและเปนไปโดยรวดเร็ว ใหมีแผนกคดีอาญาของผูดํารงตําแหนงทางการเมืองในศาลฎีกา โดยองคคณะ

ผูพิพากษาประกอบดวยผูพิพากษาในศาลฎีกาซึ่งดํารงตําแหนงไมต่ํากวาผูพิพากษาศาล

ฎีกาจํานวนเกาคน ซึ่งไดรับเลือกโดยที่ประชุมใหญศาลฎีกาโดยวิธีลงคะแนนลับ และให

เลือกเปนรายคด ี อํานาจหนาที่ของศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผูดํารงตําแหนงทางการเมืองและ

วิธีพิจารณาคดีอาญาของผูดํารงตําแหนงทางการเมือง ใหเปนไปตามที่บัญญัติไวในรัฐธรรมนูญนี้และในกฎหมายพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยวิธีพิจารณา

คดีอาญาของผูดํารงตําแหนงทางการเมือง

มาตรา ๒๗๓ การแตงตั้งและการใหผูพิพากษาในศาลยุติธรรมพนจากตําแหนง ตองไดรับความเห็นชอบของคณะกรรมการตุลาการศาลยุติธรรมกอน แลวจึงนําความกราบบังคมทูล การเลื่อนตําแหนง การเลื่อนเงินเดือน และการลงโทษผูพิพากษาในศาล

ยุติธรรม ตองไดรับความเห็นชอบของคณะกรรมการตุลาการศาลยุติธรรม ในการนี้ใหคณะกรรมการตุลาการศาลยุติธรรมแตงตั้งคณะอนุกรรมการขึ้นชั้นศาลละหนึ่งคณะ เพื่อ

เสนอความคิดเห็นในเรื่องดังกลาวเพื่อประกอบการพิจารณา

มาตรา ๒๗๓๒๑๕ การแตงตั้งและการใหผูพิพากษาในศาลยุติธรรมพนจากตําแหนง ตองไดรับความเห็นชอบของคณะกรรมการตุลาการศาลยุติธรรมกอน แลวจึงนําความกราบบังคมทูล การเลื่อนตําแหนง การเลื่อนเงินเดือน และการลงโทษผูพิพากษาในศาล

ยุติธรรม ตองไดรับความเห็นชอบของคณะกรรมการตุลาการศาลยุติธรรม ในการนี้ใหคณะกรรมการตุลาการศาลยุติธรรมแตงตั้งคณะอนุกรรมการขึ้นชั้นศาลละหนึ่งคณะ เพื่อ

เสนอความคิดเห็นในเรื่องดังกลาวเพื่อประกอบการพิจารณา มาตรา ๒๗๔ คณะกรรมการตุลาการศาลยุติธรรมประกอบดวยบุคคล

ดังตอไปนี้

(๑) ประธานศาลฎีกาเปนประธานกรรมการ

มาตรา ๒๗๔๒๑๖ คณะกรรมการตุลาการศาลยุติธรรมประกอบดวยบุคคล

ดังตอไปนี้

(๑) ประธานศาลฎีกาเปนประธานกรรมการ

Page 140: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๑๓๑

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) (๒) กรรมการผูทรงคุณวุฒิในแตละชั้นศาล ชั้นศาลละสี่คน รวมเปนสิบสองคน

ซึ่งเปนขาราชการตุลาการในแตละชั้นศาล และไดรับเลือกจากขาราชการตุลาการใน

ทุกชั้นศาล

(๓) กรรมการผูทรงคุณวุฒิจํานวนสองคน ซึ่งไมเปนหรือเคยเปนขาราชการ

ตุลาการ และไดรับเลือกจากวุฒิสภา

คุณสมบัติ ลักษณะตองหาม และวิธีการเลือกกรรมการผูทรงคุณวุฒิ ใหเปนไป

ตามที่กฎหมายบัญญัติ

(๒) กรรมการผูทรงคุณวุฒิในแตละชั้นศาล ไดแก ศาลฎีกาหกคน ชั้นศาลละอุทธรณสี่คน รวมเปนสิบและศาลชั้นตนสองคน ซึ่งเปนขาราชการตุลาการในแตละชั้น

ศาล และไดรับเลือกจากขาราชการตุลาการในทุกแตละชั้นศาล

(๓) กรรมการผูทรงคุณวุฒิจํานวนสองคน ซึ่งไมเปนหรือเคยเปนขาราชการ

ตุลาการ และไดรับเลือกจากวุฒิสภา

คุณสมบัติ ลักษณะตองหาม และวิธีการเลือกกรรมการผูทรงคุณวุฒิ ใหเปนไป

ตามที่กฎหมายบัญญัติ มาตรา ๒๗๕ ศาลยุติธรรมมีหนวยธุรการของศาลยุติธรรมที่เปนอิสระ โดยมีเลขาธิการสํานักงานศาลยุติธรรมเปนผูบังคับบัญชาขึ้นตรงตอประธานศาลฎีกา การแตงตั้งเลขาธิการสํานักงานศาลยุติธรรม ตองไดรับความเห็นชอบของคณะกรรมการตุลาการศาลยุติธรรม สํานักงานศาลยุติธรรมมีอิสระในการบริหารงานบุคคล การงบประมาณ และการ

ดําเนินการอื่น ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ

มาตรา ๒๗๕๒๑๗ ศาลยุติธรรมมีหนวยธุรการของศาลยุติธรรมที่เปนอิสระ โดยมีเลขาธิการสํานักงานศาลยุติธรรมเปนผูบังคับบัญชาขึ้นตรงตอประธานศาลฎีกา การแตงตั้งเลขาธิการสํานักงานศาลยุติธรรม ตองมาจากการเสนอของประธานศาลฎีกาและไดรับความเห็นชอบของคณะกรรมการตุลาการศาลยุติธรรมตามที่กฎหมาย

บัญญัติ สํานักงานศาลยุติธรรมมีอิสระในการบริหารงานบุคคล การงบประมาณ และการ

ดําเนินการอื่น ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ สวนที่ ๔

ศาลปกครอง

ไมมีการแกไข

มาตรา ๒๗๖ ศาลปกครองมีอํานาจพิจารณาพิพากษาคดีที่เปนขอพิพาท

ระหวางหนวยราชการ หนวยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือราชการสวนทองถิ่น หรือเจาหนาที่ของรัฐที่อยูในบังคับบัญชาหรือในกํากับดูแลของรัฐบาลกับเอกชน หรือระหวางหนวยราชการ หนวยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือราชการสวนทองถิ่น หรือเจาหนาที่ของ

มาตรา ๒๗๖๒๑๘ ศาลปกครองมีอํานาจพิจารณาพิพากษาคดีที่เปนขอพิพาท

ระหวางหนวยราชการ หนวยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือราชการองคกรปกครองสวน

ทองถิ่น หรือองคกรตามรัฐธรรมนูญ หรือเจาหนาที่ของรัฐที่อยูในบังคับบัญชาหรือในกํากับดูแลของรัฐบาลกับเอกชน หรือระหวางหนวยราชการ หนวยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ

Page 141: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๑๓๒

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) รัฐที่อยูในบังคับบัญชาหรือในกํากับดูแลของรัฐบาลดวยกัน ซึ่งเปนขอพิพาทอันเนื่องมาจากการกระทําหรือการละเวนการกระทําที่หนวยราชการ หนวยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือราชการสวนทองถิ่น หรือเจาหนาที่ของรัฐนั้น ตองปฏิบัติตามกฎหมาย

หรือเนื่องจากการกระทําหรือการละเวนการกระทําที่หนวยราชการ หนวยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือราชการสวนทองถิ่น หรือเจาหนาที่ของรัฐนั้น ตองรับผิดชอบในการปฏิบัติหนาที่ตามกฎหมาย ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ ใหมีศาลปกครองสูงสุดและศาลปกครองชั้นตน และจะมีศาลปกครองชั้นอุทธรณ

ดวยก็ได

หรือราชการองคกรปกครองสวนทองถิ่น หรือองคกรตามรัฐธรรมนูญ หรือเจาหนาที่ของรัฐที่อยูในบังคับบัญชาหรือในกํากับดูแลของรัฐบาลดวยกัน ซึ่งเปนขอพิพาทอันเนื่องมาจากการกระทําหรือการละเวนการกระทําที่หนวยราชการ หนวยงานของรัฐ

รัฐวิสาหกิจ หรือราชการสวนทองถิ่น หรือเจาหนาที่ของรัฐนั้น ตองปฏิบัติใชอํานาจทาง ปกครองตามกฎหมาย หรือเนื่องจากการกระทําหรือการละเวนการกระทําที่ดําเนิน

กิจการทางปกครองของหนวยราชการ หนวยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือราชการองคกร

ปกครองสวนทองถิ่น หรือองคกรตามรัฐธรรมนูญ หรือเจาหนาที่ของรัฐนั้น ตองรับผิดชอบในการปฏิบัติหนาที่ตามกฎหมาย ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ รวมทั้งมีอํานาจพิจารณาพิพากษาเรื่องที่รัฐธรรมนูญหรือกฎหมายบัญญัติใหอยูในอํานาจของศาล

ปกครอง ใหมีศาลปกครองสูงสุดและศาลปกครองชั้นตน และจะมีศาลปกครองชั้นอุทธรณ

ดวยก็ได

มาตรา ๒๗๗ การแตงตั้งและการใหตุลาการในศาลปกครอง พนจากตําแหนง ตองไดรับความเห็นชอบของคณะกรรมการตุลาการศาลปกครองตามที่กฎหมายบัญญัติ

กอน แลวจึงนําความกราบบังคมทูล ผูทรงคุณวุฒิสาขานิติศาสตรและผูทรงคุณวุฒิในการบริหารราชการแผนดิน อาจไดรับแตงตั้งใหเปนตุลาการในศาลปกครองสูงสุดได การแตงตั้งใหบุคคลดังกลาวเปนตุลาการในศาลปกครองสูงสุด ใหแตงตั้งไมนอยกวาหนึ่งในสามของจํานวนตุลาการในศาลปกครองสูงสุดทั้งหมด และตองไดรับความเห็นชอบของคณะกรรมการตุลาการศาล

ปกครองตามที่กฎหมายบัญญัติและไดรับความเห็นชอบจากวุฒิสภากอน แลวจึงนําความกราบบังคมทูล การเลื่อนตําแหนง การเลื่อนเงินเดือน และการลงโทษตุลาการในศาลปกครอง

ตองไดรับความเห็นชอบของคณะกรรมการตุลาการศาลปกครองตามที่กฎหมายบัญญัติ

มาตรา ๒๗๗๒๑๙ การแตงตั้งและการใหตุลาการในศาลปกครอง พนจากตําแหนง ตองไดรับความเห็นชอบของคณะกรรมการตุลาการศาลปกครองตามที่

กฎหมายบัญญัติกอน แลวจึงนําความกราบบังคมทูล ผูทรงคุณวุฒิสาขานิติศาสตรและผูทรงคุณวุฒิในการบริหารราชการแผนดิน อาจไดรับแตงตั้งใหเปนตุลาการในศาลปกครองสูงสุดได การแตงตั้งใหบุคคลดังกลาวเปนตุลาการในศาลปกครองสูงสุด ใหแตงตั้งไมนอยกวาหนึ่งในสามของจํานวนตุลาการในศาลปกครองสูงสุดทั้งหมด และตองไดรับความเห็นชอบของคณะกรรมการตุลาการศาล

ปกครองตามที่กฎหมายบัญญัติและไดรับความเห็นชอบจากวุฒิสภากอน แลวจึงนําความกราบบังคมทูล การเลื่อนตําแหนง การเลื่อนเงินเดือน และการลงโทษตุลาการในศาลปกครอง

ตองไดรับความเห็นชอบของคณะกรรมการตุลาการศาลปกครองตามที่กฎหมายบัญญัติ

Page 142: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๑๓๓

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) ตุลาการศาลปกครองในชั้นศาลใดจะมีจํานวนเทาใด ใหเปนไปตามที่คณะกรรมการ

ตุลาการศาลปกครองกําหนด

มาตรา ๒๗๘ การแตงตั้งตุลาการในศาลปกครองใหดํารงตําแหนงประธานศาลปกครองสูงสุดนั้น เมื่อไดรับความเห็นชอบของคณะกรรมการตุลาการศาลปกครองและ

วุฒิสภาแลว ใหนายกรัฐมนตรีนําความกราบบังคมทูลเพื่อทรงแตงตั้งตอไป

มาตรา ๒๗๘๒๒๐ การแตงตั้งตุลาการในศาลปกครองใหดํารงตําแหนงประธานศาลปกครองสูงสุดนั้น เมื่อไดรับความเห็นชอบของคณะกรรมการตุลาการศาล

ปกครองและวุฒิสภาแลว ใหนายกรัฐมนตรีนําความกราบบังคมทูลเพื่อทรงแตงตั้งตอไป มาตรา ๒๗๙ คณะกรรมการตุลาการศาลปกครองประกอบดวยบุคคล

ดังตอไปนี้

(๑) ประธานศาลปกครองสูงสุดเปนประธานกรรมการ

(๒) กรรมการผูทรงคุณวุฒิจํานวนเกาคนซึ่งเปนตุลาการในศาลปกครองและ

ไดรับเลือกจากตุลาการในศาลปกครองดวยกันเอง

(๓) กรรมการผูทรงคุณวุฒิซึ่งไดรับเลือกจากวุฒิสภาสองคน และจาก

คณะรัฐมนตรีอีกหนึ่งคน

คุณสมบัติ ลักษณะตองหาม และวิธีการเลือกกรรมการผูทรงคุณวุฒิ ใหเปนไป

ตามที่กฎหมายบัญญัติ

มาตรา ๒๗๙๒๒๑ คณะกรรมการตุลาการศาลปกครองประกอบดวยบุคคล

ดังตอไปนี้

(๑) ประธานศาลปกครองสูงสุดเปนประธานกรรมการ

(๒) กรรมการผูทรงคุณวุฒิจํานวนเกาคนซึ่งเปนตุลาการในศาลปกครองและ

ไดรับเลือกจากตุลาการในศาลปกครองดวยกันเอง

(๓) กรรมการผูทรงคุณวุฒิซึ่งไดรับเลือกจากวุฒิสภาสองคน และจาก

คณะรัฐมนตรีอีกหนึ่งคน

คุณสมบัติ ลักษณะตองหาม และวิธีการเลือกกรรมการผูทรงคุณวุฒิ ใหเปนไป

ตามที่กฎหมายบัญญัติ มาตรา ๒๘๐ ศาลปกครองมีหนวยธุรการของศาลปกครองที่เปนอิสระ โดยมีเลขาธิการสํานักงานศาลปกครองเปนผูบังคับบัญชาขึ้นตรงตอประธานศาลปกครองสูงสุด การแตงตั้งเลขาธิการสํานักงานศาลปกครอง ตองไดรับความเห็นชอบของคณะกรรมการตุลาการศาลปกครองตามที่กฎหมายบัญญัติ สํานักงานศาลปกครองมีอิสระในการบริหารงานบุคคล การงบประมาณ และ

การดําเนินการอื่น ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ

มาตรา ๒๘๐๒๒๒ ศาลปกครองมีหนวยธุรการของศาลปกครองที่เปนอิสระ โดยมีเลขาธิการสํานักงานศาลปกครองเปนผูบังคับบัญชาขึ้นตรงตอประธานศาลปกครอง

สูงสุด การแตงตั้งเลขาธิการสํานักงานศาลปกครอง ตองมาจากการเสนอของประธาน

ศาลปกครองสูงสุดและไดรับความเห็นชอบของคณะกรรมการตุลาการศาลปกครองตามที่

กฎหมายบัญญัติ สํานักงานศาลปกครองมีอิสระในการบริหารงานบุคคล การงบประมาณ และ

การดําเนินการอื่น ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ

Page 143: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๑๓๔

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) สวนที่ ๕ ศาลทหาร

ไมมีการแกไข

มาตรา ๒๘๑ ศาลทหารมีอํานาจพิจารณาพิพากษา คดีอาญาทหารและคดีอื่นตามที่กฎหมายบัญญัติ การแตงตั้งและการใหตุลาการศาลทหารพนจากตําแหนง ใหเปนไปตามที่กฎหมายบัญญัติ

มาตรา ๒๘๑๒๒๓ ศาลทหารมีอํานาจพิจารณาพิพากษา คดีอาญาซึ่งผูกระทําผิดเปนบุคคลที่อยูในอํานาจศาลทหารและคดีอื่นตามที่กฎหมายบัญญัติ การแตงตั้งและการใหตุลาการศาลทหารพนจากตําแหนง ใหเปนไปตามที่กฎหมายบัญญัติ

หมวด ๑๑ องคกรตามรัฐธรรมนูญ

สวนที่ ๑

องคกรอิสระตามรัฐธรรมนูญ

สวนที่ ๔

คณะกรรมการการเลือกตั้ง

สวนที่ ๔ ๑. คณะกรรมการการเลือกตั้ง

Page 144: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๑๓๕

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) มาตรา ๑๓๖ คณะกรรมการการเลือกตั้ง ประกอบดวยประธานกรรมการคน

หนึ่งและกรรมการอื่นอีกสี่คน ซึ่งพระมหากษัตริยทรงแตงตั้งตามคําแนะนําของวุฒิสภา จากผูซึ่งม ีความเปนกลางทางการเมืองและมีความซื่อสัตยสุจริตเปนที่ประจักษ ใหประธานวุฒิสภาลงนามรับสนองพระบรมราชโองการแตงตั้งประธาน

กรรมการและกรรมการตามวรรคหนึ่ง

มาตรา ๑๓๖๒๒๔ คณะกรรมการการเลือกตั้ง ประกอบดวยประธานกรรมการ

คนหนึ่งและกรรมการอื่นอีกสี่คน ซึ่งพระมหากษัตริยทรงแตงตั้งตามคําแนะนําของวุฒิสภา จากผูซึ่งม ีความเปนกลางทางการเมืองและมีความซื่อสัตยสุจริตเปนที่ประจักษ ใหประธานวุฒิสภาลงนามรับสนองพระบรมราชโองการแตงตั้งประธาน

กรรมการและกรรมการตามวรรคหนึ่ง มาตรา ๑๓๗ กรรมการการเลือกตั้งตองมีคุณสมบัติ และไมมีลักษณะตองหาม

ดังตอไปนี้

(๑) มีสัญชาติไทยโดยการเกิด

(๒) มีอายุไมต่ํากวาสี่สิบปบริบูรณในวันเสนอชื่อ

(๓) สําเร็จการศึกษาไมต่ํากวาปริญญาตรีหรือเทียบเทา

(๔) ไมมีลักษณะตองหามตามมาตรา ๑๐๖ หรือมาตรา ๑๐๙ (๑) (๒) (๔) (๕)

(๖) (๗) (๑๓) หรือ (๑๔)

(๕) ไมเปนสมาชิกสภาผูแทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา ขาราชการการเมือง

สมาชิกสภาทองถิ่น หรือผูบริหารทองถิ่น

(๖) ไมเปนหรือเคยเปนสมาชิกหรือผูดํารงตําแหนงอื่นของพรรคการเมืองใน

ระยะหาปกอนดํารงตําแหนง

(๗) ไมเปนผูตรวจการแผนดินของรัฐสภา กรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ

ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ตุลาการศาลปกครอง กรรมการปองกันและปราบปรามการ

ทุจริตแหงชาติ หรือกรรมการตรวจเงินแผนดนิ

มาตรา ๑๓๗๒๒๕ กรรมการการเลือกตั้งตองมีคุณสมบัติ และไมมีลักษณะ

ตองหาม ดังตอไปนี้

(๑) มีสัญชาติไทยโดยการเกิด

(๒๑) มีอายุไมต่ํากวาสี่สิบปบริบูรณในวันเสนอชื่อ

(๓๒) สําเร็จการศึกษาไมต่ํากวาปริญญาตรีหรือเทียบเทา

(๔๓) มีคุณสมบัติและไมมีลักษณะตองหามตามมาตรา ๑๐๖๒๐๑ หรือมาตรา

๑๐๙ (๑) (๒) (๔) (๕) และ (๖) (๗) (๑๓) หรือ (๑๔)

(๕) ไมเปนสมาชิกสภาผูแทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา ขาราชการการเมือง

สมาชิกสภาทองถิ่น หรือผูบริหารทองถิ่น

(๖) ไมเปนหรือเคยเปนสมาชิกหรือผูดํารงตําแหนงอื่นของพรรคการเมืองใน

ระยะหาปกอนดํารงตําแหนง

(๗๔) ไมเปนตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ผูตรวจการแผนดินของรัฐสภา กรรมการ

ปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ กรรมการตรวจเงินแผนดิน หรือกรรมการสิทธิ

มนุษยชนแหงชาติ ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ตุลาการศาลปกครอง กรรมการปองกันและ

ปราบปรามการทุจริตแหงชาติ หรือกรรมการตรวจเงินแผนดิน

ใหนําบทบัญญัติมาตรา ๒๐๓ มาใชบังคับกับกรรมการการเลือกตั้งดวยโดยอนุโลม

Page 145: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๑๓๖

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) มาตรา ๑๓๘ การสรรหาและการเลือกประธานกรรมการและกรรมการการ

เลือกตั้ง ใหดําเนินการดังนี้

(๑) ใหมีคณะกรรมการสรรหากรรมการการเลือกตั้งจํานวนสิบคน ซึ่ง

ประกอบดวยประธานศาลรัฐธรรมนูญ ประธานศาลปกครองสูงสุด อธิการบดีของ

สถาบันอุดมศึกษาของรัฐที่เปนนิติบุคคลทุกแหงซึ่งเลือกกันเองใหเหลือสี่คน ผูแทนพรรค

การเมืองทุกพรรคที่มีสมาชิกเปนสมาชิกสภาผูแทนราษฎรพรรคละหนึ่งคน ซึ่งเลือก

กันเองใหเหลือสี่คน ทําหนาที่พิจารณาสรรหาผูมีคณุสมบัติตามมาตรา ๑๓๗ ซึ่งสมควร

เปนกรรมการการเลือกตั้ง จํานวนหาคน เสนอตอประธานวุฒิสภา โดยตองเสนอพรอม

ความยินยอมของผูไดรับการเสนอชื่อนั้น มติในการเสนอชื่อดังกลาวตองมีคะแนนเสียง

ไมนอยกวาสามในสี่ของจํานวนกรรมการสรรหาทั้งหมดเทาที่มีอยู

(๒) ใหที่ประชุมใหญศาลฎีกาพิจารณาสรรหาผูสมควรเปนกรรมการการ

เลือกตั้งจํานวนหาคน เสนอตอประธานวุฒิสภา โดยตองเสนอพรอมความยินยอมของ

ผูไดรับการเสนอชื่อนั้น

(๓) การเสนอชื่อตาม (๑) และ (๒) ใหกระทําภายในสามสิบวันนับแตวันที่มีเหตุ

ที่ทําใหตองมีการเลือกบุคคลใหดํารงตําแหนงดังกลาว ในกรณีที่คณะกรรมการสรรหา

ตาม (๑) ไมอาจเสนอชื่อไดภายในเวลาที่กําหนด หรือไมอาจเสนอชื่อไดครบจํานวน

ภายในเวลาที่กําหนด ใหที่ประชุมใหญศาลฎีกาพิจารณาเสนอชื่อแทนจนครบจํานวน

ภายในสิบหาวันนับแตวันที่ครบกําหนดตองเสนอชื่อตาม (๑)

(๔) ใหประธานวุฒิสภาเรียกประชุมวุฒิสภาเพื่อมีมตเิลือกผูไดรับการเสนอชื่อ

ตาม (๑) (๒) และ (๓) ซึ่งตองกระทําโดยวิธีลงคะแนนลับ ในการนี้ ใหหาคนแรกซึ่งไดรับ

คะแนนสูงสุดและมีคะแนนมากกวากึ่งหนึ่งของจํานวนสมาชิกทั้งหมดเทาที่มีอยูของ

วุฒิสภา เปนผูไดรับเลือกเปนกรรมการการเลือกตั้ง แตถาจํานวนผูไดรับเลือกดังกลาวมี

มาตรา ๑๓๘๒๒๖ การสรรหาและการเลือกประธานกรรมการและกรรมการการ

เลือกตั้ง ใหดําเนินการดังนี้

(๑) ใหมีคณะกรรมการสรรหากรรมการการเลือกตั้งจํานวนสิบหาคน ซึ่ง

ประกอบดวยประธานศาลรัฐธรรมนูญ ประธานศาลฎีกา ประธานศาลปกครองสูงสุด

อธิการบดีของสถาบันอุดมศึกษาของรัฐที่เปนนิติบุคคลทุกแหงซึ่งเลือกกันเองใหเหลือสี่

คน ผูแทนพรรคการเมืองทุกพรรคที่มีสมาชิกเปนสมาชิกสภาผูแทนราษฎรพรรคละหนึ่ง

คน ซึ่งเลือกกันเองใหเหลือสี่คน ประธานสภาผูแทนราษฎร และผูนําฝายคานในสภาผูแทนราษฎร เปนกรรมการทําหนาที่พิจารณาสรรหาผูมีคุณสมบัติตามมาตรา ๑๓๗๒๒๕

ซึ่งสมควรเปนกรรมการการเลือกตั้ง จํานวนหาสามคน เสนอตอประธานวุฒิสภา โดยตอง

เสนอพรอมความยินยอมของผูไดรับการเสนอชื่อนั้น มติในการเสนอชื่อสรรหาดังกลาว

ตองมีคะแนนเสียงไมนอยกวาสามในสี่ของจํานวนกรรมการสรรหาทั้งหมดเทาที่มีอยู ใน

กรณีที่ไมมีกรรมการในตําแหนงใด หรือมีแตไมสามารถปฏิบัติหนาที่ได ถากรรมการที่เหลืออยูนั้นมีจํานวนไมนอยกวากึ่งหนึ่ง ใหคณะกรรมการสรรหากรรมการการเลือกตั้ง

ประกอบดวยกรรมการที่เหลืออยู

(๒) ใหที่ประชุมใหญศาลฎีกาพิจารณาสรรหาผูมีคุณสมบัติตามมาตรา ๒๒๕

สมควรเปนกรรมการการเลือกตั้งจํานวนหาสองคน เสนอตอประธานวุฒิสภา โดยตอง

เสนอพรอมความยินยอมของผูไดรับการเสนอชื่อนั้น

(๓) การเสนอชื่อสรรหาตาม (๑) และ (๒) ใหกระทําภายในสามสิบวันนับแต

วันที่มีเหตุที่ทําใหตองมีการเลือกบุคคลใหดํารงตําแหนงดังกลาว ในกรณีที่คณะกรรมการ

สรรหาตาม (๑) มีเหตุที่ทําใหไมอาจเสนอชื่อดําเนินการสรรหาไดภายในเวลาที่กําหนด

หรือไมอาจเสนอชื่อสรรหาไดครบจํานวนภายในเวลาที่กําหนดตาม (๑) ใหที่ประชุมใหญ

Page 146: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๑๓๗

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) ไมครบหาคน ใหนํารายชื่อผูไมไดรับเลือกในคราวแรกนั้นมาใหสมาชิกวุฒิสภาออกเสียง

ลงคะแนนเลือกอีกครั้งหนึ่งตอเนื่องกันไป และในกรณีนี้ ใหถือวาผูไดรับคะแนนเสียง

สูงสุดเรียงลงไปตามลําดับจนครบหาคน เปนผูไดรับเลือกใหเปนกรรมการการเลือกตั้ง ใน

ครั้งนี้ถามีผูไดคะแนนเสียงเทากันในลําดับใดอันเปนเหตุใหมีผูไดรับเลือกเกินหาคน ให

ประธานวุฒิสภาจับสลากวาผูใด เปนผูไดรับเลือก

(๕) ใหผูไดรับเลือกตาม (๔) ประชุมและเลือกกันเองใหคนหนึ่งเปนประธาน

กรรมการการเลือกตั้ง และแจงผลใหประธานวุฒิสภาทราบ และใหประธานวุฒิสภานํา

ความกราบบังคมทูลเพื่อทรงแตงตั้งตอไป

ศาลฎีกาพิจารณาเสนอชื่อสรรหาแทนจนครบจํานวนภายในสิบหาวันนับแตวันที่ครบ

กําหนดตองเสนอชื่อตาม (๑)

(๔) ใหประธานวุฒิสภาเรียกประชุมวุฒิสภาเพื่อมีมติเลือกใหความเห็นชอบ

ผูไดรับการเสนอชื่อสรรหาตาม (๑) (๒) และหรือ (๓) ซึ่งตองกระทําโดยวิธีลงคะแนนลับ

ในการนี้ ใหหาคนแรกซึ่งไดรับคะแนนสูงสุดและมีคะแนนมากกวากึ่งหนึ่งของจํานวน

สมาชิกทั้งหมดเทาที่มีอยูของวุฒิสภา เปนผูไดรับเลือกเปนกรรมการการเลือกตั้ง แตถา

จํานวนผูไดรับเลือกดังกลาวมีไมครบหาคน ใหนํารายชื่อผูไมไดรับเลือกในคราวแรกนั้น

มาใหสมาชิกวฒุิสภาออกเสียงลงคะแนนเลือกอีกครั้งหนึ่งตอเนื่องกันไป และในกรณีนี้ ให

ถือวาผูไดรับคะแนนเสียงสงูสุดเรียงลงไปตามลําดับจนครบหาคน เปนผูไดรับเลือกให

เปนกรรมการการเลือกตั้ง ในครั้งนี้ถามีผูไดคะแนนเสียงเทากันในลําดับใดอันเปนเหตุให

มีผูไดรับเลือกเกินหาคน ใหประธานวุฒิสภาจับสลากวาผูใด เปนผูไดรับเลือก

(๕) ในกรณีที่วุฒิสภามีมติไมเห็นชอบผูไดรับการสรรหาตาม (๑) (๒) หรือ (๓)

ทั้งหมดหรือบางสวน ใหประธานวุฒิสภาสงชื่อผูไดรับการสรรหาที่วุฒิสภาไมใหความเห็น

ชอบใหคณะกรรมการสรรหาตาม (๑) หรือที่ประชุมใหญศาลฎีกาตาม (๒) หรือ (๓)

แลวแตกรณี หากคณะกรรมการสรรหาหรือที่ประชุมใหญศาลฎีกาเห็นดวยกับมติของ

วุฒิสภา ใหนํา (๑) (๒) (๓) หรือ (๔) มาใชบังคับ แลวแตกรณี ถาคณะกรรมการสรรหา

หรือที่ประชุมใหญศาลฎีกา ไมเห็นดวยกับมติของวุฒิสภาและยืนยันดวยมติเอกฉันทของ

คณะกรรมการสรรหาหรือดวยคะแนนไมนอยกวาสองในสามของที่ประชุมใหญศาลฎีกา

แลวแตกรณี ใหสงใหประธานวุฒิสภาเพื่อดําเนินการตาม (๖) ตอไป

(๕๖) ใหผูไดรับเลือกความเห็นชอบตาม (๔) หรือ (๕) ประชุมและเลือกกันเอง

ใหคนหนึ่งเปนประธานกรรมการการเลือกตั้ง และแจงผลใหประธานวุฒิสภาทราบ และให

ประธานวุฒิสภานําความกราบบังคมทูลเพื่อทรงแตงตั้งตอไป

Page 147: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๑๓๘

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) มาตรา ๑๓๙ กรรมการการเลือกตั้งตอง

(๑) ไมเปนขาราชการซึ่งมีตําแหนงหรือเงินเดือนประจํา

(๒) ไมเปนพนักงานหรือลูกจางของหนวยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือของ

ราชการสวนทองถิ่น

(๓) ไมดํารงตําแหนงใดในหางหุนสวน บริษัท หรือองคการที่ดําเนินธุรกิจโดยมุง

หาผลกําไรหรือรายไดมาแบงปนกัน หรือเปนลูกจางของบุคคลใด

(๔) ไมประกอบวิชาชีพอิสระอื่นใด

ในกรณีที่วุฒิสภาเลือกบุคคลตาม (๑) (๒) (๓) หรือ (๔) โดยไดรับความยินยอม

ของผูนั้น ผูไดรับเลือกจะเริ่มปฏิบัติหนาที่ไดตอเมื่อผูนั้นไดลาออกจากตําแหนงตาม (๑)

(๒) หรือ (๓) หรือแสดงใหเปนที่เชื่อไดวาตนไดเลิกประกอบวิชาชีพอิสระดังกลาวแลว ซึ่ง

ตองกระทําภายในสิบหาวันนับแตวันที่ไดรับเลือก แตถาผูนั้นมิไดลาออกหรือเลิก

ประกอบวิชาชีพอิสระภายในเวลาที่กําหนด ใหถือวาผูนั้นไมเคยไดรับเลือกใหเปน

กรรมการการเลือกตั้ง และใหนําบทบัญญัติมาตรา ๑๓๘ มาใชบังคับโดยอนุโลม

มาตรา ๑๓๙ กรรมการการเลือกตั้งตอง

(๑) ไมเปนขาราชการซึ่งมีตําแหนงหรือเงินเดือนประจํา

(๒) ไมเปนพนักงานหรือลูกจางของหนวยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือของ

ราชการสวนทองถิ่น

(๓) ไมดํารงตําแหนงใดในหางหุนสวน บริษัท หรือองคการที่ดําเนินธุรกิจโดยมุง

หาผลกําไรหรือรายไดมาแบงปนกัน หรือเปนลูกจางของบุคคลใด

(๔) ไมประกอบวิชาชีพอิสระอื่นใด

ในกรณีที่วุฒิสภาเลือกบุคคลตาม (๑) (๒) (๓) หรือ (๔) โดยไดรับความยินยอม

ของผูนั้น ผูไดรับเลือกจะเริ่มปฏิบัติหนาที่ไดตอเมื่อผูนั้นไดลาออกจากตําแหนงตาม (๑)

(๒) หรือ (๓) หรือแสดงใหเปนที่เชื่อไดวาตนไดเลิกประกอบวิชาชีพอิสระดังกลาวแลว ซึ่ง

ตองกระทําภายในสิบหาวันนับแตวันที่ไดรับเลือก แตถาผูนั้นมิไดลาออกหรือเลิก

ประกอบวิชาชีพอิสระภายในเวลาที่กําหนด ใหถือวาผูนั้นไมเคยไดรับเลือกใหเปน

กรรมการการเลือกตั้ง และใหนําบทบัญญัติมาตรา ๑๓๘ มาใชบังคับโดยอนุโลม

มาตรา ๑๔๐ กรรมการการเลือกตั้งมีวาระการดํารงตําแหนง เจ็ดปนับแตวันที่พระมหากษัตริยทรงแตงตั้ง และใหดํารงตําแหนงไดเพียงวาระเดียว กรรมการการเลือกตั้งซึ่งพนจาก ตําแหนงตามวาระ ตองอยูในตําแหนงเพื่อปฏิบัติหนาที่ตอไปจนกวากรรมการการเลือกตั้งซึ่งไดรับแตงตั้งใหมจะเขารับหนาที่

มาตรา ๑๔๐๒๒๗ กรรมการการเลือกตั้งมีวาระการดํารงตําแหนง เจ็ดปนับแตวันที่พระมหากษัตริยทรงแตงตั้ง และใหดํารงตําแหนงไดเพียงวาระเดียว กรรมการการเลือกตั้งซึ่งพนจาก ตําแหนงตามวาระ ตองอยูในตําแหนงเพื่อปฏิบัติหนาที่ตอไปจนกวากรรมการการเลือกตั้งซึ่งไดรับแตงตั้งใหมจะเขารับหนาที่ ใหนําบทบัญญัติมาตรา ๒๐๕ (๑) (๒) (๓) (๕) (๖) (๗) และการขาดคุณสมบัติ

และมีลักษณะตองหามตามมาตรา ๒๒๕ มาใชบังคับกับการพนจากตําแหนงของ

กรรมการการเลือกตั้งดวยโดยอนุโลม

Page 148: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๑๓๙

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) มาตรา ๑๔๑ นอกจากการพนจากตําแหนงตามวาระ กรรมการการเลือกตั้งพน

จากตําแหนง เมื่อ

(๑) ตาย

(๒) ลาออก

(๓) ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะตองหามตามมาตรา ๑๓๗ หรือ มาตรา ๑๓๙

(๔) ไดรับโทษจําคุกโดยคําพิพากษาถึงที่สุดใหจําคุก เวนแตในความผิดอันได

กระทําโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ

(๕) วุฒิสภามีมติตามมาตรา ๓๐๗ ใหถอดถอนออกจากตําแหนง

เมื่อมีกรณีตามวรรคหนึ่ง ใหคณะกรรมการการเลือกตั้งเทาที่เหลืออยูปฏิบัติ

หนาที่ตอไปได

มาตรา ๑๔๑ นอกจากการพนจากตําแหนงตามวาระ กรรมการการเลือกตั้งพน

จากตําแหนง เมื่อ

(๑) ตาย

(๒) ลาออก

(๓) ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะตองหามตามมาตรา ๑๓๗ หรือ มาตรา ๑๓๙

(๔) ไดรับโทษจําคุกโดยคําพิพากษาถึงที่สุดใหจําคุก เวนแตในความผิดอันได

กระทําโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ

(๕) วุฒิสภามีมติตามมาตรา ๓๐๗ ใหถอดถอนออกจากตําแหนง

เมื่อมีกรณีตามวรรคหนึ่ง ใหคณะกรรมการการเลือกตั้งเทาที่เหลืออยูปฏิบัติ

หนาที่ตอไปได

มาตรา ๑๔๒ สมาชิกสภาผูแทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา หรือสมาชิกของทั้งสองสภารวมกัน มีจํานวนไมนอยกวาหนึ่งในสิบของจํานวนสมาชิกทั้งหมดเทาที่มีอยูของทั้งสองสภา มีสิทธิเขาชื่อรองขอตอประธานรัฐสภาวากรรมการการเลือกตั้งคนใดคนหนึ่งขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะตองหามตามมาตรา ๑๓๗ หรือกระทําการอันตองหามตาม มาตรา ๑๓๙ และใหประธานรัฐสภาสงคํารองนั้นไปยังศาลรัฐธรรมนูญเพื่อวินิจฉัยวากรรมการการเลือกตั้งผูนั้นพนจากตําแหนงหรือไม เมื่อศาลรัฐธรรมนูญมีคําวินิจฉัยแลว ใหศาลรัฐธรรมนูญแจงคําวินิจฉัยไปยังประธานรัฐสภาและประธานกรรมการการเลือกตั้ง ใหนําบทบัญญัติมาตรา ๙๗ มาใชบังคับกับการพนจากตําแหนงของกรรมการการเลือกตั้งดวย โดยอนุโลม

มาตรา ๑๔๒๒๒๘ สมาชิกสภาผูแทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา หรือสมาชิกของทั้งสองสภารวมกันมีจํานวนไมนอยกวาหนึ่งในสิบของจํานวนสมาชิกทั้งหมดเทาที่มีอยู

ของทั้งสองสภา มีสิทธิเขาชื่อรองขอตอประธานรัฐสภาวากรรมการการเลือกตั้งคนใดคนหนึ่งขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะตองหามตามมาตรา ๑๓๗ หรอืกระทําการอันตองหามตามมาตรา ๑๓๙๒๒๕ และใหประธานรัฐสภาสงคํารองนั้นไปยังศาลรัฐธรรมนูญภายในสามวันนับแตวันที่ไดรับคํารอง เพื่อใหศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยวากรรมการการเลือกตั้ง

ผูนั้นพนจากตําแหนงหรือไม เมื่อศาลรัฐธรรมนูญมีคําวินิจฉัยแลว ใหศาลรัฐธรรมนูญแจงคําวินิจฉัยไปยังประธานรัฐสภาและประธานกรรมการการเลือกตั้ง ใหนําบทบัญญัติมาตรา ๙๗๙๐ มาใชบังคับกับการพนจากตําแหนงของกรรมการการเลือกตั้งดวยโดยอนุโลม

Page 149: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๑๔๐

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) มาตรา ๑๔๓ ในกรณีที่กรรมการการเลือกตั้งพนจากตําแหนงตามวาระพรอม

กันทั้งหมด ใหดําเนินการตามมาตรา ๑๓๘ ภายในสี่สิบหาวันนับแตวันที่มีการพนจากตําแหนง ในกรณีที่กรรมการการเลือกตั้งพนจากตําแหนงเพราะเหตุอื่นนอกจากถึงคราว

ออกตามวาระ ใหนํามาตรา ๑๓๘ มาใชบังคับกับการสรรหาและการเลือกกรรมการการ เลือกตั้งแทนตําแหนงที่วางนั้นโดยอนุโลม ในกรณีนี้ ใหเสนอชื่อผูสมควรเปนกรรมการ

การเลือกตั้งตอประธานวุฒิสภา เปนจํานวนสองเทาของผูซึ่งพนจากตําแหนง และใหวุฒิสภามีมติเลือก ทั้งนี้ ใหดําเนินการใหแลวเสร็จภายในสี่สิบหาวันนับแตวันที่มีการพนจากตําแหนง และใหผูไดรับเลือกอยูในตําแหนงเพียงเทาวาระที่เหลืออยูของผูซึ่งตนแทน

มาตรา ๑๔๓๒๒๙ ในกรณีที่กรรมการการเลือกตั้งพนจากตําแหนงตามวาระ

พรอมกันทั้งหมดทั้งคณะ ใหดําเนินการตามมาตรา ๑๓๘๒๒๖ ภายในสี่สิบหาวันนับแตวันที่มีการพนจากตําแหนง ในกรณีที่กรรมการการเลือกตั้งพนจากตําแหนงเพราะเหตุอื่นนอกจากถึงคราว

ออกตามวาระ ใหนําดําเนินการสรรหาและแตงตั้งกรรมการการเลือกตั้งตามมาตรา

๑๓๘๒๒๖ มาใชบังคับกับการสรรหาและการเลือกกรรมการการเลือกตั้งแทนตําแหนงที่วางนั้นโดยอนุโลม ในกรณีนี้ ใหเสนอชื่อผูสมควรเปนกรรมการการเลือกตั้งตอประธาน

วุฒิสภา เปนจํานวนสองเทาของผูซึ่งพนจากตําแหนง และใหวุฒิสภามีมติเลือก ทั้งนี้ ใหดําเนินการใหแลวเสร็จภายในสี่สิบหาวันนับแตวันที่มีการพนจากตําแหนงเหตุดังกลาว และใหผูไดรับเลือกความเห็นชอบอยูในตําแหนงเพียงเทาวาระที่เหลืออยูของผูซึ่งตน

แทน มาตรา ๑๔๔ คณะกรรมการการเลือกตั้งเปนผูควบคุมและดําเนินการจัดหรือ

จัดใหมีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา สมาชิกสภาทองถิ่น และ

ผูบริหารทองถิ่น รวมทั้งการออกเสียงประชามต ิใหเปนไปโดยสุจริตและเที่ยงธรรม ประธานกรรมการการเลือกตั้งเปนผูรักษาการตามกฎหมายประกอบ

รัฐธรรมนูญวาดวยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภา กฎหมาย ประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยพรรคการเมือง กฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการออกเสียงประชามติ และกฎหมายวาดวยการเลือกตั้งสมาชิกสภา ทองถิ่นหรือผูบริหารทองถิ่น และเปนนายทะเบียนพรรคการเมือง

มาตรา ๑๔๔๒๓๐ คณะกรรมการการเลือกตั้งเปนผูควบคุมและดําเนินการจัด

หรือจัดใหมีการเลือกตั้งหรือการสรรหาสมาชิกสภาผูแทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา สมาชิกสภาทองถิ่น และผูบริหารทองถิ่น แลวแตกรณ ีรวมทั้งการออกเสียงประชามต ิใหเปนไปโดยสุจริตและเที่ยงธรรม ประธานกรรมการการเลือกตั้งเปนผูรักษาการตามกฎหมายพระราชบัญญัติ

ประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรและการสรรหาสมาชิก

วุฒิสภา กฎหมายพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยพรรคการเมือง กฎหมายพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการออกเสียงประชามติ และกฎหมายวาดวยการเลือกตั้งสมาชิกสภา ทองถิ่นหรือผูบริหารทองถิ่น และเปนนายทะเบียนพรรค

การเมือง

Page 150: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๑๔๑

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) มาตรา ๑๔๕ คณะกรรมการการเลือกตั้งมีอํานาจหนาที่ ดังตอไปนี้

(๑) ออกประกาศกําหนดการทั้งหลายอันจําเปนแกการปฏิบัติตามกฎหมายตาม

มาตรา ๑๔๔ วรรคสอง

(๒) มีคําสั่งใหขาราชการ พนักงาน หรือลูกจางของหนวยราชการ หนวยงาน

ของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือราชการสวนทองถิ่น หรือเจาหนาที่อื่นของรัฐ ปฏิบัติการทั้งหลาย

อันจําเปนตามกฎหมายตามมาตรา ๑๔๔ วรรคสอง

(๓) สืบสวนสอบสวนเพื่อหาขอเท็จจริงและวินิจฉัยชี้ขาดปญหาหรือขอโตแยงที่

เกิดขึ้นตามกฎหมายตามมาตรา ๑๔๔ วรรคสอง

(๔) สั่งใหมีการเลือกตั้งใหมหรือออกเสียงประชามติใหมในหนวยเลือกตั้งใด

หนวยเลือกตั้งหนึ่งหรือทุกหนวยเลือกตั้ง เมื่อมีหลักฐานอันควรเชื่อไดวาการเลือกตั้งหรือ

การออกเสียงประชามติในหนวยเลือกตั้งนั้น ๆ มิไดเปนไปโดย สุจริตและเที่ยงธรรม

(๕) ประกาศผลการเลือกตั้งและการออกเสียงประชามติ

(๖) ดําเนินการอื่นตามที่กฎหมายบัญญัติ

ในการปฏิบัติหนาที่ คณะกรรมการการเลือกตั้งมีอํานาจเรียกเอกสารหรือ

หลักฐานที่เกี่ยวของจากบุคคลใด หรือเรียกบุคคลใดมาใหถอยคํา ตลอดจนขอใหศาล

พนักงานอัยการ พนักงานสอบสวน หนวยราชการ หนวยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือ

ราชการสวนทองถิ่น ดําเนินการเพื่อประโยชนแหงการปฏิบัติหนาที่ การสืบสวน

สอบสวน หรือวินิจฉัย ชี้ขาด

คณะกรรมการการเลอืกตั้งมีอํานาจแตงตั้งบุคคล คณะบุคคล หรือผูแทน

องคการเอกชน เพื่อปฏิบัติหนาที่ตามที่มอบหมาย

มาตรา ๑๔๕๒๓๑ คณะกรรมการการเลือกตั้งมีอํานาจหนาที่ ดังตอไปนี้

(๑) ออกประกาศหรือวางระเบียบกําหนดการทั้งหลายอันจําเปนแกการปฏิบัติ

ตามกฎหมายตามมาตรา ๑๔๔๒๓๐ วรรคสอง รวมทั้งวางระเบียบเกี่ยวกับการหาเสียง

เลือกตั้งและการดําเนินการใด ๆ ของพรรคการเมือง ผูสมัครรับเลือกตั้งและผูมีสิทธิ

เลือกตั้งเพื่อใหเปนไปโดยสุจริตและเที่ยงธรรม และกําหนดหลักเกณฑการดําเนินการ

ของรัฐในการสนับสนุนใหการเลือกตั้งมีความเสมอภาคและมีโอกาสทัดเทียมกันในการหา

เสียงเลือกตั้ง

(๒) วางระเบียบเกี่ยวกับขอหามในการปฏิบัติหนาที่ของคณะรัฐมนตรีและ

รัฐมนตรีขณะอยูในตําแหนงเพื่อปฏิบัติหนาที่ตามมาตรา ๑๗๗ โดยคํานึงถึงการรักษา

ประโยชนของรัฐ และคํานึงถึงความสุจริต เที่ยงธรรม ความเสมอภาค และโอกาสทัดเทียม

กันในการเลือกตั้ง

(๓) กําหนดมาตรการและการควบคุมการบริจาคเงินใหแกพรรคการเมืองการ

สนับสนุนทางการเงินโดยรัฐ การใชจายเงินของพรรคการเมืองและผูสมัครรับเลือกตั้ง

รวมทั้งการตรวจสอบบัญชีทางการเงินของพรรคการเมืองโดยเปดเผย และการควบคุม

การจายเงินหรือรับเงินเพื่อประโยชนในการลงคะแนนเลือกตั้ง

(๒๔) มีคําสั่งใหขาราชการ พนักงาน หรือลูกจางของหนวยราชการ หนวยงาน

ของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือราชการสวนทองถิ่น หรือเจาหนาที่อื่นของรัฐ ปฏิบัติการทั้งหลาย

อันจําเปนตามกฎหมายตามมาตรา ๑๔๔๒๓๐ วรรคสอง

(๓๕) สืบสวนสอบสวนเพื่อหาขอเท็จจริงและวินิจฉัยชี้ขาดปญหาหรือขอโตแยง

ที่เกิดขึ้นตามกฎหมายตามมาตรา ๑๔๔๒๓๐ วรรคสอง

Page 151: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๑๔๒

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) (๔๖) สั่งใหมีการเลือกตั้งใหมหรือออกเสียงประชามติใหมในหนวยเลือกตั้งใด

หนวยเลือกตั้งหนึ่งหรือทุกหนวยเลือกตั้ง เมื่อมีหลักฐานอันควรเชื่อไดวาการเลือกตั้งหรือ

การออกเสียงประชามติในหนวยเลือกตั้งนั้น ๆ มิไดเปนไปโดย สุจริตและเที่ยงธรรม

(๕๗) ประกาศผลการเลือกตั้งและการออกเสียงประชามติ

(๖๘) ดําเนินการอื่นตามที่กฎหมายบัญญัติ

ในการปฏิบัติหนาที่ คณะกรรมการการเลือกตั้งมีอํานาจเรียกเอกสารหรือ

หลักฐานที่เกี่ยวของจากบุคคลใด หรือเรียกบุคคลใดมาใหถอยคํา ตลอดจนขอใหศาล

พนักงานอัยการ พนักงานสอบสวน หนวยราชการ หนวยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือ

ราชการสวนทองถิ่น ดําเนินการเพื่อประโยชนแหงการปฏิบัติหนาที่ การสืบสวน

สอบสวน หรือวินิจฉัย ชี้ขาด

คณะกรรมการการเลือกตั้งมีอํานาจแตงตั้งบุคคล คณะบุคคล หรือผูแทน

องคการเอกชน เพื่อปฏิบัติหนาที่ตามที่มอบหมาย มาตรา ๑๔๖ ขาราชการ พนักงาน หรือลูกจางของหนวยราชการ หนวยงาน

ของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือราชการสวนทองถิ่น หรือเจาหนาที่อื่นของรัฐ มีหนาที่ตองปฏิบัติตามคําสั่งของคณะกรรมการการเลือกตั้งที่สั่งการตามมาตรา ๑๔๕

มาตรา ๑๔๖ ขาราชการ พนักงาน หรือลูกจางของหนวยราชการ หนวยงานของ

รัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือราชการสวนทองถิ่น หรือเจาหนาที่อื่นของรัฐ มีหนาที่ตองปฏิบัติตามคําสั่งของคณะกรรมการการเลือกตั้งที่สั่งการตามมาตรา ๑๔๕

มาตรา ๑๔๗ คณะกรรมการการเลือกตั้งตองดําเนินการสืบสวน สอบสวนเพื่อ

หาขอเท็จจริงโดยพลันเมื่อมีกรณีใดกรณีหนึ่ง ดังตอไปนี้

(๑) ผูมีสิทธิเลือกตั้ง ผูสมัครรับเลือกตั้ง หรือพรรคการเมืองซึ่งมีสมาชิกสมัครรับ

เลือกตั้งในเขตเลือกตั้งใดเขตเลือกตั้งหนึ่ง คัดคานวาการเลือกตั้งในเขตเลือกตั้งนั้น

เปนไปโดยไมถูกตองหรือไมชอบดวยกฎหมาย

(๒) ปรากฏหลักฐานอันควรเชื่อไดวากอนไดรับเลือกตั้ง สมาชิกสภาผูแทน

ราษฎร สมาชิกวุฒิสภา สมาชิกสภาทองถิ่น หรือผูบริหารทองถิ่น ผูใดไดกระทําการใด ๆ

มาตรา ๑๔๗๒๓๒ คณะกรรมการการเลือกตั้งตองดําเนินการสืบสวน สอบสวน

เพื่อหาขอเท็จจริงโดยพลันเมื่อมีกรณีใดกรณีหนึ่ง ดังตอไปนี้

(๑) ผูมีสิทธิเลือกตั้ง ผูสมัครรับเลือกตั้ง หรือพรรคการเมืองซึ่งมีสมาชิกสมัครรับ

เลือกตั้งในเขตเลือกตั้งใดเขตเลือกตั้งหนึ่ง คัดคานวาการเลือกตั้งในเขตเลือกตั้งนั้น

เปนไปโดยไมถูกตองหรือไมชอบดวยกฎหมาย

(๒) ปรากฏหลักฐานอันควรเชื่อไดวากอนไดรับเลือกตั้งหรือการสรรหา

สมาชิกสภาผูแทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา สมาชิกสภาทองถิ่น หรือผูบริหารทองถิ่น ผูใด

Page 152: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๑๔๓

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) โดยไมสุจริตเพื่อใหตนเองไดรับเลือกตั้ง หรือไดรับเลือกตั้งมาโดยไมสุจริตโดยผลของ

การที่บุคคลหรือพรรคการเมืองใดไดกระทําลงไป ทั้งนี้ อันเปนการฝาฝนกฎหมาย

ประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภา

กฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยพรรคการเมือง หรือกฎหมายวาดวยการเลือกตั้ง

สมาชิกสภาทองถิ่นหรือผูบริหารทองถิ่น

(๓) ปรากฏหลักฐานอันควรเชื่อไดวาการออกเสียงประชามติมิไดเปนไปโดย

ชอบดวยกฎหมาย หรือผูมสีิทธิเลือกตั้งคัดคานวาการออกเสียงประชามติในหนวย

เลือกตั้งใดเปนไปโดยไมถูกตองหรือไมชอบดวยกฎหมาย

เมื่อดําเนินการตามวรรคหนึ่งเสร็จแลว คณะกรรมการการเลือกตั้งตองพิจารณา

วินิจฉัยสั่งการโดยพลัน

ไดกระทําการใด ๆ โดยไมสุจริตเพื่อใหตนเองไดรับเลือกตั้งหรือการสรรหา หรือไดรับ

เลือกตั้งหรือการสรรหามาโดยไมสุจริตโดยผลของการที่บุคคลหรือพรรคการเมืองใดได

กระทําลงไป ทั้งนี้ อันเปนการโดยฝาฝนกฎหมายพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวา

ดวยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรและการสรรหาสมาชิกวุฒิสภา กฎหมาย

พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยพรรคการเมือง หรือกฎหมายวาดวยการ

เลือกตั้งสมาชิกสภาทองถิ่นหรือผูบริหารทองถิ่น

(๓) ปรากฏหลักฐานอันควรเชื่อไดวาการออกเสียงประชามติมิไดเปนไปโดย

ชอบดวยกฎหมาย หรือผูมีสิทธิเลือกตั้งคัดคานวาการออกเสียงประชามติในหนวย

เลือกตั้งใดเปนไปโดยไมถูกตองหรือไมชอบดวยกฎหมาย

เมื่อดําเนินการตามวรรคหนึ่งเสร็จแลว คณะกรรมการการเลือกตั้งตองพิจารณา

วินิจฉัยสั่งการโดยพลัน

มาตรา ๒๓๓ ในกรณีที่คณะกรรมการการเลือกตั้งวินิจฉัยใหมีการเลือกตั้งใหม

หรือเพิกถอนสิทธิเลือกตั้งกอนการประกาศผลเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎร

ผูเสียหายมีสิทธิยื่นคํารองตอศาลฎีกาเพื่ออุทธรณคําวินิจฉัยของคณะกรรมการการ

เลือกตั้งได

ในกรณีที่ประกาศผลการเลือกตั้งแลว ถาคณะกรรมการการเลือกตั้งเห็นวาควร

ใหมีการเลือกตั้งใหมหรือเพิกถอนสิทธิเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎร ใหเสนอ

ความเห็นตอศาลฎีกาเพื่อวินิจฉัย

ในกรณีที่เปนการเลือกตั้งสมาชิกสภาทองถิ่นและผูบริหารทองถิ่น การ

ดําเนินการตามวรรคหนึ่งและวรรคสองใหยื่นตอศาลอุทธรณเพื่อวินิจฉัย มาตรา ๑๔๘ ในระหวางที่พระราชกฤษฎีกาใหมีการเลือกตั้ง สมาชิกสภา ผูแทนราษฎรหรือสมาชิกวุฒิสภา หรือประกาศใหมีการออกเสียงประชามติ มีผลใชบังคับ

หามมิใหจับ คุมขัง หรือหมายเรียกตัวกรรมการการเลือกตั้งไปทําการสอบสวน เวนแตใน

มาตรา ๑๔๘๒๓๔ ในระหวางที่พระราชกฤษฎีกาใหมีการเลือกตั้ง สมาชิกสภา ผูแทนราษฎรหรือสมาชิกวุฒิสภา หรือประกาศใหมีการออกเสียงประชามติ มีผลใชบังคับ

หามมิใหจับคุมขัง หรือหมายเรียกตัวกรรมการการเลือกตั้งไปทําการสอบสวน เวนแตใน

Page 153: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๑๔๔

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) กรณีที่ไดรับอนุญาตจากคณะกรรมการการเลือกตั้ง หรือในกรณีที่จับในขณะกระทํา

ความผิด ในกรณีที่มีการจับกรรมการการเลือกตั้งในขณะกระทําความผดิ หรือจับ หรือคุมขังกรรมการการเลือกตั้งในกรณีอื่น ใหรายงานไปยังประธานกรรมการการเลือกตั้งโดยดวน และประธานกรรมการการเลือกตั้งอาจสั่งใหปลอยผูถูกจับได

กรณีที่ไดรับอนุญาตจากคณะกรรมการการเลือกตั้ง หรือในกรณีที่จับในขณะกระทํา

ความผิด ในกรณีที่มีการจับกรรมการการเลือกตั้งในขณะกระทําความผดิ หรือจับ หรือคุมขังกรรมการการเลือกตั้งในกรณีอื่น ใหรายงานไปยังประธานกรรมการการเลือกตั้งโดยดวน และประธานกรรมการการเลือกตั้งอาจสั่งใหปลอยผูถูกจับได แตถาประธานกรรมการการเลือกตั้งเปนผูถูกจับหรือคุมขัง ใหเปนอํานาจของคณะกรรมการการ

เลือกตั้งเทาที่มีอยูเปนผูดําเนินการ

สวนที่ ๗ ผูตรวจการแผนดินของรัฐสภา

สวนที่ ๗ ๒. ผูตรวจการแผนดินของรัฐสภา

มาตรา ๑๙๖ ผูตรวจการแผนดินของรัฐสภามีจํานวนไมเกินสามคน ซึ่งพระมหากษัตริยทรงแตงตั้งตามคําแนะนําของวุฒิสภา จากผูซึ่งเปนที่ยอมรับนับถือของประชาชน มีความรอบรูและมีประสบการณในการบริหารราชการแผนดิน วิสาหกิจ หรือกิจกรรมอันเปนประโยชนรวมกันของสาธารณะ และมีความซื่อสัตย สุจริตเปนที่ประจักษ ใหประธานวุฒิสภาลงนามรับสนองพระบรมราชโองการแตงตั้งผูตรวจการ

แผนดินของรัฐสภา คุณสมบัติ ลักษณะตองหาม การสรรหา และการเลือกผูตรวจการแผนดินของรัฐสภา ใหเปนไปตามกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยผูตรวจการแผนดินของรัฐสภา ผูตรวจการแผนดินของรัฐสภามีวาระการดํารงตําแหนงหกปนับแตวันที่

พระมหากษัตริยทรงแตงตั้ง และใหดํารงตําแหนงไดเพียงวาระเดียว

มาตรา ๑๙๖๒๓๕ ผูตรวจการแผนดินของรัฐสภามีจํานวนไมเกินสามคน ซึ่งพระมหากษัตริยทรงแตงตั้งตามคําแนะนําของวุฒิสภา จากผูซึ่งเปนที่ยอมรับนับถือของประชาชน มีความรอบรูและมีประสบการณในการบริหารราชการแผนดิน วิสาหกิจ หรือกิจกรรมอันเปนประโยชนรวมกันของสาธารณะ และมีความซื่อสัตย สุจริตเปนที่ประจักษ ใหผูไดรับเลือกเปนผูตรวจการแผนดินของรัฐสภาประชุมและเลือกกันเองให

คนหนึ่งเปนประธานผูตรวจการแผนดินของรัฐสภา แลวแจงผลใหประธานวุฒิสภาทราบ

ใหประธานวุฒิสภาเปนผูลงนามรับสนองพระบรมราชโองการแตงตั้งประธาน

ผูตรวจการแผนดินของรัฐสภาและผูตรวจการแผนดินของรัฐสภา คุณสมบัติและลักษณะตองหาม การสรรหา และการเลือกของผูตรวจการ

แผนดินของรัฐสภา ใหเปนไปตามกฎหมายพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวย

ผูตรวจการแผนดินของรัฐสภา

Page 154: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๑๔๕

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) ผูตรวจการแผนดินของรัฐสภามีวาระการดํารงตําแหนงหกปนับแตวันที่

พระมหากษัตริยทรงแตงตั้ง และใหดํารงตําแหนงไดเพียงวาระเดียว มาตรา ๒๓๖ การสรรหาและการเลือกผูตรวจการแผนดินของรัฐสภา ใหนํา

บทบัญญัติมาตรา ๒๐๒ และมาตรา ๒๐๓ มาใชบังคับโดยอนุโลมโดยใหคณะกรรมการ

สรรหาประกอบดวย ประธานศาลรัฐธรรมนูญ ประธานศาลฎีกา ประธานศาลปกครองสูงสุด ประธานสภาผูแทนราษฎร และผูนําฝายคานในสภาผูแทนราษฎร

มาตรา ๑๙๗ ผูตรวจการแผนดินของรัฐสภามีอํานาจหนาที่ ดังตอไปนี้

(๑) พิจารณาและสอบสวนหาขอเท็จจริงตามคํารองเรียนในกรณี

(ก) การไมปฏิบัติตามกฎหมาย หรือปฏิบัตินอกเหนืออํานาจหนาที่ตาม

กฎหมายของขาราชการ พนักงาน หรือลูกจางของหนวยราชการ หนวยงานของรัฐ หรือ

รัฐวิสาหกิจ หรือราชการสวนทองถิ่น

(ข) การปฏิบัติหรือละเลยไมปฏิบัติหนาที่ของราชการ พนกังาน หรือลูกจาง

ของหนวยราชการ หนวยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ หรือราชการสวนทองถิ่น ที่

กอใหเกิดความเสียหายแกผูรองเรียนหรือประชาชนโดยไมเปนธรรม ไมวาการนั้นจะชอบ

หรือไมชอบดวยอํานาจหนาที่ก็ตาม

(ค) กรณีอื่นตามที่กฎหมายบัญญัติ

(๒) จัดทํารายงานพรอมทั้งเสนอความเห็นและขอเสนอแนะตอรัฐสภา

มาตรา ๑๙๗๒๓๗ ผูตรวจการแผนดินของรัฐสภามีอํานาจหนาที่ ดังตอไปนี้

(๑) พิจารณาและสอบสวนหาขอเท็จจริงตามคํารองเรียนในกรณี

(ก) การไมปฏิบัติตามกฎหมาย หรือปฏิบัตินอกเหนืออํานาจหนาที่ตาม

กฎหมายของขาราชการ พนักงาน หรือลูกจางของหนวยราชการ หนวยงานของรัฐ หรือ

รัฐวิสาหกิจ หรือราชการสวนทองถิ่น

(ข) การปฏิบัติหรือละเลยไมปฏิบัติหนาที่ของราชการ พนักงาน หรือลูกจาง

ของหนวยราชการ หนวยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ หรือราชการสวนทองถิ่น ที่

กอใหเกิดความเสียหายแกผูรองเรียนหรือประชาชนโดยไมเปนธรรม ไมวาการนั้นจะชอบ

หรือไมชอบดวยอํานาจหนาที่ก็ตาม

(ค) การตรวจสอบการละเลยการปฏิบัติหนาที่หรือการปฏิบัติหนาที่โดย

ไมชอบดวยกฎหมายขององคกรตามรัฐธรรมนูญและองคกรในกระบวนการยุติธรรม

(คง) กรณีอื่นตามที่กฎหมายบัญญัติ

(๒) ดําเนินการเกี่ยวกับจริยธรรมของผูดํารงตําแหนงทางการเมืองและ

เจาหนาที่ของรัฐตามมาตรา ๒๗๑

(๒๓) จัดทํารายงานพรอมทั้งเสนอความเห็นและขอเสนอแนะตอรัฐสภา ทั้งนี้ ให

ประกาศรายงานดังกลาวในราชกิจจานุเบกษาและเปดเผยตอสาธารณะดวย

Page 155: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๑๔๖

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) การใชอํานาจหนาที่ตาม (๑) (ก) (ข) และ (ค) ใหผูตรวจการแผนดินของรัฐสภา

ดําเนินการเมื่อมีการรองเรียนจากผูเสียหาย เวนแตเปนกรณีที่ผูตรวจการแผนดิน

ของรัฐสภาเห็นวาการกระทําดังกลาวมีผลกระทบตอความเสียหายของประชาชน

สวนรวมหรือเพื่อคุมครองประโยชนสาธารณะ ผูตรวจการแผนดินของรัฐสภาอาจ

พิจารณาและสอบสวนโดยไมมีการรองเรียนได

มาตรา ๑๙๘ ในกรณีที่ผูตรวจการแผนดินของรัฐสภาเห็นวาบทบัญญัติแหง

กฎหมาย กฎ ขอบังคับ หรือการกระทําใดของบุคคลใดตามมาตรา ๑๙๗ (๑) มีปญหา

เกี่ยวกับความชอบดวย รัฐธรรมนูญ ใหผูตรวจการแผนดินของรัฐสภาเสนอเรื่องพรอม

ความเห็นตอศาลรัฐธรรมนูญหรือศาลปกครองเพื่อพิจารณาวินิจฉัย ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ

วาดวยวิธีพิจารณาของศาลรัฐธรรมนูญหรือกฎหมายวาดวยวิธีพิจารณาของศาลปกครอง

แลวแตกรณี

ใหศาลรัฐธรรมนูญหรือศาลปกครอง แลวแตกรณี พิจารณาวินิจฉัยเรื่องที่

ผูตรวจการแผนดินของรัฐสภาเสนอตามวรรคหนึ่งโดยไมชักชา

มาตรา ๑๙๘๒๓๘ ในกรณีที่ผูตรวจการแผนดินของรัฐสภาเห็นวาบทบัญญัติ

แหงกฎหมาย กฎ ขอบังคับ หรือการกระทําใดของบุคคลใดตามมาตรา ๑๙๗ (๑) มีปญหา

เกี่ยวกับความชอบดวย รัฐธรรมนูญ ใหผูตรวจการแผนดินของรัฐสภาอาจเสนอเรื่อง

พรอมความเห็นตอศาลรัฐธรรมนูญหรือศาลปกครองเพื่อพิจารณาวินิจฉัย ทั้งนี้ ตาม

หลักเกณฑวาดวยวิธีพิจารณาของศาลรัฐธรรมนูญหรือกฎหมายวาดวยวิธีพิจารณาของ

ศาลปกครอง แลวแตได เมื่อเห็นวามกีรณีดังนี้

(๑) บทบัญญัติแหงกฎหมายใดมีปญหาเกี่ยวกับความชอบดวยรัฐธรรมนูญ ให

เสนอเรื่องพรอมดวยความเห็นตอศาลรัฐธรรมนูญ และใหศาลรัฐธรรมนูญพิจารณา

วินิจฉัยโดยไมชักชา ทั้งนี้ ตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยวิธีพิจารณา

ของศาลรัฐธรรมนูญ

(๒) กฎ คําสั่ง หรือการกระทําอื่นใดของบุคคลใดตามมาตรา ๒๓๗ (๑) (ก) มี

ปญหาเกี่ยวกับความชอบดวยรัฐธรรมนูญหรือกฎหมาย ใหเสนอเรื่องพรอมดวย

ความเห็นตอศาลปกครอง และใหศาลปกครองพิจารณาวินิจฉัยโดยไมชักชา ทั้งนี้ ตาม

พระราชบัญญัติวาดวยการจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง

ใหศาลรัฐธรรมนูญหรือศาลปกครอง แลวแตกรณี พิจารณาวินิจฉัยเรื่องที่

ผูตรวจการแผนดินของรัฐสภาเสนอตามวรรคหนึ่งโดยไมชักชา

Page 156: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๑๔๗

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) สวนที่ ๒

คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาต ิ

สวนที่ ๒ ๓. คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาต ิ

มาตรา ๒๙๗ คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ

ประกอบดวยประธานกรรมการคนหนึ่งและกรรมการผูทรงคุณวุฒิอื่นอีกแปดคน ซึ่งพระมหากษัตริยทรงแตงตั้ง ตามคําแนะนําของวุฒิสภา กรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติตองเปนผูซึ่งมีความซื่อสัตย

สุจริตเปนที่ประจักษ มีคุณสมบัติและไมมีลักษณะตองหามตามมาตรา ๒๕๖ การสรรหาและการเลือกกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ ให

นําบทบัญญัติมาตรา ๒๕๗ และมาตรา ๒๕๘ มาใชบังคับโดยอนุโลม ทั้งนี้ โดยใหมี

คณะกรรมการสรรหากรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติจํานวนสิบหา

คน ประกอบดวย ประธานศาลฎีกา ประธานศาลรัฐธรรมนูญ ประธานศาลปกครองสูงสุด

ประธานกรรมการการเลือกตั้ง ประธานกรรมการตรวจเงินแผนดิน ประธานกรรมการสิทธิ

มนุษยชนแหงชาติ ผูตรวจการแผนดินของรัฐสภา ซึ่งเลือกกันเองใหเหลือหนึ่งคน สมาชิก

สภาผูแทนราษฎรของพรรคการเมืองที่สมาชิกในสังกัดดํารงตําแหนงรัฐมนตรีซึ่งเลือก

กันเองใหเหลือหนึ่งคน สมาชิกสภาผูแทนราษฎรของพรรคการเมืองที่สมาชิกในสังกัด

มิไดดํารงตําแหนงรัฐมนตรี ซึ่งเลือกกันเองใหเหลือหนึ่งคน และอธิการบดีของ

สถาบันอุดมศึกษาของรัฐที่เปนนิติบุคคลทุกแหงซึ่งเลือกกันเองใหเหลือหกคนเปน

กรรมการ

ในกรณีที่มีเหตุทําใหตองมีการสรรหากรรมการปองกันและปราบปรามการ

ทุจริตแหงชาติ แตมีกรรมการสรรหากรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ

ไมครบองคประกอบตามวรรคสาม หรือมีแตไมอาจปฏิบัติหนาที่ได ใหคณะกรรมการ

มาตรา ๒๙๗๒๓๙ คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ

ประกอบดวยประธานกรรมการคนหนึ่งและกรรมการผูทรงคุณวุฒิอื่นอีกแปดคน ซึ่งพระมหากษัตริยทรงแตงตั้ง ตามคําแนะนําของวุฒิสภา กรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติตองเปนผูซึ่งมีความซื่อสัตย

สุจริตเปนที่ประจักษและมีคุณสมบัติและไมมีลักษณะตองหามตามมาตรา ๒๕๖๒๐๑ โดย

เคยเปนรัฐมนตรี กรรมการการเลือกตั้ง ผูตรวจการแผนดินของรัฐสภา กรรมการสิทธิ

มนุษยชนแหงชาติ กรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาต ิหรือกรรมการ

ตรวจเงินแผนดิน หรือเคยรับราชการในตําแหนงไมต่ํากวารองอธิบดี หรือดํารงตําแหนง

ไมต่ํากวาขาราชการพลเรือนระดับเกา หรือดํารงตําแหนงไมต่ํากวารองศาสตราจารย

ผูแทนองคกรเอกชน หรือประกอบวิชาชีพที่มีองคกรวิชาชีพตามกฎหมายมาเปนเวลา

ไมนอยกวาสิบป ซึ่งองคกรเอกชนหรือองคกรวิชาชีพนั้นใหการรับรองและเสนอชื่อเขาสู

กระบวนการสรรหา

การสรรหาและการเลือกกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ ให

นําบทบัญญัติมาตรา ๒๕๗๒๐๐ วรรคสามและวรรคสี่ มาตรา ๒๐๒ และมาตรา

๒๕๘๒๐๓ มาใชบังคับโดยอนุโลม ทั้งนี้ โดยใหมี เวนแตองคประกอบของคณะกรรมการ

สรรหากรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติจํานวนสิบหาคน ประกอบดวย

ประธานศาลฎีกา ประธานศาลรัฐธรรมนูญ ประธานศาลปกครองสูงสุด ประธานกรรมการ

การเลือกตั้ง ประธานกรรมการตรวจเงินแผนดิน ประธานกรรมการสิทธิมนุษยชน

แหงชาติ ผูตรวจการแผนดินของรัฐสภา ซึ่งเลือกกันเองใหเหลือหนึ่งคน สมาชกิสภา

Page 157: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๑๔๘

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) สรรหากรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติประกอบดวยกรรมการเทาที่มี

อยู

ใหประธานวุฒิสภาลงนามรับสนองพระบรมราชโองการแตงตั้งประธาน

กรรมการและกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ

ผูแทนราษฎรของพรรคการเมืองที่สมาชิกในสังกัดดํารงตําแหนงรัฐมนตรีซึ่งเลือกกันเอง

ใหเหลือหนึ่งคน สมาชิกสภาผูแทนราษฎรของพรรคการเมืองที่สมาชิกในสังกัดมิไดดํารง

ตําแหนงรัฐมนตรี ซึ่งเลือกกันเองใหเหลือหนึ่งคน และอธิการบดีของสถาบันอุดมศึกษา

ของรัฐที่เปนนิติบุคคลทุกแหงซึ่งเลือกกันเองใหเหลือหกคนเปนกรรมการใหเปนไปตาม

มาตรา ๒๓๖ ในกรณีที่มีเหตุทําใหตองมีการสรรหากรรมการปองกันและปราบปรามการ

ทุจริตแหงชาติ แตมีกรรมการสรรหากรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ

ไมครบองคประกอบตามวรรคสาม หรือมีแตไมอาจปฏิบัติหนาที่ได ใหคณะกรรมการ

สรรหากรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติประกอบดวยกรรมการเทาที่

มีอยู

ใหประธานวุฒิสภาเปนผูลงนามรับสนองพระบรมราชโองการแตงตั้งประธาน

กรรมการและกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ มาตรา ๒๙๘ กรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติมีวาระการดํารงตําแหนงเกาปนับแตวันที่พระมหากษัตริยทรงแตงตั้ง และใหดํารงตําแหนงไดเพียงวาระเดียว กรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติซึ่งพนจากตําแหนงตาม

วาระ ตองปฏิบัติหนาที่ตอไปจนกวากรรมการซึ่งไดรับแตงตั้งใหมจะเขารับหนาที ่ การพนจากตําแหนง การสรรหาและการเลือกกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติแทนตําแหนงที่วาง ใหนําบทบัญญัติมาตรา ๒๖๐ และ มาตรา ๒๖๑ มาใชบังคับโดยอนุโลม

มาตรา ๒๙๘๒๔๐ กรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติมีวาระการดํารงตําแหนงเกาปนับแตวันที่พระมหากษัตริยทรงแตงตั้ง และใหดํารงตําแหนงไดเพียงวาระเดียว กรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติซึ่งพนจากตําแหนงตาม

วาระ ตองปฏิบัติหนาที่ตอไปจนกวากรรมการซึ่งไดรับแตงตั้งใหมจะเขารับหนาที ่ การพนจากตําแหนง การสรรหา และการเลือกกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติแทนตําแหนงที่วาง ใหนําบทบัญญัติมาตรา ๒๖๐๒๐๕ และ มาตรา ๒๖๑๒๐๖ มาใชบังคับโดยอนุโลม

มาตรา ๒๙๙ สมาชิกสภาผูแทนราษฎรจํานวนไมนอยกวาหนึ่งในสี่ของจํานวนสมาชิกทั้งหมดเทาที่มีอยูของสภาผูแทนราษฎร มีสิทธิเขาชื่อรองขอตอประธานวุฒิสภาวากรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติผูใดกระทําการขาดความเที่ยง

มาตรา ๒๙๙๒๔๑ สมาชิกสภาผูแทนราษฎรจํานวนไมนอยกวาหนึ่งในสี่ของจํานวนสมาชิกทั้งหมดเทาที่มีอยูของสภาผูแทนราษฎร หรือประชาชนผูมีสิทธิเลือกตั้ง ไมนอยกวาสองหมื่นคน มีสิทธิเขาชื่อรองขอตอประธานวุฒิสภาวากรรมการปองกันและ

Page 158: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๑๔๙

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) ธรรม จงใจฝาฝนรัฐธรรมนูญหรือ กฎหมาย หรือมีพฤติการณที่เปนการเสื่อมเสียแก

เกียรติศักดิ์ของการดํารงตําแหนงอยางรายแรง และขอใหวุฒิสภามีมติใหพนจากตําแหนงได มติของวุฒิสภาใหกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติพนจาก

ตําแหนงตามวรรคหนึ่ง ตองมีคะแนนเสียงไมนอยกวาสามในสี่ของจํานวนสมาชิกทั้งหมดเทาที่มีอยูของวุฒิสภา

ปราบปรามการทุจริตแหงชาติผูใดกระทําการขาดความเที่ยงธรรม จงใจฝาฝนรัฐธรรมนูญหรือ กฎหมาย หรือมีพฤติการณที่เปนการเสื่อมเสียแกเกียรติศักดิ์ของการ

ดํารงตําแหนงอยางรายแรง และขอใหวุฒิสภามีมติใหพนจากตําแหนงได มติของวุฒิสภาใหกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติพนจาก

ตําแหนงตามวรรคหนึ่ง ตองมีคะแนนเสียงไมนอยกวาสามในสี่ของจํานวนสมาชิกทั้งหมดเทาที่มีอยูของวุฒิสภา

มาตรา ๓๐๐ สมาชิกสภาผูแทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา หรือสมาชิกของทั้งสองสภา มีจํานวนไมนอยกวาหนึ่งในสี่ของจํานวนสมาชิกทั้งหมดเทาที่มีอยูของทั้งสองสภา มีสิทธิเขาชื่อรองขอตอศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผูดํารงตําแหนงทางการเมืองวากรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติผูใดร่ํารวยผิดปกติ กระทําความผิดฐานทุจริตตอหนาที่ หรือกระทําความผิดตอตําแหนงหนาที่ราชการ คํารองขอตามวรรคหนึ่งตองระบุพฤติการณที่กลาวหาวาผูดํารงตําแหนง

ดังกลาวกระทําการตามวรรคหนึ่งเปนขอ ๆ ใหชัดเจน และใหยื่นตอประธานวุฒิสภา เมื่อประธานวุฒิสภาไดรับคํารองแลวใหสงคํารองดังกลาวไปยังศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของ

ผูดํารงตําแหนงทางการเมืองเพื่อพิจารณาพิพากษา กรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติผูถูกกลาวหา จะปฏิบัติหนาที่ในระหวางนั้นมิไดจนกวาจะมีคําพิพากษาของศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผูดํารง

ตําแหนงทางการเมืองใหยกคํารองดังกลาว

มาตรา ๓๐๐๒๔๒ สมาชิกสภาผูแทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา หรือสมาชิกของทั้งสองสภา มีจํานวนไมนอยกวาหนึ่งในสี่ของจํานวนสมาชิกทั้งหมดเทาที่มีอยูของทั้งสองสภา มีสิทธิเขาชื่อรองขอตอศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผูดํารงตําแหนงทางการเมืองวา กรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติผูใดร่ํารวยผิดปกต ิกระทําความผิดฐานทุจริตตอหนาที่ หรือกระทําความผิดตอตําแหนงหนาที่ราชการ คํารองขอตามวรรคหนึ่งตองระบุพฤติการณที่กลาวหาวาผูดํารงตําแหนง

ดังกลาวกระทําการตามวรรคหนึ่งเปนขอ ๆ ใหชัดเจน และใหยื่นตอประธานวุฒิสภา เมื่อประธานวุฒิสภาไดรับคํารองแลวใหสงคํารองดังกลาวไปยังศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของ

ผูดํารงตําแหนงทางการเมืองเพื่อพิจารณาพิพากษา กรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติผูถูกกลาวหา จะปฏิบัติหนาที่ในระหวางนั้นมิไดจนกวาจะมีคําพิพากษาของศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผูดํารง

ตําแหนงทางการเมืองใหยกคํารองดังกลาว มาตรา ๓๐๑ คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ มี

อํานาจหนาที่ ดังตอไปนี้

(๑) ไตสวนขอเท็จจริงและสรุปสํานวนพรอมทั้งทําความเห็นเสนอตอวุฒิสภา

ตามมาตรา ๓๐๕

มาตรา ๓๐๑๒๔๓ คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ มี

อํานาจหนาที่ ดังตอไปนี้

(๑) ไตสวนขอเท็จจริงและสรุปสํานวนพรอมทั้งทําความเห็นเกี่ยวกับการ

ถอดถอนออกจากตําแหนงเสนอตอวุฒิสภาตามมาตรา ๓๐๕๒๖๓

Page 159: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๑๕๐

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) (๒) ไตสวนขอเท็จจริงและสรุปสํานวนพรอมทั้งทําความเห็นสงไปยังศาลฎีกา

แผนกคดีอาญาของผูดํารงตําแหนงทางการเมืองตามมาตรา ๓๐๘

(๓) ไตสวนและวินิจฉัยวาเจาหนาที่ของรัฐร่ํารวยผิดปกติ กระทําความผิดฐาน

ทุจริตตอหนาที่ หรือกระทําความผิดตอตําแหนงหนาที่ราชการ หรือความผิดตอตําแหนง

หนาที่ในการยุติธรรม เพื่อดําเนินการตอไปตามกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการ

ปองกันและปราบปรามการทุจริต

(๔) ตรวจสอบความถกูตองและความมีอยูจริงรวมทั้งความเปลี่ยนแปลงของ

ทรัพยสินและหนี้สินของผูดํารงตําแหนงตามมาตรา ๒๙๑ และมาตรา ๒๙๖ตามบัญชีและ

เอกสารประกอบที่ไดยื่นไว

(๕) รายงานผลการตรวจสอบและผลการปฏิบัติหนาที่พรอมขอสังเกตตอ

คณะรัฐมนตรี สภาผูแทนราษฎร และ วุฒิสภา ทุกป และนํารายงานนั้นออกพิมพเผยแพร

ตอไป

(๖) ดําเนินการอื่นตามที่กฎหมายบัญญัติ

ใหนําบทบัญญัติมาตรา ๑๔๖ และมาตรา ๒๖๕ มาใชบังคับกับการปฏิบัติหนาที่

ของคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติดวย โดยอนุโลม

(๒) ไตสวนขอเท็จจริงและสรุปสํานวนพรอมทั้งทําความเห็นเกี่ยวกับการดําเนิน

คดีอาญาของผูดํารงตําแหนงทางการเมืองสงไปยังศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผูดํารง

ตําแหนงทางการเมืองตามมาตรา ๓๐๘๒๖๖

(๓) ไตสวนและวินิจฉัยวาเจาหนาที่ของรัฐตั้งแตผูบริหารระดับสูงหรือ

ขาราชการพลเรือนซึ่งดํารงตําแหนงตั้งแตผูอํานวยการกองหรือเทียบเทาขึ้นไปร่ํารวย

ผิดปกติ กระทําความผิดฐานทุจริตตอหนาที่ หรือกระทําความผิดตอตําแหนงหนาที่

ราชการ หรือความผิดตอตําแหนงหนาที่ในการยุติธรรม รวมทั้งดําเนินการกับเจาหนาที่

ของรัฐในระดับต่ํากวาที่รวมกระทําความผิดกับผูดํารงตําแหนงดังกลาวหรือกับผูดํารง

ตําแหนงทางการเมืองดวย เพื่อดําเนินการตอไปตามกฎหมายพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการปองกันและปราบปรามการทุจริต

(๔) ตรวจสอบความถูกตองและความมีอยูจริงรวมทั้งความเปลี่ยนแปลงของ

ทรัพยสินและหนี้สินของผูดํารงตําแหนงตามมาตรา ๒๙๑๒๕๐ และมาตรา ๒๙๖๒๕๕

ตามบัญชีและเอกสารประกอบที่ไดยื่นไว

(๕) รายงานผลการตรวจสอบและผลการปฏิบัติหนาที่พรอมขอสังเกตตอ

คณะรัฐมนตรี สภาผูแทนราษฎร และ วุฒิสภา ทุกป และนํารายงานนั้นออกพิมพเผยแพร

ตอไป

(๖) ดําเนินการอื่นตามที่กฎหมายบัญญัติ

ใหนําบทบัญญัติมาตรา ๑๔๖๒๐๙ และมาตรา ๒๖๕ มาใชบังคับกับการปฏิบัติ

หนาที่ของคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติดวยโดยอนุโลม

ประธานกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติและกรรมการ

ปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติเปนเจาพนักงานในการยุติธรรมตามกฎหมาย

Page 160: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๑๕๑

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) มาตรา ๓๐๒ คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติมีหนวย

ธุรการของคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติที่เปนอิสระ โดยมีเลขาธิการ คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติเปนผูบังคับบัญชาขึ้น

ตรงตอประธานกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ การแตงตั้งเลขาธิการคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ ตองไดรับความเห็นชอบของคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติและ

วุฒิสภา สํานักงานคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติมีอิสระใน

การบริหารงานบุคคล การงบประมาณ และการดําเนินการอื่น ทั้งนี้ ตามที่กฎหมาย

บัญญัติ

มาตรา ๓๐๒๒๔๔ คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติมี

หนวยธุรการของคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติที่เปนอิสระ และมีหนาที่กํากับดูแลคุณธรรมและจริยธรรมของผูดํารงตําแหนงทางการเมือง โดยมี

เลขาธิการ คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติเปนผูบังคับบัญชาขึ้น

ตรงตอประธานกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ การแตงตั้งเลขาธิการคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ ตองไดรับความเห็นชอบของคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติและ

วุฒิสภา สํานักงานคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติมีอิสระใน

การบริหารงานบุคคล การงบประมาณ และการดําเนินการอื่น ทั้งนี้ ตามที่กฎหมาย

บัญญัติ หมวด ๑๑

การตรวจเงินแผนดิน

หมวด ๑๑ ๔. คณะกรรมการตรวจเงินแผนดิน

มาตรา ๓๑๒ การตรวจเงินแผนดิน ใหกระทําโดยคณะกรรมการตรวจเงิน

แผนดินและผูวาการตรวจเงินแผนดินที่เปนอิสระและเปนกลาง คณะกรรมการตรวจเงินแผนดิน ประกอบดวยประธานกรรมการคนหนึ่งและกรรมการอื่นอีกเกาคน ซึ่งพระมหากษัตริยทรงแตงตั้งตามคําแนะนําของวุฒิสภา จากผูมี

ความชํานาญและประสบการณดานการตรวจเงินแผนดิน การบัญชี การตรวจสอบภายใน

การเงินการคลัง และดานอื่น คณะกรรมการตรวจเงินแผนดินมีหนวยธุรการของคณะกรรมการตรวจเงิน

แผนดินที่เปนอิสระ โดยมีผูวาการตรวจเงินแผนดินเปนผูบังคับบัญชาขึ้นตรงตอประธาน

มาตรา ๓๑๒๒๔๕ การตรวจเงินแผนดินใหกระทําโดยคณะกรรมการตรวจเงิน

แผนดินและผูวาการตรวจเงินแผนดินที่เปนอิสระและเปนกลาง คณะกรรมการตรวจเงินแผนดิน ประกอบดวย ประธานกรรมการคนหนึ่งและ

กรรมการอื่นอีกเกาหกคน ซึ่งพระมหากษัตริยทรงแตงตั้งตามคําแนะนําของวุฒิสภา จาก

ผูมีความชํานาญและประสบการณดานการตรวจเงินแผนดิน การบัญชี การตรวจสอบภายใน การเงินการคลัง และดานอื่น คณะกรรมการตรวจเงินแผนดินมีหนวยธุรการของคณะกรรมการตรวจเงิน

แผนดินที่เปนอิสระ โดยมีผูวาการตรวจเงินแผนดินเปนผูบังคับบัญชาขึ้นตรงตออยูใน

Page 161: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๑๕๒

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) กรรมการตรวจเงินแผนดิน ตามที่บัญญัติไวในกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการตรวจเงินแผนดิน พระมหากษัตริยทรงแตงตั้งผูวาการตรวจเงินแผนดินตามคําแนะนําของวุฒิสภา

จากผูมีความชํานาญและ ประสบการณดานการตรวจเงินแผนดิน การบัญชี การ

ตรวจสอบภายใน การเงินการคลัง หรือดานอื่น ใหประธานวุฒิสภาลงนามรับสนองพระบรมราชโองการแตงตั้งประธาน

กรรมการและกรรมการตรวจเงินแผนดินและผูวาการตรวจเงินแผนดิน กรรมการตรวจเงินแผนดินมีวาระการดํารงตําแหนงคราวละหกปนับแตวันที่

พระมหากษัตริยทรงแตงตั้ง และใหดํารงตําแหนงไดเพียงวาระเดียว คุณสมบัติ ลักษณะตองหาม การสรรหาและการเลือก และการพนจากตําแหนง

ของกรรมการตรวจเงินแผนดิน และผูวาการตรวจเงินแผนดิน รวมทั้งอํานาจหนาที่ของ คณะกรรมการตรวจเงินแผนดิน ผูวาการตรวจเงินแผนดิน และสํานักงานการตรวจเงิน

แผนดิน ใหเปนไปตามกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการตรวจเงินแผนดิน การกําหนดคุณสมบัติและวิธีการเลือกบุคคลซึ่งจะไดรับการแตงตั้งเปน

กรรมการตรวจเงินแผนดินและผูวาการตรวจเงินแผนดิน จะตองเปนไปเพื่อใหไดบุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสมและมีความซื่อสัตยสุจริต และเพื่อใหไดหลักประกันความเปนอิสระในการปฏิบัติหนาที่ของบุคคลดังกลาว

การกํากับของประธานกรรมการตรวจเงินแผนดิน ตามที่บัญญัติไวในกฎหมายพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการตรวจเงินแผนดิน พระมหากษัตริยทรงแตงตั้งผูวาการตรวจเงินแผนดินตามคําแนะนําของวุฒิสภา

จากผูมีความชํานาญและ ประสบการณดานการตรวจเงินแผนดิน การบัญชี การ

ตรวจสอบภายใน การเงินการคลัง หรือดานอื่นการสรรหาและการเลือกกรรมการตรวจ

เงินแผนดินและผูวาการตรวจเงินแผนดิน ใหนําบทบัญญัติมาตรา ๒๐๐ วรรคสามและวรรคสี่ มาตรา ๒๐๒ และมาตรา ๒๐๓ มาใชบังคับโดยอนุโลม เวนแตองคประกอบของคณะกรรมการสรรหาใหเปนไปตามมาตรา ๒๓๖

ใหประธานวุฒิสภาเปนผูลงนามรับสนองพระบรมราชโองการแตงตั้งประธาน

กรรมการและกรรมการตรวจเงินแผนดินและผูวาการตรวจเงินแผนดิน กรรมการตรวจเงินแผนดินมีวาระการดํารงตําแหนงคราวละหกปนับแตวันที่

พระมหากษัตริยทรงแตงตั้ง และใหดํารงตําแหนงไดเพียงวาระเดียว คณะกรรมการตรวจเงินแผนดินมีอํานาจหนาที่กําหนดหลักเกณฑมาตรฐาน

เกี่ยวกับการตรวจเงินแผนดิน ใหคําปรึกษา แนะนํา และเสนอแนะใหมีการแกไขขอบกพรองเกี่ยวกับการตรวจเงินแผนดิน โดยมีอํานาจวินิจฉัยการดําเนินการที่เกี่ยวกับวินัยทางการเงิน การคลัง และการงบประมาณ และใหคดีที่พิพาทเกี่ยวกับคําวินิจฉัยของคณะกรรมการตรวจเงินแผนดินในเรื่องดังกลาวเปนคดีที่อยูในอํานาจของศาลปกครอง ใหผูวาการตรวจเงินแผนดินมีอํานาจหนาที่ตรวจสอบการใชจายเงินภาครัฐ โดยเปนอิสระและเปนกลาง และอยูในการกํากับการปฏิบัติงานของคณะกรรมการตรวจเงิน

แผนดิน คุณสมบัติ ลักษณะตองหาม การสรรหาและการเลือก และการพนจากตําแหนง

ของกรรมการตรวจเงินแผนดิน และผูวาการตรวจเงินแผนดิน รวมทั้งอํานาจหนาที่ของ

คณะกรรมการตรวจเงินแผนดิน ผูวาการตรวจเงินแผนดิน และสํานักงานการตรวจเงิน

Page 162: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๑๕๓

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) แผนดิน ใหเปนไปตามกฎหมายพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการตรวจเงิน

แผนดิน การกําหนดคุณสมบัติและวิธีการเลือกบุคคลซึ่งจะไดรับการแตงตั้งเปน

กรรมการตรวจเงินแผนดินและผูวาการตรวจเงินแผนดิน จะตองเปนไปเพื่อใหไดบุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสมและมีความซื่อสัตยสุจริตเปนที่ประจักษ และเพื่อใหไดหลักประกันความเปนอิสระในการปฏิบัติหนาที่ของบุคคลดังกลาว

สวนที่ ๒ องคกรอื่นตามรัฐธรรมนูญ

๑. องคกรอัยการ

มาตรา ๒๔๖ พนักงานอัยการมีอิสระในการพิจารณาสั่งคดีและปฏิบัติหนาที่ให

เปนไปโดยเที่ยงธรรม ตามรัฐธรรมนูญและกฎหมาย การแตงตั้งและการใหอัยการสูงสุดพนจากตําแหนงตองเปนไปตามมติของ

คณะกรรมการอัยการ และไดรับความเห็นชอบจากวุฒิสภา ใหประธานวุฒิสภาเปนผูลงนามรับสนองพระบรมราชโองการแตงตั้งอัยการ

สูงสุด องคกรอัยการมีหนวยธุรการที่เปนอิสระในการบริหารงานบุคคล การงบประมาณ และการดําเนินการอื่น โดยมีอัยการสูงสุดเปนผูบังคับบัญชา ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ

Page 163: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๑๕๔

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) พนักงานอัยการตองหามมิใหดํารงตําแหนงหรือกระทํากิจการใด ๆ

เชนเดียวกับที่กําหนดไวในเรื่องวินัยหรือลักษณะตองหามของผูพิพากษาหรือตุลาการ ใหนําบทบัญญัติมาตรา ๑๖๔ วรรคแปดและวรรคเกา และมาตรา ๑๙๘ มาใชบังคับโดยอนุโลม

สวนที่ ๘ คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาต ิ

สวนที่ ๘ ๒. คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาต ิ

มาตรา ๑๙๙ คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ ประกอบดวย ประธาน

กรรมการคนหนึ่ง และกรรมการอื่นอีกสิบคน ซึ่งพระมหากษัตริยทรงแตงตั้งตาม

คําแนะนําของวุฒิสภา จากผูซึ่งมีความรูหรือประสบการณดานการคุมครองสิทธิเสรีภาพ

ของประชาชนเปนที่ประจักษ ทั้งนี้ โดยตองคํานึงถึงการมีสวนรวมของผูแทนจากองคการเอกชนดานสิทธิมนุษยชนดวย ใหประธานวุฒิสภาลงนามรับสนองพระบรมราชโองการแตงตั้งประธาน

กรรมการและกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ คุณสมบัติ ลักษณะตองหาม การสรรหา การเลือก การถอดถอน และการ

กําหนดคาตอบแทนกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาต ิใหเปนไปตามที่กฎหมายบัญญัติ กรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติมีวาระการดํารงตําแหนงหกปนับแตวันที่

พระมหากษัตริยทรงแตงตั้ง และใหดํารงตําแหนงไดเพียงวาระเดียว

มาตรา ๑๙๙๒๔๗ คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ ประกอบดวย

ประธานกรรมการคนหนึ่ง และกรรมการอื่นอีกสิบหกคน ซึ่งพระมหากษัตริยทรงแตงตั้ง

ตามคําแนะนําของวุฒิสภา จากผูซึ่งมีความรูหรือประสบการณดานการคุมครองสิทธิ

เสรีภาพของประชาชนเปนที่ประจักษ ทั้งนี้ โดยตองคํานึงถึงการมีสวนรวมของผูแทนจากองคการเอกชนดานสิทธิมนุษยชนดวย ใหประธานวุฒิสภาเปนผูลงนามรับสนองพระบรมราชโองการแตงตั้งประธาน

กรรมการและกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ คุณสมบัติ ลักษณะตองหาม การสรรหา การเลือก การถอดถอน และการ

กําหนดคาตอบแทนกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาต ิใหเปนไปตามที่กฎหมายบัญญัติ กรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติมีวาระการดํารงตําแหนงหกปนับแตวันที่

พระมหากษัตริยทรงแตงตั้ง และใหดํารงตําแหนงไดเพียงวาระเดียว ใหนําบทบัญญัติมาตรา ๒๐๐ วรรคสาม มาตรา ๒๐๒ มาตรา ๒๐๓ และ

มาตรา ๒๐๕ (๒) มาใชบังคับโดยอนุโลม เวนแตองคประกอบของคณะกรรมการสรรหา

ใหเปนไปตามมาตรา ๒๓๖

Page 164: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๑๕๕

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) มาตรา ๒๐๐ คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้

(๑) ตรวจสอบและรายงานการกระทําหรือการละเลยการกระทําอันเปนการ

ละเมิดสิทธิมนุษยชน หรืออันไมเปนไปตามพันธกรณีระหวางประเทศเกี่ยวกับสิทธิ

มนุษยชนที่ประเทศไทยเปนภาคี และเสนอมาตรการการแกไขที่เหมาะสมตอบุคคลหรือ

หนวยงานที่กระทําหรือละเลยการกระทําดังกลาวเพื่อดําเนินการ ในกรณีที่ปรากฏวาไมมี

การดําเนินการตามที่เสนอ ใหรายงานตอรัฐสภาเพื่อดําเนินการตอไป

(๒) เสนอแนะนโยบายและขอเสนอในการปรับปรุงกฎหมาย กฎ หรือขอบังคับ

ตอรัฐสภาและคณะรัฐมนตรีเพื่อสงเสริมและคุมครองสิทธิมนุษยชน

(๓) สงเสริมการศึกษา การวิจัย และการเผยแพรความรูดานสิทธิมนุษยชน

(๔) สงเสริมความรวมมือและการประสานงานระหวางหนวยราชการ องคการ

เอกชน และองคการอื่นในดานสิทธิ มนุษยชน

(๕)จัดทํารายงานประจําปเพื่อประเมินสถานการณดานสิทธิมนุษยชน

ภายในประเทศและเสนอตอรัฐสภา

(๖) อํานาจหนาที่อื่นตามที่กฎหมายบัญญัติ

ในการปฏิบัติหนาที่ คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติตองคํานึงถึง

ผลประโยชนสวนรวมของชาติและประชาชนประกอบดวย

คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติมีอํานาจเรียกเอกสารหรือหลักฐานที่

เกี่ยวของจากบุคคลใด หรือเรียกบุคคลใดมาใหถอยคํา รวมทั้งมีอํานาจอื่นเพื่อประโยชน

ในการปฏิบัติหนาที่ ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ

มาตรา ๒๐๐๒๔๘ คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ มีอํานาจหนาที่

ดังตอไปนี้

(๑) ตรวจสอบและรายงานการกระทําหรือการละเลยการกระทํา อันเปนการ

ละเมิดสิทธิมนุษยชน หรืออันไมเปนไปตามพันธกรณีระหวางประเทศเกี่ยวกับสิทธิ

มนุษยชนที่ประเทศไทยเปนภาคี และเสนอมาตรการการแกไขที่เหมาะสมตอบุคคลหรือ

หนวยงานที่กระทําหรือละเลยการกระทําดังกลาวเพื่อดําเนินการ ในกรณีที่ปรากฏวาไมมี

การดําเนินการตามที่เสนอ ใหรายงานตอรัฐสภาเพื่อดําเนินการตอไป

(๒) เสนอเรื่องพรอมดวยความเห็นตอศาลรัฐธรรมนูญ ในกรณีที่เห็นชอบ

ตามที่มีผูรองเรียนวา บทบัญญัติแหงกฎหมายใดกระทบตอสิทธิมนุษยชนและมีปญหา

เกี่ยวกับความชอบดวยรัฐธรรมนูญ

(๓) เสนอเรื่องพรอมดวยความเห็นตอศาลปกครอง ในกรณีที่เห็นชอบตามที่มี

ผูรองเรียนวา กฎ คําสั่ง หรือการกระทําอื่นใดในทางปกครองกระทบตอสิทธิมนุษยชนและ

มีปญหาเกี่ยวกับความชอบดวยรัฐธรรมนูญหรือกฎหมาย

(๒๔) เสนอแนะนโยบายและขอเสนอในการปรับปรุงกฎหมาย และกฎ หรือ

ขอบังคับ ตอรัฐสภาและหรือคณะรัฐมนตรีเพื่อสงเสริมและคุมครองสิทธิมนุษยชน

(๓๕) สงเสริมการศึกษา การวิจัย และการเผยแพรความรูดานสิทธิมนุษยชน

(๔๖) สงเสริมความรวมมือและการประสานงานระหวางหนวยราชการ องคการ

เอกชน และองคการอื่นในดานสิทธิ มนุษยชน

(๕๗)จัดทํารายงานประจําปเพื่อประเมินสถานการณดานสิทธิมนุษยชน

ภายในประเทศและเสนอตอรัฐสภา

(๖๘) อํานาจหนาที่อื่นตามที่กฎหมายบัญญัติ

Page 165: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๑๕๖

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) ในการปฏิบัติหนาที่ คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติตองคํานึงถึง

ผลประโยชนสวนรวมของชาติและประชาชนประกอบดวย

คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติมีอํานาจเรียกเอกสารหรือหลักฐานที่

เกี่ยวของจากบุคคลใด หรือเรียกบุคคลใดมาใหถอยคํา รวมทั้งมีอํานาจอื่นเพื่อประโยชน

ในการปฏิบัติหนาที่ ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ

๓. สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ

มาตรา ๘๙ เพื่อประโยชนในการดําเนินการตามหมวดนี้ ใหรัฐจัดใหมีสภาที่

ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ มีหนาที่ใหคําปรึกษาและขอเสนอแนะตอคณะ

รัฐมนตรีในปญหาตาง ๆ ที่เกี่ยวกับเศรษฐกิจและสังคม

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติและแผนอื่นตามที่กฎหมายบัญญัติ ตอง

ใหสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติใหความเห็นกอนพิจารณาประกาศใช

องคประกอบ ที่มา อํานาจหนาที่ และการดําเนินงานของสภาที่ปรึกษา

เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ใหเปนไปตามที่กฎหมายบัญญัติ

มาตรา ๘๙๒๔๙ เพื่อประโยชนในการดําเนินการตามหมวดนี้ ใหรัฐจัดใหมีสภา

ที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติมีหนาที่ใหคําปรึกษาและขอเสนอแนะตอคณะ

รัฐมนตรีในปญหาตาง ๆ ที่เกี่ยวกับเศรษฐกิจและสังคม รวมถึงกฎหมายที่เกี่ยวของ

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติและแผนอื่นตามที่กฎหมายบัญญัติตอง

ใหสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ใหความเห็นกอนพิจารณาประกาศใช

องคประกอบ ที่มา อํานาจหนาที่ และการดําเนินงานของสภาที่ปรึกษา

เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ใหเปนไปตามที่กฎหมายบัญญัติ

Page 166: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๑๕๗

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) หมวด ๑๐

การตรวจสอบการใชอํานาจรัฐ

หมวด ๑๐๑๒

การตรวจสอบการใชอํานาจรัฐ

สวนที่ ๑

การแสดงบัญชีรายการทรัพยสินและหนี้สิน

สวนที่ ๑ การแสดงบัญชีรายการตรวจสอบทรัพยสินและหนี้สิน

มาตรา ๒๙๑ ผูดํารงตําแหนงทางการเมืองดังตอไปนี้ มีหนาที่ยื่นบัญชีแสดง

รายการทรัพยสินและหนี้สินของตน คูสมรส และบุตรที่ยังไมบรรลุนิติภาวะ ตอ

คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ ทุกครั้งที่เขารับตําแหนงหรือพน

จากตําแหนง

(๑) นายกรัฐมนตรี

(๒) รัฐมนตรี

(๓) สมาชิกสภาผูแทนราษฎร

(๔) สมาชิกวุฒิสภา

(๕) ขาราชการการเมืองอื่น

(๖) ผูบริหารทองถิ่นและสมาชิกสภาทองถิ่นตามที่กฎหมายบัญญัติ

บัญชีตามวรรคหนึ่งใหยื่นพรอมเอกสารประกอบซึ่งเปนสําเนาหลักฐานที่พิสูจน

ความมีอยูจริงของทรัพยสินและหนี้สินดังกลาว รวมทั้งสําเนาแบบแสดงรายการภาษีเงิน

ไดบุคคลธรรมดาในรอบปภาษีที่ผานมา โดยผูยื่นจะตองลงลายมือชื่อรับรองความถูกตอง

กํากับไวในบัญชีและสําเนาหลักฐานที่ยื่นไวทุกหนาดวย

มาตรา ๒๙๑๒๕๐ ผูดํารงตําแหนงทางการเมืองดังตอไปนี้ มหีนาที่ยื่นบัญชี

แสดงรายการทรัพยสินและหนี้สินของตน คูสมรส และบุตรที่ยังไมบรรลุนิติภาวะตอ

คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ ทุกครั้งที่เขารับตําแหนงหรือพน

จากตําแหนง

(๑) นายกรัฐมนตรี

(๒) รัฐมนตรี

(๓) สมาชิกสภาผูแทนราษฎร

(๔) สมาชิกวุฒิสภา

(๕) ขาราชการการเมืองอื่น

(๖) ผูบริหารทองถิ่นและสมาชิกสภาทองถิ่นตามที่กฎหมายบัญญัติ

บัญชีตามวรรคหนึ่งใหยื่นพรอมเอกสารประกอบซึ่งเปนสําเนาหลักฐานที่พิสูจน

ความมีอยูจริงของทรัพยสินและหนี้สินดังกลาว รวมทั้งสําเนาแบบแสดงรายการภาษีเงิน

ไดบุคคลธรรมดาในรอบปภาษีที่ผานมา โดยผูยื่นจะตองลงลายมือชื่อรับรองความถูกตอง

กํากับไวในบัญชีและสําเนาหลักฐานที่ยื่นไวทุกหนาดวย

Page 167: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๑๕๘

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) การยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพยสินและหนี้สินตามวรรคหนึ่ง และวรรคสอง ให

รวมถึงทรัพยสินของผูดํารงตําแหนงทางการเมืองที่มอบหมายใหอยูในความครอบครอง

หรือดูแลของบุคคลอื่นไมวาทางตรงหรือทางออมดวย

มาตรา ๒๙๒ บัญชีแสดงรายการทรัพยสินและหนี้สินตามมาตรา ๒๙๑ ให

แสดงรายการทรัพยสินและหนี้สินที่มีอยูจริงในวันที่ยื่นบัญชีดังกลาว และตองยื่นภายใน

กําหนดเวลาดังตอไปนี้

(๑) ในกรณีที่เปนการเขารับตําแหนง ใหยื่นภายในสามสิบวันนับแตวันเขารับ

ตําแหนง

(๒) ในกรณีที่เปนการพนจากตําแหนง ใหยื่นภายในสามสิบวันนับแตวันพนจาก

ตําแหนง

(๓) ในกรณีที่บุคคลตามมาตรา ๒๙๑ ซึ่งไดยื่นบัญชีไวแลว ตายในระหวางดํารง

ตําแหนงหรือ กอนยื่นบัญชีหลังจากพนจากตําแหนง ใหทายาทหรือผูจัดการมรดก ยื่น

บัญชีแสดงรายการทรัพยสิน และหนี้สินที่มีอยูในวันที่ผูดํารงตําแหนงนั้นตาย ภายใน

เกาสิบวันนับแตวันที่ผูดํารงตําแหนงตาย

ผูดํารงตําแหนงนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี ผูบริหารทองถิ่น สมาชิกสภาทองถิ่น

หรือผูดํารงตําแหนงทางการเมืองซึ่งพนจากตําแหนง นอกจากตองยื่นบัญชีตาม (๒) แลว

ใหมีหนาที่ยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพยสินและหนี้สินอีกครั้งหนึ่งภายในสามสิบวันนับแต

วันที่พนจากตําแหนงดังกลาวมาแลวเปนเวลาหนึ่งปดวย

มาตรา ๒๙๒๒๕๑ บัญชีแสดงรายการทรัพยสินและหนี้สินตามมาตรา

๒๙๑๒๕๐ ใหแสดงรายการทรัพยสินและหนี้สินที่มีอยูจริงในวันที่ยื่นบัญชีดังกลาว และ

ตองยื่นภายในกําหนดเวลาดังตอไปนี้

(๑) ในกรณีที่เปนการเขารับตําแหนง ใหยื่นภายในสามสิบวันนับแตวันเขารับ

ตําแหนง

(๒) ในกรณีที่เปนการพนจากตําแหนง ใหยื่นภายในสามสิบวันนับแตวันพนจาก

ตําแหนง

(๓) ในกรณีที่บุคคลตามมาตรา ๒๙๑๒๕๐ ซึ่งไดยื่นบัญชีไวแลว ตายในระหวาง

ดํารงตําแหนงหรือ กอนยื่นบัญชีหลังจากพนจากตําแหนง ใหทายาทหรือผูจัดการมรดก

ยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพยสิน และหนี้สินที่มีอยูในวันที่ผูดํารงตําแหนงนั้นตาย ภายใน

เกาสิบวันนับแตวันที่ผูดํารงตําแหนงตาย

ผูดํารงตําแหนงนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี ผูบริหารทองถิ่น สมาชิกสภาทองถิ่น

หรือผูดํารงตําแหนงทางการเมืองซึ่งพนจากตําแหนง นอกจากตองยื่นบัญชีตาม (๒) แลว

ใหมีหนาที่ยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพยสินและหนี้สินอีกครั้งหนึ่งภายในสามสิบวันนับแต

วันที่พนจากตําแหนงดังกลาวมาแลวเปนเวลาหนึ่งปดวย มาตรา ๒๙๓ เมื่อไดรับบัญชีแสดงรายการทรัพยสินและหนี้สินและเอกสารประกอบแลว ใหประธานกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติหรือกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติซึ่งประธานกรรมการปองกันและ

ปราบปรามการทุจริตแหงชาติมอบหมาย ลงลายมือชื่อกํากับไวในบัญชีทุกหนา

มาตรา ๒๙๓๒๕๒ เมื่อไดรับบัญชีแสดงรายการทรัพยสินและหนี้สินและเอกสารประกอบแลว ใหประธานกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติหรือกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติซึ่งประธานกรรมการปองกันและ

ปราบปรามการทุจริตแหงชาติมอบหมาย ลงลายมือชื่อกํากับไวในบัญชีทุกหนา

Page 168: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๑๕๙

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) บัญชีและเอกสารประกอบตามวรรคหนึ่งของนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีให

เปดเผยใหสาธารณชนทราบโดยเร็วแตตองไมเกินสามสิบวันนับแตวันที่ครบกําหนดตอง

ยื่นบัญชีดังกลาว บัญชีของผูดํารงตําแหนงอื่นหามมิใหเปดเผยแกผูใด เวนแตการ เปดเผยดังกลาวจะเปนประโยชนตอการพิจารณาพิพากษาคดีหรือการวินิจฉัยชี้ขาด และ

ไดรับการรองขอจากศาลหรือคณะกรรมการตรวจเงินแผนดิน ใหประธานกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติจัดใหมีการ

ประชุมคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติเพื่อตรวจสอบความ

ถูกตองและความมีอยูจริงของทรัพยสินและหนี้สินดังกลาวโดยเร็ว

บัญชีแสดงรายการทรัพยสินและหนี้สินและเอกสารประกอบตามวรรคหนึ่งของ

นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรี สมาชิกสภาผูแทนราษฎร และสมาชิกวุฒิสภาใหเปดเผยใหสาธารณชนทราบโดยเร็วแตตองไมเกินสามสิบวันนับแตวันที่ครบกําหนดตองยื่นบัญชี

ดังกลาว บัญชีของผูดํารงตําแหนงอื่นหามมิใหจะเปดเผยแกผูใด เวนแตไดตอเมื่อการเปดเผยดังกลาวจะเปนประโยชนตอการพิจารณาพิพากษาคดีหรือการวินิจฉัยชี้ขาด และ

ไดรับการรองขอจากศาลหรือผูมีสวนไดเสียหรือคณะกรรมการตรวจเงินแผนดิน ใหประธานกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติจัดใหมีการ

ประชุมคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติเพื่อตรวจสอบความ

ถูกตองและความมีอยูจริงของทรัพยสินและหนี้สินดังกลาวโดยเร็ว มาตรา ๒๙๔ ในกรณีที่มีการยื่นบัญชีเพราะเหตุที่ผูดํารงตําแหนงทางการเมือง

ผูใดพนจากตําแหนงหรือตาย ใหคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ

ทําการตรวจสอบ ความเปลี่ยนแปลงของทรัพยสินและหนี้สินของผูดํารงตําแหนงนั้น แลวจัดทํารายงานผลการตรวจสอบ รายงานดังกลาวใหประกาศในราชกิจจานุเบกษา ใน

กรณีที่ปรากฏวาผูดํารงตําแหนงตามวรรคหนึ่งผูใดมีทรัพยสินเพิ่มขึ้นผิดปกติ ใหประธานกรรมการปองกันและ ปราบปรามการทุจริตแหงชาติสงเอกสารทั้งหมดที่มีอยูพรอมทั้งรายงานผลการตรวจสอบไปยังอัยการสูงสุดเพื่อดําเนินคดีตอศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของ

ผูดํารงตําแหนงทางการเมืองใหทรัพยสินที่เพิ่มขึ้นผิดปกตินั้นตกเปนของแผนดินตอไป ใหนําบทบัญญัติมาตรา ๓๐๕ วรรคหา มาใชบังคับโดยอนุโลม

มาตรา ๒๙๔๒๕๓ ในกรณีที่มีการยื่นบัญชีเพราะเหตุที่ผูดํารงตําแหนงทาง

การเมืองผูใดพนจากตําแหนงหรือตาย ใหคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการ

ทุจริตแหงชาติทําการตรวจสอบ ความเปลี่ยนแปลงของทรัพยสินและหนี้สินของผูดํารงตําแหนงนั้น แลวจัดทํารายงานผลการตรวจสอบ รายงานดังกลาวใหประกาศในราชกิจจา

นุเบกษา ในกรณีที่ปรากฏวาผูดํารงตําแหนงตามวรรคหนึ่งผูใดมีทรัพยสินเพิ่มขึ้น

ผิดปกติ ใหประธานกรรมการปองกันและ ปราบปรามการทุจริตแหงชาติสงเอกสารทั้งหมดที่มีอยูพรอมทั้งรายงานผลการตรวจสอบไปยังอัยการสูงสุดเพื่อดําเนินคดีตอศาล

ฎีกาแผนกคดีอาญาของผูดํารงตําแหนงทางการเมืองใหทรัพยสินที่เพิ่มขึ้นผิดปกตินั้นตก

เปนของแผนดินตอไปและใหนําบทบัญญัติมาตรา ๒๖๓ วรรคหา มาใชบังคับโดยอนุโลม

ใหนําบทบัญญัติมาตรา ๓๐๕ วรรคหา มาใชบังคับโดยอนุโลม มาตรา ๒๙๕ ผูดํารงตําแหนงทางการเมืองผูใดจงใจไมยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพยสินและหนี้สินและเอกสารประกอบตามที่กําหนดไวในรัฐธรรมนูญนี้ หรือจงใจยื่นบัญชีแสดงรายการ ทรัพยสินและหนี้สินและเอกสารประกอบดวยขอความอันเปนเท็จ

มาตรา ๒๙๕๒๕๔ ผูดํารงตําแหนงทางการเมืองผูใดจงใจไมยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพยสินและหนี้สินและเอกสารประกอบตามที่กําหนดไวในรัฐธรรมนูญนี ้หรือจงใจยื่นบัญชีแสดงรายการ ทรัพยสินและหนี้สินและเอกสารประกอบดวยขอความอันเปน

Page 169: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๑๖๐

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) หรือปกปดขอเท็จจริงที่ควรแจงใหทราบ ใหผูนั้นพนจากตําแหนงนับแตวันที่ครบกําหนด

ตองยื่นตามมาตรา ๒๙๒ หรือนับแตวันที่ตรวจพบวามีการกระทําดังกลาว แลวแตกรณี และผูนั้นตองหามมิใหดํารงตําแหนงทางการเมืองใด ๆ เปนเวลาหาปนับแตวันที่พนจากตําแหนง เมื่อมีกรณีตามวรรคหนึ่ง ใหคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริต

แหงชาติเสนอเรื่องใหศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยชี้ขาดตอไป และเมื่อศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัย

ชี้ขาดแลว ใหนําบทบัญญัติมาตรา ๙๗ มาใชบังคับโดยอนุโลม

เท็จ หรือปกปดขอเท็จจริงที่ควรแจงใหทราบ ใหผูนั้นพนจากตําแหนงนับแตวันที่ครบ

กําหนดตองยื่นตามมาตรา ๒๙๒๒๕๑ หรือนับแตวันที่ตรวจพบวามีการกระทําดังกลาว แลวแตกรณี และผูนั้นตองหามมิใหดํารงตําแหนงทางการเมืองใด ๆ เปนเวลาหาปนับแตวันที่พนจากตําแหนง เมื่อมีกรณีตามวรรคหนึ่ง ใหคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริต

แหงชาติเสนอเรื่องใหศาลรัฐธรรมนูญฎีกาแผนกคดีอาญาของผูดํารงตําแหนงทาง

การเมืองวินิจฉัยชี้ขาดตอไป และเมื่อศาลรัฐธรรมนูญฎีกาแผนกคดีอาญาของผูดํารง

ตําแหนงทางการเมืองวินิจฉัยชี้ขาดแลว ใหนําบทบัญญัติมาตรา ๙๗๙๐ มาใชบังคับโดย

อนุโลม และผูนั้นตองหามมิใหดํารงตําแหนงทางการเมือง หรือดํารงตําแหนงใด

ในพรรคการเมืองเปนเวลาหาปนับแตวันที่ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผูดํารงตําแหนง

ทางการเมืองวินิจฉัย

มาตรา ๒๙๖ บทบัญญัติมาตรา ๒๙๑ มาตรา ๒๙๒ มาตรา ๒๙๓ วรรคหนึ่งและวรรคสาม และมาตรา ๒๙๕ วรรคหนึ่ง ใหใชบังคับกับเจาหนาที่อื่นของรัฐตามที่บัญญัติไวในกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการปองกันและปราบปรามการทุจริต

ดวยโดยอนุโลม

มาตรา ๒๙๖๒๕๕ บทบัญญัติมาตรา ๒๙๑๒๕๐ มาตรา ๒๙๒๒๕๑ มาตรา ๒๙๓๒๕๒ วรรคหนึ่งและวรรคสาม และมาตรา ๒๙๕๒๕๔ วรรคหนึ่ง ใหใชบังคับกับเจาหนาที่อื่นของรัฐ ตามที่บัญญัติไวในกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญวาดวย

คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติกําหนดดวยโดยอนุโลม คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติอาจเปดเผยบัญชีแสดง

รายการทรัพยสินและหนี้สินและเอกสารประกอบที่มีการยื่นไวแกผูมีสวนไดเสียได ถาเปนประโยชนในการดําเนินคดีหรือการวินิจฉัยการกระทําความผิด ตามที่บัญญัติในพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการปองกันและปราบปรามการทุจริต

Page 170: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๑๖๑

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) สวนที่ ๒

การกระทําที่เปนการขัดกันแหงผลประโยชน

มาตรา ๑๑๐ สมาชิกสภาผูแทนราษฎรตอง

(๑) ไมดํารงตําแหนงหรือหนาที่ใดในหนวยราชการ หนวยงานของรัฐ หรือ

รัฐวิสาหกิจ หรือตําแหนงสมาชิกสภาทองถิ่น ผูบริหารทองถิ่น หรือพนักงานสวนทองถิ่น

ทั้งนี้ นอกจากขาราชการการเมืองอื่นซึ่งมิใชรัฐมนตรี

(๒) ไมรับสัมปทานจากรัฐ หนวยราชการ หนวยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ

หรือเขาเปนคูสัญญากับรัฐ หนวยราชการ หนวยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ อันมี

ลักษณะเปนการผูกขาดตัดตอน หรือเปนหุนสวนหรือผูถือหุนในหางหุนสวนหรือบริษัทที่

รับสัมปทานหรือเขาเปนคูสัญญาในลักษณะดังกลาว

(๓) ไมรับเงินหรือประโยชนใด ๆ จากหนวยราชการ หนวยงานของรัฐ หรือ

รัฐวิสาหกิจ เปนพิเศษนอกเหนือไปจากที่หนวยราชการ หนวยงานของรัฐ หรือ

รัฐวิสาหกิจ ปฏบิัติกับบุคคลอื่น ๆ ในธุรกิจการงานตามปกติ

บทบัญญัติมาตรานี้มิใหใชบังคับในกรณีที่สมาชิกสภาผูแทนราษฎรรับเบี้ยหวัด

บําเหน็จ บํานาญ เงินปพระบรมวงศานุวงศ หรือเงินอื่นใดในลักษณะเดียวกัน และมิใหใช

บังคับในกรณีที่สมาชิกสภาผูแทนราษฎรรับหรือดํารงตําแหนงกรรมาธิการของรัฐสภา

สภาผูแทนราษฎร หรือวุฒิสภา หรือกรรมการที่ไดรับแตงตั้งในฐานะเปนผูทรงคุณวุฒิ

ตามบทบัญญัติแหงกฎหมาย หรือกรรมการที่ไดรับแตงตั้งในการบริหารราชการแผนดิน

ในกรณีที่ดํารงตําแหนงขาราชการการเมืองอื่นซึ่งมิใชรัฐมนตรี

มาตรา ๑๑๐๒๕๖ สมาชิกสภาผูแทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภาตอง

(๑) ไมดํารงตําแหนงหรือหนาที่ใดในหนวยราชการ หนวยงานของรัฐ หรือ

รัฐวิสาหกิจ หรือตําแหนงสมาชิกสภาทองถิ่น ผูบริหารทองถิ่น หรือพนักงานขาราชการ

สวนทองถิ่น ทั้งนี้ นอกจากขาราชการการเมืองอื่นซึ่งมิใชรัฐมนตรี

(๒) ไมรับหรือแทรกแซงหรือกาวกายการเขารับสัมปทานจากรัฐ หนวยราชการ

หนวยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ หรือเขาเปนคูสัญญากับรัฐ หนวยราชการ หนวยงาน

ของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ อันมีลักษณะเปนการผูกขาดตัดตอน หรือเปนหุนสวนหรือผูถือ

หุนในหางหุนสวนหรือบริษัทที่รับสัมปทานหรือเขาเปนคูสัญญาในลักษณะดังกลาว ทั้งนี ้ไมวาโดยทางตรงหรือทางออม

(๓) ไมรับเงินหรือประโยชนใด ๆ จากหนวยราชการ หนวยงานของรัฐ หรือ

รัฐวิสาหกิจ เปนพิเศษนอกเหนือไปจากที่หนวยราชการ หนวยงานของรัฐ หรือ

รัฐวิสาหกิจปฏิบัติกับบุคคลอื่น ๆ ในธุรกิจการงานตามปกติ

(๔) ไมเปนหุนสวนหรือผูถือหุนในหางหุนสวนหรือบริษัทที่ดําเนินกิจการ

เกี่ยวกับการสื่อสารมวลชน หรือเขาเปนคูสัญญากับหางหุนสวนหรือบริษัทดังกลาว

บทบัญญัติมาตรานี้มิใหใชบังคับในกรณีที่สมาชิกสภาผูแทนราษฎรหรือสมาชิก

วุฒิสภารับเบี้ยหวัด บําเหน็จ บํานาญ เงินปพระบรมวงศานุวงศ หรือเงินอื่นใดในลักษณะ

เดียวกัน และมิใหใชบังคับในกรณีที่สมาชิกสภาผูแทนราษฎรหรือสมาชิกวุฒิสภารับหรือ

ดํารงตําแหนงกรรมาธิการของรัฐสภา สภาผูแทนราษฎร หรือวุฒิสภา หรือกรรมการที่

Page 171: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๑๖๒

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) ไดรับแตงตั้งในฐานะเปนผูทรงคุณวุฒิตามบทบัญญัติแหงกฎหมาย หรือกรรมการที่ไดรับ

แตงตั้งในการบริหารราชการแผนดิน ในกรณีที่ดํารงตําแหนงขาราชการการเมืองอื่นซึ่ง

มิใชรัฐมนตรี

ใหนําความใน (๒) (๓) และ (๔) มาใชบังคับกับคูสมรสและบุตรของสมาชิก

สภาผูแทนราษฎรหรือสมาชิกวุฒิสภา ทั้งนี้ รวมถึงบุคคลอื่นซึ่งมิใชคูสมรสและบุตร

ของสมาชิกสภาผูแทนราษฎรหรือสมาชิกวุฒิสภานั้น ที่ดําเนินการในลักษณะผูถูกใช

ผูรวมดําเนินการ หรือผูไดรับมอบหมายจากสมาชิกสภาผูแทนราษฎรหรือสมาชิกวุฒิสภา

ใหกระทําการตามมาตรานี้ดวย มาตรา ๑๑๑ สมาชิกสภาผูแทนราษฎรตองไมใชสถานะหรือ ตําแหนงการเปนสมาชิกสภาผูแทนราษฎรเขาไปกาวกายหรือแทรกแซงการบรรจุ แตงตั้ง ยาย โอน เลื่อน

ตําแหนง และเลื่อน ขั้นเงินเดือนของขาราชการซึ่งมีตําแหนงหรือเงินเดือนประจําและมิใชขาราชการการเมือง พนักงานหรือลูกจางของหนวยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือราชการ

สวนทองถิ่น หรือใหบุคคลดังกลาวพนจากตําแหนง

มาตรา ๑๑๑๒๕๗ สมาชิกสภาผูแทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภาตองไมใชสถานะหรือ ตําแหนงการเปนสมาชิกสภาผูแทนราษฎรหรือสมาชิกวุฒิสภาเขาไปกาวกายหรือแทรกแซงการบรรจุ แตงตั้ง ยาย โอน เลื่อนตําแหนง และเลื่อน ขั้นเงินเดือนของขาราชการซึ่งมีตําแหนงหรือเงินเดือนประจําและมิใชขาราชการการเมือง พนักงานหรือลูกจางของหนวยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือราชการสวนทองถิ่น หรือใหบุคคลดังกลาวพนจากตําแหนงเพื่อประโยชนของตนเอง ของผูอื่น หรือของพรรคการเมือง ไมวาโดย

ทางตรงหรือทางออม ในเรื่องดังตอไปนี ้

(๑) การปฏิบัติราชการหรือการดําเนินงานในหนาที่ประจําของขาราชการ

พนักงานหรือลูกจางของหนวยราชการ หนวยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ กิจการที่รัฐถือหุน

เปนสวนใหญ หรือราชการสวนทองถิ่น

(๒) การบรรจุ แตงตั้ง ยาย โอน เลื่อนตําแหนง และเงินเดือนของขาราชการซึ่งมี

ตําแหนงหรือเงินเดือนประจําและมิใชขาราชการการเมือง พนักงานหรือลูกจางของหนวย

ราชการ หนวยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ กิจการที่รัฐถือหุนเปนสวนใหญ หรือราชการสวน

ทองถิ่น หรือ

Page 172: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๑๖๓

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) (๓) การใหขาราชการซึ่งมีตําแหนงหรือเงินเดือนประจําและมิใชขาราชการ

การเมือง พนักงานหรือลูกจางของหนวยราชการ หนวยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ กิจการที่

รัฐถือหุนเปนสวนใหญ หรือราชการสวนทองถิ่น พนจากตําแหนง มาตรา ๒๕๘ ใหนําบทบัญญัติมาตรา ๒๕๖ มาใชบังคับกับนายกรัฐมนตรีและ

รัฐมนตรีดวย เวนแตเปนการดํารงตําแหนงหรือดําเนินการตามบทบัญญัติแหงกฎหมาย และจะดํารงตําแหนงใดในหางหุนสวน บริษัท หรือองคการที่ดําเนินธุรกิจโดยมุงหาผลกําไรหรือรายไดมาแบงปนกัน หรือเปนลูกจางของบุคคลใดก็มิไดดวย

มาตรา ๒๐๘ รัฐมนตรีจะดํารงตําแหนงหรือกระทําการใดตามที่บัญญัติในมาตรา ๑๑๐ มิได เวนแตตําแหนงที่ตองดํารงตามบทบัญญัติแหงกฎหมาย และจะดํารง

ตําแหนงใดในหางหุนสวน บริษัท หรือองคการที่ดําเนินธุรกิจโดยมุงหาผลกําไรหรือรายไดมาแบงปนกัน หรือเปนลูกจางของบุคคลใดก็มิไดดวย

มาตรา ๒๐๘๒๕๙ นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีจะดํารงตําแหนงหรือกระทําการใดตามที่บัญญัติไวในมาตรา ๑๑๐๒๕๗ มิได เวนแตตําแหนงที่ตองดํารงเปนการกระทําตามอํานาจหนาที่ในการบริหารราชการตามบทบัญญัติแหงกฎหมาย และจะดํารง

ตําแหนงใดในหางหุนสวน บริษัท หรือองคการที่ดําเนินธุรกิจโดยมุงหาผลกําไรหรือรายไดมาแบงปนกัน นโยบายที่ไดแถลงตอรัฐสภาหรือเปนลูกจางของบุคคลใดก็มิไดดวยตามที่กฎหมายบัญญัติ

มาตรา ๒๐๙ รัฐมนตรีตองไมเปนหุนสวนหรือผูถือหุนในหางหุนสวนหรือบริษัท หรือไมคงไวซึ่งความเปนหุนสวนหรือผูถือหุนในหางหุนสวนหรือบริษัทตอไปทั้งนี้ ตามจํานวนที่กฎหมายบัญญัติ ในกรณีที่รัฐมนตรีผูใดประสงคจะไดรับประโยชนจากกรณี

ดังกลาวตอไป ใหรัฐมนตรีผูนั้นแจงให ประธานกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติทราบภายในสามสิบวันนับแตวันที่ไดรับแตงตั้ง และใหรัฐมนตรีผูนั้นโอนหุนในหางหุนสวนหรือบริษัทดังกลาวใหนิติบุคคลซึ่งจัดการทรัพยสินเพื่อประโยชนของ

ผูอื่น ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ หามมิใหรัฐมนตรีผูนั้นกระทําการใดอันมีลักษณะเปนการเขาไปบริหารหรือ

จัดการใด ๆ เกี่ยวกับหุนหรือกิจการของหางหุนสวนหรือบริษัทดังกลาว

มาตรา ๒๐๙๒๖๐ นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีตองไมเปนหุนสวนหรือผูถือหุนในหางหุนสวนหรือบริษัท หรือไมคงไวซึ่งความเปนหุนสวนหรือผูถือหุนในหางหุนสวนหรือบริษัทตอไปทั้งนี้ ตามจํานวนที่กฎหมายบัญญัติ ในกรณีที่นายกรัฐมนตรีหรือ

รัฐมนตรีผูใดประสงคจะไดรับประโยชนจากกรณีดังกลาวตอไป ใหนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีผูนั้นแจงให ประธานกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติทราบภายในสามสิบวันนับแตวันที่ไดรับแตงตั้ง และใหนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีผูนั้นโอนหุนในหางหุนสวนหรือบริษัทดังกลาวใหนิติบุคคลซึ่งจัดการทรัพยสินเพื่อประโยชนของผูอื่น ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ หามมิใหนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีผูนั้นกระทําการใดอันมีลักษณะเปนการเขา

ไปบริหารหรือจัดการใด ๆ เกี่ยวกับหุนหรือกิจการของหางหุนสวนหรือบริษัทดังกลาว

Page 173: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๑๖๔

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) บทบัญญัติมาตรานี้ใหนํามาใชบังคับกับคูสมรสและบุตรที่ยังไมบรรลุนิติภาวะ

ของนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีดวย และใหนําบทบัญญัติมาตรา ๒๕๐ วรรคสามมาใชบังคับโดยอนุโลม

สวนที่ ๓ การถอดถอนจากตําแหนง

ไมมีการแกไข

มาตรา ๓๐๓ ผูดํารงตําแหนงนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี สมาชิกสภาผูแทน

ราษฎร สมาชิกวุฒิสภา ประธานศาลฎีกา ประธานศาลรัฐธรรมนูญ ประธานศาลปกครอง

สูงสุด หรืออัยการสูงสุด ผูใด มีพฤติการณร่ํารวยผิดปกติ สอไปในทางทุจริตตอหนาที่ สอ

วากระทําผิดตอตําแหนงหนาที่ราชการ สอวากระทําผิดตอตําแหนงหนาที่ในการยุติธรรม

หรือสอวาจงใจใชอํานาจหนาที่ขัดตอบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญหรือกฎหมาย วุฒิสภามี

อํานาจถอดถอนผูนั้นออกจากตําแหนงได

บทบัญญัติวรรคหนึ่งใหใชบังคับกับผูดํารงตําแหนงดังตอไปนี้ดวย คือ

(๑) กรรมการการเลือกตั้ง ผูตรวจการแผนดินของรัฐสภา ตุลาการศาล

รัฐธรรมนูญ และกรรมการตรวจเงิน แผนดิน

(๒) ผูพิพากษาหรือตุลาการ พนักงานอัยการ หรือผูดํารงตําแหนงระดับสูง ทั้งนี้

ตามกฎหมายประกอบรฐัธรรมนูญวาดวยการปองกันและปราบปรามการทุจริต

มาตรา ๓๐๓๒๖๑ ผูดํารงตําแหนงนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี สมาชิกสภาผูแทน

ราษฎร สมาชิกวุฒิสภา ประธานศาลรัฐธรรมนูญ ประธานศาลฎีกา ประธานศาล

รัฐธรรมนูญ ประธานศาลปกครองสูงสุด หรืออัยการสูงสุด ผูใด มีพฤติการณร่ํารวย

ผิดปกติ สอไปในทางทุจริตตอหนาที่ สอวากระทําผิดตอตําแหนงหนาที่ราชการ สอวา

กระทําผิดตอตําแหนงหนาที่ในการยุติธรรม หรือสอวาจงใจใชอํานาจหนาที่ขัดตอ

บทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญหรือกฎหมาย หรือฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามมาตรฐานทาง

จริยธรรมอยางรายแรง วุฒิสภามีอํานาจถอดถอนผูนั้นออกจากตําแหนงได

บทบัญญัติวรรคหนึ่งใหใชบังคับกับผูดํารงตําแหนงดังตอไปนี้ดวย คือ

(๑) ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ กรรมการการเลือกตั้ง ผูตรวจการแผนดินของ

รัฐสภา ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ และกรรมการตรวจเงิน แผนดิน

(๒) ผูพิพากษาหรือตุลาการ พนักงานอัยการ หรือผูดํารงตําแหนงระดับสูง ทั้งนี้

ตามกฎหมายพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการปองกันและปราบปรามการ

ทุจริต มาตรา ๓๐๔ สมาชิกสภาผูแทนราษฎรจํานวนไมนอยกวาหนึ่งในสี่ของจํานวนสมาชิกทั้งหมดเทาที่มีอยูของสภาผูแทนราษฎร หรือประชาชนผูมีสิทธิเลือกตั้งจํานวน

มาตรา ๓๐๔๒๖๒ สมาชิกสภาผูแทนราษฎรจํานวนไมนอยกวาหนึ่งในสี่ของจํานวนสมาชิกทั้งหมดเทาที่มีอยูของสภาผูแทนราษฎร หรือประชาชนผูมีสทิธิเลือกตั้ง

Page 174: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๑๖๕

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) ไมนอยกวาหาหมื่นคน มีสิทธิเขาชื่อรองขอตอประธานวุฒิสภาเพื่อใหวุฒิสภามีมติตามมาตรา ๓๐๗ ใหถอดถอนบุคคลตามมาตรา ๓๐๓ ออกจากตําแหนงได คํารองขอดังกลาวตองระบุพฤติการณที่กลาวหาวาผูดํารงตําแหนงดังกลาวกระทําความผิด เปนขอ ๆ ให

ชัดเจน สมาชิกวุฒิสภาจํานวนไมนอยกวาหนึ่งในสี่ของจํานวนสมาชิกทั้งหมดเทาที่มีอยู

ของวุฒิสภา มีสิทธิเขาชื่อรองขอตอประธานวุฒิสภาเพื่อใหวุฒิสภามีมติตามมาตรา ๓๐๗ ใหถอดถอนสมาชิกวุฒิสภาออกจากตําแหนงได หลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขในการที่ประชาชนจะเขาชื่อรองขอตามวรรคหนึ่ง ใหเปนไปตามกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการปองกันและปราบปรามการ

ทุจริต

จํานวนไมนอยกวาหาหมื่นคน มสีิทธิเขาชื่อรองขอตอประธานวุฒิสภาเพื่อใหวุฒิสภามีมติตามมาตรา ๓๐๗๒๖๕ ใหถอดถอนบุคคลตามมาตรา ๓๐๓๒๖๑ ออกจากตําแหนงได คํารองขอดังกลาวตองระบุพฤติการณที่กลาวหาวาผูดํารงตําแหนงดังกลาวกระทําความผิด เปนขอ ๆ ใหชัดเจน สมาชิกวุฒิสภาจํานวนไมนอยกวาหนึ่งในสี่ของจํานวนสมาชิกทั้งหมดเทาที่มีอยู

ของวุฒิสภา มีสิทธิเขาชื่อรองขอตอประธานวุฒิสภาเพื่อใหวุฒิสภามีมติตามมาตรา ๓๐๗๒๖๕ ใหถอดถอนสมาชิกวุฒิสภาออกจากตําแหนงได หลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขในการที่ประชาชนจะเขาชื่อรองขอตามวรรคหนึ่ง ใหเปนไปตามกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการปองกันและปราบปรามการ

ทุจริตประชาชนผูมีสิทธิเลือกตั้งจํานวนไมนอยกวาสองหมื่นคนมีสิทธิเขาชื่อรองขอ ใหถอดถอนบุคคลตามมาตรา ๒๖๑ ออกจากตําแหนงไดตามมาตรา ๑๖๐

มาตรา ๓๐๕ เมื่อไดรับคํารองขอตามมาตรา ๓๐๔ แลว ใหประธานวุฒิสภาสงเรื่องใหคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติดําเนินการไตสวน

โดยเร็ว เมื่อไตสวนเสร็จแลว ใหคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริต

แหงชาติทํารายงานเสนอตอวุฒิสภา โดยในรายงานดังกลาวตองระบุใหชัดเจนวาขอ

กลาวหาตามคํารองขอขอใดมีมูลหรือไม เพียงใด พรอมทั้งระบุเหตุแหงการนั้น ในกรณีที่คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติเห็นวาขอ

กลาวหาตามคํารองขอขอใดเปนเรื่องสําคัญ จะแยกทํารายงานเฉพาะขอนั้นสงไปให

วุฒิสภาพิจารณาไปกอนก็ได ถาคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติมีมติวาขอกลาวหา

ใดมีมูล นับแตวันดังกลาว ผูดํารงตําแหนงที่ถูกกลาวหาจะปฏิบัติหนาที่ตอไปมิไดจนกวาวุฒิสภาจะมีมติ และใหประธานกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติสง

มาตรา ๓๐๕๒๖๓ เมื่อไดรับคํารองขอตามมาตรา ๓๐๔๒๖๒ แลว ใหประธานวุฒิสภาสงเรื่องใหคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติดําเนินการ

ไตสวนโดยเร็วใหแลวเสร็จภายในสามสิบวันนับแตวันที่ไดรับคํารองขอ

เมื่อไตสวนเสร็จแลว ใหคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริต

แหงชาติทํารายงานเสนอตอวุฒิสภา โดยในรายงานดังกลาวตองระบุใหชัดเจนวาขอ

กลาวหาตามคํารองขอขอใดมีมูลหรือไม เพียงใด มีพยานหลักฐานที่ควรเชื่อไดอยางไร พรอมทั้งระบุเหตุแหงการนั้นขอยุติวาจะใหดําเนินการอยางไรดวย

ในกรณีที่คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติเห็นวาขอ

กลาวหาตามคํารองขอขอใดเปนเรื่องสําคัญ จะแยกทํารายงานเฉพาะขอนั้นสงไปให

ประธานวุฒิสภาตามวรรคหนึ่งเพื่อพิจารณาไปกอนก็ได ถาคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติมีมติดวยคะแนน

เสียงไมนอยกวากึ่งหนึ่งของจํานวนกรรมการทั้งหมดเทาที่มีอยู วาขอกลาวหาใดมีมูล นับ

Page 175: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๑๖๖

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) รายงานและเอกสารที่มีอยูพรอมทั้งความเห็นไปยังประธานวุฒิสภาเพื่อดําเนินการตาม

มาตรา ๓๐๖ และอัยการสูงสุดเพื่อดําเนินการฟองคดีตอศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผูดํารงตําแหนงทางการเมืองตอไป แตถาคณะกรรมการ ปองกันและปราบปรามการทุจริต

แหงชาติเห็นวาขอกลาวหาใดไมมีมูล ใหขอกลาวหาขอนั้นเปนอันตกไป ในกรณีที่อัยการสูงสุดเห็นวารายงาน เอกสาร และความเห็นที่คณะกรรมการ

ปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติสงใหตามวรรคสี่ยังไมสมบูรณพอที่จะ

ดําเนินคดีได ใหอัยการสูงสุดแจงใหคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริต

แหงชาติทราบเพื่อดําเนินการตอไป โดยใหระบุขอที่ไมสมบูรณนั้นใหครบถวนในคราว

เดียวกัน ในกรณีนี้ ใหคณะกรรมการปองกันและปราบปราบการทุจริตแหงชาติและ

อัยการสูงสุดตั้งคณะทํางานขึ้นคณะหนึ่ง โดยมีผูแทนจากแตละฝายจํานวนฝายละเทากัน เพื่อดําเนินการรวบรวมพยานหลักฐานใหสมบูรณ แลวสงใหอัยการสูงสุดเพื่อฟองคดี ตอไป ในกรณีที่คณะทํางานดังกลาวไมอาจหาขอยุติเกี่ยวกับการดําเนินการฟองคดีไดให

คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติมีอํานาจดําเนินการฟองคดีเอง

หรือแตงตั้งทนายความใหฟองคดีแทนก็ได

แตวันดังกลาว ผูดํารงตําแหนงที่ถูกกลาวหาจะปฏิบัติหนาที่ตอไปมิไดจนกวาวฒุิสภาจะมี

มต ิและใหประธานกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติสงรายงานและเอกสารที่มีอยูพรอมทั้งความเห็นไปยังประธานวุฒิสภาเพื่อดําเนินการตามมาตรา ๓๐๖๒๖๔ และอัยการสูงสุด เพื่อดําเนินการฟองคดีตอศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของ

ผูดํารงตําแหนงทางการเมืองตอไป แตถาคณะกรรมการ ปองกันและปราบปรามการ

ทุจริตแหงชาติเห็นวาขอกลาวหาใดไมมีมูล ใหขอกลาวหาขอนั้นเปนอันตกไป ในกรณีที่อัยการสูงสุดเห็นวารายงาน เอกสาร และความเห็นที่คณะกรรมการ

ปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติสงใหตามวรรคสี่ยังไมสมบูรณพอที่จะ

ดําเนินคดีได ใหอัยการสูงสุดแจงใหคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริต

แหงชาติทราบเพื่อดําเนินการตอไป โดยใหระบุขอที่ไมสมบูรณนั้นใหครบถวนในคราว

เดียวกัน ในกรณีนี้ ใหคณะกรรมการปองกันและปราบปราบการทุจริตแหงชาติและ

อัยการสูงสุดตั้งคณะทํางานขึ้นคณะหนึ่ง โดยมีผูแทนจากแตละฝายจํานวนฝายละเทากัน เพื่อดําเนินการรวบรวมพยานหลักฐานใหสมบูรณ แลวสงใหอัยการสูงสุด เพื่อฟองคดี

ตอไป ในกรณีที่คณะทํางานดังกลาวไมอาจหาขอยุติเกี่ยวกับการดําเนินการฟองคดีไดให

คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติมีอํานาจดําเนินการฟองคดีเอง

หรือแตงตั้งทนายความใหฟองคดีแทนก็ได มาตรา ๓๐๖ เมื่อไดรับรายงานตามมาตรา ๓๐๕ แลว ใหประธานวุฒิสภาจัดใหมีการประชุมวุฒิสภาเพื่อพิจารณากรณีดังกลาวโดยเร็ว ในกรณีที่คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติสงรายงานให

นอกสมัยประชุม ใหประธานวุฒิสภาแจงใหประธานรัฐสภาทราบเพื่อนําความกราบบังคมทูลเพื่อมีพระบรมราชโองการเรียกประชุมรัฐสภาเปนการประชุมสมัยวิสามัญ และให

ประธานรัฐสภาลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ

มาตรา ๓๐๖ เมื่อไดรับรายงานตามมาตรา ๓๐๕๒๖๓ แลว ใหประธานวุฒิสภาจัดใหมีการประชุมวุฒิสภาเพื่อพิจารณากรณีดังกลาวโดยเร็ว ในกรณีที่คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติสงรายงานให

นอกสมัยประชุม ใหประธานวุฒิสภาแจงใหประธานรัฐสภาทราบเพื่อนําความกราบบังคมทูลเพื่อมีพระบรมราชโองการเรียกประชุมรัฐสภาเปนการประชุมสมัยวิสามัญ และให

ประธานรัฐสภาลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ

Page 176: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๑๖๗

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) มาตรา ๓๐๗ สมาชิกวุฒิสภามีอิสระในการออกเสียงลงคะแนนซึ่งตองกระทําโดยวิธีลงคะแนนลับ มติที่ใหถอดถอนผูใดออกจากตําแหนง ใหถือเอาคะแนนเสียง ไมนอยกวาสามในหาของจํานวนสมาชิกทั้งหมดเทาที่มีอยูของวุฒิสภา ผูใดถูกถอดถอนออกจากตําแหนงใหผูนั้นพนจากตําแหนงหรือใหออกจาก

ราชการนับแตวันที่วุฒิสภามีมติใหถอดถอน และใหตัดสิทธิผูนั้นในการดํารงตําแหนงใดในทางการเมืองหรือในการรับราชการเปนเวลาหาป มติของวุฒิสภาตามมาตรานี้ใหเปนที่สุด และจะมีการรองขอใหถอดถอนบุคคลดังกลาวโดยอาศัยเหตุเดียวกันอีกมิได แตไมกระทบกระเทือนการพิจารณาของศาลฎีกา

แผนกคดีอาญาของผูดํารงตําแหนงทางการเมือง

มาตรา ๓๐๗๒๖๕ สมาชิกวุฒิสภามีอิสระในการออกเสียงลงคะแนนซึ่งตองกระทําโดยวิธีลงคะแนนลับ มติที่ใหถอดถอนผูใดออกจากตําแหนง ใหถือเอาคะแนนเสียง ไมนอยกวาสามในหาของจํานวนสมาชิกทั้งหมดเทาที่มีอยูของวุฒิสภา ผูใดถูกถอดถอนออกจากตําแหนงใหผูนั้นพนจากตําแหนงหรือใหออกจาก

ราชการนับแตวันที่วุฒิสภามีมติใหถอดถอน และใหตัดสิทธิผูนั้นในการดํารงตําแหนงใดในทางการเมืองหรือในการรับราชการเปนเวลาหาป มติของวุฒิสภาตามมาตรานี้ใหเปนที่สุด และจะมีการรองขอใหถอดถอนบุคคลดังกลาวโดยอาศัยเหตุเดียวกันอีกมิได แตไมกระทบกระเทือนการพิจารณาของศาลฎีกา

แผนกคดีอาญาของผูดํารงตําแหนงทางการเมือง สวนที่ ๔

การดําเนินคดีอาญากับผูดํารงตําแหนงทางการเมือง

สวนที่ ๔ การดําเนินคดีอาญากับผูดํารงตําแหนงทางการเมือง

มาตรา ๓๐๘ ในกรณีที่นายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี สมาชิกสภาผูแทนราษฎร

สมาชิกวุฒิสภา หรือขาราชการการเมืองอื่น ถูกกลาวหาวาร่ํารวยผิดปกติ กระทํา

ความผิดตอตําแหนงหนาที่ราชการตามประมวลกฎหมายอาญา หรือกระทําความผิดตอตําแหนงหนาที่หรือทุจริตตอหนาที่ตามกฎหมายอื่น ใหศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของ ผูดํารงตําแหนงทางการเมือง มีอํานาจพิจารณาพิพากษา บทบัญญัติวรรคหนึ่งใหใชบังคับกับกรณีที่บุคคลดังกลาวหรือบุคคลอื่นเปน

ตัวการ ผูใช หรือผูสนับสนุนดวย

มาตรา ๓๐๘๒๖๖ ในกรณีที่นายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี สมาชิกสภาผูแทนราษฎร

สมาชิกวุฒิสภา หรือขาราชการการเมืองอื่น ถูกกลาวหาวาร่ํารวยผิดปกติ กระทํา

ความผิดตอตําแหนงหนาที่ราชการตามประมวลกฎหมายอาญา หรือกระทําความผิดตอตําแหนงหนาที่หรือทุจริตตอหนาที่ตามกฎหมายอื่น ใหศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของ ผูดํารงตําแหนงทางการเมือง มีอํานาจพิจารณาพิพากษา บทบัญญัติวรรคหนึ่งใหใชบังคับกับกรณีที่บุคคลดังกลาวหรือบุคคลอื่นเปน

ตัวการ ผูใช หรือผูสนับสนุนรวมทั้งผูให ผูขอให หรือรับวาจะใหทรัพยสินหรือประโยชนอื่นใดแกบุคคลตามวรรคหนึ่ง เพื่อจูงใจใหกระทําการ ไมกระทําการ หรือประวิงการกระทําอันมิชอบดวยหนาที่ดวย

Page 177: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๑๖๘

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) มาตรา ๓๐๙ ผูเสียหายจากการกระทําตามมาตรา ๓๐๘ มีสิทธิยื่นคํารองตอ

คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติเพื่อใหดําเนินการตามมาตรา

๓๐๑ (๒) ไดตามกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการปองและปราบปรามการทุจริต

ใหนําบทบัญญัติมาตรา ๓๐๕ วรรคหนึ่ง วรรคสี่ และวรรคหา มาใชบังคับโดย

อนุโลม

มาตรา ๓๐๙๒๖๗ ผูเสียหายจากการกระทําตามมาตรา ๓๐๘๒๖๖ มีสิทธิยื่น

คํารองตอคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติเพื่อใหดําเนินการตาม

มาตรา ๓๐๑๒๔๓ (๒) ไดตามกฎหมายพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการ

ปองและปราบปรามการทุจริต

ใหนําบทบัญญัติมาตรา ๓๐๕๒๖๓ วรรคหนึ่ง วรรคสี่ และวรรคหา มาใชบังคับ

โดยอนุโลม มาตรา ๓๑๐ ในการพิจารณาคดี ใหศาลฎีกาแผนกคดีอาญา ของผูดํารงตําแหนงทางการเมืองยึดสํานวนของคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริต แหงชาติเปนหลักในการพิจารณา และอาจไตสวนหาขอเท็จจริงและพยานหลักฐานเพิ่มเติมไดตามที่เห็นสมควร ใหนําบทบัญญัติมาตรา ๒๖๕ มาใชบังคับกับการปฏิบัติหนาที่ของศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผูดํารงตําแหนงทางการเมืองดวยโดยอนุโลม บทบัญญัติวาดวยความคุมกันของสมาชิกสภาผูแทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภา

ตามมาตรา ๑๖๖ และมาตรา ๑๖๗ มิใหนํามาใชบังคับกับการพิจารณาคดีของศาลฎีกา

แผนกคดีอาญาของผูดํารงตําแหนงทางการเมือง

มาตรา ๓๑๐๒๖๘ ในการพิจารณาคดี ใหศาลฎีกาแผนกคดีอาญา ของผูดํารงตําแหนงทางการเมืองยึดสํานวนของคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริต

แหงชาติเปนหลักในการพิจารณา และอาจไตสวนหาขอเท็จจริงและพยานหลักฐานเพิ่มเติมไดตามที่เห็นสมควร ใหนําบทบัญญัติมาตรา ๒๖๕๒๐๙ มาใชบังคับกับการปฏิบัติหนาที่ของศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผูดํารงตําแหนงทางการเมืองดวยโดยอนุโลม บทบัญญัติวาดวยความคุมกันของสมาชิกสภาผูแทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภา

ตามมาตรา ๑๖๖๑๒๖ และมาตรา ๑๖๗ มิใหนํามาใชบังคับกับการพิจารณาคดีของศาล

ฎีกาแผนกคดีอาญาของผูดํารงตําแหนงทางการเมือง มาตรา ๓๑๑ การพิพากษาคดีใหถือเสียงขางมาก โดยผูพิพากษาซึ่งเปนองค

คณะทุกคนตองทําความเห็นในการวินิจฉัยคดีเปนหนังสือพรอมทั้งตองแถลงดวยวาจาตอ

ที่ประชุมกอนการลงมติ

ความเห็นในการวินิจฉัยคดีอยางนอยตองประกอบดวย

(๑) ชื่อผูถูกกลาวหา

(๒) เรื่องที่ถูกกลาวหา

(๓) ขอกลาวหาและสรุปขอเท็จจริงที่ไดจากการพิจารณา

มาตรา ๓๑๑๒๖๙ การพิพากษาคดีใหถือเสียงขางมาก โดยผูพิพากษาซึ่งเปน

องคคณะทุกคนตองทําความเห็นในการวินิจฉัยคดีเปนหนังสือพรอมทั้งตองแถลงดวย

วาจาตอที่ประชุมกอนการลงมติ

ความเห็นในการวินิจฉัยคดีอยางนอยตองประกอบดวย

(๑) ชื่อผูถูกกลาวหา

(๒) เรื่องที่ถูกกลาวหา

(๓) ขอกลาวหาและสรุปขอเท็จจริงที่ไดจากการพิจารณา

Page 178: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๑๖๙

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) (๔) เหตุผลในการวินิจฉัยทั้งในปญหาขอเท็จจริงและขอกฎหมาย

(๕) บทบัญญัติของกฎหมายที่ยกขึ้นอางอิง

(๖) คําวินิจฉัยคดี รวมทั้งการดําเนินการเกี่ยวกับทรัพยสินที่เกี่ยวของ ถามี

คําสั่งและคําพิพากษาของศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผูดํารงตําแหนงทาง

การเมืองใหเปดเผยและเปนที่สุด

(๔) เหตุผลในการวินิจฉัยทั้งในปญหาขอเท็จจริงและขอกฎหมาย

(๕) บทบัญญัติของกฎหมายที่ยกขึ้นอางอิง

(๖) คําวินิจฉัยคดี รวมทั้งการดําเนินการเกี่ยวกับทรัพยสินที่เกี่ยวของ ถามี

คําสั่งและคําพิพากษาของศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผูดํารงตําแหนงทาง

การเมืองใหเปดเผยและเปนที่สุด เวนแตกรณีตามวรรคสาม ในกรณีที่ผูตองคําพิพากษาของศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผูดํารงตําแหนง

ทางการเมืองมีพยานหลักฐานใหม ซึ่งอาจทําใหขอเท็จจริงเปลี่ยนแปลงไปในสาระสําคัญ อาจยื่นอุทธรณตอที่ประชุมใหญศาลฎีกาภายในสามสิบวันนับแตวันที่มีคําพิพากษาของ

ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผูดํารงตําแหนงทางการเมืองได หลักเกณฑการยื่นอุทธรณและการพิจารณาวินิจฉัยของที่ประชุมใหญศาลฎีกา

ใหเปนไปตามระเบียบที่ที่ประชุมใหญศาลฎีกากําหนด หมวด ๑๓

จริยธรรมของผูดํารงตําแหนงทางการเมืองและเจาหนาที่ของรัฐ

มาตรา ๒๗๐ มาตรฐานทางจริยธรรมของผูดํารงตําแหนงทางการเมือง

ขาราชการ หรือเจาหนาที่ของรัฐแตละประเภทใหเปนไปตามประมวลจริยธรรมที่กําหนด

ขึ้น

มาตรฐานทางจริยธรรมตามวรรคหนึ่ง จะตองมีกลไกและระบบในการ

ดําเนินงานเพื่อใหการบังคับใชเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ รวมทั้งกําหนดขั้นตอนการ

ลงโทษตามความรายแรงแหงการกระทํา

Page 179: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๑๗๐

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) การฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามมาตรฐานทางจริยธรรมตามวรรคหนึ่ง ใหถือวาเปน

การกระทําผิดทางวินัย ในกรณีที่ผูดํารงตําแหนงทางการเมืองฝาฝนหรือไมปฏิบัติตาม

ใหผูตรวจการแผนดินของรัฐสภารายงานตอรัฐสภา คณะรัฐมนตรี หรือสภาทองถิ่น

ที่ เกี่ยวของ แลวแตกรณี และหากเปนการกระทําผิดรายแรงใหสงเรื่องใหคณะกรรมการ

ปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติพิจารณาดําเนินการ โดยถือเปนเหตุที่จะถูก

ถอดถอนจากตําแหนงตามมาตรา ๒๖๑

การพิจารณา สรรหา กลั่นกรอง หรือแตงตั้งบุคคลใด เขาสูตําแหนงที่มีสวน

เกี่ยวของในการใชอํานาจรัฐ รวมทั้งการโยกยาย การเลื่อนตําแหนง การเลื่อนเงินเดือน

และการลงโทษบุคคลนั้นจะตองเปนไปตามระบบคุณธรรมและคํานึงถึงพฤติกรรมทาง

จริยธรรมของบุคคลดังกลาวดวย

มาตรา ๒๗๑ เพื่อประโยชนในการดําเนินการตามหมวดนี้ ใหผูตรวจการ

แผนดินของรัฐสภามีอํานาจหนาที่เสนอแนะหรือใหคําแนะนําในการจัดทําหรือปรับปรุง

ประมวลจริยธรรมตามมาตรา ๒๗๐ และสงเสริมใหผูดํารงตําแหนงทางการเมือง

ขาราชการ และเจาหนาที่ของรัฐ มีจิตสํานึกในดานจริยธรรม รวมทั้งรายงานการกระทําที่

มีการฝาฝนประมวลจริยธรรมเพื่อใหผูที่รับผิดชอบในการบังคับการใหเปนไปตาม

ประมวลจริยธรรมดําเนินการบังคับใหเปนไปตามประมวลจริยธรรม

ในกรณีที่การฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามมาตรฐานทางจริยธรรมมีลักษณะรายแรง

หรือมีเหตุอันควรเชื่อไดวาการดําเนินการของผูรับผิดชอบจะไมเปนไปดวยความเปน

ธรรม ผูตรวจการแผนดินของรัฐสภาจะไตสวนและเปดเผยผลการไตสวนตอสาธารณะ

ก็ได

Page 180: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๑๗๑

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) หมวด ๙

การปกครองสวนทองถิ่น

หมวด ๙๑๔ การปกครองสวนทองถิ่น

มาตรา ๒๘๒ ภายใตบังคับมาตรา ๑ รัฐจะตองใหความเปนอิสระแกทองถิ่นตามหลักแหงการปกครองตนเองตามเจตนารมณของประชาชนในทองถิ่น มาตรา ๒๘๓ ทองถิ่นใดมีลักษณะที่จะปกครองตนเองได ยอมมีสิทธิไดรับจัดตั้งเปนองคกรปกครองสวนทองถิ่น ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ การกํากับดูแลองคกรปกครองสวนทองถิ่น ตองทําเทาที่จําเปนตามที่กฎหมายบัญญัติแตตองไปเพื่อการคุมครองประโยชนของประชาชนในทองถิ่นหรือประโยชนของ ประเทศเปนสวนรวม ทั้งนี้ จะกระทบถึงสาระสําคัญแหงหลักการปกครองตนเองตามเจตนารมณของประชาชนในทองถิ่นหรือนอกเหนือจากที่กฎหมายบัญญัติไว มิได

มาตรา ๒๘๒๒๗๒ ภายใตบังคับมาตรา ๑ รัฐจะตองใหความเปนอิสระแกทองถิ่นตามหลักแหงการปกครองตนเองตามเจตนารมณของประชาชนในทองถิ่น และมีสวนรวมในการตัดสินใจแกไขปญหาในพื้นที่ ทองถิ่นใดมีลักษณะที่จะปกครองตนเองได ยอมมีสิทธิจัดตั้งเปนองคกรปกครองสวนทองถิ่น ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ มาตรา ๒๘๓ ทองถิ่นใดมีลักษณะที่จะปกครองตนเองได ยอมมีสิทธิไดรับจัดตั้งเปนองคกรปกครองสวนทองถิ่น ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ การกํากับดูแลองคกรปกครองสวนทองถิ่น ตองทําเทาที่จําเปนตามที่กฎหมายบัญญัติแตตองไปเพื่อการคุมครองประโยชนของประชาชนในทองถิ่นหรือประโยชนของ

ประเทศเปนสวนรวม ทั้งนี้ จะกระทบถึงสาระสําคัญแหงหลักการปกครองตนเองตามเจตนารมณของประชาชนในทองถิ่นหรือนอกเหนือจากที่กฎหมายบัญญัติไว มิได

มาตรา ๒๗๓ การกํากับดูแลองคกรปกครองสวนทองถิ่นตองทําเทาที่จําเปนตามที่กฎหมายบัญญัติ และสอดคลองกับรูปแบบขององคกรปกครองสวนทองถิ่น โดยตองเปนไปเพื่อการคุมครองประโยชนของประชาชนในทองถิ่นหรือประโยชนของประเทศ

เปนสวนรวม และจะกระทบถึงสาระสําคัญแหงหลักการปกครองตนเองตามเจตนารมณ

ของประชาชนในทองถิ่น หรือนอกเหนือจากที่กฎหมายบัญญัติไวมิได ในการกํากับดูแลตามวรรคหนึ่ง ใหมีมาตรฐานกลางในการดําเนินงานเพื่อใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นปฏิบัติไดเอง โดยคํานึงถึงความเหมาะสมและความแตกตางในระดับของการพัฒนาและประสิทธิภาพในการบริหารขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

Page 181: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๑๗๒

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) และตองสนับสนุนใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นสามารถตัดสินใจดําเนินงานตามความ

ตองการ รวมทั้งจัดใหมีกลไกการตรวจสอบการดําเนินงานโดยประชาชนเปนหลัก

มาตรา ๒๘๔ องคกรปกครองสวนทองถิ่นทั้งหลายยอมมีความเปนอิสระในการ

กําหนดนโยบาย การปกครอง การบริหาร การบริหารงานบุคคล การเงินและการคลัง

และมีอํานาจหนาที่ของตนเองโดยเฉพาะ

การกําหนดอํานาจและหนาที่ระหวางรัฐกับองคกรปกครองสวนทองถิ่น และ

ระหวางองคกรปกครองสวนทองถิ่นดวยกันเอง ใหเปนไปตามที่กฎหมายบัญญัติ โดย

คํานึงถึงการกระจายอํานาจเพิ่มขึ้นใหแกทองถิ่นเปนสําคัญ

เพื่อพัฒนาการกระจายอํานาจเพิ่มขึ้นใหแกทองถิ่นอยางตอเนื่อง ใหมีกฎหมาย

กําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจ ซึ่งอยางนอยตองมีสาระสําคัญ ดังตอไปนี้

(๑) การกําหนดอํานาจและหนาที่ในการจัดระบบการบริการสาธารณะระหวางรัฐ

กับองคกรปกครองสวนทองถิ่น และระหวางองคกรปกครองสวนทองถิ่นดวยกันเอง

(๒) การจัดสรรสัดสวนภาษีและอากรระหวางรัฐกับองคกรปกครองสวนทองถิ่น

โดยคํานึงถึงภาระหนาที่ของรัฐกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นและระหวางองคกร

ปกครองสวนทองถิ่นดวยกนัเองเปนสําคัญ

(๓) การจัดใหมคีณะกรรมการขึ้นคณะหนึ่งทําหนาที่ตาม (๑) และ (๒)

ประกอบดวยผูแทนของหนวยราชการที่เกี่ยวของ ผูแทนขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

และผูทรงคุณวุฒิซึ่งมีคุณสมบัติตามที่กฎหมายบัญญัติ โดยมีจํานวนเทากัน

ในกรณีที่มีการกําหนดอํานาจและหนาที่และการจัดสรรภาษีและอากรตาม (๑)

และ (๒) ใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่นใดแลว คณะกรรมการตาม (๓) จะตองนําเรื่อง

ดังกลาวมาพิจารณาทบทวนใหมทุกระยะเวลาไมเกินหาปนับแตวันที่มีการกําหนดอํานาจ

และหนาที่หรือวันที่มีการจัดสรรภาษีและอากรแลวแตกรณี เพื่อพิจารณาถึงความ

มาตรา ๒๘๔๒๗๔ องคกรปกครองสวนทองถิ่นทั้งหลายยอมมีความเปนอิสระ

ในการกําหนดนโยบาย การปกครอง การบริหาร การจัดบริการสาธารณะที่มีความ

หลากหลาย การบริหารงานบุคคล การเงินและการคลัง และมีอํานาจหนาที่ของตนเอง

โดยเฉพาะ โดยตองคํานึงถึงความสอดคลองกับการพัฒนาของจังหวัดและประเทศเปน

สวนรวมดวย

การกําหนดอํานาจและหนาที่ระหวางรัฐกับองคกรปกครองสวนทองถิ่น และ

ระหวางองคกรปกครองสวนทองถิ่นดวยกันเอง ใหเปนไปตามที่กฎหมายบัญญัติ โดย

คํานึงถึงการกระจายอํานาจเพิ่มขึ้นใหแกทองถิ่นเปนสําคัญ

ใหมีการสงเสริมและชวยเหลือใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นมีความเขมแข็งใน

การบริหารงานไดโดยอิสระและตอบสนองตอความตองการของประชาชนในทองถิ่นได

อยางมีประสิทธิภาพ พัฒนาระบบการคลังทองถิ่นใหสามารถจัดบริการสาธารณะไดโดย

ครบถวนตามอํานาจหนาที่ และดําเนินการใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นรวมกันจัดตั้งองคการบริการสาธารณะ เพื่อใหเกิดความคุมคาและเปนประโยชนในการบริการประชาชนอยางทั่วถึง เพื่อพัฒนาการกระจายอํานาจเพิ่มขึ้นใหแกทองถิ่นอยางตอเนื่อง ใหมีกฎหมาย

กําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจ ซึ่งอยางนอยตองมีสาระสําคัญ ดังตอไปนี้

เพื่อกําหนดอํานาจหนาที่การบริการสาธารณะ การจัดสรรภาษีอากร ระหวางรัฐกับองคกรปกครองสวนทองถิ่น และระหวางองคกรปกครองสวนทองถิ่นดวยกันเอง รวมทั้งการกําหนดระบบตรวจสอบและประเมินผล ซึ่งตองคํานึงถึงความแตกตางกันตามขีดความสามารถขององคกรปกครองสวนทองถิ่นแตละรูปแบบ โดยมีคณะกรรมการ

Page 182: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๑๗๓

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) เหมาะสมของการกําหนดอํานาจและหนาที่ และการจัดสรรภาษีและอากรที่ไดกระทําไป

แลว ทั้งนี้ ตองคํานึงถึงการกระจายอํานาจ เพิ่มขึ้นใหแกทองถิ่นเปนสําคัญ

การดําเนินการตามวรรคสี่ เมื่อไดรับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีและ

รายงานรัฐสภาแลว ใหมีผลใชบังคับได

ประกอบดวยผูแทนหนวยราชการที่เกี่ยวของ ผูแทนองคกรปกครองสวนทองถิ่น และ ผูทรงคุณวุฒิ โดยมีจํานวนเทากัน เปนผูดําเนินการใหเปนไปตามกฎหมาย (๑) การกําหนดอํานาจและหนาที่ในการจัดระบบการบริการสาธารณะระหวางรัฐ

กับองคกรปกครองสวนทองถิ่น และระหวางองคกรปกครองสวนทองถิ่นดวยกันเอง

(๒) การจัดสรรสัดสวนภาษีและอากรระหวางรัฐกับองคกรปกครองสวนทองถิ่น

โดยคํานึงถึงภาระหนาที่ของรัฐกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นและระหวางองคกร

ปกครองสวนทองถิ่นดวยกันเองเปนสําคัญ

(๓) การจัดใหมคีณะกรรมการขึ้นคณะหนึ่งทําหนาที่ตาม (๑) และ (๒)

ประกอบดวยผูแทนของหนวยราชการที่เกี่ยวของ ผูแทนขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

และผูทรงคุณวุฒิซึ่งมีคุณสมบัติตามที่กฎหมายบัญญัติ โดยมีจํานวนเทากัน

ในกรณีที่มีการกําหนดอํานาจและหนาที่และการจัดสรรภาษีและอากรตาม (๑)

และ (๒) ใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่นใดแลว คณะกรรมการตาม (๓) จะตองนําเรื่อง

ดังกลาวมาพิจารณาทบทวนใหมทุกระยะเวลาไมเกินหาปนับแตวันที่มีการกําหนดอํานาจ

และหนาที่หรือวันที่มีการจัดสรรภาษีและอากรแลวแตกรณี เพื่อพิจารณาถึงความ

เหมาะสมของการกําหนดอํานาจและหนาที่ และการจัดสรรภาษีและอากรที่ไดกระทําไป

แลว ทั้งนี้ ตองคํานึงถึงการกระจายอํานาจ เพิ่มขึ้นใหแกทองถิ่นเปนสําคัญ

การดําเนินการตามวรรคสี่ เมื่อไดรับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีและ

รายงานรัฐสภาแลว ใหมีผลใชบังคับได มาตรา ๒๘๕ องคกรปกครองสวนทองถิ่นตองมีสภาทองถิ่นและคณะผูบริหาร

ทองถิ่นหรือผูบริหารทองถิ่น สมาชิกสภาทองถิ่นตองมาจากการเลือกตั้ง คณะผูบริหารทองถิ่นหรือผูบริหารทองถิ่นใหมาจากการเลือกตั้งโดยตรงของ

ประชาชน หรือมาจากความเหน็ชอบของสภาทองถิ่น

มาตรา ๒๘๕๒๗๕ องคกรปกครองสวนทองถิ่นตองมีสภาทองถิ่นและคณะ

ผูบริหารทองถิ่นหรือผูบริหารทองถิ่น สมาชิกสภาทองถิ่นตองมาจากการเลือกตั้ง คณะผูบริหารทองถิ่นหรือผูบริหารทองถิ่นใหมาจากการเลือกตั้งโดยตรงของ

ประชาชน หรือมาจากความเหน็ชอบของสภาทองถิ่น

Page 183: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๑๗๔

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) การเลือกตั้งสมาชิกสภาทองถิ่นและคณะผูบริหารทองถิ่นหรือผูบริหารทองถิ่น

ที่มาจากการเลือกตั้งโดยตรงของประชาชน ใหใชวิธีออกเสียงลงคะแนนโดยตรงและลับ สมาชิกสภาทองถิ่น คณะผูบริหารทองถิ่น หรือผูบริหารทองถิ่น มีวาระการดํารง

ตําแหนงคราวละสี่ป คณะผูบริหารทองถิ่นหรือผูบริหารทองถิ่นจะเปนขาราชการซึ่งมีตําแหนงหรือ

เงินเดือนประจําพนักงานหรือลูกจางของหนวยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ หรือของ

ราชการสวนทองถิ่น มิได คุณสมบัติของผูมีสิทธิเลือกตั้งและผูมีสิทธิสมัครรับเลือกตั้ง หลักเกณฑและ

วิธีการเลือกตั้งสมาชิกสภาทองถิ่น คณะผูบริหารทองถิ่นและผูบริหารทองถิ่น ใหเปนไปตามที่กฎหมายบัญญัติ ในกรณีที่มีการยุบสภาทองถิ่น หรือในกรณีที่สมาชิกสภาทองถิ่นพนจาก

ตําแหนงทั้งคณะตามมาตรา ๒๘๖ และตองมีการแตงตั้งคณะผูบริหารทองถิ่นหรือ

ผูบริหารทองถิ่นเปนการชั่วคราว มิใหนําบทบัญญัติวรรคสอง วรรคสาม และวรรคหกมา

ใชบังคับ ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ

การเลือกตั้งสมาชิกสภาทองถิ่นและคณะผูบริหารทองถิ่นหรือผูบริหารทองถิ่น

ที่มาจากการเลือกตั้งโดยตรงของประชาชน ใหใชวิธีออกเสียงลงคะแนนโดยตรงและลับ สมาชิกสภาทองถิ่น คณะผูบริหารทองถิ่น หรือผูบริหารทองถิ่น มีวาระการดํารง

ตําแหนงคราวละสี่ป คณะผูบริหารทองถิ่นหรือผูบริหารทองถิ่นจะเปนขาราชการซึ่งมีตําแหนงหรือ

เงินเดือนประจําพนักงานหรือลูกจางของหนวยราชการ หนวยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ หรือของราชการสวนทองถิ่น และจะมีผลประโยชนขัดกันกับการดํารงตําแหนงตามที่กฎหมายบัญญัติมิได คุณสมบัติของผูมีสิทธิเลือกตั้งและผูมีสิทธิสมัครรับเลือกตั้ง หลักเกณฑและ

วิธีการเลือกตั้งสมาชิกสภาทองถิ่น คณะผูบริหารทองถิ่นและผูบริหารทองถิ่น ใหเปนไปตามที่กฎหมายบัญญัติ ในกรณีที่มีการยุบสภาทองถิ่น หรือในกรณีที่สมาชิกสภาทองถิ่นพนจาก

ตําแหนงทั้งคณะตามมาตรา ๒๘๖๒๗๖ และตองมีการแตงตั้งคณะผูบริหารทองถิ่นหรือ

ผูบริหารทองถิ่นเปนการชั่วคราว มิใหนําบทบัญญัติวรรคสอง วรรคสาม และวรรคหกมา

ใชบังคับ ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ

ในกรณีที่มีการจัดตั้งองคกรปกครองสวนทองถิ่นรูปแบบพิเศษ อาจจัดโครงสรางการบริหารรูปแบบอื่นที่แตกตางจากบทบัญญัตินี้ได

มาตรา ๒๘๖ ราษฎรผูมีสิทธิเลือกตั้งในองคกรปกครองสวนทองถิ่นใดมีจํานวนไมนอยกวาสามในสี่ของจํานวนผูมีสิทธิเลือกตั้งที่มาลงคะแนนเสียง เห็นวาสมาชิกสภาทองถิ่นหรือผูบริหารทองถิ่นผูใดขององคกรปกครองสวนทองถิ่นนั้นไมสมควรดํารง

ตําแหนงตอไป ใหสมาชิกสภาทองถิ่นหรือผูบริหารทองถิ่นผูนั้นพนจากตําแหนง ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ

มาตรา ๒๘๖๒๗๖ ราษฎรประชาชนผูมีสิทธิเลือกตั้งในองคกรปกครองสวนทองถิ่นใดมีจํานวนไมนอยกวาสามในสี่ของจํานวนผูมีสิทธิเลือกตั้งที่มาลงคะแนนเสียง เห็นวาสมาชิกสภาทองถิ่นหรือผูบริหารทองถิ่นผูใดขององคกรปกครองสวนทองถิ่นนั้น

ไมสมควรดํารงตําแหนงตอไป ใหมีสิทธิลงคะแนนเสียงถอดถอนสมาชิกสภาทองถิ่นหรือผูบริหารทองถิ่นผูนั้นพนจากตําแหนง ทั้งนี้ การเขาชื่อและการลงคะแนนเสียงใหเปนไปตามที่กฎหมายบัญญัติ

Page 184: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๑๗๕

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) การลงคะแนนเสียงตามวรรคหนึ่งตองมีผูมีสิทธิเลือกตั้งมาลงคะแนนไมนอย

กวากึ่งหนึ่งของจํานวนผูมีสิทธิเลือกตั้งทั้งหมด

การลงคะแนนเสียงตามวรรคหนึ่งตองมีผูมีสิทธิเลือกตั้งมาลงคะแนนไมนอย

กวากึ่งหนึ่งของจํานวนผูมีสิทธิเลือกตั้งทั้งหมด

มาตรา ๒๘๗ ราษฎรผูมีสิทธิเลือกตั้งในองคกรปกครองสวนทองถิ่นใดมีจํานวนไมนอยกวากึ่งหนึ่งของจํานวนผูมีสิทธิเลือกตั้งในองคกรปกครองสวนทองถิ่นนั้น มีสิทธิเขาชื่อรองขอตอประธานสภาทองถิ่นเพื่อใหสภาทองถิ่นพิจารณาออกขอบัญญัติ

ทองถิ่นได คํารองขอตามวรรคหนึ่งตองจัดทํารางขอบัญญัติทองถิ่นเสนอมาดวย หลักเกณฑและวิธีการเขาชื่อรวมทั้งการตรวจสอบ ใหเปนไปตามที่กฎหมาย

บัญญัติ

มาตรา ๒๘๗๒๗๗ ราษฎรประชาชนผูมีสิทธิเลือกตั้งในองคกรปกครองสวนทองถิ่นใดมีจํานวนไมนอยกวากึ่งหนึ่งของจํานวนผูมีสิทธิเลือกตั้งในองคกรปกครองสวน

ทองถิ่นนั้น มีสิทธิเขาชื่อรองขอตอประธานสภาทองถิ่นเพื่อใหสภาทองถิ่นพิจารณาออก

ขอบัญญัติทองถิ่นได คํารองขอตามวรรคหนึ่งตองจัดทํารางขอบัญญัติทองถิ่นเสนอมาดวย หลักเกณฑและวิธีการเขาชื่อรวมทั้งการตรวจสอบ ใหเปนไปตามที่กฎหมาย

บัญญัติ มาตรา ๒๗๘ ประชาชนในทองถิ่นมีสิทธิมีสวนรวมในการบริหารกิจการของ

องคกรปกครองสวนทองถิ่น โดยองคกรปกครองสวนทองถิ่นตองจัดใหมีวิธีการที่ใหประชาชนมีสวนรวมดังกลาวไดดวย ในกรณีที่การกระทําขององคกรปกครองสวนทองถิ่นจะมีผลกระทบตอชีวิต

ความเปนอยูของประชาชนในทองถิ่นในสาระสําคัญ ตองจัดใหมีการรับฟงความคิดเห็นกอนการกระทํานั้น และตองใหประชาชนมีสิทธิออกเสียงประชามติเพื่อตัดสินใจในกิจการที่มีความสําคัญดวย ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ องคกรปกครองสวนทองถิ่นตองรายงานการดําเนินงานตอประชาชนในเรื่องการ

จัดทํางบประมาณ การใชจาย และผลการดําเนินงานในรอบป เพื่อใหประชาชนมีสวนรวมในการตรวจสอบและกํากับการบริหารจัดการขององคกรปกครองสวนทองถิ่น ในการจัดทํางบประมาณขององคกรปกครองสวนทองถิ่นตามวรรคสาม ใหนํา บทบัญญัติมาตรา ๑๖๔ วรรคหกมาใชบังคับโดยอนุโลม

มาตรา ๒๘๘ การแตงตั้งและการใหพนักงานและลูกจางขององคกรปกครองสวนทองถิ่นพนจากตําแหนง ตองเปนไปตามความตองการและความเหมาะสมของแตละ

มาตรา ๒๘๘๒๗๙ การแตงตั้งและการใหพนักงานขาราชการและลูกจางขององคกรปกครองสวนทองถิ่นพนจากตําแหนง ตองเปนไปตามความตองการและความ

Page 185: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๑๗๖

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) ทองถิ่นและตองไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการพนักงานสวนทองถิ่นกอน ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ คณะกรรมการพนักงานสวนทองถิ่นตามวรรคหนึ่งจะตองประกอบดวยผูแทน

ของหนวยราชการที่เกี่ยวของ ผูแทนขององคกรปกครองสวนทองถิ่น และผูทรงคุณวุฒิ

ซึ่งมีคุณสมบัติตามที่กฎหมายบัญญัติ โดยมีจํานวนเทากัน การโยกยาย การเลื่อนตําแหนง การเลื่อนเงินเดือน และการลงโทษพนักงาน

และลูกจางขององคกรปกครองสวนทองถิ่น ใหเปนไปตามที่กฎหมายบัญญัติ

เหมาะสมของแตละทองถิ่นโดยอาจไดรับการพัฒนารวมกันหรือสับเปลี่ยนบุคลากร

ระหวางองคกรปกครองสวนทองถิ่นดวยกันได และตองไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการพนักงานขาราชการสวนทองถิ่นซึ่งเปนองคกรกลางบริหารงานบุคคล

ทองถิ่นกอน ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ ในการบริหารงานบุคคลขององคกรปกครองสวนทองถิ่น ตองมีองคกรพิทักษระบบคุณธรรมของขาราชการสวนทองถิ่น เพื่อสรางระบบคุมครองคุณธรรมและจริยธรรม

ในการบริหารงานบุคคล ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ คณะกรรมการพนักงานขาราชการสวนทองถิ่นตามวรรคหนึ่งจะตองประกอบดวย

ผูแทนของหนวยราชการที่เกี่ยวของ ผูแทนขององคกรปกครองสวนทองถิ่น ผูแทนขาราชการสวนทองถิ่น และผูทรงคุณวุฒิซึ่งมีคุณสมบัติ ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ โดยมี

จํานวนเทากัน การโยกยาย การเลื่อนตําแหนง การเลื่อนเงินเดือน และการลงโทษพนักงาน

ขาราชการและลูกจางขององคกรปกครองสวนทองถิ่น ใหเปนไปตามที่กฎหมายบัญญัติ มาตรา ๒๘๙ องคกรปกครองสวนทองถิ่นยอมมีหนาที่บํารุงรักษาศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปญญาทองถิ่น หรือวัฒนธรรมอันดีของทองถิ่น องคกรปกครองสวนทองถิ่นยอมมีสิทธิที่จะจัดการศึกษาอบรมและการฝกอาชีพ

ตามความเหมาะสมและความตองการภายในทองถิ่นนั้น และเขาไปมีสวนรวมในการจัด

การศึกษาอบรมของรัฐ แตตองไมขัดตอมาตรา ๔๓ และมาตรา ๘๑ ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ การจัดการศึกษาอบรมภายในทองถิ่นตามวรรคสอง องคกรปกครองสวนทองถิ่นตองคํานึงถึงการบํารุงรักษา ศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปญญาทองถิ่น และ

วัฒนธรรมอันดีของทองถิ่นดวย

มาตรา ๒๘๙๒๘๐ องคกรปกครองสวนทองถิ่นยอมมีหนาที่บํารุงรักษาศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปญญาทองถิ่น หรือวัฒนธรรมอันดีของทองถิ่น องคกรปกครองสวนทองถิ่นยอมมีสิทธิที่จะจัดการศึกษาอบรม และการฝก

อาชีพตามความเหมาะสมและความตองการภายในทองถิ่นนั้น และเขาไปมีสวนรวมใน

การจัดการศึกษาอบรมของรัฐ แตตองไมขัดตอมาตรา ๔๓ โดยคํานึงถึงความสอดคลองกับมาตรฐานและมาตรา ๘๑ ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติระบบการศึกษาของชาต ิ

การจัดการศึกษาอบรมภายในทองถิ่นตามวรรคสอง องคกรปกครองสวนทองถิ่น ตองคํานึงถึงการบํารุงรักษา ศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปญญาทองถิ่น และ

วัฒนธรรมอันดีของทองถิ่นดวย

Page 186: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๑๗๗

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) มาตรา ๒๙๐ เพื่อสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอม องคกรปกครองสวน

ทองถิ่นยอมมีอํานาจหนาที่ตามที่กฎหมายบัญญัติ

กฎหมายตามวรรคหนึ่งอยางนอยตองมีสาระสําคัญดังตอไปนี้

(๑) การจัดการ การบํารุงรักษา และการใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติ

และสิ่งแวดลอมที่อยูในเขตพื้นที่

(๒) การเขาไปมสีวนในการบํารุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมที่อยู

นอกเขตพื้นที่ เฉพาะในกรณีที่อาจมีผลกระทบตอการดํารงชีวิตของประชาชนในพื้นที่

ของตน

(๓) การมีสวนรวมในการพิจารณาเพื่อริเริ่มโครงการหรือกิจกรรมใดนอกเขต

พื้นที่ซึ่งอาจมีผลกระทบตอคุณภาพสิ่งแวดลอมหรือสุขภาพอนามัยของประชาชนในพื้นที่

มาตรา ๒๙๐๒๘๑ เพื่อสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอม องคกรปกครอง

สวนทองถิ่นยอมมีอํานาจหนาที่ตามที่กฎหมายบัญญัติ

กฎหมายตามวรรคหนึ่งอยางนอยตองมีสาระสําคัญดังตอไปนี้

(๑) การจัดการ การบํารุงรักษา และการใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติ

และสิ่งแวดลอมที่อยูในเขตพื้นที่

(๒) การเขาไปมสีวนในการบํารุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมที่อยู

นอกเขตพื้นที่ เฉพาะในกรณีที่อาจมีผลกระทบตอการดํารงชีวิตของประชาชนในพื้นที่

ของตน

(๓) การมีสวนรวมในการพิจารณาเพื่อริเริ่มโครงการหรือกิจกรรมใดนอกเขต

พื้นที่ซึ่งอาจมีผลกระทบตอคุณภาพสิ่งแวดลอมหรือสุขภาพอนามัยของประชาชนในพื้นที่ หมวด ๑๒

การแกไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ

หมวด ๑๒๑๕ การแกไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ

มาตรา ๓๑๓ การแกไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญจะกระทําไดก็แตโดยหลักเกณฑ

และวิธีการ ดังตอไปนี้

(๑) ญัตติขอแกไขเพิ่มเติมตองมาจากคณะรัฐมนตรี หรือจากสมาชิกสภาผูแทน

ราษฎรมีจํานวนไมนอยกวาหนึ่งในหาของจํานวนสมาชิกทั้งหมดเทาที่มีอยูของสภา

ผูแทนราษฎร หรือจากสมาชิกสภาผูแทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภามีจํานวนไมนอยกวา

หนึ่งในหาของจํานวนสมาชิกทั้งหมดเทาที่มีอยูของทั้งสองสภา สมาชิกสภาผูแทนราษฎร

จะเสนอหรือรวมเสนอญัตติดังกลาวไดเมื่อพรรคการเมืองที่สมาชิกสภาผูแทนราษฎรนั้น

สังกัดมีมติใหเสนอได

มาตรา ๓๑๓๒๘๒ การแกไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญจะใหกระทําไดก็แตโดยตาม

หลักเกณฑและวิธีการ ดังตอไปนี้

(๑) ญัตติขอแกไขเพิ่มเติมตองมาจากคณะรัฐมนตรี หรือจากสมาชิกสภาผูแทน

ราษฎรมีจํานวนไมนอยกวาหนึ่งในหาของจํานวนสมาชิกทั้งหมดเทาที่มีอยูของสภา

ผูแทนราษฎร หรือจากสมาชิกสภาผูแทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภามีจํานวนไมนอยกวา

หนึ่งในหาของจํานวนสมาชิกทั้งหมดเทาที่มีอยูของทั้งสองสภา สมาชิกสภาผูแทนราษฎร

จะเสนอหรือรวมเสนอญัตติดังกลาวไดเมื่อพรรคการเมืองที่สมาชิกสภาผูแทนราษฎรนั้น

Page 187: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๑๗๘

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) ญัตติขอแกไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญที่มีผลเปนการเปลี่ยนแปลงการปกครอง

ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข หรือเปลี่ยนแปลงรูปของรัฐ

จะเสนอมิได

(๒) ญัตติขอแกไขเพิ่มเติมตองเสนอเปนรางรัฐธรรมนูญแกไขเพิ่มเติมและให

รัฐสภาพิจารณาเปนสามวาระ

(๓) การออกเสียงลงคะแนนในวาระที่หนึ่งขั้นรับหลักการ ใหใชวิธีการเรียกชื่อ

และลงคะแนนโดยเปดเผย และตองมีคะแนนเสียงเห็นชอบดวยในการแกไขเพิ่มเติมนั้น

ไมนอยกวากึ่งหนึ่งของจํานวนสมาชกิทั้งหมดเทาที่มีอยูของทั้งสองสภา

(๔) การออกเสียงลงคะแนนในวาระที่สองขั้นพิจารณาเรียงลําดับมาตรา ให

ถือเอาเสียงขางมากเปนประมาณ

(๕) เมื่อการพิจารณาวาระที่สองเสร็จสิ้นแลว ใหรอไวสิบหาวัน เมื่อพนกําหนดนี้

แลวใหรัฐสภาพิจารณาในวาระที่สามตอไป

(๖) การออกเสียงลงคะแนนในวาระที่สามขั้นสุดทาย ใหใชวิธีเรียกชื่อและ

ลงคะแนนโดยเปดเผย และตองมีคะแนนเสียงเห็นชอบดวยในการที่จะใหออกใชเปน

รัฐธรรมนูญมากกวากึ่งหนึ่งของจํานวนสมาชิกทั้งหมดเทาที่มีอยูของทั้งสองสภา

(๗) เมื่อการลงมติไดเปนไปตามที่กลาวแลว ใหนํารางรัฐธรรมนูญแกไขเพิ่มเติม

ขึ้นทูลเกลาทูลกระหมอมถวาย และใหนําบทบัญญัติมาตรา ๙๓ และมาตรา ๙๔ มาใช

บังคับโดยอนุโลม

สังกัดมีมติใหเสนอไดหรือประชาชนผูมีสิทธิเลือกตั้งจํานวนไมนอยกวาหนึ่งแสนคนตาม

กฎหมายวาดวยการเขาชื่อเสนอกฎหมาย ญัตติขอแกไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญที่มีผลเปนการเปลี่ยนแปลงการปกครอง

ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข หรือเปลี่ยนแปลงรูปของรัฐ

จะเสนอมิได

(๒) ญัตติขอแกไขเพิ่มเติมตองเสนอเปนรางรัฐธรรมนูญแกไขเพิ่มเติมและให

รัฐสภาพิจารณาเปนสามวาระ

(๓) การออกเสียงลงคะแนนในวาระที่หนึ่งขั้นรับหลักการ ใหใชวิธีการเรียกชื่อ

และลงคะแนนโดยเปดเผย และตองมีคะแนนเสียงเห็นชอบดวยในการแกไขเพิ่มเติมนั้น

ไมนอยกวากึ่งหนึ่งของจาํนวนสมาชิกทั้งหมดเทาที่มีอยูของทั้งสองสภา

(๔) การออกเสียงลงคะแนนในวาระที่สองขั้นพิจารณาเรียงลําดับมาตรา ให

ถือเอาเสียงขางมากเปนประมาณ

(๕) เมื่อการพิจารณาวาระที่สองเสร็จสิ้นแลว ใหรอไวสิบหาวัน เมื่อพนกําหนดนี้

แลวใหรัฐสภาพิจารณาในวาระที่สามตอไป

(๖) การออกเสียงลงคะแนนในวาระที่สามขั้นสุดทาย ใหใชวิธีเรียกชื่อและ

ลงคะแนนโดยเปดเผย และตองมีคะแนนเสียงเห็นชอบดวยในการที่จะใหออกใชเปน

รัฐธรรมนูญมากกวากึ่งหนึ่งของจํานวนสมาชิกทั้งหมดเทาที่มีอยูของทั้งสองสภา

(๗) เมื่อการลงมติไดเปนไปตามที่กลาวแลว ใหนํารางรัฐธรรมนูญแกไขเพิ่มเติม

ขึ้นทูลเกลาทูลกระหมอมถวาย และใหนําบทบัญญัติมาตรา ๙๓๑๔๖ และมาตรา

๙๔๑๔๗ มาใชบังคับโดยอนุโลม

Page 188: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๑๗๙

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) บทเฉพาะกาล

มาตรา ๒๘๓ ใหคณะองคมนตรีซึ่งดํารงตําแหนงอยูในวันประกาศใช

รัฐธรรมนูญนี้ เปนคณะองคมนตรีตามบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญนี ้

มาตรา ๒๘๔ ใหสภานิติบัญญัติแหงชาติตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักร

ไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช ๒๕๔๙ ทําหนาที่รัฐสภา สภาผูแทนราษฎรและวุฒิสภา

ตามบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญนี้จนกวาจะมีการประชุมรัฐสภาเปนครั้งแรกตามมาตรา

๑๒๒

มิใหนําบทบัญญัติมาตรา ๙๑ มาตรา ๙๒ มาตรา ๙๕ มาตรา ๙๖ มาตรา ๑๐๑

มาตรา ๑๐๔ มาตรา ๑๐๖ มาตรา ๑๐๗ มาตรา ๑๐๘ มาตรา ๑๐๙ มาตรา ๑๑๐ มาตรา

๑๑๔ และมาตรา ๑๑๕ มาใชบังคับกับการดํารงตําแหนงของสมาชิกสภานิติบัญญัติ

แหงชาติ แตการปฏิบัติหนาที่ของสมาชิกสภานิติบัญญัติแหงชาติใหเปนไปตาม

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช ๒๕๔๙

มาตรา ๒๘๕ ใหสภารางรัฐธรรมนูญและคณะกรรมาธิการยกรางรัฐธรรมนูญ

ตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช ๒๕๔๙ คงอยูปฏิบัติ

หนาที่ตอไปและสิ้นสุดลงตามระยะเวลาที่กําหนดในรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช ๒๕๔๙

ใหบทบัญญัติมาตรา ๓๐ วรรคสอง ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช ๒๕๔๙ ยังคงมีผลใชบังคับตอไป

มาตรา ๒๘๖ ใหคณะกรรมาธิการยกรางรัฐธรรมนูญตามรัฐธรรมนูญแหง

ราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช ๒๕๔๙ ดําเนินการยกรางพระราชบัญญัติ

Page 189: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๑๘๐

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) ประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรและการสรรหาสมาชิก

วุฒิสภา รางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยพรรคการเมือง และราง

พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยคณะกรรมการการเลือกตั้ง เพื่อเสนอตอสภา

นิติบัญญัติแหงชาติพิจารณาใหแลวเสร็จภายในระยะเวลาที่กําหนดตามรัฐธรรมนูญแหง

ราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช ๒๕๔๙

มาตรา ๒๘๗ ใหดําเนินการเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรและดําเนินการ

สรรหาสมาชิกวุฒิสภาตามรัฐธรรมนูญนี้ใหแลวเสร็จภายในเกาสิบวันนับแตวันที่

พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญตามมาตรา ๒๘๖ มีผลใชบังคับ

ในกรณีที่สภานิติบัญญัติแหงชาติมิไดใหความเห็นชอบพระราชบัญญัติประกอบ

รัฐธรรมนูญใดตามมาตรา ๒๘๖ ภายในระยะเวลาที่กําหนดตามรัฐธรรมนูญแหง

ราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช ๒๕๔๙ ใหคณะกรรมการการเลือกตั้ง

กําหนดระเบียบที่จําเปนขึ้นใชบังคับแทนพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนั้น เพื่อให

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรและการสรรหาสมาชิกวุฒิสภาเปนไปโดยสุจริตและ

เที่ยงธรรม และใหดําเนินการเลือกตั้งหรือสรรหาภายในเกาสิบวันนับแตวันที่ระเบียบของ

คณะกรรมการการเลือกตั้งประกาศในราชกิจจานุเบกษา

ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรทั่วไปครั้งแรก ผูสมัครรับเลือกตั้งตอง

เปนสมาชิกพรรคการเมืองไมนอยกวาสามสิบวันนับถึงวันเลือกตั้ง

ในวาระเริ่มแรก หามมิใหผูเคยเปนสมาชิกวุฒิสภาซึ่งไดรับเลือกตั้งเปนครั้งแรก

ตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ ดํารงตําแหนงเปนสมาชิก

วุฒิสภาซึ่งจะมีการสรรหาเปนครั้งแรกตามรัฐธรรมนูญนี้ และมิใหนําบทบัญญัติมาตรา

๑๑๒ วรรคสอง มาใชบังคับกับผูเคยเปนสมาชิกวุฒิสภาซึ่งไดรับเลือกตั้งครั้งหลังสุดตาม

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐

Page 190: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๑๘๑

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) มาตรา ๒๘๘ ใหคณะรัฐมนตรีที่บริหารราชการแผนดินอยูในวันประกาศใช

รัฐธรรมนูญนี้ คงเปนคณะรัฐมนตรีตามบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญนี้ และใหพนจาก

ตําแหนงทั้งคณะเมื่อคณะรัฐมนตรีที่ตั้งขึ้นใหมตามรัฐธรรมนูญนี้เขารับหนาที่

มิใหนําบทบัญญัติมาตรา ๑๖๗ วรรคสอง มาตรา ๑๖๘ มาตรา ๑๗๐ และ

มาตรา ๑๗๘ (๔) (๗) และ (๘) มาใชบังคับกับการดํารงตําแหนงนายกรัฐมนตรีและ

รัฐมนตรีตามวรรคหนึ่ง

มาตรา ๒๘๙ ใหผูซึ่งดํารงตําแหนงดังตอไปนี้ ซึ่งดํารงตําแหนงอยูในวัน

ประกาศใชรัฐธรรมนูญนี้ คงดํารงตําแหนงตอไปจนกวาจะสิ้นสุดวาระตามบทบัญญัติแหง

รัฐธรรมนูญนี้ โดยใหเริ่มนับวาระตั้งแตวันที่ไดรับแตงตั้ง

(๑) กรรมการการเลือกตั้ง

(๒) ผูตรวจการแผนดินของรัฐสภา

(๓) กรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาต ิ

(๔) กรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาต ิ

(๕) สมาชิกสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาต ิ

ใหบุคคลตามวรรคหนึ่งปฏิบัติหนาที่ตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ

หรือกฎหมายที่เกี่ยวของที่ใชบังคับอยูในวันประกาศใชรัฐธรรมนูญนี้ไปกอน จนกวาจะมี

การตราพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญหรือกฎหมายตามรัฐธรรมนูญนี้ขึ้นใชบังคับ

เวนแตบทบัญญัติใดขัดหรือแยงกับบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญนี้ใหใชบทบัญญัติแหง

รัฐธรรมนูญนี้แทน

ใหผูตรวจการแผนดินของรัฐสภาซึ่งดํารงตําแหนงอยูในวันประกาศใช

รัฐธรรมนูญนี้ เลือกกันเองใหคนหนึ่งเปนประธานผูตรวจการแผนดินของรัฐสภา และให

นําบทบัญญัติมาตรา ๒๓๕ วรรคสองและวรรคสามมาใชบังคับโดยอนุโลม

Page 191: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๑๘๒

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) มาตรา ๒๙๐ ใหคณะตุลาการรัฐธรรมนูญตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักร

ไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช ๒๕๔๙ เปนศาลรัฐธรรมนูญตามบทบัญญัติแหง

รัฐธรรมนูญนี้ โดยใหผูดํารงตําแหนงประธานศาลฎีกาเปนประธานศาลรัฐธรรมนูญ ผู

ดํารงตําแหนงประธานศาลปกครองสูงสุดเปนรองประธานศาลรัฐธรรมนูญ แตให

ผูพิพากษาในศาลฎีกาหรือตุลาการในศาลปกครองสูงสุดที่ไดรับเลือกตามมาตรา ๓๕

ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช ๒๕๔๙ คงดํารง

ตําแหนงเปนตุลาการศาลรัฐธรรมนูญตอไปจนกวาจะมีการแตงตั้งตุลาการศาล

รัฐธรรมนูญขึ้นใหมตามบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญนี้ ซึ่งตองไมเกินหนึ่งรอยยี่สิบวันนับ

แตวันที่มีการเลือกตั้งทั่วไปครั้งแรกตามรัฐธรรมนูญนี ้

ใหบทบัญญัติมาตรา ๓๕ วรรคสอง วรรคสาม และวรรคสี่ ของรัฐธรรมนูญแหง

ราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช ๒๕๔๙ ยังคงมีผลใชบังคับตอไปจนกวา

จะมีการตราพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยวิธีพิจารณาของศาลรัฐธรรมนูญ

ขึ้นใชบังคับ

บรรดาคดีหรือการใดที่อยูในระหวางดําเนินการของคณะตุลาการรัฐธรรมนูญ

ตามวรรคหนึ่ง ใหศาลรัฐธรรมนูญตามมาตรานี้ดําเนินการตอไป และเมื่อมีการแตงตั้ง

ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญตามรัฐธรรมนูญนี้แลว บรรดาคดีหรือการที่คางดําเนินการนั้น

โอนไปอยูในอํานาจหนาที่ของศาลรัฐธรรมนูญที่แตงตั้งขึ้นใหมนั้น

ในระหวางที่ยังมิไดมีการตราพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยวิธี

พิจารณาของศาลรัฐธรรมนูญ ใหศาลรัฐธรรมนูญมีอํานาจออกขอกําหนดเกี่ยวกับวิธี

พิจารณาและการทําคําวินิจฉัยได แตทั้งนี้ ตองตราพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ

ดังกลาวใหแลวเสร็จภายในหนึ่งปนับแตวันประกาศใชรัฐธรรมนูญนี ้

มาตรา ๒๙๑ ใหดําเนินการสรรหาคณะกรรมการตรวจเงินแผนดินและผูวาการ

ตรวจเงินแผนดินภายในเกาสิบวันนับแตวันที่มีการแตงตั้งประธานสภาผูแทนราษฎรและ

Page 192: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๑๘๓

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) ผูนําฝายคานในสภาผูแทนราษฎร ภายหลังจากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎร

เปนการทั่วไปครั้งแรกตามบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญนี ้

ในระหวางที่ยังไมมีคณะกรรมการตรวจเงินแผนดิน ใหผูวาการตรวจเงินแผนดิน

เปนผูใชอํานาจหนาที่แทนคณะกรรมการตรวจเงินแผนดิน

มาตรา ๒๙๒ ใหพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญดังตอไปนี้มีผลใชบังคับ

ตอไป

(๑) พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยผูตรวจการแผนดินของรัฐสภา

พ.ศ. ๒๕๔๒ โดยใหประธานผูตรวจการแผนดินของรัฐสภาเปนผูรักษาการ

(๒) พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการปองกันและปราบปรามการ

ทุจริต พ.ศ. ๒๕๔๒ โดยใหประธานกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ

เปนผูรักษาการ

(๓) พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการตรวจเงินแผนดิน พ.ศ.

๒๕๔๒ โดยใหประธานกรรมการตรวจเงินแผนดินเปนผูรักษาการ

(๔) พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยวิธีพิจารณาคดีอาญาของผูดํารง

ตําแหนงทางการเมือง พ.ศ. ๒๕๔๒ โดยใหประธานศาลฎีกาเปนผูรักษาการ

ใหผูรักษาการตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญตามวรรคหนึ่ง

ดําเนินการปรับปรุงพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญเพื่อใหเปนไปตามที่บัญญัติไวใน

รัฐธรรมนูญนี้ภายในหนึ่งปนับแตวันประกาศใชรัฐธรรมนูญนี้ ในกรณีที่ยังไมมีผูดํารง

ตําแหนงที่เปนผูรักษาการตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญดังกลาว ระยะเวลา

หนึ่งปใหเริ่มนับตั้งแตวันที่มีการแตงตั้งผูดํารงตําแหนงนั้น

ใหสภาผูแทนราษฎรพิจารณาพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญตามมาตรานี ้

ใหแลวเสร็จภายในหนึ่งรอยยี่สิบวันนับแตวันที่ไดรับรางพระราชบัญญัติประกอบ

Page 193: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๑๘๔

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) รัฐธรรมนูญดังกลาว และใหวุฒิสภาพิจารณาใหแลวเสร็จภายในเกาสิบวันนับแตวันที่ไดรับ

รางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนั้น

การลงมติใหแกไขเพิ่มเติมหรือไมใหความเห็นชอบรางพระราชบัญญัติประกอบ

รัฐธรรมนูญตามวรรคหนึ่ง ตองมีคะแนนเสียงไมนอยกวากึ่งหนึ่งของจํานวนสมาชิกของ

แตละสภา

ใหคณะกรรมการการเลือกตั้งจัดทําพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวย

การออกเสียงประชามติเพื่อใหเปนไปตามบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญนี้ โดยใหนําความใน

วรรคสอง วรรคสาม และวรรคสี่มาใชบังคับโดยอนุโลม

มาตรา ๒๙๓ ในวาระเริ่มแรก ใหดําเนินการจัดทําหรือปรับปรุงกฎหมายใน

เรื่องดังตอไปนี้ ใหแลวเสร็จภายในเวลาที่กําหนด

(๑) กฎหมายที่เกี่ยวกับการกําหนดรายละเอียดเพื่อสงเสริมและคุมครองการใช

สิทธิและเสรีภาพตามมาตรา ๔๐ มาตรา ๔๔ บทบัญญัติในสวนที่ ๗ เสรีภาพในการแสดง

ความคิดเห็นของบุคคลและสื่อมวลชน สวนที่ ๘ สิทธิและเสรีภาพในการศึกษา สวนที่ ๙

สิทธิในการไดรับการบริการสาธารณสุขและสวัสดิการจากรัฐ สวนที่ ๑๐ สิทธิในขอมูล

ขาวสารและการรองเรียน สวนที่ ๑๒ สิทธิชุมชน กฎหมายวาดวยการจัดตั้งองคการอิสระ

เพื่อการคุมครองผูบริโภคตามมาตรา ๖๐ วรรคสอง กฎหมายเพื่อจัดตั้งองคกรเพื่อการ

ปฏิรูปกระบวนการยุติธรรมทางอาญาตามมาตรา ๘๐ (๖) และกฎหมายวาดวยการจัดตั้ง

กองทุนพัฒนาการเมืองภาคพลเมืองตามมาตรา ๘๖ (๕) ภายในหนึ่งปนับแตวัน

ประกาศใชรัฐธรรมนูญนี ้

(๒) กฎหมายตามมาตรา ๘๕ (๑) และมาตรา ๑๖๓ วรรคสาม ภายในสองปนับ

แตวันประกาศใชรัฐธรรมนูญนี้

Page 194: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๑๘๕

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) มาตรา ๒๙๔ ใหดําเนินการจัดทําประมวลจริยธรรมตามมาตรา ๒๗๐ ใหแลว

เสร็จภายในหนึ่งปนับแตวันประกาศใชรัฐธรรมนูญนี ้

มาตรา ๒๙๕ ในวาระเริ่มแรก มิใหนําบทบัญญัติดังตอไปนี้มาใชบังคับกับกรณี

ตาง ๆ ภายใตเงื่อนไขดังตอไปนี้

(๑) มิใหนําบทบัญญัติมาตรา ๔๗ วรรคสอง มาใชบังคับจนกวาจะมีการตรา

กฎหมายเพื่อจัดตั้งองคกรของรัฐที่เปนอิสระองคกรหนึ่งทําหนาที่จัดสรรคลื่นความถี่และ

กํากับดูแลการประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคม

ซึ่งตองไมเกินหนึ่งปนับแตวันประกาศใชรัฐธรรมนูญนี้ ทั้งนี้ กฎหมายที่จะตราขึ้นตองไม

กระทบกระเทือนถึงการอนุญาต สัมปทาน หรือสัญญาซึ่งมีผลสมบูรณอยูในขณะที่

กฎหมายดังกลาวมีผลใชบังคับ จนกวาการอนุญาต สัมปทาน หรือสัญญานั้นจะสิ้นผล

(๒) มิใหนําบทบัญญัติมาตรา ๑๓๖ มาใชบังคับกับการตราพระราชบัญญัติ

ประกอบรัฐธรรมนูญตามมาตรา ๒๘๖

(๓) มิใหนําบทบัญญัติมาตรา ๑๖๓ วรรคหนึ่ง และวรรคสอง มาตรา ๑๖๔ วรรค

เกา มาตรา ๑๖๕ เฉพาะกรณีการกําหนดแหลงที่มาของรายไดเพื่อชดใชรายจายที่ไดใช

เงินคงคลังจายไปกอน และมาตรา ๑๖๖ มาใชบังคับภายในหนึ่งปนับแตวันประกาศใช

รัฐธรรมนูญนี้

(๔) มิใหนําบทบัญญัติมาตรา ๑๘๖ วรรคสาม มาใชบังคับกับการจัดทํา

สนธิสัญญาที่อยูในระหวางการดําเนินการกอนวันประกาศใชรัฐธรรมนูญนี้ และให

นํามาใชบังคับกับการเริ่มดําเนินการสนธิสัญญาภายหลังจากวันประกาศใชรัฐธรรมนูญนี ้

(๕) มิใหนําบทบัญญัติมาตรา ๒๐๕ (๒) มาใชบังคับกับคณะกรรมการสิทธิ

มนุษยชนแหงชาติซึ่งดํารงตําแหนงอยูในวันประกาศใชรัฐธรรมนูญนี ้

Page 195: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๑๘๖

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) (๖) มิใหนําบทบัญญัติมาตรา ๒๔๖ วรรคสี่และวรรคหา มาใชบังคับภายในหนึ่ง

ปนับแตวันประกาศใชรัฐธรรมนูญนี ้

มาตรา ๒๙๖ ในวาระเริ่มแรก ใหผูพิพากษาอาวุโสที่เคยดํารงตําแหนงไมต่ํา

กวาผูพิพากษาศาลฎีกาสามารถปฏิบัติหนาที่ในศาลฎีกาตามมาตรา ๒๑๔ วรรคสอง

วรรคสาม และวรรคสี่ ไดตามหลักเกณฑที่ที่ประชุมใหญศาลฎีกากําหนด ทั้งนี้ จนกวาจะ

มีการปรับปรุงกฎหมายเกี่ยวกับการกําหนดหลักเกณฑการปฏิบัติหนาที่ของผูพิพากษา

อาวุโส

มาตรา ๒๙๗ ใหคณะรัฐมนตรีแตงตั้งคณะกรรมการปฏิรูปกฎหมายที่มีการ

ดําเนินการที่เปนอิสระภายในเกาสิบวันนับแตวันประกาศใชรัฐธรรมนูญนี้ โดยให

คณะกรรมการดังกลาวมีหนาที่ศึกษาและเสนอแนะการจัดทํากฎหมายที่จําเปนตองตรา

ขึ้นเพื่ออนุวัตรการตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ และใหคณะกรรมการดังกลาวจัดทํา

กฎหมายเพื่อจัดตั้งองคกรเพื่อการปฏิรูปกฎหมาย ตามมาตรา ๘๐ (๕) ใหแลวเสร็จ

ภายในหนึ่งปนับแตวันประกาศใชรัฐธรรมนูญนี้ โดยในกฎหมายดังกลาวอยางนอยตองมี

บทบัญญัติกําหนดใหมีหนาที่สนับสนุนการดําเนินการรางกฎหมายของประชาชนผูมีสิทธิ

เลือกตั้งดวย

การดําเนินการตามวรรคหนึ่ง ไมเปนการตัดอํานาจหนาที่ของหนวยงานอื่นที่มี

หนาที่ตองจัดทํากฎหมายในความรับผิดชอบ

มาตรา ๒๙๘ ใหมีการจัดทําและปรับปรุงกฎหมายวาดวยการกําหนดแผนและ

ขั้นตอนการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น ประมวลกฎหมายทองถิ่น

และกฎหมายเกี่ยวกับขาราชการสวนทองถิ่น เพื่อใหเปนไปตามบทบัญญัติของ

รัฐธรรมนูญนี้ ภายในสองปนับแตวันประกาศใชรัฐธรรมนูญนี้

Page 196: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50

๑๘๗

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

(ฉบับรับฟงความคิดเห็น) มาตรา ๒๙๙ บรรดาการใด ๆ ที่ไดรับรองไวในรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักร

ไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช ๒๕๔๙ วาเปนการชอบดวยกฎหมายและรัฐธรรมนูญ

รวมทั้งการกระทําที่เกี่ยวเนื่องกับกรณีดังกลาวไมวากอนหรือหลังวันประกาศใช

รัฐธรรมนูญนี้ ใหถือวาการนั้นและการกระทํานั้นชอบดวยรัฐธรรมนูญนี ้

ผูรับสนองพระบรมราชโองการ

.............................

ประธานสภานิติบัญญัติแหงชาติ จัดทําโดย นายนาถะ ดวงวิชัย นิติกร ๗ ว. กลุมงานคณะกรรมาธิการการทองเที่ยว สํานักกรรมาธิการ ๓

Page 197: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี40 กับ ปี50