2
ตัวอย่างกระบวนการบ้านมั่นคงหนองเตาเหล็ก ตัวอย่างกระบวนการบ้านมั่นคงหนองเหล็ก จังหวัดอุดรธานี เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ภาคตะวันออก เฉียงเหนือตอนบนของประเทศไทย เป็นจังหวัดที่มีขนาด ใหญ่ โดยมีพื้นที่ประมาณ 7,332,000 ไร่ จังหวัดอุดรธานี ยังมีความสำคัญในฐานะเมืองที่เป็นศูนย์กลางของการ คมนาคมที่เชื่อมโยงไปยังประเทศเพื่อนบ้านได้ และยังเป็น แหล่งการท่องเที่ยวที่สำคัญของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ รวมทั้งยังเป็นดินแดนที่มีอารยธรรมเก่าแก่แห่งหนึ่งของ โลกที่รู้จักกันดีว่าแหล่งอารยธรรมบ้านเชียง และขึ้นชื่อใน ฐานะแหล่งผลิตงานหัตถกรรมเลื่องชื่ออย่างผ้าขิดนั่นเอง จากความสำคัญดังกล่าว ทำให้จังหวัดอุดรธานีมี ความเจริญเติบโตอย่างยิ่งในด้านเศรษฐกิจ มีตลาด แหล่ง การค้าขาย และห้างร้านเกิดขึ้นมากมายในบริเวณตัวเมือง อุดรธานี ทำให้ผู้คนจากต่างถิ่น ต่างจังหวัดเดินทางเข้ามา ยังจังหวัดอุดรธานีเพื่อเข้ามาหางานทำ วันนี้ วิถีชีวิตไทบ้านที่เอื้อเฟื้อแบ่งปันฟื้นกลับมา ขับเคลื่อน แก้ ไขปัญหาของเมืองอุดรธานีท้งเมือง อย่างที่พี่น้องบอกว่า “ไทบ้านได้อยู่แบบไทบ้านที่ช่วยเหลือกันมีจิตใจที่ดีงามต่อกัน” “บ้านมั่นคงได้มากกว่าคำว่าบ้าน ได้ลูกหลาน ได้พ่อแม่ช่วยแก้ ไข ได้เพื่อนฝูง ได้ญาติมิตร ทั้งใกล้ไกล ได้บ้านใหม่ ได้ลูกหลาน อย่างมั่นคง” แลกเปลี่ยนเรียนรู้ได้ทีศูนย์การเรียนรู้ชุมชน บ้านมั่นคงหนองเตาเหล็ก สำรวย จ่ายกระโทก 40/2 ม.5 บ้านหนองเตาเหล็ก 1 อำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี 41000 087-722-0233 แลกเปลี่ยนเรียนรู้ได้ทีศูนย์การเรียนรู้ชุมชน บ้านมั่นคงหนองเตาเหล็ก สำรวย จ่ายกระโทก 40/2 ม.5 บ้านหนองเตาเหล็ก 1 อำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี 41000 087-722-0233 แหงนครอุดรธานี ‘¤¹’ ÊÌҧºŒÒ¹ เทศบาลนครอุดรธานี อำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี

แผ่นพับ คนสร้างบ้านแห่งนครอุดรธานี

Embed Size (px)

DESCRIPTION

กระบวนการการมีส่วนร่วมของคนตัวเล็กๆ ในสังคมใหญ่ สังคมเมือง คนที่ลุกขึ้นมาจัดการแก้ไขปัญหาที่อยู่อาศัยอย่างมีส่วนร่วม จนมีบ้านสักหลังของตัวเอง บ้านอันเกิดจากน้ำพักน้ำแรง

Citation preview

ตัวอย่างกระบวนการบ้านมั่นคงหนองเตาเหล็ก ตัวอย่างกระบวนการบ้านมั่นคงหนองเหล็ก

จังหวัดอุดรธานี เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ภาคตะวันออก

เฉียงเหนือตอนบนของประเทศไทย เป็นจังหวัดที่มีขนาด

ใหญ่ โดยมีพื้นที่ประมาณ 7,332,000 ไร่ จังหวัดอุดรธานี

ยังมีความสำคัญในฐานะเมืองที่เป็นศูนย์กลางของการ

คมนาคมที่เชื่อมโยงไปยังประเทศเพื่อนบ้านได้ และยังเป็น

แหล่งการท่องเที่ยวที่สำคัญของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

รวมทั้งยังเป็นดินแดนที่มีอารยธรรมเก่าแก่แห่งหนึ่งของ

โลกที่รู้จักกันดีว่าแหล่งอารยธรรมบ้านเชียง และขึ้นชื่อใน

ฐานะแหล่งผลิตงานหัตถกรรมเลื่องชื่ออย่างผ้าขิดนั่นเอง

จากความสำคัญดังกล่าว ทำให้จังหวัดอุดรธานีมี

ความเจริญเติบโตอย่างยิ่งในด้านเศรษฐกิจ มีตลาด แหล่ง

การค้าขาย และห้างร้านเกิดขึ้นมากมายในบริเวณตัวเมือง

อุดรธานี ทำให้ผู้คนจากต่างถิ่น ต่างจังหวัดเดินทางเข้ามา

ยังจังหวัดอุดรธานีเพื่อเข้ามาหางานทำ

วันนี้ วิถีชีวิตไทบ้านที่เอื้อเฟื้อแบ่งปันฟื้นกลับมา ขับเคลื่อน

แก้ ไขปัญหาของเมืองอุดรธานีทั้งเมือง อย่างที่พี่น้องบอกว่า

“ไทบ้านได้อยู่แบบไทบ้านที่ช่วยเหลือกันมีจิตใจที่ดีงามต่อกัน”

“บ้านมั่นคงได้มากกว่าคำว่าบ้าน

ได้ลูกหลาน ได้พ่อแม่ช่วยแก้ ไข ได้เพื่อนฝูง

ได้ญาติมิตร ทั้งใกล้ ไกล

ได้บ้านใหม่ ได้ลูกหลาน อย่างมั่นคง”

แลกเปลี่ยนเรียนรู้ได้ที่ศูนย์การเรียนรู้ชุมชนบ้านมั่นคงหนองเตาเหล็กสำรวย จ่ายกระโทก40/2 ม.5 บ้านหนองเตาเหล็ก 1อำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี 41000087-722-0233

แลกเปลี่ยนเรียนรู้ได้ที่ศูนย์การเรียนรู้ชุมชนบ้านมั่นคงหนองเตาเหล็กสำรวย จ่ายกระโทก40/2 ม.5 บ้านหนองเตาเหล็ก 1อำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี 41000087-722-0233

แหงนครอุดรธานี‘¤¹’ÊÌҧºŒÒ¹เทศบาลนครอุดรธานี อำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี

ทิศทางในการทำงานของคณะกรรมการเมืองนั้น

คณะกรรมการเมืองทั้ง 30 คนจะมีการประชุมกันเดือนละครั้ง

เอาปัญหาเอาข้อมูลต่างๆมาคุยมาแลกเปลี่ยนกันเช่นข้อมูลการ

สำรวจสภาพปัญหาผู้เดือดร้อน ปัญหาเรื่องบ้านเลขที่ เป็นต้น

โดยทางเทศบาลเองก็ยังมีเป้าที่จะแก้ ไขปัญหาเรื่องที่อยู่อาศัย

อย่างต่อเนื่อง

ปัจจุบันเทศบาลมีที่ดินที่จะใช้แก้ไขปัญหาจำนวน50ไร่

แต่ได้แก้ไขปัญหาไปแล้ว 17 ไร่ (1 หลัง 10 ตร.วา) ซึ่งยัง

สามารถรองรับและช่วยเหลือชุมชนได้อีกจำนวนหนึ่งทีเดียว

และนอกจากการมองเรื่องที่อยู่เทศบาลเองก็ยังทำงานส่งเสริม

งานพัฒนาอาชีพของเทศบาล กระจายให้ความรู้ อบรมอาชีพ

ต่างๆมีสถานที่จำหน่ายสินค้าของเทศบาลที่จะรับสินค้าชุมชน

แผนที่ตัวอย่าง บริเวณชุมชนหนองเตาเหล็ก

“บ้าน..ที่มากกว่าคำว่าบ้าน” วันนี้บ้านมั่นคงเทศบาลนครอุดรธานีก่อรูปก่อร่างเกิด

รูปธรรมความสำเร็จที่ชี้วัดได้จากตัวบ้านนับไม่ถ้วน แต่เหนืออื่น

ใดความสำเร็จที่สำคัญคือการสร้างกระบวนการเรียนรู้สร้าง

สังคมเครือญาติพี่น้องครอบครัวใหญ่ที่เกื้อกูลช่วยเหลือกันและ

กันแม้ว่าแกนนำหลายรายอาจต้องเผชิญกับเสียงสะท้อนพูดถึง

ต่างๆ นานา แต่ผลงานที่เกิดขึ้นคือความภาคภูมิใจของสมาชิก

และแกนนำที่ทำให้ก้าวข้ามความย่อท้อและเหน็ดเหนื่อยต่างๆ

มาได้

...ความสำเร็จในวันนี้ ยังไม่ใช่ความสำเร็จสูงสุดหรือ

สมบูรณ์แบบ แต่นี่เป็นเพียงการเริ่มต้น ซึ่งกล่าวได้ว่าเป็นการ

เริ่มต้นของชีวิตใหม่ สภาพแวดล้อมใหม่ และชุมชนพี่น้องเครือ

ญาติที่ก่อเกิดตามมาและก็ยังมีอีกหลายสิ่งที่ชุมชนต้องลงมือทำ

ทั้งเรื่องอาชีพรวมทั้งการสร้างคนรุ่นใหม่ขึ้นมารับไม้จากพ่อแม่

กระบวนการในการดำเนินโครงการบ้านมั่นคง

ปฏิเสธไม่ ได้เลยว่าการเชื่อมโยงทำงานร่วมกัน

ระหว่างเมืองท้องที่ท้องถิ่นนั้นเป็นส่วนสำคัญที่

ทำให้งานขับเคลื่อนและลุล่วงไปได้ “คณะกรรม

การเมืองเทศบาลนครอุดรธานี” เป็นอีกหนึ่ง

รูปแบบการทำงานขับเคลื่อนเพื่อแก้ ไขปัญหา

ที่อยู่อาศัยทั้งเมืองอุดร โดยมีผู้แทนของชุมชน

หรือเครือข่าย หรือขบวนองค์กรชุมชนในเมือง

หรือท้องถิ่นนั้นๆ (คณะกรรมการองค์กรชุมชน)

นายกเทศมนตรีเมืองอุดรตัวแทนหน่วยงานต่างๆ

ในสังกัดเทศบาล(ฝ่ายต่างๆในเทศบาลเช่นฝ่าย

สวัสดิการสังคม/พัฒนาชุมชนกองช่างฝ่ายโยธา

ฯลฯ) ตัวแทนจากมหาวิทยาลัยราชภัฎอุดรธานี

ผู้เชี่ยวชาญ(สถาปนิก,ช่าง)หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

ตา่งๆเชน่พฒันาสงัคมและความมัน่คงของมนษุย ์

จังหวัด(พมจ.)หน่วยงานที่รับผิดชอบดูแลที่ดิน

(กรมธนารักษ์การรถไฟเจ้าพนักงานที่ดินฯลฯ)

หน่วยงานด้านสาธารณูปโภคไฟฟ้าประปาฯลฯ

จุดเริ่มแรกของคณะกรรมการเมืองบ้านมั่นคง

เทศบาลนครอุดรธานีมาจากสองส่วนคือชุมชน

และเทศบาลโดยเริ่มจากพอช.เข้ามาให้ข้อมูลมี

เวทีที่ศูนย์ประสานงานนครหมากแข้ง และทาง

เทศบาลมีการประชาสัมพันธ์แจ้งข่าวให้แต่ละ

ชุมชนเข้าร่วมเวที

ชุ ม ชนแออั ด โ ดย เ ฉพาะ ใ น เ ขต

เทศบาลนครอุดรธานีมองถึงการรวมตัวรวม

กลุ่ม จนช่วงประมาณปีพ.ศ.2538 สำนักงาน

พัฒนาชุมชนเมือง(พชม.) หรือสถาบันพัฒนา

องค์กรชุมชน(องค์การมหาชน) ในปัจจุบัน ได้

เข้ามาให้ความรู้และสนับสนุนให้ชุมชนแออัด

ในเขตเทศบาลนครอุดรธานีจัดตั้งกลุ่มออม

ทรัพย์ร่วมกัน และการรวมกลุ่มเล็กๆ นี้ ก็ขยับ

ไปสู่การพัฒนาสภาพแวดล้อมและกิจกรรม

อื่นๆ ในชุมชนจนได้เชื่อมร้อยเป็น “เครือข่าย”

ออมทรัพย์ชุมชนเมืองอุดรธานี ในปี พ.ศ.2541

และฐานของเครือข่ายออมทรัพย์ชุมชนเมือง

อุดรธานี ก็เป็นฐานสำคัญในการพัฒนาและ

แก้ปัญหาเรื่องที่อยู่อาศัชุมชนแออัดในเขต

เทศบาลนครอุดรธานีซึ่งส่วนใหญ่เป็นชุมชนบุ

กรุก และไม่มีความมั่นคงในที่อยู่อาศัย

จนกระทั่งปีพ.ศ.2547 เกิดเวทีพูดคุย

ซึ่งเทศบาลนครอุดรธานีและสถาบันพัฒนา

องค์กรชุมชน(องค์การมหาชน)ได้จัดขึ้น

โดยมีการเชิญตัวแทนชุมชนในเขตเทศบาล

มาร่วมพูดคุยและร่วมเสนอแนวคิดและ

กำหนดเป้าหมายเพื่อแก้ ไขปัญหาที่อยู่

อาศัย รวมทั้งมีการกำหนดเกณฑ์การเลือก

ชุมชน ...ชุมชนที่เข้าร่วมโครงการบ้านมั่นคง

ได้แก่ ชุมชนโพธิวราราม ผาสุก โพธิ์ทอง บ้าน

จิก ชุมชนรถไฟ ศรีชมชื่น เก่าจาน2 นาดี

พรเจริญ และชุมชนหนองเตาเหล็ก

คณะกรรมการเมืองคณะกรรมการเมือง