28
หมวดวิชา การจูโจมและสงทางอากาศ เรื่อง การสงกําลังทางอากาศ ชม.

การส่งกำลังทางอากาศ ๔ ชม

Embed Size (px)

DESCRIPTION

การส่งกำลังทางอากาศ

Citation preview

Page 1: การส่งกำลังทางอากาศ  ๔  ชม

หมวดวิชา

การจูโจมและสงทางอากาศ

เร่ือง การสงกําลงัทางอากาศ ๔ ชม.

Page 2: การส่งกำลังทางอากาศ  ๔  ชม

แผนกวิชาการจูโจมและสงทางอากาศ กองการศึกษา โรงเรียนทหารราบ ศูนยการทหารราบ

คายธนะรัชต อ.ปราณบุรี จว.ประจวบคีรีขันธ - - - - - - - - - - - - - - - - - -

๑. บทเรียนเรือ่ง การสงกําลังทางอากาศ ๔ ช่ัวโมง ๒. วัตถุประสงค เพื่อสอนใหนกัเรียนทราบถงึการสงกําลังทางอากาศ ใหทราบขีดความสามารถ

ของ บ. และ ฮ. การทําสนามสําหรับการสงลงการลงสูพื้นของ บ. และ ฮ. การรองขอใหมีการสงกําลังทางอากาศ การเลือกพืน้ที่การคํานวณ หาพืน้ที่วางเครื่องหมายสนาม

๓. หลักฐาน ๑. คูมือ ทีเอ็ม ๕๗ – ๒๑๐ และ ทีเอ็ม ๕๗ - ๒๒๐ ๒. คูมือจูโจม ๔. อุปกรณการฝก ๑. กระดานดํา, ชอลก ๒. แผนภาพ สนาม บ. และ ฮ. ๓. เสื้อฝน ๔. เครื่องผูกรัดสิ่งอุปกรณ เครื่องบรรจุแบบตาง ๆ ๕. รมทิ้งของ ๖. แผนผาสัญญาณ ๗. รองขอ บ. และ ฮ. สนับสนุนการฝก ๑ เครื่อง ๕. เจาหนาที่ฝก ๑. ครูทหาร ๒ นาย ๒. ครูนายสิบผูชวย ๑๕ นาย ( สําหรับแสดงและฝก ) ๖. สถานที่ฝก ๑. หองเรียน ๒. สนามฝก ๗. วิธีดําเนนิการฝก ๑. สอนกลาวนําและอธิบายลักษณะของ บ. และ ฮ. ๒. การทําสนามและการสงคําขอ ๓. ทําการแสดงการปฏิบัติในสนาม ๔. แยกพวกฝก การดําเนินการรับของทางอากาศ ๕. สรุป

- - - - - - - - - - - - - - - - - -

Page 3: การส่งกำลังทางอากาศ  ๔  ชม

การดําเนินการสอน

๑. การกลาวนาํ การศึกษาในวิชานี้ มีความมุงหมายทีจ่ะสอนใหนักเรียนทราบถึงการรับการสนับสนุนทางอากาศ เพือ่ใหหนวยปฏิบัติการที่มีความจําเปนตองรับการสนับสนุนทางสิ่งอุปกรณ และกําลังพลหรือการสงกลับ ผูบาดเจ็บสามารถดําเนินการได เพราะวาสมัยนีก้ารรบกับหนวยผูกอการรายนั้น เราจะตองปฏิบัติการในพื้นที่เปนปาและภูเขา ไมมีเสนทางที่จะใชในการขนสงประเภทอื่นไดรวดเรว็ได ๒. ประเภทของการขนสงในปจจุบัน การขนสงกําลัง แบงประเภทการขนสงออกเปนประเภทใหญ ๆ ได ๔ ประเภท คอื ๒.๑ การขนสงทางทอ ๒.๒ การขนสงทางบก ๒.๓ การขนสงทางน้ํา ๒.๔ การขนสงทางอากาศ ๓. เหตุผลท่ีใหมีการสนับสนนุในการสงกําลังทางอากาศ ๓.๑ ภูมิประเทศขัดขวาง เชน ภูมิประเทศ เปนปาทึบ , เสนทางทุรกันดาร , เปนภูเขาสูง ไมสามารถใชยานพาหนะอื่นๆ ได ๓.๒ ขาศึกขัดขวาง หนวยปฏิบัติการแทรกซึมเขาไปปฏิบัติการหลังแนวขาศกึ ขาศึกมีขีดความสามารถขัดขวางตาม เสนทางสงกําลังทางบก , ทางน้ําได ๓.๓ ระยะทางขัดขวาง หนวยปฏิบัตกิารอยูในระยะไกล ถานาํมาประกอบกบัเวลาแลวหนวยรับการสนับสนุนไมไดรับส่ิงอุปกรณทันตามความตองการภายในเวลากําหนด ๔. วิธีสงกําลังทางอากาศมี ๓ วิธี ๔.๑ เครื่องบินลงสูพื้น ใหเครื่องบินทีบ่รรทุกของรอนลงสนามที่เตรียมไว โดยเตรียมการทําสนามใหเครื่องบินลง ๔.๒ การทิ้งของโดยใชรม ใชรมติดกับของรมจะการพยุงของลงกับพืน้ ๔.๓ การทิ้งของโดยไมใชรม เปนวิธีประหยัดมาก ของที่ทิ้งตองไมเสียหาย เชน เส้ือผา อาหารแหง การทิ้งแบบนี้ เครื่องบินตองลดความเร็วลงและระยะบินต่ําพลสมควร ๕. การเลือกเขตสงลง (DZ) สําหรับการใชรม ๕.๑ สถานการณทางยุทธวิธีตอง ๕.๑.๑ ปราศจากขาศึก ๕.๑.๒ ใกลกับฐานลาดตระเวนหรือเสนทางลาดตระเวน ๕.๒ รูปขบวนบินและความสูง ถาใชเครื่องบินมากกวาหนึ่งเครื่อง ตองใชเสนทางบิน การทิ้งลงในความสูง ๒๐๐ ถึง ๓๐๐ ฟุต ในภูมิประเทศเหนือสนามทิ้งลง (DZ)

๕.๓ เสนทางเขาและออกในพื้นที่สงลง สําหรับ บ. หรือ ฮ. และคณะตอนรับตองมีเสนทางเขาออกพื้นที่รับของดวย

Page 4: การส่งกำลังทางอากาศ  ๔  ชม

๕.๔ ขนาดของสนาม – สนามยาว ๕๐ เมตร ตอการทิ้งของลง ๑ ช้ิน (หรือการทิ้งของโดยอัตโนมัติ) และกวางพอที่ของจะลงสูพื้นไดเมื่อเกิดผิดพลาดขึ้น

๕.๕ การพิจารณาทางอากาศ ๕.๕.๑.ภูมิประเทศที่เหมาะสม - ไมมีเครือ่งกีดขวางของทิศทางบิน - เปนที่ราบหรือที่ราบสูง ซ่ึงอาจตั้งบนยอดเขา และสันเขา - อยูใกลภมูิประเทศสําคัญ เพื่อใหงายในการหาสกัดที่ตั้งของสนาม - สามารถบินเขาสนามทิ้งของ ไดทุกทศิทาง มุมเปดอยางนอย ๙๐ องศา - สนามทิ้งของจะตองมีรัศมีการบิน สําหรับ บ.ขนาดกลาง ๕ ก.ม. บ. ขนาดเบา

๑.๕ ก.ม. ตองไมมีส่ิงกีดขวางในระยะนี ้ - การทิ้งของในเวลากลางคืน ส่ิงกีดขวางที่สูงเกิน ๓๕ เมตร จากสนามรับของ จะตอง

หางจากสนามอยางนอย ๑๖ ก.ม. ถาจําเปนตองใชสนามซึ่งมีส่ิงกีดขวางใน ลักษณะเชนนี้ในรศัมี ๑๖ ก.ม.ตองราบงาน , พิกัด ที่ตั้งของเครื่องกีดขวาง มุมกี่องศาจากจุดศูนยกลางของสนามและระยะเปนกิโลเมตร

๕.๕.๒ อากาศ สนามรับของจะตองมีทัศนวิสัยดไีมมีฝนตกหนกั เมฆต่ําหมอกทึบ ลมแรง , ควันมาก

๕.๕.๓ ส่ิงกีดขวาง – ถามีส่ิงกีดขวางสูงเกิน ๙๐ เมตรภายในรัศมี ๘ กิโลเมตร จะตองรายงานใหทราบ ถาจะทิ้งของในระยะต่ํา การรายงานใชพิกัดระบบโบลาบอกทิศทางมุม ,ระยะ , ถาทิ้งของต่ํากวา ๔๐๐ ฟุต ส่ิงกีดขวางที่เกิน ๓๐ เมตร ตองรายงานเชนกัน ๕.๖ การพิจารณาทางพื้นดิน ๕.๖.๑ รูปรางและขนาด - รูปรางเปนรูปสี่เหล่ียมหรือวงกลม - ขนาดขึ้นอยูกับจํานวนที่จะทิ้ง ตามที่กลาวแลว ขอ ๕.๔ พืน้ที่ขนาด ๓๐๐ x ๓๐๐ เมตร แลวสามารถเลือกไดทันที ๕.๖.๒ ลักษณะผิวพืน้

- พื้นที่เรียบไมมีตอไมหรือขรุขระหรือส่ิงกีดขวางตางๆ ทีจ่ะทําใหส่ิงของเสียหายหรือคนบาดเจ็บ ๕.๖.๓ การระวังปองกัน - ควรหางจากขาศึกเพื่อปองกันการขัดขวาง - ถาทําไดควรหางจากหมูบาน

- มีเสนทางปกปดกาํบังเพื่อการเตรียมการเคลื่อนยายของคณะตอนรับ ๖. หนวยท่ีรับการสงกําลังทางอากาศ จะตองเตรียม ๖.๑ จัดเตรยีมเครื่องหมาย ๖.๒ การระวังปองกันเครื่องหมายสนาม

Page 5: การส่งกำลังทางอากาศ  ๔  ชม

๖.๓ การกูภัย ๖.๔ การระวังปองกันการขนสงของเมื่อไดรับส่ิงของนั้นไปแลว ๗. การพิจารณาขนาดของเขตสงลงและการหาจุดปลอย ๗.๑ เขตสงลง (Drop Zone) เขตสงลง คือ เขตหรือสนามที่สามารถทําการกระโดดรมหรือทิ้งสัมภาระทางอากาศ โดยรมชูชีพได การเลือกสนามหรือเขตสงลง ตองขึ้นอยูกับภารกิจการปฏิบัติการทางอากาศแตละครั้งของหนวยนั้น ๆ กลาวคือ ขีดความสามารถของหนวย , ความเหมาะสม , ขีดจํากัดและความคลองตัวในการปฏิบัติการ ของหนวย ๗.๑.๑ ขนาดของเขตสงลง ถามีการกระโดดรมหรือทิ้งสัมภาระทางอากาศตั้งแต ๒ รมขึ้นไป “อาการกระจาย” หรือระยะถึงพื้นดินระหวางรมแรกถึงรมสุดทาย จะเปนเครื่องกําหนดความยาวของเขตสงลง ซ่ึง “ระยะของการกระจาย” หาไดจาก.- สูตร D = ๑/๒ ST D = ระยะของการกระจาย (เปนเมตร) S = ความเร็วของเครื่องบิน (เปนนอต) T = เวลาทีใ่ชในการทิ้งของ (เปนวนิาที) ตัวอยาง ตองการรับสัมภาระทางอากาศ โดยใชรมทิ้งของ G – ๑๓ จํานวน ๕ รม เครื่องบิน บินสูง ๕๐๐ ฟุต ความเรว็ของเครื่องบิน ๑๐๐ นอต ความเรว็ของลมผิวพื้น ๕ นอต ใชเวลาทิ้งของ ๔ วินาท ี จากสูตร D = ๑/๒ + S + T แทนคา D = ๑/๒ + ๑๐๐ + ๔ = ๒๐๐ เมตร นั่นคือ ระยะของอาการกระจาย เทากับ ๒๐๐ เมตร ความยาวของสนามที่สามารถรับของตามตัวอยางได เทากับ ๒๐๐ เมตร แตเพื่อความปลอดภัยควรจะบวกความยาวอีก ๑๐ % เพิ่มทั้งหวัสนามทายสนาม ฉะนั้น ความยาวของสนามรับของจึงเปน ๒๔๐ เมตร หมายเหตุ หากความยาวของเขตสงลงที่มีอยู ส้ันกวาระยะของอาการกระจาย ควรกําหนดเที่ยวบินเพิ่มขึ้น ๗.๒ ปจจัยท่ีมีผลกระทบกระเทือนตอการคํานวณระยะของอาการกระจาย ๗.๒.๑ คาความเร็วของเครื่องบินในอากาศ ณ ความสูงใด ๆ จะแตกตางความเรว็ผิวพืน้ดิน ๗.๒.๒ ทิศทางและความเรว็ของลม การบินตามลม , ทวนลมหรือเฉียงกับแกนของลมคาความเร็วของเครื่องบินในอากาศจะแปรเปลี่ยนไป และความเร็วผิวพื้นดินยอมเปลี่ยนแปลงตามไปดวย ๗.๒.๓ การแปลงหนวยของความเร็วของเครื่องบิน จากนอตมาเปน เมตรตอวินาทีซ่ึงเปนคาโดยประมาณ ๕๐ เมตร/วินาที

Page 6: การส่งกำลังทางอากาศ  ๔  ชม

๗.๓ การหาจุดปลอย จุดปลอย เปนจุดหนึ่งที่กําหนดขึ้นทางพืน้ดิน อาจกําหนดไวในสนามทิ้งของหรือบริเวณใกลเคยีง ก็ไดโดยใชแผนผาสัญญาณเปนเครื่องหมาย เพื่อใหนกับินและเจาหนาที่ทิ้งของไดสังเกตเห็น สําหรับแผนผาสัญญาณจะปูเปน รหัสอักษร ซ่ึงจะกําหนดแนวทางการบินและจุดปลอย สําหรับทิศทางบิน เพื่อจะใหส่ิงของที่ทิ้งลง กระจายตามแกนยาวของสนาม จึงควรกําหนดทิศทางบินใหขนานกบัแนวแกนยาวของสนาม ๗.๔ การหาระยะตาง ๆ เพื่อนํามาพจิารณากําหนดจุดปลอย ซ่ึงมีอยูดวยกนั ๒ ระยะ คือ ระยะของแรงเฉื่อย และระยะของอาการเยื้อง เนื่องจากลมพัด ๗.๔.๑ การหาระยะของแรงเฉื่อย เมื่อรมและสิ่งของไดถูกปลอยออกจากเครื่องบนิแลว กอนทีร่มกางเต็มที่นั้น รมจะลอยไปขางหนาดวยแรงเฉื่อย อันเกิดจากความแรงของเครื่องบินไปตามทิศทางของเครื่องบินเปนระยะหนึ่ง และระยะจากจดุปลอยไปถึงจุดรมกางเต็มที่นี้ เรียกวา “ระยะของแรงเฉื่อย” หาไดจากสูตร D = ๑/๒ S D = ระยะของแรงเฉื่อย (หนวยเปนเมตร) D = ความเร็วของเครื่องบิน (หนวยเปนนอต) ตัวอยาง แทนคา D = ๑/๒ + ๑๐๐ = ๕๐ เมตร * ระยะของแรงเฉื่อย = ๕๐ เมตร ๗.๔.๒ การหาระยะของความเยื้อง เมื่อรมกางเต็มที่ที่จดุ ๆ หนึ่ง ณ ความสูงใดความสูงหนึง่แลว จะถูกพดัพาไปดวยแรงลมไปตกยงัจุดที่อยูหางออกไปตามทิศทางลมในขณะนั้น และระยะของความเยื้องก็คือ ระยะจากจุดที่รมกางเต็มทีถึ่งจุดที่รมตกถึงพื้นดิน ซ่ึงจะคํานวณไดดังนี.้- สูตร D = KAV D = (ระยะของความเยื้องหนวยเปนเมตร) K = (คาคงที่ของรม คิดไดจาก รมทิ้งของ = ๒.๖ รมบุคคล = ๔.๑) A = ความสูงบิน (คิดหลักรอยฟุต) V = ความเร็วผิวพื้นดิน (หนวยเปนนอต) จากตัวอยาง แทนคาในสูตร D = KAV D = ๒.๖ + ๕ + ๕ = ๖๕ เมตร * ระยะของความเยื้องคือ = ๖๕ เมตร ๗.๕ การประมาณคาความเร็วของลมผิวพื้นดิน ความเร็ว ๑-๓ นอต ลมพัดถูกเย็น ๆ

Page 7: การส่งกำลังทางอากาศ  ๔  ชม

“ ๔-๖ “ ใบไมไหวตลอดเวลา “ ๗–๑๐ “ ใบไมไหวตลอดเวลา “ ๑๑–๑๖ “ เกิดฝุนฟุงขึน้ “ ๑๗–๒๑ “ ตนไมเล็กเริ่มโยกไหว “ ๒๒–๒๗ “ ตนไมใหญเร่ิมโยกไหว “ ๒๘–๓๓ “ ตนไมใหญไหวทั้งตน “ ๓๔–๔๐ “ กิ่งไมเร่ิมหกัจากตน “ ๔๐–ขึ้นไป ตนไมเร่ิมลม การประมาณคาความเร็วของลม โดยพิจารณาจากควันไฟ การโปรยหญาแหง - ลอยตรง ๆ ไมมีลม - ลอยทํามุม ๓๐ องศา ความเร็วลม = ๓-๕ นอต - ลอยทํามุม ๖๐ องศา “ = ๕-๗ นอต - ลอยขนานกบัพื้นดิน “ = ๘ นอตขึ้นไป ๗.๖ ลําดับขั้นในการพจิารณาหาจุดปลอย ๗.๖.๑ กําหนดทิศทางบินเขาสูสนาม คราว ๆ (โดยพยายามใหขนานกับแกนความยาวของสนาม) ๗.๖.๒ สมมุตจิุดตกถึงพื้นดนิของรมแรก (ดานหัวสนาม และบนแกนความยาวของสนาม) ๗.๖.๓ วดัระยะสวนทิศทางของลม จากจุดที่สมมุติเปนระยะทางเทากับ ระยะของความเยื้อง (จะเปนจุดที่รมแรกกางเต็มที่) ๗.๖.๔ จากจดุในขอ ๗.๖.๓ วัดระยะทางสวนทิศทางบิน เปนระยะทางเทากับระยะของแรงเฉือ่ย จากจุดตรงนี้ จะเปนจุดปลอยท่ีตองการ ๗.๗ รหัสอักษรในกองทัพบก ๗.๗.๑ มีรหัสอักษรแบบมาตรฐานอยู ๔ อยาง สําหรับใชทําเครื่องหมายสนาม คือ

รูปท่ี ๑ เม่ือทิศทางลม ตั้งฉากกับแกนยาวสนาม

Page 8: การส่งกำลังทางอากาศ  ๔  ชม

รูปท่ี ๒ เม่ือทิศทางลม ขนานแกนยาวสนาม

รูปท่ี ๓ ทิศทางลมเฉียงกับแกนความยาวสนาม

รูปท่ี ๔ ทิศทางลมเฉียงกับแกนยาวสนาม H , E , A , T สําหรับเครื่องบินกองทัพบกสหรัฐ การใชรหัสอักษรตัว T สําหรับทําสนามรับของเวลากลางคืนควรหลีกเลี่ยงเพราะรหัสอักษรตัว T เปนสัญญาณมาตรฐานสําหรับให ฮ. ลงสูพื้นในเวลากลางคืน

Page 9: การส่งกำลังทางอากาศ  ๔  ชม

๗.๗.๒ ระหวางกลางวันและการวางรหัสอักษรเราใชแผนสัญญาณ วีเอส - ๑๗ (VS - 17) วาง (แผนผาสัญญาณดําเขมเปนแผนผาสัญญาณหลักของรหัสอักษร) ๗.๗.๓ ระหวางกลางคืนหรืออากาศมืด แผนผาสัญญาณเปลี่ยนเปนอักษรแทนจํานวนดวงไฟ แตละแสงอักษรมากนอยแตกตางกันไป แตสําหรับรหัสอักษรทั้ง ๔ อักษรมีทางสูง ๔ ดวง และกวาง ๓ ดวง ระยะหางระหวางดวงไฟแตละดวงของแสงอักษร หางกัน ๕ เมตร (ดวงไฟที่ทําเปนสดีําเปนแสงหลักของแสงรหัสอักษร)

Page 10: การส่งกำลังทางอากาศ  ๔  ชม

๗.๗.๔ การชวยการทิ้งของนักบินใหตรงกับแนวรหัสอักษร โดยวางแผนผาสัญญาณหนึ่งผืนหมายสุดไกลกับหวัรหัสอักษรในระยะ ๕๐๐ เมตร หรือหัวสุดสนาม ถาสนามสั้นกวา ๕๐๐ เมตร และเพื่อใหนักบินรูวาจะเริ่มทิ้งของไดเมื่อใดควรกําหนดจุดทางขาง ในแนวเดียวกับรหัสอักษรไปทางซายระยะ ๒๐๐ เมตร หรือของสนามทางกวาง (ถาสนามกวางไมถึง ๒๐๐ เมตร) โดยวางทางแนวยาว ขนานกับ

เสนทางบิน เวลากลางคืน ใชแสงไฟแทนแหงละ ๑ ดวง

รูปการปูแผนผาสัญญาณ รหัสอักษร ของกองทัพอากาศมีมาตรฐานอยางเดยีวทีใ่ชสําหรับทําเครื่องหมาย สงลงสูพื้นสําหรับการสงกําลังเพิ่มเติม คือ อักษรตัวเอล (L) โดยใชแผนผาสัญญาณ ๔ ผืน สําหรับเวลากลางวันและแสงไฟ ๔ ดวง สําหรับกลางคืน สําหรับรหัสอักษรแอล (L) ไมตองมีแผนผาสัญญาณสําหรับจุดไกล และทางเขา ลักษณะการวางแยกกันดังรูป

เครื่องบินจะบนิหางจากแผนผาสัญญาณทางขวา ๕๐ เมตร ของแผนผาสัญญาณและจะปลอยอุปกรณสงทางอากาศลงเมื่อบินตรงแนวแผนผาตัวแอล (L) ตรงนักบนิทางซาย ๘. การรายงานสนามทิ้งของ ๘.๑ หัวขอรายงาน ๘.๑.๑ นามรหัสอักษร (ประมวลลบั) ช่ือของสนามทิ้งของแตละหนวย ซ่ึงจะกําหนดขึน้เองกอนออกปฏิบตัิการ หรือตาม นปส. ที่กาํหนดไว เปนรหัสอักษรวา เปนหนวยลาดตระเวนที่เทาไร หรือกองรอยที่เทาไร ออกปฏิบัติงาน เชน ผส.๓๑ พัน.๑ รหัสอักษร A เปนตน การปูแผนผาสัญญาณคงใชตามที่กลาวมาแลว

Page 11: การส่งกำลังทางอากาศ  ๔  ชม

๑๐

๘.๑.๒ ท่ีตั้ง ที่ตั้งของสนามรับของบอกเปนพกิัด ๖ ตัว ๘.๑.๓ มุมเปด ถาหากสนามไมมีส่ิงกีดขวางมมุเปดก็คงรายงานเปนมุมภาคของทิศ , มุมเปด ๓๖๐ องศา เมื่อมีเครื่องกีดขวาง มุมเปดก็คือ มุมทีว่างระหวางเครื่องกีดขวาง การวัดมุมเปดใหผูวัดยนืกึ่งกลางของสนามหันหนาไปทางทิศที่จะใหเครื่องบินเขาวัดดวยเข็มทศิ โดยวัดจากทางซายมือกอนแลวจึงวัดทางขวา (ดรููป) วัดเปนองศา ทิศทางบินเรียกวา มุมเปดหัวสนาม ทศิทางบินออกเรียกวามุมเปดทายสนาม

รูปมุมเปด - ปด

มุมเปดและทิศทางบินเขา ๘.๑.๔ ทิศทางบินเขา ทิศทางที่ใหเครื่องบินเขาสนามทิ้งของตรงแกนกึ่งกลางสนามการหาทิศทางบินเขา ผูวัดยืนตรงจดุกึ่งกลางสนามวัดไปยังทิศทางที่จะใหเครื่องบินเขาไดกี่องศาแลวทํามุมภาคกลับมุมที่ไดเปนมมุที่เครื่องบินบินเขา (ดูรูปมุมเปด) ๘.๑.๕ สิ่งกีดขวาง ส่ิงกีดขวางที่สรางขึ้นหรือตามธรรมชาติ ที่สูงเกิน ๙๐ เมตรจากสนาม ทิ้งของในรัศมี ๘ กม. ใหรายงานอยูในหัวขอส่ิงกีดขวาง เปนพิกัดโบลา โดยบอกลักษณะสิ่งกีดขวางเปนอะไร สูงเทาใด หางจากสนามตรงจุดศูนยกลาง วัดเปน กม. และมุมภาคของทิศเทาใด (ดูรูป)

Page 12: การส่งกำลังทางอากาศ  ๔  ชม

๑๑

รายงานสิ่งกีดขวางและจุดตรวจสอบการตดิตอส่ือ (จสส.)

๘.๑.๖ จุดสอบการติดตอส่ือสาร (จสส.) เปนจุดที่สามารถสังเกตเห็นไดจากทางอากาศหรอือาจทําเครื่องหมายไวบนพื้นดิน ถาสถานการณจําเปน จดุสอบการติดตอส่ือสารนี้ จะเปนจุดที่ จนท.สนาม ทิ้งของกับ บ. ที่มาทิ้งของ เปดการติดตอกับทางพื้นดินและอากาศ และจะบินวนเพื่อรอใหบนิเขาสูสนาม การรายงานจดุตรวจสอบนี้ ใหรายงานเปนพิกัดโบลา เชนเดียวกับการรายงานสิ่งกีดขวาง ผูวดัยืนกึ่งกลางสนามถาสามารถทําไดหรือวดัจากแผนที่ทีก่ําหนดไว ๘.๑.๗ วนัเวลาท่ีตองการใหท้ิงของ ใชรหัสที่กําหนดไว โดยใชเลข ๖ ตวั เชน วนัที่ ๑๐ ก.ย. ๔๘ เวลา ๑๒๐๐ การรายงานใช ๑๐๑๒๐๐ ก.ย. ๔๘ ๘.๑.๘ สิง่ของทีต่องการ จํานวนของที่ตองการใหสงเชน กระสุน , อาวุธ , อาหาร , เครื่องนุงหม การรายงานใหมีการทิ้งของและรายงานนี้ควรจะเขารหัสที่ตกลงกันไว ๘.๒ ส่ิงที่ควรรายงานเพิ่มเตมิ ๘.๒.๑ สนามทิ้งของสํารอง คงรายงานเชนเดยีวกับการรายงานสนามทิ้งของหลัก ๘.๒.๒ จุดเริ่มตน เปนจุดแรกที่นกับินจะบินเริม่ตนหลังจากขึ้นจากสนามแลวหรือใหนกับินใชเปนจดุตรวจสอบวานักบนิไดถูกทาง คงรายงานเชนเดียวกับ จุดสอบ (จสส.) จุดเริ่มตนนีอ้ยูไกลกวา จุดสอบการจุดตอส่ือสาร

Page 13: การส่งกำลังทางอากาศ  ๔  ชม

๑๒

๙. การจัดกําลังรับของทางอากาศ การปฏิบัติการรับของทางอากาศเปนไปดวยความเรยีบรอย เพราะการรักษาความปลอดภยั เปนสิ่งสําคัญยิ่ง เพราะจะถูกขาศึกขัดขวางได ดังนั้นควรจะมีการฝกใหหนวยทหารทุกหนวยสามารถปฏิบัติหนาที่ได ๙.๑ การจัดกําลัง แบงออกเปน ๕ สวน คือ ๙.๑.๑ สวนบังคับบัญชา ประกอบดวยผูบังคับบัญชาที่จะควบคุมสวนตางๆ ดําเนินการใหการรับของไดสมความมุงหมาย และเปนสวนที่จะติดตอกับเครื่องบินที่จะมาทิ้งอุปกรณให ๙.๑.๒ สวนระวังปองกนั ประกอบดวยสวนกําลังของหนวยเปนสวนใหญ เพื่อปองกันการขัดขวางของขาศึก ๙.๑.๓ สวนทําสนาม สวนนี้มหีนาที่ทาํเครื่องหมายสนาม และคํานวณหาขนาดสนามและการปูเครื่องหมายสนามตามที่ตกลงกันไว ๙.๑.๔ สวนเก็บของ มีหนาที่รวบรวมของที่ทิ้งลงมาไปยังตําบลรวบรวมของ ๙.๑.๕ สวนขนของ มีหนาที่นําของจากสนามทิ้งของ ไปยังที่ตั้งตาํบลซอนยุทโธปกรณ ๑๐. การปฏิบตักิารรับของสงทางอากาศ ๑๐.๑ หนวยไดรับภารกจิใหรับของสงทางอากาศ หนวยที่จะไปรับของนั้นจะตองออกคําส่ังการปฏิบัติ ซ่ึงถาเปนหนวยลาดตระเวนและมีภารกิจอยูแลว ก็อาจจะออกเปนผนวกของคําส่ังลาดตระเวนได สําหรับการสั่งการนั้นก็อาศยัคําส่ังยุทธการ ๕ ขอ เปนหลัก แตในขอ ๓ การปฏิบตัินั้นอาจแตกตางกันไปดังตัวอยาง ๑๐.๑.๑ ผนวกรับของทางอากาศประกอบคําส่ังยุทธการ ๑) สถานการณ (ที่เกี่ยวของกับภารกิจรับของทางอากาศ) ก. สถานการณขาศึก ๑. ลักษณะอากาศ ๒. กําลังขาศึก ข. สถานการณฝายเรา ๑. หนวยสนบัสนุนการรบ ๒. ที่ตั้ง และเสนหลักการเคลื่อนยายของกาํลังฝายเรา ๒) ภารกจิ (รับของสงทางอากาศ) ๓) การปฏิบัติ ก. แนวความคิดในการปฏิบัติ ข. หนาที่ของแตละสวน ๑. สวนบังคบับัญชา ๒. สวนระวงัปองกัน ๓. สวนทําสนาม

Page 14: การส่งกำลังทางอากาศ  ๔  ชม

๑๓

๔. สวนขนของและอื่นๆ ค. หนาที่ของชุด ง. หนาที่ของแตละบุคคล

จ. คําแนะนําการประสานการปฏิบัติ ๑. จุดสอบการติดตอส่ือสาร (จสส.) ก. ที่ตั้ง ข. การทําเครื่องหมาย ค. เวลารายงาน ๒. เสนทางจาก จสส. ๓. สนามรับของ ก. ที่ตั้ง (๑) สนามหลัก (๒) สนามรอง ข. เครื่องหมายสนาม (๑) ระยะใกล (๒) ระยะไกล ค. ความสูงที่ตองการทิ้งของ ๔. รูปขบวนทิ้งของ ๕. วันที/่เวลา รับของสงทางอากาศ (และเวลาทิ้งสํารอง) ๖. การปฏิบัติเมื่อปะทะกับขาศึกระหวางรับของสงทางอากาศ ๗. การซักซอม ๘. การปฏิบัติ ณ สนามรบัของ ๔) ธุรการและสงกําลัง (จํานวนและแบบของหีบหอที่จะสงทางอากาศ) ๕) การบังคับบัญชาและการติดตอส่ือสาร ก. การติดตอส่ือสาร ๑. การเรียกขานระหวางอากาศ – พื้นดนิและขนาดคลืน่ ๒. ระเบียบปฏิบัติการติดตอส่ือสารในการทิ้งของทางอากาศ ๓. ทัศนสัญญาณระยะไกล ๔. ทัศนสัญญาณระยะใกล ๕. รหัสฉุกเฉินอากาศ – พื้นดิน ๖. รหัสอักษร ณ สนามรบัของ ข. การบังคับบัญชา ๑. ที่อยูของผูบังคับหนวย

Page 15: การส่งกำลังทางอากาศ  ๔  ชม

๑๔

๒. ที่อยูของรอง ผบ.หนวย ๓. ที่อยูของบุคคลที่ไมเกี่ยวของในการรับของครั้งนี้ ๑๐.๒ ผบ.หนวยพืน้ดินจะควบคุมการสงกาํลังโดยกําหนด ๑๐.๒.๑ การนําสูสนาม (จาก จสส. – สนาม) ๑๐.๒.๒ สถานการณขาศึก ๑๐.๒.๓ รูปขบวนทิง้ของ (ถามากกวาหนึ่งเครื่อง) ๑๐.๒.๔ ความเรว็ในการทิ้งของ ๑๐.๒.๕ ระยะสูงทิ้งของ ๑๐.๒.๖ ระดับการบนิ ๑๐.๒.๗ ระดับความสูงในการทิ้งของที่ตองการใหลดลง ๑๐.๒.๘ การเลี้ยวขวา – ซาย ๑๐.๒.๙ ถูกตอง ๑๐.๒.๑๐ การใหรอ ๑๐.๒.๑๑ ใหเร่ิมปฏิบัติหรือใหเลิกทิ้งของ ๑๐.๓ เมื่อออกคําส่ังและซักซอมแลว นํากําลังเคลื่อนยายไปยังพื้นที่กาํหนด หยดุหนวยจัดการระวังปองกนัออกไปลาดตระเวนตรวจพืน้ที ่ ถึงความปลอดภัย และวางแผนการวางกําลังรับของโดยนํา ผบ. สวนตาง ๆ ไปดวย เมื่อส่ังการอีกครั้ง โดยอาจแกแผนตามคําส่ังและใหดาํเนินการภารกจิของแตละสวน โดยสวนระวังปองกนัดําเนนิการวางกําลังปองกัน เปนการวางแบบ ๒ ช้ัน คือ พวกระวังปองกนัภายนอกและระวังปองกันภายใน สวนทําสนามคํานวณการวางเครื่องหมายสนามและวางเครื่องหมายตามที่ตกลงในคําส่ังกอน บ. มาถึง ๕ วนิาที และเกบ็แผนผาสัญญาณ เมื่อ บ.ทิ้งเสร็จหรือหลังเวลาที่ บ. มาทิ้ง ๕ วนิาที สวนเกบ็ของ และรมวางกําลังใกลบริเวณของจะตกตามที่คํานวณไวของสวนทําสนาม สวนบังคับบญัชาคอยควบคุมการปฏิบัติ และกําหนดที่รวมพลหรือจุดรวบรวมของซึ่งอาจเปนที่เดียวกัน เพื่อใหสวนเกบ็ของนําไปรวม ณ จดุรวบรวมของนี้เพือ่นําไปพรอมกัน เมื่อทุกหนวยรับของแลวก็จะถอนตัวมารวม ณ ที่รวมพลนี้ สํารวจคนในหนวยเรียบรอยแลว จึงเคลือ่นที่ออกจากพื้นที่รับของทันที แตตองไมลืมการกลบเกลื่อนรองรอยเสียกอน ๑๑. การเก็บรมและหีบหอ ๑๑.๑ การเก็บรมมีวิธีการเกบ็ ๒ วิธี คือ ๑๑.๑.๑ การเก็บโดยวธีิจับจอยรม แลวควงมือไปทางซายหรือทางขวารม จะมวนตวัไปตามทิศทางที่หมุน กอนควงมือตองดึงใหรมตึงเสียกอน เมื่อรมมวนตัวดีแลวกใ็ชแขนทั้งสองสอดสลับไปมา เพื่อใหรมพับทาบแขนไปจนสุด และเก็บใสถุง ๑๑.๑.๒ การเก็บโดยวธีิการพับแบบหีบเพลง ใชแขนทั้งสองสาวรมดวยวางพับกองแบบหีบเพลงและนํารมเขาถุง

Page 16: การส่งกำลังทางอากาศ  ๔  ชม

๑๕

๑๑.๒ การเก็บหีบหอ ๑๑.๒.๑ ปลดรมออกกอน กอนทีจ่ะนําหีบหอไป วิธีนี้ปลอดภยัไมมีขาศึก ๑๑.๒.๒ นําหีบหอและรมไปดวยกนั ถามีขาศึกขัดขวางไมตองปลดรม จากหีบหอนําไปปลดที่รวมพล ๑๒. การรับของสงทางอากาศโดยใหเคร่ืองบินลงสูพืน้ ๑๒.๑ การใหเครื่องบินลงสูพื้นดิน เครื่องบินมี ๒ แบบ คือ ๑๒.๑.๑ เครื่องบินปกติดลําตัว (บ.) ๑๒.๑.๒ เครื่องบินปกหมุน (ฮ.) ๑๒.๒ คุณลักษณะของเครื่องบินติดลําตัว C – 1 U – 6A U – 1A ความเร็ว (นอต) 87 105 105 นน.บรรทุกที่ใชได (ปอนด) 500 1,000 2,200 บรรทุกทหารพรอมอาวุธยุทโธปกรณ 1 5 10 บรรทุกเปลพยาบาล 0 2 6 พลรม 0 4 5 ระยะบนิขึ้นรวมทั้งระยะ ปลอดภัย ๕๐ ฟุต ไมมีส่ิงกดีขวาง (ฟุต) 680 1,000 1,650 ระยะทางบนิลงรวมทั้งระยะปลอดภัย ๕๐ ฟุต ไมมีส่ิงกีดขวาง (ฟุต) 660 1,050 1,200 ระยะเวลาบินปฏิบัติการ (ช่ัวโมง,นาท)ี 4.00 4.00 6.30 ปริมาตรบรรทุก กวาง X ยาว X สูง (นิ้ว) -48 x 51 x 76 60 x 52 x 156 ขนาดประตู (ก x ส) (นิ้ว) -30 x 40 45 x 46 ๑๒.๒.๑ บ.0 – 1 (BIRDDOG) เปน บ. ทําดวยโลหะปกอยูสูงกวาลําตัว ลอฐานพับไมได ที่ค้ํายันปกสามารถบรรทุกของหรือหีบหอทิ้งรมไดขางละ ๒๕๐ ปอนด ใชสําหรบัตรวจการณ ๑๒.๒.๒ U 6 A (BEAVER) เปน บ. ทําดวยโลหะ ปกอยูสูงกวาลําตวั ลอฐานพับไมได ที่ค้ํายันมีที่บรรทุกของปลดได ๔ อันๆ ละ ๒๕๐ ปอนด (แตละอันสามารถบรรทุกหีบหอทิ้งรม) หนาที่หลักบรรทุกคนและสิ่งอุปกรณและสงกลบัสายแพทย ๑๒.๒.๓ U – 1 A (OTTER) เครื่องยนตเดีย่ว ปกเดี่ยวบนลําตัว ลอฐานพับไมได ใชในการลําเลียงขนสงขนาดเบา , การสงกําลังทางอากาศ , การสงกลับสายแพทย และการติดตอ ๑๒.๓ เครื่องบินปกหมนุ (ฮ)

Page 17: การส่งกำลังทางอากาศ  ๔  ชม

๑๖

ก. ฮ. ใชงานทั่วไป CH – 13H / CH – 23 OH – 6 UH - H ความเร็วปฏิบตัิการ (นอต) 70 100 100 บรรทุกทหารพรอมยุทโธปกรณ 1 3 8 บรรทุกเปลพยาบาล 2 0 6 พลรม 0 3 8 บรรทุกภายนอกดวยลวด (ปอนด) 0 0 400 ระยะเวลาบินปฏิบัติการ (ชม./นาท)ี 1.45 2.25 2.15 น้ําหนกับรรทุกไดทั้งส้ิน (ปอนด) 735 1,620 4,900 ปริมาตรการบรรทุก (ก x ย x ส) (นิ้ว) - 50 x 47 x 20 96 x 92 x 52 ขนาดของประตู (ส x ก) (นิว้) - 40 x 24 49 x 92 ๑. ฮ. OH -13H (SIOUX) และ ฮ.OH – 23 (RAVEN) เปน ฮ. นั่งได ๒ คนใชสําหรับการตรวจการณ , การลาดตระเวน , การสงกลับทางการแพทย , ภารกิจในการทั่วไป , โดยปกติบรรทกุผูโดยสารไดคนเดยีวนั่งคูนักบิน ถาใชสงกลับทางการแพทย จะตองติดเปล (๒เปล) เขากับฐานเลื่อนของ ฮ. นอกจากนี้อาจบรรทุกของเล็กๆ หรือใชในการวางสายสนาม ขามตําบลที่ยากลําบาก ๒. ฮ. UH – 1 เปน ฮ. ใชงานทั่วไปแบบมาตรฐานอักษร B และ C ตอทายใชสําหรับติดอาวุธยิงสนับสนุนทางอากาศอักษร D และ H ใชสําหรบับรรทุกหรือลําเลียงทางยุทธวิธี ข. ฮ. บรรทุก (ลําเลียง) ความเร็วปฏิบตัิการ (นอต) 110 110 110 บรรทุกทหารยุทโธปกรณพรอม 33 33 - บรรทุกเปลพยาบาล 24 24 - บรรทุกรม 28 28 - บรรทุกภายนอกดวยลวดสปริง (ปอนด) 16,000 16,000 20,760 ระยะเวลาบินปฏิบัติการ (ชม. ,นาที) 2.40 - 1.45 ปริมาตรบรรทุก (ก x ย x ส) (นื้ว) 90 x 366 x 78 90 x 366 x 78 - ขนาดประตู (ก x ส) (นิ้ว) 90 x 90 78 x 78 - น้ําหนกับรรทุกเต็มที่ (ปอนด) ภายใน 15,500 15,500 20,760 ๑. ฮ. CH – 47B (CHINOOK) มี ๒ ใบพัด เปน ฮ. บรรทุกขนาดกลางมีลอลงพื้น ๔ ลอ ปกติมีพนกังานและนกับิน ๓ นาย กวานสําหรับยกของบรรทุกสามารถยกได ๓,๐๐๐ ปอนด การกูภัยทางอากาศใชกวานตดิกับพืน้ ฮ. สามารถยกได ๖๐๐ ปอนด ลาดเปดทายสามารถบรรทุกไดเมือ่บินในแนวระดับลักษณะลําตัว ฮ. ปดสนิทสามารถลอยน้ําไดเมื่อลงน้ําฉุกเฉิน

Page 18: การส่งกำลังทางอากาศ  ๔  ชม

๑๗

๒. ฮ.CH – 54 (FLYINGCRANE) เครื่องยนต ๒ เครื่อง มี ๑ ใบพัด สําหรับเปน ฮ. ยกของหนักมพีนักงานและนักบิน ๓ นาย มีหองพยาบาลสําหรับประกอบเขากับลําตัว ฮ. ได อาจเปนศูนยปฏิบัติการหรือลําเลียงทหารก็ได ค. ฮ. โจมต ี (HUEY COBRAA – IG) ฮ.โจมตีมีความเร็วปฏิบัติการ ๑๒๐ นอต ออกแบบสําหรับสนับสนุนใกลชิดทางพื้นดินโดยตรง มีอาวุธประกอบดวยจรวดขนาด ๒.๗๕ นิ้ว ปนกลอากาศประบอกรวม ๗.๖๒ มม. และเครื่องยิงลูกระเบิดขนาด ๔๐ มม. ๑๒.๔ การทําทางวิ่งสําหรับเครื่องบินปกตดิลําตัว การพิจารณาสําหรับพื้นที่จะตองทาํทางวิ่ง ๑๒.๔.๑ ลาดผิวพื้นไมเกิน ๒ เปอรเซ็นต ๑๒.๔.๒ พื้นตองแข็งและลึกลงอีก ๒ ฟุต ตองแข็งเชนกนั ๑๒.๔.๓ ไมมีส่ิงกีดขวาง , หลุมบอในสนาม ๑๒.๔.๔ ขนาดกวาง ๕๐ ฟุต ยาว ๑,๒๐๐ ฟุต สําหรับ บ.ขนาดเบา และ บ. ขนาดกลางกวาง ๕๐ ฟุต ยาว ๓,๐๐๐ ฟุต ๑๒.๔.๕ สําหรับสิ่งกีดขวางสําหรับ - บ. ขนาดเบา ส่ิงกีดขวาง สูง ๕๐ ฟุต (๑๕ เมตร) จะตองไมมีในระยะ ๑,๐๐๐ ฟุต และสิ่งกดีขวางสูง ๕๐๐ ฟุต (๑๕๒ เมตร) ตองไมมีในระยะ ๒ ไมล จากหัวสนาม - บ. ขนาดกลาง ส่ิงกีดขวางสูง ๕๐ ฟุต (๑๕ เมตร) ตองไมมีในระยะ ๒,๐๐๐ ฟุต ส่ิงกีดขวางสูง ๕๐๐ ฟุต (๑๕๒ เมตร) ตองไมมีในระยะ ๔ ไมล ส่ิงกีดขวางสูง ๑๐๐ ฟุต (๓๐๕ เมตร) ตองไมมีในระยะ ๘ ไมล ๑๒.๔.๖ สําหรับหัวสนามตองเพิ่มความปลอดภัยขางละ ๑๐ % และขอบทางวิ่งอีกขางละ ๕ % แผนผังสนามลงสูพื้นของ บ.เบา

๑๒.๕ การทําสนามลงสูพืน้ของเครื่องปกหมุน (ฮ.) ขอพิจารณาการเลือกสนาม ฮ. ๑) สถานการณทางยทุธวิธี ตองสามารถใหการระวังปองกนัได , ปราศจากขาศึกขัดขวาง , ใกลฐานลาดตระเวนและอยูบนเสนทางที่จะลาดตระเวนตอไป

Page 19: การส่งกำลังทางอากาศ  ๔  ชม

๑๘

๒) ขนาดของสนาม ตองขึ้นกับจํานวนและแบบบินของ ฮ. ขนาดของสนามยอมขึ้นอยูกับรูปขบวนที่จะลงสูพื้นดวย ระยะระหวาง ฮ. แตละตวัแบบใชงานทั่วไป ๕๐ เมตร ในเมื่อใชรูปขบวนหนากระดานหรือรูปขบวนขั้นบันใด และระยะหางแตละตัวของ ฮ. ๗๐ เมตร เมื่อลงดวยรูปขบวนแถวตอน สวน ฮ.ที่ใชบรรทุกควรหางกันระหวาง ๗๕ เมตร ในรูปขบวนหนากระดาน และรูปขบวนขั้นบันไดและ ๑๐๐ เมตร ในรูปขบวนแถวตอนพื้นที่วางตัวแตละลํามีขนาดเสนผาศูนยกลาง ๕๐ เมตร พื้นโดยรอบของสนาม ฮ. กวางออกไปขางละ ๒๐ เมตร สนาม ฮ. แตละตัวตองการพื้นที่เสนผาศูนยกลาง เสนผาศูนยกลาง ๙๐ เมตร เปนดีที่สุด

๓) ลักษณะผิวพืน้ ควรปราศจากกอนหินเล็ก (ที่หลุดได) ทอนไมหรือฝุนหนา CH – 47 สามารถลงน้ําไดลึก ๑๘ นิว้ แตพื้นดินใตน้ําจะตองแข็งพอจะรับน้ําหนักได ๔) ลักษณะลาดชัน ลาดชันสูงสุดที่ ฮ. สามารถลงได คือ ๑๕% ถามีลาดชันระหวาง ๗% และ ๑๕% ฮ. จะจอดทางขางของลาดชันนัน้ ๕) เสนทางเขาและออก - ฮ. แตละเครื่องตองการทางกวางอยางนอย ๗๕ เมตร - โดยปกติ ฮ. จะใชเสนทางขึ้นในอัตรา ๑๐ : ๑ จะตองถากถางสิ่งกีดขวางทีสู่งตามอัตราสวนนี้ออก เพื่อทางบนิลงและบินขึน้ของ ฮ. ๖) ลม ฮ. จะขึน้หรือบินลงสวนทิศทางลม เวนแตมีความจําเปน ความเร็วลมสูงสุด ๑๐ นอต ฮ. สามารถบินขึ้นโดยสวนทางลมได ถาบินขึน้ตามลมความเร็วไมเกนิ ๕ นอต ๗) ส่ิงกีดขวาง ตองเอาสิ่งกีดขวางออกถาทําได และทําเครื่องหมายแสดงเห็นถาเอาออกไมได ๑๒.๕.๑ การทําเครื่องหมายสนามสําหรับ ฮ. ๑) เวลากลางวัน – ใชระเบิดควนัสี และหรอืแผนสัญญาณจุดที่เปนอันตรายใชแผนผาสัญญาณหมายไวไห ฮ. เห็น ใชเจาหนาที่ใหสัญญาณ ฮ. ลงตามจุดที่กําหนด (ถาใชแผนผาสัญญาณจะตองปูแผนผาใหหางจากจุด ฮ. ลงตั้งแต ๕๐ เมตรขึ้นไป)

Page 20: การส่งกำลังทางอากาศ  ๔  ชม

๑๙

๒) เวลากลางคืน กําหนดตัวอักษร “T” โดยใชไฟสัญญาณ ๕ ดวงระยะหางระหวางไฟสญัญาณดังนี้ ไฟสัญญาณที่ขาตัว T หางกนั ๘ เมตร ไฟสัญญาณที่แขน “T” หางกัน ๕ เมตร

ถา ฮ. มากกวาหนึ่งเครื่องใหใชไฟสัญญาณแหงละหนึ่งดวง สําหรับ ฮ. ใชงานทัว่ไปตามระยะที่กําหนดไว สวน ฮ. แบบบรรทุกใชไฟสัญญาณแหงละ ๒ ดวง วางหางกัน ๑๐ เมตร ๑๒.๕.๒ สําหรับการปฏิบัติของการรบพิเศษ ในการทําเรื่องหมายสนามนัน้ใชดังนี ้ ๑) เวลากลางวัน ใชแผนผาสัญญาณเปนรูปตวั Y ใชแผนผาสัญญาณ ๔ ผืน วางหางกันผืนละ ๒๕ เมตร ตัว Y วางทวนลมทิศทางเขาของ ฮ. แผนผาสัญญาณหมายเลขจะเปนรหัสอักษรตามที่ตกลงกันไว และตองมีควันโดยใช ลข. ดวยเพื่อหาทีต่ั้งไดงายเขา ๒) เวลากลางคืน ใชแสงสัญญาณเปนรูปตวั Y ใชไฟสัญญาณ ๔ ดวงวางหางกันดวงละ ๕๐ เมตร ไฟดวงที่ ๒ เปนแสงรหัสอักษรตามที่ตกลงกันไว

Page 21: การส่งกำลังทางอากาศ  ๔  ชม

๒๐

๑๒.๕.๓ ระเบียบการติดตอส่ือสารระหวาง ฮ. กับสนาม ๑) มุมภาคทิศที่บินเขา ๒) สถานการณขาศกึ ๓) ลม (ทิศทาง) และความเร็วนอต ๔) ลักษณะสนาม ๕) ทิศทางลงสูพื้น ๖) ความสูงของสนาม (จากแผนที)่ ๗) การระวังปองกัน

Page 22: การส่งกำลังทางอากาศ  ๔  ชม

๒๑

๑๒.๕.๔ รูปขบวนบนิของ ฮ.

๑๒.๕.๕ สัญญาณมือและแขนมาตรฐาน ในเวลากลางคืนใหใชไฟสัญญาณแทนมือ และแขน (การใชไฟฉายตองระวังแสงไฟจะไปกระทบสายตานักบนิได) ไฟสัญญาณจะตองไมกระพริบหรือ ดับ ๆ ติด ๆ จะตองสวางตลอดเวลา ๑๒.๕.๖ สัญญาณ ๑๒.๕.๖.๑ จุดที่ใหสัญญาณจะตองอยูขางหนาทางขวา ของ ฮ. หรือจุดที่แลเห็นนักบินไดสะดวกอยาอยูตรงหนา ฮ. ติดอาวุธเปนอันขาดอาจเกิดอุบัติเหตุได

Page 23: การส่งกำลังทางอากาศ  ๔  ชม

๒๒

๑๒.๕.๖.๑ รับผดิชอบในการนําอากาศยาน ชูแขนเหนือศรีษะทั้ง ๒ ขาง หันฝามือเขาหากัน ๑๒.๕.๖.๓ ใหปฏิบัติตามผูใหสัญญาณคนตอไป

แขนขวา ( ซาย ) ลงยกแขนที่จะใหสัญญาณผานลําตัวฝามือช้ีตรงไปยังคนใหสัญญาณตอไป ๑๒.๕.๖.๔ ใหลอยลําอยูกับท่ี (HOVER)

กางแขนเสมอไหลฝามือคว่ําลงดิน การใหสัญญาณนี้ควรจะใหเมื่อ ฮ. หางจากพืน้ดินประมาณ ๕ ฟุต กอนที่จะลงจดุที่ตองการและ ฮ. ลดความเร็วลงแลว ๑๒.๕.๖.๕ เคล่ือนท่ีตอไป ยกแขนทอนลางขึ้น งอขอศอก หันฝามือเขาหาตัว แลวดึงฝามือขามไหล ( กระทําซํ้า ๆ )

Page 24: การส่งกำลังทางอากาศ  ๔  ชม

๒๓

๑๒.๕.๖.๖ เคล่ือนท่ีกลับ

แขนอยูแนบลาํตัว หงายฝามือไปขางหนายกแขนขึ้นสูงเสมอไหล แขนตรงไมงอขอศอกทําซํ้าๆ กัน ๑๒.๕.๖.๗ ยกขึ้น กางแขนเสมอไหลหงายฝามอื แลวยกแขนทั้งสองขึ้นเหนือศีรษะใหฝามือเขากระทบกัน ๑๒.๕.๖.๘ ลดลงทําอยางเดยีวกัน แตคว่ําฝามือ แขนเหยียดตึงเสมอไหล แลวลดลงขางลําตัว จนฝามือสัมผัสกับขากางเกง ๑๒.๕.๖.๙ เคล่ือนท่ีไปทางซาย (ขวา) แขนขวา (ซาย) เหยยีดตรงเสมอไหล หนัฝามือไปขางหนาแทนซาย (ขวา) เหลียวผานลําตัวทําหลาย ๆ คร้ัง (ตามความเร็วที่ตองการ)

Page 25: การส่งกำลังทางอากาศ  ๔  ชม

๒๔

๑๒.๕.๖.๑๐ หมุนอยูกับท่ี (SPOT TURN)

แขนซาย (ขวา) ยกขึ้นยกลงจากแนวไหลหงายฝามืออีกมือหนึ่งชี้ไปยงัจุดที่ตองการใหหมนุคนใหสัญญาณจะตองอยูในที่ๆ นกับินจะแลเหน็ทั้งตัว ๑๒.๕.๖.๑๑ การลงสูพื้น ( จอด )

แขนทั้งสองประสานกันขางหนาลําตัว ๑๒.๕.๖.๑๒ หยุด

ยกแขนเหนือศีรษะแลวเคลื่อนเขาประสานกันบนศีรษะ ฝามือหันออกไปขางหนา กระทําหลาย ๆ คร้ัง (บางทีก็หมายถึงใหบินไปรอบๆ ก็ได)

Page 26: การส่งกำลังทางอากาศ  ๔  ชม

๒๕

๑๒.๕.๖.๑๓ บินขึน้ได

ใชแขนขวาหมุนเปนวงกลมเหนือศีรษะ และฟาดแขนไปขางหนาเสมอไหล ในทศิทางที่ตองการใหบินขึ้น ๑๒.๕.๖.๑๔ เก่ียวสลงิเรียบรอยแลว

กํามือทั้ง ๒ ขาง เหนือศีรษะ เมื่อเกีย่วขอเสร็จแลวใชกํามือทั้ง ๒ ขาง กระแทกกัน ๑๒.๕.๖.๑๕ปลดสลิงเลิกบรรทุก

ช้ีแขนซายขึ้นไปยังสลิง หมุนแขนขวาแคขอศอกฝามือคํ่าทําหลายๆ คร้ังแสดงวาปลดสลิงเรียบรอยแลว

Page 27: การส่งกำลังทางอากาศ  ๔  ชม

๒๖

๑๒.๕.๖.๑๖ การใหสญัญาณเครื่องบิน จุดที่ใหสัญญาณ อยูขางหนาทางซายของปลายปก

๑๒.๕.๖.๑๗ หมุนซาย (ขวา) ช้ีแขนขวาลงไปตรงลอซายของเครื่องบิน แขนซายยกขึน้ งอศอก หันฝามือเขาหาตัวเคลื่อนมือเขาหาตัวผานไปขางหลัง ๑๓. รายงานตรวจสอบการบรรทุก ฮ. ๑๓.๑ กอนการบรรทุก (ก) ส่ิงของติดตัวรัดแนนและตรวจสอบ (ข) เสาอากาศสั้นอยูในทีพ่ับลงและรัดแนน (ค) บุคคลที่บรรทุกควรจะแยกกนัทางยุทธวิธี (ง) ตรวจสอบยุทโธปกรณไปใหพรอม (จ) ประสานการบรรทุกกับพนักงานหรือนักบิน (ฉ) ตรวจการติดตอส่ือสาร ๑๓.๒ การบรรทุก (ก) บรรทุกผูโดยสารพรอมกนัทั้ง ๒ ประตู จัดระยะใหพอเหมาะ (ข) บรรทุกเปนชุดครึ่งหนึ่ง ระวังปองกนัคร่ึงหนึ่งเขาทีบ่รรทุก ผบ.หมูคอย ใหสัญญาณ (ค) ผบ.หมู เปนคนขึ้นคนสดุทายโดยปกตจิะนั่งขางหลังนักบิน (ง) ไมมีส่ิงกีดขวางประต ู (จ) ไมติดดาบปลายปน (ฉ) อาวุธหามไก (ป.เอ็ม ๗๙ หามบรรจ)ุ ๑๓.๓ การลงสูพื้น (ก) การลงจะตองไดรับคําส่ังจาก หน.บรรทุก หรือนักบินคนที่ขึ้นหลังลงกอน (ข) การลงตองทําโดยรวดเร็ว (ค) ตรวจสอบยุทโธปกรณวาลงครบหรือไม

Page 28: การส่งกำลังทางอากาศ  ๔  ชม

๒๗

๑๔. สัญญาณติดตอกับพื้นดนิ ๑) ตองการแพทย มีผูบาดเจบ็สาหัส I ๒)ตองการอุปกรณการแพทย II ๓) ไมสามารถดําเนินการตอไปได X ๔) ตองการอาหารและน้ํา F

๕) ตองการอาวุธและกระสุน ๖) ตองการแผนที่และเข็มทศิ ๗) ตองการไฟสัญญาณพรอมวิทยแุบตเตอรี่

๘) ช้ีทิศทางจะเคลื่อนที่ตอไป K ๙) กําลังเคลื่อนที่ไปทางนี ้ �

๑๐)พยายามจะบินขึ้น ๑๑)อากาศยานเสียหายหมด ๑๒)อาจจะปลอดภัยถาบินลงที่นี่

๑๓)ตองการน้ํามันเชื้อเพลิงและน้ํามันเครื่อง L ๑๔)ทุกอยางเรยีบรอย LL ๑๕)ไมใช (ปฏิเสธ) N ๑๖)ใช ( ตอบรับ ) Y

๑๗)ไมเขาใจ ๑๘) ตองการชาง W หมายเหต ุระยะหางระหวางแผนผา ๑๐ ฟตุ หรือตามระยะเทาท่ีจะทําได