8
พลังชมชน: ตองเสริมสรางจากขางใน บทนํา: ที่มาของกรอบคิดในการพัฒนาแบบดั้งเดิม ที่ใชความออนแอเปนฐาน ประเทศไทยมีกระบวนการที่ทําใหผูคนในประเทศมีความรูสึกวาเปน ผูออนแอมานาน กวาศตวรรษ ดวยการวินิจฉัยชุมชนทั้งทีมงานของผูเชี่ยวชาญในระดับนานาชาติ ระดับชาติ จนถึง ระดับทองถิ่น ในที่ประชุมสหประชาชาติ ในมหาวิทยาลัย สถาบันจนถึงกระทรวง ทบวง กรม มัน มาพรอมกับการประทับตราประเทศชาติ องคการ และชุมชนวาเปนผูดอยพัฒนา มีความเสี่ยง และอยูในวังวน แหงความโงเขลา เจ็บปวย และยากจน และแลวความสัญญาความชวยเหลือวาดวยการพัฒนาก็ถูกรางขึ้น ผูเชี่ยวชาญจาก ภายนอกไมวานอกประเทศ นอกพื้นทีหรือนอกชุมชนตางหลั่งไหลเขาไปในพื้นที่เปาหมาย พรอม กับนักพัฒนาและ ผูเชี่ยวชาญทางเทคนิกในระดับมืออาชีพ ภารกิจที่พวกเขามีก็คือ คนหาปญหา ของชุมชน ผูคนที่ตกอยูในวังวนแหงความทุกขเหลานั้นใหพบ แลวลงมือ ปดเปา เยียวยา และ แกไขปญหาเหลานั้นใหบรรเทาเบาบางลง เขาเหลานั้นจึงมีหนาที่อันทรงเกียรติในฐานะผูอุปถัมภ ผูชวยเหลือ ทํางานเพื่อชุมชนเขาไปเพื่อสงเคราะห และใหบริการสาธารณะ เพื่อบรรเทาปญหาที่ชุมชนมีอยู และจะกลับไปอีก พรอมกับความชวยเหลือระลอกใหม หากชุมชนไมตองการ ก็จะนําไปสูผูทุกขยากหิวโหยรายใหมทียังรอคอยความชวยเหลืออีกมากมายเหลือคนานับตอไป กําแพงกั้นระหวางผูร่ํารวยและผูยากไรไดเริ่มกอขึ้นอยางแข็งแรงดั่งทองแดงและเหล็ก ทั้ง ในทางกายภาพ ทางจิตใจและจิตวิญญาณ ความรับรูของพวกเขาถูกกําหนด วาอยูในฐานะของผู ขอรับการชวยเหลือ ผูเรียกรอง และผูรับความอุปถัมภ พวกเขารับรูตัวเองวาออนแอ จําเปนตองใหไดรับความชวยเหลือ ไมวาจะเปนรูปแบบใด จากแหลงความชวยเหลือใด ราชการทองถิ่น ภูมิภาคหรือสวนกลางตองรับผิดชอบ รวมไปถึง องคกรพัฒนาเอกชนและมูลนิธิตางๆดวยและดวยการสั่งสมความรูสึกทีละเล็กทีละนอย และโดย ไมรูสึกตัว เขาก็ตกอยูภายใตเครือขายอุปถัมภอยางไมมีทางหลีกเลี่ยง ไมวาในระดับทองถิ่น ระดับ ภาคหรือระดับประเทศ ความชวยเหลือจะเขามาในแบบปจเจก เลือกปฏิบัติเฉพาะกลุมที่วานอน 1

ผู้นำการเปลี่ยนแปลงกับการเสริมสร้างพลังชุมชน โดยอุทัยวรรณ กาญจนกามล

Embed Size (px)

DESCRIPTION

การเสริมสร้างพลังในระดับ กลุ่ม/องค์กรเกิดขึ้นเมื่อเราให้ความสำคัญกับโอกาสในการมีส่วนร่วม และการจัดสรรทรัพยากรใหม่ในองค์กร และการเสริมสร้างพลังในระดับชุมชน เกิดขึ้นเมื่อให้ความสำคัญกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคม และการเปลี่ยนแปลงในระดับโครงสร้างทางสังคมและการเมือง ผู้นำการเปลี่ยนแปลงมีบทบาทสำคัญยิ่งใน พ.ศ. นี้

Citation preview

Page 1: ผู้นำการเปลี่ยนแปลงกับการเสริมสร้างพลังชุมชน โดยอุทัยวรรณ กาญจนกามล

บทนํา: ท่ีม ประกวาศตวรรษระดับทองถิน่มาพรอมกับและอยูในวงั

และภายนอกไมวกับนักพัฒนาของชุมชน ผแกไขปญหา เขาเเขาไปเพื่อสงพรอมกับควยังรอคอยคว

กําแในทางกายภขอรับการชว

พวกจากแหลงควองคกรพัฒนไมรูสึกตัว เขภาคหรือระด

พลังชุมชน: ตองเสริมสรางจากขางใน

าของกรอบคดิในการพัฒนาแบบดั้งเดิม ท่ีใชความออนแอเปนฐาน เทศไทยมกีระบวนการทีท่ําใหผูคนในประเทศมีความรูสึกวาเปน “ผูออนแอ”มานาน ดวยการวินิจฉัยชุมชนทัง้ทมีงานของผูเชี่ยวชาญในระดบันานาชาติ ระดับชาติ จนถึง ในที่ประชมุสหประชาชาติ ในมหาวทิยาลัย สถาบนัจนถึงกระทรวง ทบวง กรม มันการประทับตราประเทศชาต ิ องคการ และชุมชนวาเปนผูดอยพฒันา มีความเสีย่ง วน แหงความโงเขลา เจ็บปวย และยากจน แลวความสัญญาความชวยเหลือวาดวยการพัฒนาก็ถูกรางขึ้น ผูเชี่ยวชาญจากานอกประเทศ นอกพืน้ที่ หรือนอกชุมชนตางหลั่งไหลเขาไปในพื้นที่เปาหมาย พรอมและ ผูเชี่ยวชาญทางเทคนกิในระดับมืออาชีพ ภารกิจที่พวกเขามีก็คือ คนหาปญหาูคนที่ตกอยูในวังวนแหงความทุกขเหลานัน้ใหพบ แลวลงมือ ปดเปา เยยีวยา และเหลานั้นใหบรรเทาเบาบางลง หลานัน้จงึมีหนาที่อันทรงเกียรติในฐานะผูอุปถมัภ ผูชวยเหลือ “ทํางานเพือ่ชุมชน” เคราะห และใหบริการสาธารณะ เพื่อบรรเทาปญหาที่ชมุชนมีอยู และจะกลับไปอีกามชวยเหลือระลอกใหม หากชุมชนไมตองการ ก็จะนําไปสูผูทุกขยากหิวโหยรายใหมที่ามชวยเหลืออีกมากมายเหลือคนานบัตอไป พงกัน้ระหวางผูรํ่ารวยและผูยากไรไดเร่ิมกอข้ึนอยางแข็งแรงดั่งทองแดงและเหลก็ ทัง้าพ ทางจิตใจและจิตวิญญาณ ความรับรูของพวกเขาถกูกําหนด วาอยูในฐานะของผูยเหลือ ผูเรียกรอง และผูรับความอุปถัมภ เขารับรูตัวเองวาออนแอ จําเปนตองใหไดรับความชวยเหลือ ไมวาจะเปนรูปแบบใดามชวยเหลือใด ราชการทองถิ่น ภูมิภาคหรือสวนกลางตองรับผิดชอบ รวมไปถึงาเอกชนและมูลนิธิตางๆดวยและดวยการสั่งสมความรูสึกทีละเล็กทีละนอย และโดยาก็ตกอยูภายใตเครือขายอุปถัมภอยางไมมีทางหลีกเลี่ยง ไมวาในระดบัทองถิน่ ระดับับประเทศ ความชวยเหลือจะเขามาในแบบปจเจก เลือกปฏิบัติเฉพาะกลุมที่วานอน

1

Page 2: ผู้นำการเปลี่ยนแปลงกับการเสริมสร้างพลังชุมชน โดยอุทัยวรรณ กาญจนกามล

สอนงายและนาสงสาร ใครก็ตามที่ต้ังคําถามไมสบอารมณ ผูใหความชวยเหลือก็จะถูกตัดขาด มนัมาพรอมกับพนัธสัญญาของผูใหความชวยเหลือที่ดี และเมื่อถูกเรยีกมา “มีสวนรวมก็ทาํตัวใหดี เปนครั้งคราว ก็จะไดคาแรงและคารถกลบับาน

จากผลลพัธแหงการพฒันาชุมชนที่ส่ังสมมานานดงักลาวขางตัน จึงกลายเปนปจจัยสําคัญที่หนนุเนื่องมาจนถึงปจจุบัน การเติบโตทามกลางความเปน “ตัวใครตัวมัน” ความรูสึกแปลกแยกจากวิถีชวีิต และวัฒนธรรมของตนเอง ความเปนนกับริโภคตัวยง และผูเรียกรอง โดยปราศจากความรับผิดชอบ ทั้งตอครอบครัว ชุมชนและสังคม ประเดประดังเขามาในวิถชีีวิต ทัง้ชุมชนเมือง และชนบทและชนเผาบนดอยสูง

และในที่สุด บทกลอนตอไปนี้ก็สามารถจําลองภาพปรากฏการณแหงการพัฒนาที่สรุปไดถึงสิ่งที่ดํารงอยู ในวถิีชีวิตของผูคนสวนใหญในภาวะปจจุบัน

วันเอยวนัวาน ผันผานมาอยางไรใหฉงน พัฒนามาอยางไรใหอับจน ตองคับของหมองหมนทั้งพารา ปลอยความเลวรายครอบครองโลก ความวิปโยคจึง่มาเยือนทกุหยอมหญา คนกับคนที่เคยอยูคูกันมา แลวตางคนเขาหนัหนาเบียดเบียนกนั แสวงหากาํไรใหสูงสุด ทั้งตนีมือยื้อยดุฉุดแขงขัน มือใครยาวสาวไดไมวากนั ตัวใครกตั็วมันไมทันคิด บริโภคกันขวักไขวคลายคนบา แลวเวลาก็มาถึงซึง่วิกฤต ฟองสบูแตกแลวแผวสิ้นฤทธิ์ เศรษฐกิจสังคมลมระเนน ทรัพยากรธรรมชาติพนิาศสิน้ ผืนแผนดินสาํแดงแหลงยุคเข็ญ วิบากซ้าํกรรมซัดวิบัติเปน แสนลําเค็ญหงอเหงาเศราโศกตรม ฯ

ทําไมตองเสริมสรางพลังชุมชน? ความทาทายในชีวิตชุมชนทกุวันนี้ก็คือ ความยุงเหยิงในชีวิตธุรกิจสวนตัว แบบปจเจก เรา

ถูกเตือนอยูตลอดเวลาถงึการแยกตัวถอยหางจากหมูคณะและทําตวัใหไปกันได ตามประสาผูตามที่ดี ไมมปีากเสียงในชวีิตครอบครัวที่ทํางานและชีวติสาธารณะ ความทาทายในชีวิตชุมชนยิง่ไปกวานั้นก็คือ การถูกมองอยางเหมารวมของความออนแอ ลมเหลว ของในแตละชุมชนวาสิน้หวงัเปนแหลง เสื่อมโทรม เขาหานักการเมืองแตเร่ืองผลประโยชนกเ็ล็กนอยๆ รอคอยการอุปถัมภ

ความรูสึกนี้แพรระบาดอยูทั้งในผูมองและผูถูกมองจนหาอนาคตไมเจอแตสําหรับผูที่ถูกเลือกมองโลกในดานดีก็จะพบเหน็ชุมชนในอีกลกัษณะหนึง่ มีชุมชนเปนรอยๆแหงสามารถยืดหยัดทามกลางพายโุลกาภิวัฒนอยางเขมแข็ง นับต้ังแตป 2540 เปนตนมาในแตละเมือง เราพบ

2

Page 3: ผู้นำการเปลี่ยนแปลงกับการเสริมสร้างพลังชุมชน โดยอุทัยวรรณ กาญจนกามล

เห็นชมุชนตนแบบที่เขมแข็งและติดตอส่ือสารกับภายนอกตลอดจนพรอมเสมอที่จะใหผูคนไดเขาไปสัมผัสถึงความสามารถที่เขาเหลานัน้ม ี ในหลากหลายรูปแบบขนาดในหลายระดับเศรษฐกิจทั้งในเมืองและชนบท ซึง่ตางก็แลกเปลี่ยนเรียนรูซึ่งกนัและกันชมุชนเหลานัน้ เติบโตและแข็งแรงไดดวยการอาศัยสินทรัพยและขุมพลังของตนเอง เมื่อใดก็ตามที่ขับเคลื่อนชุมชนของตัวเองพวกเขาเร่ิมและติดตอส่ือสารซึ่งกนัและกันพลันความอัศจรรยพลันเกิดขึ้น

การเสริมสรางพลัง (Empowerment) คืออะไร? ความหมายของคําวา “การเสริมสรางพลัง” (empowerment) ก็คือ การทําใหไดมาซึ่งอํานาจ

โดย “อํานาจ” ในที่นีห้มายถึงความสามารถในการคิด หาหนทาง รวมทั้ง ปฏิบัติการ เพื่อการเปล่ียนแปลงไปในทิศทางทีต่องการ ดังนัน้การมีอํานาจจึงหมายถึงความสามารถที่ใชความสัมพันธเชิงอํานาจในสังคม ซ่ึงประกอบดวย พลังอํานาจของตน ของสังคม และอํานาจในทางการเมอืง เพื่อกอใหเกดิการเปลี่ยนแปลง การยอมรับวิธีการ “เสริมสรางพลัง” จึงหมายถึงการยอมรับในมมุมองของความขัดแยง และยอมรับวากลุมคนในสังคมถือครองอํานาจในระดับที่ตางกัน และผูที่มีอํานาจมากกวาใชอํานาจนั้นในการควบคุมผูมีอํานาจนอยกวา กลาวโดยสรุป การทํางานเพือ่การเสริมสรางพลังนั้น ตั้งอยูบนแนวคิดเกี่ยวกับ “การแบงปนอํานาจ มใิชการใชอํานาจครอบงําผูอ่ืน”(Power as share rather than power over other) และการเสริมสรางพลัง จะชวยใหผูที่เสียเปรยีบในสังคม สามารถคนพบหนทาง เพื่อเปล่ียนเงื่อนไขที่บีบคั้น กดดัน ทั้งนี้การเสริมสรางพลังนั้น เปนกระบวนการที่เคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลง อยูในระหวาง ความรวมมือ และความขัดแยง มีการให และยึดคืนอํานาจ เคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงในโลกของผูเชี่ยวชาญและภูมปิญญาชาวบาน ในระหวางสถาบันอันทรงอํานาจและชุมชน การเสริมสรางพลังสามารถทําไดตั้งแตระดบับุคคล กลุมองคกร และชุมชน โดยที่การเสริมสรางพลังในระดับบุคคลเกิดขึ้นเมื่อเราใหความสําคัญกับการเปลี่ยนแปลงในระดับจิตวิทยา และพฤติกรรมของปจเจกบคุคล การเสริมสรางพลังในระดับ กลุม/องคกรเกิดขึ้นเมื่อเราใหความสําคัญกับโอกาสในการมีสวนรวม และการจัดสรรทรัพยากรใหมในองคกร และการเสริมสรางพลังในระดับชุมชน เกดิขึ้นเมื่อใหความสําคัญกับการเปลี่ยนแปลงทางสงัคม และการเปล่ียนแปลงในระดับโครงสรางทางสังคมและการเมือง

3

Page 4: ผู้นำการเปลี่ยนแปลงกับการเสริมสร้างพลังชุมชน โดยอุทัยวรรณ กาญจนกามล

การเสริมสรางพลังในปจเจกบุคคล (Individual or Psychological Empowerment)

หมายถึง ความสามารถของปจเจกบุคคลทีจ่ะตัดสินใจในการดําเนนิชวีิต และควบคุมชีวิตของตนเองได ซ่ึงคลายคลึงกับคําที่ใชวา การมีอํานาจในตนเอง (self - efficacy) และการเห็นคุณคาในตนเอง(self-esteem) ตรงที่ เนนการพัฒนาแนวคดิเชิงบวกตอตนเอง หรือพัฒนาสมรรถนะความสามารถของบุคคล การเสริมสรางพลังในระดับจิตวิทยา คือ การที่สรางใหคนมีความคดิวิเคราะหวิจารณตอเงื่อนไขทางสังคมและการเมือง รวมทั้งบมเพาะใหปจเจกบุคคลและกลุมมีทักษะในการปฏิบัตกิารในสังคม ดังนัน้ การเสริมสรางพลังในระดับปจเจกบุคคล จึงประกอบดวย (1) การเชื่อมัน่อํานาจและสมรรถนะความสามารถของตนเอง (2)ความรูสึกวาตนสามารถควบคุม หรือเปนนายของตนได และ (3) เปนกระบวนการมสีวนรวมที่จะมีอิทธิพลตอการตัดสินใจของกลุม/องคกร หรือสถาบัน การเสริมสรางพลังในระดับปจเจกบุคคล จะเชื่อมโยงสัมพันธกับระดับองคกรและชุมชนดวยการ พัฒนาทักษะใหปจเจกบุคคลสามารถควบคุมและแสดงศกัยภาพแหงอํานาจผานปฏิบัติการทางสังคม รวมทั้งเขารวมในกระบวนการทางสังคมและการเมือง การเสริมสรางพลังในระดับองคกร(Organization empowerment)

การเสริมสรางพลังในระดับองคกร คือ ส่ิงเดียวกับการบรหิารจัดการภายใตระบบประชาธิปไตย ซ่ึงใหความสําคัญกับการแบงปนอํานาจขอมูลขาวสาร การมีสวนรวมในกระบวนการตดัสินใจและการดําเนินกจิกรรม เพื่อไปถึงเปาหมายทีว่างแผนไวรวมกนั กลาวไดวาการเสริมสรางพลังในระดับองคกรก็คือการทําใหปจเจกบุคคลมีความสามารถ(Enable individual) ในการควบคุมองคกรเพิ่มขึ้น และองคกรก็จะมีอิทธิพลตอการตัดสินใจทางการเมอืงในชุมชนซึง่เปนระดับทีใ่หญขึ้นไปอีก

การเสริมสรางพลังในระดับชุมชน(Community empowerment) การเสริมสรางพลังในระดับชุมชน คือ การเพิ่มพลังอํานาจใหกับบุคคลและองคกรตางๆในชุมชน ไดรวมในการตัดสินใจ และเปลี่ยนแปลงระบบของสังคมที่มีขนาดใหญ แนวความคิดนี้เปนส่ิงเดียวกับ “การสรางความสามารถและความเปนธรรม (capacity and equity)” โดย ความสามารถ คือการใชอํานาจเพื่อกอใหเกดิความเปลี่ยนแปลง และความเปนธรรม หมายถึงความยุติธรรมในการจัดสรรแบงปนทรัพยากร

4

Page 5: ผู้นำการเปลี่ยนแปลงกับการเสริมสร้างพลังชุมชน โดยอุทัยวรรณ กาญจนกามล

ความแตกตางระหวางวิธีการเสริมสรางพลังชุมชนแบบดั้งเดิมกับแบบรวมสมัย ภายใตกระแสความนิยมใชคาํวา การเสริมสรางพลังชุมชน นั้น เมื่อวิเคราะหการทํางานในชุมชนทั้งขององคกรพัฒนาเอกชนและหนวยงานราชการในชวงเวลา กึง่ศตวรรษที่ผานมา พบวา มีการใหความหมายที่มิไดนําไปสูแนวคิดของการเปลี่ยนแปลงโครงสรางแหงความไมเทาเทียม ใน 2 ประการคือ ประการแรก เกดิขึ้นภายใตแนวคิดของราชการ ซ่ึงการสรางความเขมแข็งแบบคุณพอรูดี (patriarchy) เปนหลักโดยบุคคลากรผูรับผิดชอบในการพัฒนาชุมชนทําหนาที่คิดโครงการเสรมิสรางพลังใหประชาชนปฏิบัติ ซ่ึงสะทอนใหเห็นถึงการที่ไมไดวิเคราะหหรือตระหนกัในความสลับซับซอนของความสัมพันธเชิงอํานาจ ระหวางผูเชีย่วชาญ สถาบัน รัฐ จากหนวยงานภายนอกกับกลุมคนในชุมชน ประการที่สอง เกิดจากการใหทุนเพื่อเรงรัดไปสูการทํางานเพื่อสรางพลังอํานาจแกชุมชน(ชุมชนเขมแข็ง) โดยเรงรัดที่จะสรางกลุมใหมๆ ใหขับเคลื่อนชุมชนของตนเองและในทายที่สุด กลุมดังกลาวก็เลือกที่จะทํางานเพียงเปนกลุมชวยเหลือกันเองระหวางสมาชิก (self – help or mutual aid support groups) โดยไมไดทํางานเพื่อปรับความสัมพันธเชิงอํานาจที่ไมเปนธรรมในสังคม และยิ่งไปกวานัน้ก็คือกลุมใหม ๆ ที่เกิดขึ้นดงักลาวฉวยโอกาสที่ไดรับการสนับสนุนจากภายนอก ใชชุมชนเปนเครือ่งมือในการสรางองคกรของตัวเอง ตอสายสัมพันธกับองคกรใหทุนอื่น ๆ จนกลายเปนศูนยรวมของการไดรับความสนับสนนุจากภายนอกไปโดยปริยาย ดังนั้นสิ่งที่ตองคํานึงถึงใหมากก็คือ การเสริมสรางพลังในระดับชมุชนนั้น ตองมีการเชื่อมโยงทั้งสามระดับ คือ ระดับปจเจกบุคคล ระดับองคกร และระดับชุมชน และทั้ง 3 ระดับ ตางก็จะตองมีเปาหมายเพื่อการเปลี่ยนแปลงสังคมสูความเปนธรรมในสังคม และการมีคณุภาพชวีิตที่ดี (ที่ไมสามารถแยกออกไดจากการเงื่อนไขทางสังคม – การเมือง) วิธีการสําคัญในการเสริมสรางพลัง ก็คอื การพัฒนาจิตสํานึกที่เกี่ยวกับการเขาใจและตระหนกัถึงความสัมพันธเชงิอํานาจในสังคม เขาใจถงึปฏิบัติการของอํานาจ (เชน ในเรื่องการแพทยและสุขภาพ ก็ตองเขาใจถึงอํานาจความรูของการแพทยตะวันตกที่มาพรอมกับทุนนยิม ฯลฯ) ที่มีผลตอการกําหนดการรับรูและ รูวิธีการสวมบทบาทในการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เหตุที่การพัฒนาจิตสํานึกมีความสําคัญก็เพราะ ในสถาบันทางสังคมซึ่งพยายามจะดํารงความไมเทาเทยีมไวนัน้ ปจเจกบุคคลจะถกูสรางใหรับเอาความเชื่อวาตนไมมีพลังอาํนาจที่จะกอใหเกิดการเปล่ียนแปลงใดๆ และการพัฒนาจิตสํานึกจะเปนไปได ดวยหนทางเดียวเทานั้นคือ ดวยกระบวนการทํางานรวมกันในโครงการระดับชุมชน (Community–based programs) จึงจะกอใหเกิดพลังอํานาจใน

5

Page 6: ผู้นำการเปลี่ยนแปลงกับการเสริมสร้างพลังชุมชน โดยอุทัยวรรณ กาญจนกามล

ชุมชน โดยที่ผูชํานาญการทั้งหลายจะตองปรับบทบาทของตนเองในฐานะผูกระตุน1 อันหมายถึงเพียงปรับบทบาทของตนมายืนอยูเคียงขาง โดยปลอยใหประชาชนและกลุมที่เรารวมทํางาน ใชความสามารถของตนเองในการทํางานที่พวกเขาตองการ กระบวนการปรับบทบาทนี้มิไดเปนสิ่งที่เกิดขึ้นไดโดยงาย ทั้งนี้เพราะทั้งในดานผูชํานาญการ และดานประชาชนตางก็คุนเคยในความสัมพันธแบบเดิม

ภาพที่ 1 แบบจําลองแสดงองคประกอบสําคัญของการเสริมสรางพลังทางจิตวิทยาและ การเสริมสรางพลังชุมชน

(Bracht Neil, 1999) ในภาพแสดงใหเห็นวา การเสริมสรางพลังทางจิตวิทยารวมกับการดําเนินกิจกรรมทางสังคมและ การเมือง กับความสําเร็จที่ชุมชนสามารถควบคุมทรัพยากรได (ในระดับหนึ่ง) จะเปนองคประกอบสําคัญที่จะเสริมสรางพลังชุมชน ลูกศรยอนกลับอธิบายไดวา ระดับของความสําเร็จในการควบคุมทรัพยากรจะยอนกลับไปมีอิทธิพลหนุนเนื่องตอสมาชิกกลุมใหมีความเช่ือมั่นที่จะดําเนินกิจกรรมตอไป

อยางไรก็ตามสิ่งที่ตองตั้งคําถามสําหรับผูที่ดําเนินกิจกรรมเกี่ยวกับการเสริมสรางพลังก็คือ กระบวนการเสริมสรางพลังนั้น ใหความสําคัญกับชุดความรูหรือประสบการณของใครกันแน ?

1 วิธีการทํางานของผูชํานาญการในการทํางานกับประชาชน อาจแบงไดเปน 3 ลักษณะ คือ ในฐานะผูหยิบยื่นให (The giver) ในฐานะที่ดําเนินการใหแบบชวยเหลือ (The doer) และในบทบาทที่เปนความพยายามใหม คือ เปนผูกระตุนใหคนในชุมชนดําเนินการเองเปนหลัก(The catalyst) (อุทัยวรรณ 2541)

6

Page 7: ผู้นำการเปลี่ยนแปลงกับการเสริมสร้างพลังชุมชน โดยอุทัยวรรณ กาญจนกามล

นั่นคือ ชาวบาน นักวิชาการ หรือนักกิจกรรมจากภายนอกไดอานิสงค และที่สําคัญยิ่งกวานั้นอกีก็คือเปนมันกระบวนการที่ถูกกํากับโดยผูเชี่ยวชาญ (Expert approach) หรือไม?

แตถึงกระนัน้ก็ตาม ส่ิงที่เปนแนวคิดในการเสริมสรางพลังชุมชนดังกลาว กย็ังถือวาเปนจุดเริ่มตนของการพัฒนาที่อาศัยจุดแข็งของชุมชนเปนฐาน และคํานงึถึงการเสริมสรางจากขางในเปนดานหลัก และเปนเสนทางที่ควรจะเดนิมากกวาเสนทางสายเกา

ผูนําการเปลี่ยนแปลง ลักษณะของผูนําการเปลี่ยนแปลงนั้นมี 4 ลักษณะดวยกัน

(ตามการระบุของ Havelock และ Zlotolow) 1. ผูที่เปนเหตุหรือเปนตัวเรงใหเกิดการเปลี่ยนแปลง (catalyst) 2. ผูที่นําไปสูสิ่งที่ดีกวาเดิม (Solution giver) 3. ผูที่ใหความชวยเหลือในกระบวนการเปลี่ยนแปลง (Process helper) 4. ผูที่เชื่อมโยงระหวางแหลงทรัพยากร (Resource linker) จากลักษณะทั้ง 4 นี้ผูที่เปนผูนําการเปลี่ยนแปลงจึงตองเปนทั้งผูที่ริเริ่ม และชวยใหเกิดการเปลี่ยนแปลง และทําใหบุคคลอื่นเกิดการยอมรับตอสิ่งใหมนั้น สวน Harter (1995: 62-63) ไดศึกษารูปแบบของผูนําการเปลี่ยนแปลงทางการศึกษา พบวาแบงไดเปน 3 แบบคลายคลึงกับของ Havelock ไดแก 1. แบบเปนตัวแทนในการเผยแพร (Dissemination model) 2. แบบเปนตัวแทนในการอํานวยความสะดวก ( Facilitation model) 3. แบบเปนผูนําทางนวัตกรรม (Innovation model) _________________

7

Page 8: ผู้นำการเปลี่ยนแปลงกับการเสริมสร้างพลังชุมชน โดยอุทัยวรรณ กาญจนกามล

ปรัชญาวาดวยความเปนผูนําของ จวงจื้อ

ในยุคสมัยของผูนําเยี่ยมยุทธ ........ผูคนตางทํางานใหดวยความยินดีปรีดา ผูนําในระดับรองลงมา ผูคนตางยกยองบูชา ระดับรองลงมา ผูคนตางรักใครนับถือ ระดับรองลงมา ผูคนตางใหความเคารพยําเกรง ระดับต่ําสุด ผูคนตางเคียดแคนชิงชัง ในยุคสมัยของผูนําเยี่ยมยุทธ เมื่องานสําเร็จลง.............

ผูคนตาง เปลงวาจาเปนเสียงเดียวกันวา “เราทํากันเอง”

ปจฉมิอุทาหรณ : ทางสามแพรงสายพัฒนา ขึ้นอยูกับวาผูนําจะเลือกทางใด...... ฐานคิดในการพัฒนาแบบดั้งเดิม ฐานคิดในการพัฒนาแบบรวมสมัย ริเริ่มจากเจานาย เรงขยายสูชุมชน เรียนรู“คาของคน” วาอยูที่”คนของใคร” รองรับความตองการ หัวหนางานผูเปนใหญ ชาวบานนั้นคือไพร อยาหวังไดเทาทันตน เริ่มจากทานปลัด รีบแจงจัดขยายผล ครอบงําช้ีนําคน ใหสุดลิ่มทิ่มประตู ใครหือเขาห้ําหั่น ก็ไอนั่นมันสูรู ใครขวางก็ลองดู อยาหวังอยูใหเคืองตา นี่เอาเขาฝากฝง นายทานสั่งใหจัดหา สนองเจตนา ทางขางหนาสุขสบาย ถึงปมีรางวัล ไดสองขั้นดั่งใจหมาย หมอบราบตราบชีพวาย เปนทาสทานนั้นแทจริง

ริเริ่มจากชาวบาน รวมกอสานกับชุมชน เรียนรูจากใจคน รับรู”คน”คิดอะไร รองรับความตองการ ไมหักหาญซึ่งน้ําใจ ประชามิใชไพร ตองกาวไปคูเคียงกัน เริ่มจากที่เขารู ไมลบหลูหรือเดียดฉันท รวมคิดจิตผูกพัน รวมสรางสรรคสิ่งมุงหมาย เสริมสรางจากขางใน พลังใจไมคลอนคลาย ชีพนี้มีความหมาย “เรา” ลิขิตชะตา”เรา” มาเถิดพี่นองขา รวมฟนฝาทั้งหนักเบา กําลังเปนของเรา ยิ่งรวมแรงยิ่งแข็งขัน บทบาทในยุคใหม ราษฎร- รัฐไทยไปดวยกัน ผูคนทุกชนชั้น รวมผูกพันอยางแทจริง

8