68
ภาคใตตอนลาง ภาคใตตอนลาง จากภูมิภาคใตตอนลาง จำนวน ๒๔ เขตพื้นที่การศึกษา รวบรวม ๑๖ บทความ ปที่ ๑ ฉบับที่ ๒ ประจำเดือน สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ เลมทีวารสารโรงเรียนวิถีพุทธ

เล่ม ๒-๓ ภาคใต้ตอนล่าง ปี ๕๓ สิงหาคม

Embed Size (px)

DESCRIPTION

"รู้ ตื่น และเบิกบาน" เป็นวารสารเกี่ยวกับการพัฒนาการศึกษาไทยตามหลักพุทธศาสนา โดยรู้ดีว่าประสบการณ์ของแต่ละคนมีค่าต่อการเรียนรู้ ต่อยอดได้ จึงได้ชวนผู้สนใจจากทั่วทุกภูมิภาคของประเทศส่งเรื่องราวของพวกเขามารวมไว้ในวารสารฉบับนี้ เพื่อหวังจะพาการศึกษาไทยให้พ้นวิกฤตที่เป็นอยู่ (ผู้สนับสนุนการผลิต สำนักงานการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.)กระทรวงศึกษาธิการ)

Citation preview

Page 1: เล่ม ๒-๓ ภาคใต้ตอนล่าง ปี ๕๓ สิงหาคม

ภาคใตตอนลางภาคใตตอนลางจากภูมิภาคใตตอนลาง จำนวน ๒๔ เขตพื้นที่การศึกษา

รวบรวม ๑๖ บทความ

ปที่ ๑ ฉบับที่ ๒ ประจำเดือน สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๓

เลมที่๒วารสารโรงเรียนวิถีพุทธ

Page 2: เล่ม ๒-๓ ภาคใต้ตอนล่าง ปี ๕๓ สิงหาคม
Page 3: เล่ม ๒-๓ ภาคใต้ตอนล่าง ปี ๕๓ สิงหาคม

เปนพลังแกผูอื่นไดมีไมนอยในแตละชวงจังหวะชีวิต แตยังขาดการสืบคนท่ีครอบคลุม และเผยแพรในวงกวาง หากทำไดผมจึงขอเชิญชวนผูที่มีความสามารถดานงานเขียน และมีโอกาสประสบพบเห็นเรื่องราวดีๆ ไดถายทอดออกมาเปนตัวหนังสือใหปรากฏมากข้ึนๆ ในวารสารโรงเรยีนวถิพีทุธ : รูตืน่และเบิกบาน ฉบับตอๆ ไป ท้ังที่ผลิตภายในสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา และผลิตโดยสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน พลังความดีจะมีกำลังทวีคูณมหาศาล เกิดขึ้นไดบอยๆ คร้ังและสามารถกระตุนจิตสำนึกใหครู นักเรียน และผูอานอื่นๆ รวมกันทำดี นำพาสังคมสูความสงบ สันติ อยางที่ทุกคนปรารถนา

ดร.ชินภัทร ภูมิรัตน เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

จากวารสารโรงเรียนวิถีพุทธ : รูตื่นและเบิกบาน ฉบับที่ ๑ ทำใหผมไดขอมูลชัดเจนข้ึนถึงเรื่องงดงามที่ครู นักเรียนในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานไดลงมือปฏิบัติในพ้ืนท่ี ผานความยากลำบาก แตก็มุงม่ันเสียสละ ไมยอทอตออุปสรรค อีกทั้งพยายามหาหนทางวิธีใหมท่ีจะทำเร่ืองท่ีมุงหวังใหสำเร็จ แมครู นักเรียนเหลานี้ อาจไมใชผูที่เคยไดรางวัล ไมใชผูที่สังคมรูจกั หรอืไมใชผูทีไ่ดรบัการยกยองจากหนวยงานใด แตนั่นแสดงแลววาครู และนักเรียนเจาของเร่ืองเปนครูดี นักเรียนดีอยางแทจริง วารสารโรงเรียนวิถีพุทธ : รูตื่นและเบิกบาน นับเปนการบันทึกคุณความดีที่เปนรูปธรรมอีกวิธีหนึ่ง ท่ีจะปรากฏหลักฐานใหคนรุนหลังไดเรียนรู อยางไรกด็ ี ผมยงัเชือ่อกีวาคร ู และนกัเรยีนในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานที่ประกอบคุณงามความดี เปนตัวอยาง

จดหมายจากผูบริหาร

Page 4: เล่ม ๒-๓ ภาคใต้ตอนล่าง ปี ๕๓ สิงหาคม

แนวทาง

ทั้งระบบ การบริหารจัดการโรงเรียนวิถีพุทธ

อรทัย มูลคำ ผูอำนวยการสำนักพัฒนานวัตกรรมการจดัการศกึษา สพฐ.

เราคุนชินกับคำวา “โรงเรียนวิถีพุทธ” มานานหลายยุคหลายสมัย (หลายรัฐบาล) บางคนต้ังคำถามวา ประเทศไทยเปนเมืองพุทธศาสนา มีโรงเรียนที่ดูแลเด็กในวัยการศึกษาภาคบังคับ ๓๒,๐๐๐ กวาโรงเรียน ตั้งแตขนาดเล็กมากจนถึงขนาดใหญมากกระจายไป ทุกภาคสวนในประเทศ เพื่อใหครอบคลุมการเขาถึงการศกึษาของเด็กทัง้ทีม่สีญัชาติไทยและไมมสีญัชาติไทย ทำไมไมทำใหทุกโรงเรียนเปนโรงเรียนวิถีพุทธใหหมด ถาเปนโรงเรียนที่ตั้งอยูในพื้นที่นับถือศาสนาอื่น ก็เปน “โรงเรียนวิถีธรรม” ก็ได ถาถามวา ทานคิดถึงอะไรเปนสิ่งแรกเมื่อนึกถึงโรงเรียนวิถีพุทธ คำตอบท่ีมักไดรับคือ ภาพเด็กน่ังสมาธิ ภาพครู นักเรียนนุงหมสีขาว ภาพการไหวพระสวดมนตทำนองสรภัญญะ ภาพพระ/ผูนำศาสนาสอนนักเรียน ภาพการแสดงโครงงานนักเรียนที่มีครูควบคุมกำกับ เปนตน จริงๆ แลวถาเรามองมิติใหมในการบริหารจัดการโรงเรียนใหเปนวิถีพุทธท้ังระบบ จะสามารถสรางรูปแบบวิถีพุทธที่ยั่งยืนใหเกิดขึ้นกับโรงเรียนได ไมวา ผูบริหารเกงหรือครูเกงจะยายไปโรงเรียนอื่นแลวก็ตาม ผูมาใหมจะสามารถสานตอได เพราะไดทำการฝงรากลึกลงไปในโรงเรียนทั้งระบบแลว เราจะดำเนินการพัฒนารูปแบบนี้ไดอยางไร (How to) ลองติดตามดูวามีความเปนไปไดมากนอยเพียงใด การบริหารจัดการโรงเรียนวิถีพุทธ (วิถีธรรม) ทั้งระบบ (Whole School Approach) ประกอบดวย การพัฒนาโรงเรียนใหครบทั้ง ๔ ดาน ไดแก ดานการบริหารจัดการ ดานการจัดการเรียนการสอน ดานการ

จัดกิจกรรมสงเสริมการเรียนรู และดานการใหชุมชนมีสวนรวม โดยดำเนินการพัฒนาพรอมๆ กันไป วิธีการที่ทำแลวรับประกันไดวาประสบผลสำเรจ็แนนอน ๑๐๐% “ไมมี” มีแตรับประกันไดวาแนวทางน้ีแหละถานำไปทดลองประยุกตใชใหเหมาะกับสภาพของโรงเรียนทาน นาจะไมผิดหวัง มาดูตั้งแตประเด็นแรก ๑.ดานการบริหารจัดการ ผูรับผิดชอบโดยตรงคือทานผูบริหารโรงเรียนและทีมงานดานบริหาร ตองเริ่มจากการประกาศนโยบายที่ชัดเจนวามีเจตจำนงจะเปนโรงเรียนวิถีพุทธ เหมือนประกาศตนเปนพุทธมามกะนั่นแหละ เม่ือมีนโยบายก็ตองมี วสิยัทศัน พนัธกจิและแผนดำเนินงานของโรงเรียนตามมาอยางเปนรูปธรรม เพ่ือใหทุกคนในโรงเรียนรับรูและตระหนักอยูเสมอวาจะตองสอดแทรกเรื่องของคุณธรรมจริยธรรมเขาไปในทุกกิจกรรม เรียกวาทำทุกวัน ทำทุกคนจนเปนนิสัยทีเดียว นอกจากน้ัน การจัดสภาพบรรยากาศและสภาพแวดลอมเพื่อใหเกิดวิถีชีวิตจริงตองทำควบคูกันไป ไดแก การสรางความรมร่ืนดวยความเขียวของตนไมใบหญา หรือจะเรียกวา ทำโรงเรียนใหเปนสีเขียว (Green School) ไมใชโรงเรียนสีน้ำตาล (Brown School) คือโรงเรียนที่มีแตตึก มีแตซีเมนต พื้นดินไมมีหญา ไมมีรมเงาของธรรมชาติ คำวา “โรงเรียนสีเขียว” ในความหมายทีแ่ทจรงิคือโรงเรยีนที่มุงอนุรักษสิ่งแวดลอมนั่นเอง และนั่นคือที่มาของ “จิตอาสา” ที่นักเรียนพึงมีบมเพาะจนเปนอุปนิสัยเบื้องตน อาสาที่จะคืนผืนดินให

Page 5: เล่ม ๒-๓ ภาคใต้ตอนล่าง ปี ๕๓ สิงหาคม

ครูนักเรียนก็จะอารมณดีแจมใส สมองก็จะรับรูซึมซับวชิาความรูเขาไปไดงาย เพราะจิตเปนกุศล ที่สำคัญคือครูผูสอนตองมีเมตตา ไมอารมณเสียหงุดหงิดใชวาจาทำรายเดก็ ประเด็นสำคัญในดานการบริหารจัดการท่ีถูก ละเลยมองขามไปคือตัวผูบริหารและครูที่ตองทำตัวเปนตนแบบสำคัญในการทำใหโรงเรียนเปนวิถีพุทธอยางครบวงจร เพราะถาผูบริหารไมมีศีลไมมีสัตย ประพฤติปฏิบัติแบบรูทฤษฎีแตไมสรางนิสัยที่ดีใหเด็กไดเห็น กลายเปนโรงเรียนวิถีพุทธแตในนามไมใชแนวปฏิบัติ เชน การตรงตอเวลา การถือศีล ๕ เปนกิจวัตร การบรหิารแบบโปรงใส การใหอภยั การเสยีสละ และอทุศิตน ๒. ดานการจัดการเรียนการสอน ผูรบัผดิชอบโดยตรงคือครูผูสอน คุณครูทุกคนตองรับผิดชอบรวมกันในการสอดแทรกคุณธรรมจริยธรรม

ถาโรงเรียนเปนโรงงานผลิตหลอหลอมเด็กออกไปสูสังคม บมเพาะไวตั้ง ๙-๑๒ ป เพ่ือใหเด็กออกไปมีคุณสมบัติเดนคือ เปนคนเกง คนดี คนมีความสุขในสังคม กระบวนการผลิตคือผูบริหารและครู

ชุมชืน้ คนืธรรมชาตสิูผนืแผนดินแม สิง่เหลานีท้ำไดไมยาก ลงทุนไมสูง อาศัยความรวมมือรวมใจกัน ปลูกตนไมยนืตนคนละตน อาจปลกูวันคลายวนัเกดิของเด็กทกุคน ทีส่ำคญัคอืการเฝาดแูลใหตนไมนัน้ไดเตบิใหญ แขง็แรง แผรมเงาใหแกทุกชีวิตที่เขามาพักพิงอาศัย (เมตตา) ไมจำเปนตองปลูกเฉพาะในโรงเรียนอาจปลูกในบาน ที่สาธารณะของชุมชน ริมหวยหนองคลองบึง ในวัด มัสยิด หรือโบสถคริสตจักร เปนตน เปนวิธีบมเพาะชีวิตใหใกลชิดธรรมชาติ รูจักการให การเสียสละ ฝกความสงบอ่ิมเอิบใจที่ไดทำดี ทำใหเกิดระบบนิเวศ ทีส่ำคญัพลกิฟนคนืความเขียวคนืสูธรรมชาติ (กตัญู) ตอมา ตองพรอมใจกันรักษาความสะอาดของโตะเรียน หองเรียน ตึกเรียน และบริเวณโรงเรียน เปนการฝกกวาดขยะ (กวาดกิเลส) ออกจากซอกมุมของหอง (จิตใจ) กำจัดขยะใหหมดไปเหมือนการกำจัดสิ่งไมดี ความคิดไมดีออกไปจากจิตใจของตน ท่ีอยูท่ีเรียนสะอาด

Page 6: เล่ม ๒-๓ ภาคใต้ตอนล่าง ปี ๕๓ สิงหาคม

ลงในกลุมสาระวิชาท่ีตนสอน มิใชมอบใหเปนภาระหนาท่ีของครูกลุมสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมหรือเปนเรื่องของพระสงฆ/ผูนำศาสนา ครูทานอื่นอาจ มองวาจะสอนศาสนาผานวิชาที่รับผิดชอบไดอยางไร ไมตรงกับเนื้อหาหลักสูตรที่กำหนด ไมอยูในเน้ือหาวิชาตรงไหน แตถามองยอนไปดูจุดหมายปลายทางของหลักสูตรดานคุณลักษณะท่ีพึงประสงคของนักเรียน จะพบถึงสัจธรรมวา ถาโรงเรียนเปนโรงงานผลิตหลอหลอมเด็กออกไปสูสังคม บมเพาะไวตั้ง ๙-๑๒ ป เพื่อใหเด็กออกไปมีคุณสมบัติเดนคือ เปนคนเกง คนดี คนมีความสุขในสังคม กระบวนการผลิตคือผูบริหารและครู และที่ปนมากับมือก็คือครูทุกคนนั่นแหละเปนคนใกลชิดที่สุดในหองเรียน จึงไมอาจปฏิเสธไดวาครูไมเก่ียวของลองมายกตวัอยางวาจะสอดแทรกตรงไหนไดบาง คอมพิวเตอร การไมคัดลอกงานคนอื่นมาเปนของตน (copy file and paste) การไมเขาดูเว็ปไม พึงประสงค การสรางเว็ป E-book เปนตน คณิตศาสตร การตั้งคติธรรมแปลงคาใสลงในเลขโจทย การคำนวณหาพืน้ทีโ่บสถ วหิาร วัด การตรงตอเวลาในการทำงาน ความซ่ือสัตยในการทำงาน ฯลฯ วิทยาศาสตร ดานการอนุรักษสิ่งแวดลอม การประหยัดพลังงาน สาเหตุโลกรอน เปรียบเทียบจักรวาล การศึกษามิติภาพชาติที่ซอนกัน ผีมีจริงหรือไม กลุมพลังงานคือผีหรือเปลา ฯลฯ ดนตรี ศิลปะ การวาด การปน การทอ การแกะสลกั การยอมมัด การรอง การแสดง การเตน ทีน่ำเอาเร่ืองราวทางศาสนาไปประยุกต ไมวาจะเปนคำสอน พุทธประวัติ ชาดก นิทานพื้นบาน เพ่ือใหเกิดอารมณสุนทรียศาสตรที่ซึมซับคุณธรรมเขาไปใหเกิดการรับรู และเกิดการกระตุนความคิดท่ีดีๆ ฝงลงไปในจิตใจ สมารถขยายไปสูผูอ่ืนได ท่ีสำคัญเกิดสมาธิในการทำงานมากขึ้น ๓. ดานการจัดกจิกรรมสงเสริมการเรียนรู ผูรับผิดชอบโดยตรงคือนักเรียน

สวนใหญครูมักเขาใจผิดวาเปนหนาท่ีของครู แตในความเปนจริงแลวนักเรียนตองเปนผูริเริ่มคิดโครงการหรือโครงงานขึ้นมาโดยการรวมตัวกันทำกิจกรรมใหเกิดประโยชนตอผูอื่น เชน โครงการดานสิ่งแวดลอม โครงการตอตานสารเสพติด โครงการทำดีถวายในหลวง โครงการรณรงคสะสมบุญทุกวันพระ กิจกรรมหนังสือทำมือเพ่ือนอง ฯลฯ โดยมีครูเปนเพียงท่ีปรึกษา ผูบริหารเปนผูสนับสนุนเงินหรือทรัพยากรในการทำกิจกรรม/โครงการ ส่ิงที่ไดคือเด็กจะกลาแสดงออก เด็กเกิดการกระตุนใหเกิดการคิดวิเคราะหและคิดสรางสรรค เด็กใชเวลาวางใหเปนประโยชน เด็กเกิดความภาคภูมิใจในตัวเอง เด็กเกิดการรวมพลังกันดานจิตอาสา ดานการเสียสละ ดานการทำงานเปนทีม ดานการเสริมสรางคุณธรรมในวิถีชีวิตในโรงเรียนและในบาน ๔. ดานการใหชมุชนมสีวนรวม ผูรับผิดชอบโดยตรงคือผูบริหารและครู ที่ตองประสานสัมพันธใหชุมชนแสดงความคิดเห็นในการวางแผนการทำงานรวมกัน เปนวิทยากรทองถิ่น เปนปราชญชาวบานเลาเรื่องราวในอดีตของชุมชน เชน บานเมือง สมัยกอน การอยูรวมกัน ความสงบ การพ่ึงพาอาศัย ธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ วัฒนธรรมประเพณีพื้นบานพื้นเมือง เปนตน นอกจากน้ัน โรงเรียนตองใหการสนับสนุนชุมชน รวมงานบุญ งานทำนุบำรุงศาสนาโดยสนับสนุนใหเด็กเขาไปมีสวนรวมเต็มตัว นอกจากจะไดใจพอแก แมเฒาและคนในชุมชนแลว เด็กๆ จะไดเรียนรู นอกหองเรียนที่เปนวิถีชุมชนอีกสวนหน่ึงดวย เปนการถายโอนความรู ความเชื่อ ความศรัทธาใหเกิดการมีสวนรวมระหวางบาน วัด โรงเรียนอยางแทจริง ถึงแมจะมีวิธีการการจัดการโรงเรียนวิถีพุทธ (วิถีธรรม) ทั้งระบบ (Whole School Approach) แตสิ่งสำคัญกวาน้ันก็คือผูปฏิบัติ หากขาดซ่ึงสิ่งน้ีก็เกรงวาจะเปนเรื่องยากทีเดียวที่เราจะไดเห็นผลสำเร็จอัน จะเกิดข้ึนกับเด็กๆ และประเทศของเรา

Page 7: เล่ม ๒-๓ ภาคใต้ตอนล่าง ปี ๕๓ สิงหาคม

วาทะเซน

ความรู คือ การเรียนรูบางสิ่งทุกวัน

ปญญา คือ การปลอยวางบางอยางทุกวัน

Page 8: เล่ม ๒-๓ ภาคใต้ตอนล่าง ปี ๕๓ สิงหาคม
Page 9: เล่ม ๒-๓ ภาคใต้ตอนล่าง ปี ๕๓ สิงหาคม

สารบัญ

บทความ…แสงแหงความเขาใจ…ภูเก็ตวินัยรองเทาตรัง เขต ๑จิ๊กซอวที่หายไป…สตูลจากประสบการณจริงสรางจิตสำนึกไดนครศรีธรรมราช เขต ๔อยากเปน…พี่สมนครศรีธรรมราช เขต ๒เสียงใดในแดนหลา…เสียงตนกลาที่ถูกลืมยะลา เขต ๑เรือจางท่ีเกยตื้น…นราธิวาส เขต ๒เด็กละครนครศรีธรรมราช เขต ๓

บทความแมเหน็ดเหนื่อย…ก็คุมคาที่ฝาฟนปตตานี เขต ๒ชีวิตผม…ในกำมือของครูภูเก็ตจริงหรือ! บุญบันดาล…ยะลา เขต ๒ดาวแหงความดีที่บอทรายพัทลุง เขต ๑รุงอรุณที่ชองเขาสงขลา เขต ๓จิตตื่น ใจเบิกบานดวยการสวดสรภัญญะยะลา เขต ๑สมาธิทำให ใจสงบนครศรีธรรมราช เขต ๓คานิยมการประหยัดอดออมสรางไดตามแนวทางวิถีพุทธสงขลา เขต ๑

หนา๘

๑๑

๑๔

๑๗

๒๐

๒๓

๒๖

๓๑

หนา๓๓

๓๖

๓๘

๔๐

๔๔

๔๗

๕๒

๕๕

Page 10: เล่ม ๒-๓ ภาคใต้ตอนล่าง ปี ๕๓ สิงหาคม

ภูเก็ต

เรื่องพินสร

สน.ศึกษานิเทศกอ.เมือง จ.ภูเก็ต

ค่ำแลว…พระนพคุณ มองทอดสายตาออกไปนอกหนาตางอยางไรจุดหมาย ความมืดคอยๆ กอตัวคืบคลานปดฉากฟาลงทีละเล็กทีละนอย สะเก็ดดาวเร่ิมรำไรทอแสงฉาบไลความมืด สลับประหน่ึงดังจะอวดโฉมความเจิดจรัสระหวางกันและกัน ความมีชีวิตชีวาบนฟากฟากลับมาเปดฉากการแสดงอีกคราหนึ่ง มันจะเปนวัฏจักรอยางนี้ไปอยางไมรูจบ

...แสงแหงความเขาใจ...

Page 11: เล่ม ๒-๓ ภาคใต้ตอนล่าง ปี ๕๓ สิงหาคม

วินัย เปนนักเรียนที่ดีพรอมในทุกเรื่อง เปนตัวอยางที่ครูเกือบทุกคนในโรงเรียนตองยกมากลาวอางถึงดวยความภาคภูมิใจอยูเสมอๆ จนหลายๆ คนมองเห็นเปนเรื่องธรรมดาๆ และมักเดาทางครูผูสอนไดถูก ก็เปนเรื่องที่เหมาะสมซึ่ ง เ กื อบทุ กคน ก็ยอมรับ โดยดุษฎี ยก เว น ด.ช.นพคุณ ซึ่งเปนนักเรียนที่นาจะเรียกไดวา มีคุณสมบัติเกือบทุกอยางตรงกันขามกับ ด.ช. วินัย ราวฟากับเหว หากเปนเรื่องท่ีดี ด.ช.วินัยจะไดรับการกลาวถึง หากเปนเรื่องที่ไมนาจะเอาเปนแบบอยาง คงหนีไมพน ด.ช.นพคุณ

...จึงเปนเรื่องราว ๒ เรื่อง ๒ หนา ที่มักจะเกิดอยูซ้ำแลวซ้ำเลาภายในหองเรียนแหงนี้ แตหลายคนก็ดูมีความสุข เรียนกันดวยความสนุกสนาน ทามกลาง ๒ ตัวอยางในดานบวกและดานลบ ที่เปนตัวอยางซ้ำๆ เกิดขึ้นทุกวัน

“นพคุณ เอาการบานท่ีใหไปเมื่อวาน มาสงครูซิ” ครูอารีรองตะโกนบอก ขณะท่ีกาวเดินสูหองเรียน สายตาเกือบทุกคูภายในหองเรียน มองตรงไปยัง ด.ช.นพคุณ แทบจะเปนจุดเดียวกัน ด.ช.นพคุณ คอยๆ เงยหนาขึ้นตอบคำถามครูอารี

“ ค รู ค รั บ ผ ม ยั ง ไ ม ไ ด ท ำ เ ล ย ค รั บ คือ...วา...” ด.ช.นพคุณ กมหนาตอบเสียงออยๆ ในลำคอ

“เธอไมตองพูด...คิดแลวเชียว วาคำตอบท่ีไดจากเธอ คงเหลวอีกตามเคย ครูถามเธอจริงๆ นะ นายนพคุณ เธอยังคิดอยากจะเรียนอยูที่นี่อยูหรือเปลา ทำไมเธอจึงมักทำตัวแตกตางจากคนอื่นอยูเรื่อย เธอดูวินัยซิ วินัยเขาไมเคยเอาการบานที่ครูใหไปทำที่บาน เขาใชเวลาวาง แลวก็ทำเสร็จที่โรงเรียนนี่แหละ ทำไมส่ิงดีๆ ตัวอยางดีๆ

เธอถึงไมเอาเปนแบบอยาง” ครูอารีเริ่มมีน้ำเสียงไมคอยพอใจ

“เอาละ ชั่วโมงน้ี เธอไมตองเรียนก็แลวกัน เพราะถึงเรียน เธอก็คงเรียนไมรูเรื่อง จะไปไหนก็ไป” ครูอารี พูดเสียงดังอยางเกรี้ยวกราด แสดงถึงความไมพอใจอยางมาก

ด.ช.นพคุณน่ังน่ิง กมหนา ในใจดูจะมืดมิ ด ไ ป หมด สั ก พั ก ก็ ค อ ย ๆ หมุ น ตั ว หั นกลับ...หยิบกระเปา แลวกาวออกจากหองเรียนไปอยางเงียบๆ ทามกลางสายตาของทุกคนท่ีมองสงไปจนลับตา

“ถูกไลออกจากหองเรียนตามเคยอีกแลวซินะ ไอนพ ชางมันเถอะวะ เอ็งจะมัวเสียใจไปทำไม ขาก็อยากรูเหมือนกัน คนเราถาไมไดเรียนแลว ชีวิตมันจะตองมีอันไมตองไดเกิดก็ใหมันรูไป ในเม่ือทางโลกเขาไมตองการเอ็ง เอ็งก็ไปหาทางอื่นก็แลวกัน ไอโชค ไอรวย ไอสน พวกมันรอเอ็งอยูที่หองแนะ รีบไปสิ” น้ำเสียงเนิบๆ ทุมๆ แตแฝงไปดวยความรัก ความเมตตา ความอบอุน ท่ีนพคุณรับความรูสึกได

“ครับ” นพคุณ ตอบรับ ยกมือไหว พรอมวางกระเปาลง แลวรีบเดินตรงไปยังหองซึ่งเปนจุดหมายทันที

“มาแลวเหรอ นายนพ พวกเรากำลังรอนายอยูเชียว นั่งเลยๆ เด๋ียวเราเริ่มกันเลยนะ”

ความเงียบ ความสงบ เขาคลอบงำภายในหองอีกครั้งหน่ึง ภายในหองสี่ เหล่ียมเล็กๆ ดานหนาวางโตะหมูบูชาเกาๆ มีชั้นหนังสือเล็กๆ วางอยูดานขาง แสงแดดออนๆ รำไรๆ ลอดมาจากหนาตาง ...เวลาผานไปนานเทาไรไมมีใครรู รูเพียงวา ความเงียบ ความสงบ ทามกลางความรูสึกที่ดี ท่ีทุกคนมีใหตอกัน มัน

Page 12: เล่ม ๒-๓ ภาคใต้ตอนล่าง ปี ๕๓ สิงหาคม

๑๐

หมดส้ินแสงแหงความเมตตาไปซะทีเดียว ดวยความรักความเขาใจท่ีหลวงตาสิน ลุงของนพคุณ มีใหกับนพคุณ ท่ีพึ่งพิงทางใจ ทางกาย เม่ือคราที่มีความทุกข ความระทม ดวยการไดพึ่งพิงอาศัยความสุข สงบ ช่ัวครั้งชั่วคราวจากการนั่งสมาธิ รวมกับเพื่อนๆ เด็กวัดดวยกัน จนหลอหลอมฝงตัวเปนกิจนิสัยถาวรติดในตัวนพคุณมาจนกระทั่งถึงปจจุบัน

(ขอคิดของเรื่องนี้...เปนเรื่องที่เกิดขึ้นบอยมากในสังคมเราทุกวันนี้ สถานศึกษาหลายแหงไดมีการวางแนวทางแกไข มีการจัดระบบการดูแลชวยเหลือนักเรียน มีนักเรียนหลายคน หลายครอบครัวท่ีไดรับการดูแลชวยเหลืออยางทันทวงที แตก็ยังมีอีกหลายครอบครัวที่ถูกมองขาม มองเห็นเพียงแคผิวชีวิตภายนอกของนักเรียน โดยเฉพาะในสังคมดอยโอกาสกึ่งความเจริญ ที่มักปลอยใหเกิดปญหาในลักษณะเชนนี้ซ้ำแลว ซ้ำเลา)

ยากจะอธิบายได มันเปนความรูสึกท่ีนพคุณไมเคยไดพบ ไดสัมผัสมากอน ดูมันอบอุนและอิ่มเอิบไปดวยความเปนมิตร เปนเพื่อน วันนี้ ณ เวลานี้ อยาเลย... ทุกอยางมันก็เกิดข้ึนซ้ำแลวซ้ำเลา หลายคนก็เบ่ือ คนรอบขางหลายคนตางก็อิดหนาระอาใจ ทำไมนพคุณจะไมรูสึก ไมเขาใจถึงทาทีของคนเหลานั้น นพคุณตัดสินใจอยางเด็ดขาดแลว วันพรุงนี้ และวันตอๆ ไป นพคุณจะไมไปในสถานท่ีแหงนั้น อีก สถานท่ีที่ ไมมี ใครตองการ สถานท่ีที่ถูกกลาวถึงใหเปนตัวอยางที่ไมควรเอาเยี่ยงอยางซ้ำแลว ซ้ำเลา

วันนี้ พระนพคุณมีความสุข สงบเย็นภายใตรมผากาสาวพัสตร พระนพคุณหมดสิ้นหวงพันธนาการจากทางโลก โยมพอโยมแมไดจากนพคุณไปอยางไมมีวันกลับดวยโรครายที่กอตัวคุกคามอยางหนัก ทิ้งเปนภาระอันหนักอึ้งใหกับ ด.ช.นพคุณ ตองดิ้นรนหาเลี้ยงดูพอและแมตามลำพังจนแทบจะไมเปนอันเลาเรียน จนถูกสังคมภาคการศึกษามองวาเปนตัวถวง ตราหนาวาเปนตัวอยางที่ไมควรเอาเย่ียงอยาง แตโลกก็ยังไม

Page 13: เล่ม ๒-๓ ภาคใต้ตอนล่าง ปี ๕๓ สิงหาคม

ตรัง เขต ๑

๑๑

เมื่อ ๒๒-๒๕ มีนาคม ๒๕๕๐ ขาพเจานายสุรพล มุสิกพันธ ผูอำนวยการโรงเรียนตนบากราษฎรบำรุง ไดเขารวมโครงการพัฒนาศักยภาพแกนนำองคกรเครือขายสงเสริมคุณธรรม ดานจิตอาสา กับศูนยสงเสริมและพัฒนาพลังแผนดินเชิงคุณธรรม สำนักงานบริหารและพัฒนาองคความรู (องคการมหาชน) สำนักนายกรัฐมนตรี และไดรับคัดเลือกใหไปศึกษาดูงาน ณ มูลนิธิพุทธฉือ จ้ี ไตหวัน โดยการ

วินัยรองเทา สนับสนุนงบประมาณจากศูนยสงเสริมและพัฒนาพลังแผนดินเชิงคุณธรรม สังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี

ในการไปศึกษาดูงานในครั้ งนั้นไดรับความรูมากมายจากการเย่ียมชมสถานีรีไซเคิล (ปาเตอ) ศึกษาดูงานโรงเรียนประถม มัธยม และอาชีวะอยูในสถาบันเดียวกัน ดูงานมหาวิทยาลัย ฉือจี้ รับฟงทานธรรมาจารยเจิ้งเหยียน และชมส มณ ร า ม จ้ิ น ซื อ เ ยี่ ย ม ช ม โ ร ง พ ย า บ า ล

เรื่องสุรพล มุสิกพันธ โรงเรียนตนบากราษฎรบำรุง ต.นาพละ อ.เมืองตรัง จ.ตรัง

Page 14: เล่ม ๒-๓ ภาคใต้ตอนล่าง ปี ๕๓ สิงหาคม

๑๒

ฮวาเหลียนฉือจ้ี โรงพยาบาลชินเตี้ยนฉือจี้ ชมสถานีรีไซเคิล (เนยหู) ชมสถานีโทรทัศนตาอาย (ศูนยวัฒนธรรมของฉือจี้)

คณะท่ีศึกษาดูงานดวยกันหลายทานไมสนใจในสถานที่ที่ไปเรียนรูมากนัก แตกลับสนใจบุคลากรของมูลนิธิพุทธฉือจี้มากกวา เพราะบุคลากรเหลานั้นมีความรับผิดชอบ มีระเบียบ มีวินัย มีความตรงตอเวลา ซึ่งสิ่งเหลานี้หาไดยากมากในประเทศไทย “เขาฝกกันอยางไร” น้ีเปนคำถามในใจขาพเจาตลอดเวลาในขณะที่ศึกษาดูงาน ณ ประเทศไตหวัน และพยายามคนหาคำตอบตลอดเวลา

ในท่ีสุดสิ่งที่ไมเคยมีมากอนนาจะเปนคำตอบใหขาพเจาไดอยางชัดเจนที่สุด คือตอนเขาชมโรงพยาบาลซินเตี้ยนฉือจี้ กอนเขาเยี่ยมชม

โรงพยาบาลตองถอดรองเทาแลวมีถุงสำหรับเก็บรองเทาหิ้วติดตัวไปดวย ตลอดเวลาที่ศึกษาดูงาน ณ โรงพยาบาลแหงนี้ ขณะที่เดินศึกษาดูงานพรอมห้ิวถุงรองเทาก็คิดไดวานี่คือวิธีการหนึ่งที่จะฝกใหเยาวชนของชาติมีความรับผิดชอบตอรองเทาของตนเอง รับผิดชอบตอตนเองกอนที่จะรับผิดชอบตอผูอื่น แลวจึงจะรับผิดชอบงานใหญในอนาคตตอไป เม่ือศึกษาดูงานเสร็จก็ออกกลับอีกประตูหนึ่ง ใชแลวไมตองกลับไปเอารองเทา เพราะหิ้วมาแลว ดูเหมือนวาวิธีการนี้จะเปนการสอนคุณธรรมใหกับผูมาเยี่ยมชมไดเปนอยางดี

เมื่อถึงเมืองไทย ทางศูนยสงเสริมและพัฒนาพลังแผนดินเชิงคุณธรรมเรียกประชุมเพื่อสรุปประเมินผลการศึกษาดูงานท่ีประชุมใหขอคิดเห็นอยางหลากหลาย และพูดเปนเสียงเดียวกัน

Page 15: เล่ม ๒-๓ ภาคใต้ตอนล่าง ปี ๕๓ สิงหาคม

๑๓

สวนใหญวาบุคลากรของมูลนิธิพุทธฉือจี้ เปนบุคลากรท่ีมีวินัย มีความรับผิดชอบ สวนตัวขาพเจาก็ยังติดใจเรื่องรองเทาเพราะเปนเรื่องท่ีแปลกมากโดยเฉพาะการห้ิวรองเทาเดินชมสถานพยาบาลไมนาจะเปนธรรมเนียมปฏิบัติของผูมาเย่ียม

จากการศึกษาดู งานมูลนิ ธิพุทธฉือจี้ ขาพเจาไดนำเอาเร่ืองรองเทามาเผยแพรใหกับบุคลากรในโรงเรียนตนบากราษฎรบำรุง หมูที่ ๗ ตำบลนาพละ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง สังกัดสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาตรังเขต ๑ และไดติดตามดูพฤติกรรมของนักเรียนแตละหองเรียนในฐานะผูบริหารโรงเรียนสังเกตดูนักเรียนที่ถอดรองเทาและวางรองเทาแตกตางกับนักเรียนในประเทศไตหวัน คือ เดินเขาชิดฝาผนังแลวถอดรองเทาเขาหองเรียนโดยไมไดคำนึงวาจะวางเปนระเบียบหรือไม ขณะที่ถอดรองเทาก็เหยียบรองเทาของนักเรียนคนอื่น ทำใหรองเทาของคนอื่นสกปรก เวลาจะสวมรองเทาก็ตรงไปที่ฝาผนังหองแลวยื่นเทาสวมรองเทาทำใหรองเทาของผูอื่นที่วางเปนระเบียบเรียบรอยกลับไมนาดู

จึงเปล่ียนวิธีการใหมใหกับนักเรียนทุกคนดังนี้

๑. ถอดรองเทาแลวหยิบไปวางไว ณ ที่วางรองเทา โดยหันสนรองเทาเขาหาฝาผนัง (เพ่ือปองกันเวลาสวมรองเทาจะไดหยิบรองเทาออกมาสวม) วางรองเทาใหเปนระเบียบ ที่ของใครก็ของคนนั้น

๒. เวลาสวมรองเทา ใหหยิบรองเทาออกมาจากท่ีวางรองเทา แลวน่ังสวมรองเทาใหเรียบรอยกอนที่จะไปทำกิจกรรมอยางอื่น

เปนเวลา ๓ ปแลวที่ โรงเรียนตนบากราษฎรบำรุงไดฝกนักเรียนตั้งแตชั้นอนุบาลถึงชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ ใหถอดรองเทาแลวนำไปวางไว ณ ที่สำหรับวางรองเทา เวลาสวมรองเทาก็ใหหยิบรองเทาของตนเองมานั่งสวมรองเทาใหเรียบรอยกอน แลวจึงจะไปทำกิจกรรมอยางอื่น ผลที่ไดรับก็คือนักเรียนโรงเรียนตนบากราษฎรบำรุงทุกคนมีวินัยในการถอดวางรองเทา มีความรับผิดชอบตอรองเทาของตนเองและรองเทาของ ผูอื่นท่ีวางอยูกอน การฝกการรับผิดชอบไมใชจะสอนกันไดงายๆ ถาไมมีการฝกใหปฏิบัติเปนนิสัย เมื่อมีการฝกจนเปนนิสัยก็กอใหเกิดวินัย และความรับผิดชอบจะตามมาในโอกาสตอไป และจะเปนพื้นฐานในการฝกวินัยและความรับผิดชอบในระดับตอไป นี่เปนสวนหน่ึงที่บุคลากรของมูลนิธิพุทธฉือจี้ ไตหวัน เปนคนมีวินัยและความรับผิดชอบ ปจจุบันนักเรียนโรงเรียนตนบากราษฎรบำรุงก็เปนเชนเดียวกัน วินัยเกิดจากการวางรองเทาเปนแนวปฏิบัติเดียวกันทั้งองคกร คือ วินัยรองเทา นั่นเอง

คณะที่ศึกษาดูงานดวยกันหลายทานไมสนใจในสถานที่ที่ ไปเรียนรูมากนักแตกลับสนใจบุคลากรของมูลนิธิพุทธฉือจี้มากกวา เพราะบุคลากรเหลานั้นมีความรับผิดชอบ มีระเบียบ มีวินัย มีความตรงตอเวลา ซึ่งสิ่งเหลานี้หาไดยากมากในประเทศไทย “เขาฝกกันอยางไร”

Page 16: เล่ม ๒-๓ ภาคใต้ตอนล่าง ปี ๕๓ สิงหาคม

๑๔

สตูล

เรื่องสุจิกา ยีมัสซา

โรงเรียนบานเจะบิลัง

อ.เมือง จ.สตูล

จิ๊กซอวที่หายไป... วันดีคืนดี นโยบายเด็กพิเศษเขามา นาชีอีนตองเรียนรวมกับเพื่อนๆ เรียนรวมบาง เรียนแยกบางตามศักยภาพของเขา จากนั้นเปนตนมา นาชีอีนเปลี่ยนสถานะจาก “ศิษยคนพิเศษ” เปน “เด็กพิเศษ” แทน

Page 17: เล่ม ๒-๓ ภาคใต้ตอนล่าง ปี ๕๓ สิงหาคม

๑๕

ชองวาง ชวงคาบเก่ียวระหวางนโยบายซ้ำชั้นไดบาง ไมไดบาง ปฏิสัมพันธของโรงเรียนผานบทบาทครูแนะแนว ครูฝายปกครอง ครูประจำช้ัน ไมมีใครผิด เด็กคนหนึ่งที่เกิดมาตรงกับชวงคาบเกี่ยวของความเปนเด็กเรียนไมเกงกับเด็กพิเศษ เสนแบงระหวางเด็กเกียจครานกับ เด็กขยัน “ผมทำไมไดจริงๆ ครับ” ผลพวงท่ีไดคือ แลว นาชีอีน...หายไปไหน

“นาชีอีน...เอาเอกสารนี้ไปใหครู ป.๓/๒ เซ็น แลวรอเอากลับมาใหครูดวย ถาไมเจอครูก็อยาวางไวนะ เด๋ียวหาย”

“นาชีอีน หิวน้ำ คอแหงจัง อยูเปนเพื่อนเด็ก หรือจะไปเอาน้ำที่โรงอาหารใหครูดี”

“เดะๆ บังรอรับอยูขางลาง เดะกระโดดลงมาไดเลย ไมตองกลัวนะ”

“เดะๆ ไปโยนบอล รับบอลกับบังท่ีสวนสนดีกวาตรงนี้อีกนะ”

“ครูขอข้ีวัวที่บานสัก ๒ ถุงเย็นนี้ ครูใหกินขนม ๔๐ บาทนะ วางไวขางรถไดเลย”

บทสนทนาประจำวันที่นาชีอีน และบรรดาครูในโรงเรียนทั้ง ๒๒ คนท่ีวนเวียนมาใชบริการนาชีอีน แสดงความเปนกันเอง สนิทสนมใหความอบอุนใจมิตรจิตมิตรใจที่ใหกันระหวางเพือ่นนกัเรยีน คร ูกบั “ศิษยคนพเิศษ” ท่ีชือ่ นาชอีนี

ถูกตองแลว นาชีอีนเปน “ศิษยคนพิเศษ” สำหรับโรง เรี ยนนี้ นาชีอีนไมตอง เรี ยนในหองเรียนตลอดทั้งวัน ถาเขาเบ่ือเมื่อไหรเขา

สามารถเปล่ียนอิริยาบถไปทำอยางอื่นไดทันที โดยเพื่อนก็ไมมีใครเลียนแบบ หรือเรียกรอง หมูบานสังคมญาติที่นี่สามารถเรียนรูกันตอจากสังคมที่บาน สวนมากนาชีอีนเลือกท่ีจะใหความสนิทชิดเชื้อกับครูมากกวาเด็กๆ ครูแตละคนสำหรับเขานาสนใจท้ังน้ัน บางคนเกงงานชางเหลือเกิน คอยอยูใกล ยื่นคอนยื่นตะปูใหก็ดูหรูแลว ในเมื่อเด็กคนอื่นๆ ทำไมไดเชนเขา ครูบางคนก็ดูโกกวาคือ สามารถเปนเจาของหองที่มีสินคามากมาย ขนมอรอยๆ ไอศกรีมเต็มตู ครูบางคนย่ิงแลวใหญ สามารถทำบุญเลี้ยงขาวคนทั้งโรงเรียนไดทุกวัน ไมรูเอาเงินมาจากไหนไมรูจักหมดส้ิน พวกครูๆ น้ีชางนาสนใจจริงๆ

เมื่อกอนจะมีนโยบายการศึกษาพิเศษนั้นนาชีอีนเรียนแตละชั้นมากกวา ๑ ป แมไมชอบการเรียน แตก็ไมชอบเลน เขาชอบกิจกรรมรวมกับครู มันดูโกกวาอยูกับเด็กๆ ที่ผานมาผานไปแตละป นาชีอีนชอบบริการครูเปนพิเศษโดยเฉพาะคนท่ีพูดดีกับเขา พูดนุมหู ใหความเปนกันเอง ใหเกียรติเขา และเปนคนท่ีเปดรับเขาเปน “ศิษยคนพิเศษ”

วนัดีคนืดี นโยบายเดก็พเิศษเขามา นาชีอนีตองเรียนรวมกับเพื่อนๆ เรียนรวมบาง เรียนแยกบางตามศักยภาพของเขา จากน้ันเปนตนมานาชีอีนเปลี่ยนสถานะจาก “ศิษยคนพิเศษ” เปน “เด็กพิเศษ” แทน จนกระทั่งตองเรียนหองเรียนครูประจำชั้นผูชาย ครูไมคอยมีเวลาให นโยบาย

Page 18: เล่ม ๒-๓ ภาคใต้ตอนล่าง ปี ๕๓ สิงหาคม

๑๖

ที่ไมใหเด็กซ้ำชั้นมา บทบาทครูแนะแนวก็เริ่มชัดขึ้น ในขณะท่ีครูพละคนใหมก็ตามรูปแบบคือ เปนครูฝายปกครองดวยก็เขมงวดกับระเบียบวินัยของโรงเรียน เพราะโรงเรียนเริ่มหยอนระเบียบวินัยมากขึ้น

จากนั้นมานาชีอีนก็ไดเลื่อนชั้นทั้งๆ ที่ยังอานไมออก เขียนไมได แตอีคิวกลับเปนเลิศกวาเพื่อน นาชีอีนแมจะเปนท่ีรักของทุกคน แตก็ไมตองตาตองใจนักในสายตาครูฝายปกครอง ภาพการเรียนตามความสนใจกลับถูกมองเปนเกียจคราน ภาพอยากอยูใกลครูเกงๆ ท้ังหลายกลับกลายเปนไรระเบียบวินัย ทำตัวไมเหมือนเพื่อน เริ่มถูกทำโทษบางเมื่อมาสายหรือขาดเรียนการไมมาเรียนถูกแปลเปนหนีเรียน เมื่อโรงเรียนไมสนุกเหมือนกอน นาชีอีนตัดสินใจไปเล้ียงวัวกับพอตาบอดบอยข้ึน

ตั้งแตวันน้ันนาชีอีนหายหนาไป มีคนบอกวาเขาอยูแตในนากับพอตาบอด สภาพนาชีอีนดูไมจืด ผมยาวรุงรัง ตัวดำเมื่อม เส้ือผา สกปรกมอมแมม หนีหนาคน ชื่อนาชีอีนคางอยูในสารบบทะเบียนนักเรียน

หลายปผานไป ชื่อนาชีอีนถูกจำหนายดวยเหตุผลอายุเกิน ๑๕ ป เวลาที่ผานไปเยียวยาทุกส่ิงทุกอยางตลอดจนความรูสึกของนาชีอีนเอง นาชีอีนเริ่มปรากฏตัวในโรงเรียน เขาจะอยูใกลชิดครูสาวท่ีเปนคนทองถิ่นเดียวกับเขา ครูพูดเสียงเบาจนนาชีอีนอยากชวยดูแลเด็กอนุบาลที่ครูรับผิดชอบแทน นาชีอีนเริ่มกลับมาเปนคนเดิม เขาเปนพี่เลี้ยง เพื่อนเลน คอยดูแลเรื่องการบรรจุนมลงถังประจำหอง ควบคุมการกินขาว การเลนเครื่องเลนสนาม และทุกอยางที่จะชวยครูได เขาไมเคยปฏิเสธ เขามีเสื้อผาใหมที่ไดรับบริจาคใสไมคอยซ้ำ นาชีอีนมีขาว มีนมกินทุกวัน ครูดูแลใหเกียรติ เขามาก มีแตความอบอุนใจในร้ัวโรงเรียนน้ี

นาชีอีนไมตองถูกบวงระบบใดๆ มา จัดการใดๆ กับชีวิตเขาแลว หนาตาเขาดูมีความสุขมากกวากอนหนาที่หายไปมา ครูที่เคยรูจักและสัมผัสเขาไดแตแอบมองดวยความสุข ชื่นชม รูสึกเขาเปนสวนหน่ึงของโรงเรียน

ชีวิตขางหนาของนาชีอีนจะเปนอยางไรคอยแอบมองกันตอไป

“ครูครับ ครูรูหรือยังวานาชีอีนถูกครูพละจับสอบสวน บอกวามันอยูแกงเดียวกับพวกวัยรุนที่มางัดหองสหกรณ ครูวาพวกครูๆ ถูก “ศิษยคนพิเศษ” หลอก ไมทันเด็กแบบมัน” เด็กๆ เพื่อนชวยกันสืบไดวา นาชีอีนถูกวัยรุนหลอกใหเขาไปเอาขนมทางดานฝาหองท่ีผุ นาชีอีนถูกสอบสวนคราวเดียวกับแกงวัยรุน

Page 19: เล่ม ๒-๓ ภาคใต้ตอนล่าง ปี ๕๓ สิงหาคม

๑๗

เรื่องสุภา ทวีแกว

โรงเรียนวัดโรงเหล็ก

ต.นบพิตำ อ.นบพิตำ จ.นครศรีธรรมราช

จากประสบการณจริง สรางจิตสำนึกได

นครศรีธรรมราช เขต ๔

Page 20: เล่ม ๒-๓ ภาคใต้ตอนล่าง ปี ๕๓ สิงหาคม

๑๘

คนเฒาคนแกและครูมักจะสอนวา เกิดมาทั้งทีอยาเสียชาติเกิด จงทำแตความดี อยาลักเล็กขโมยนอย อยาเอาสิ่งของผูอื่นท่ีไมใชของตนเองมาเปนของเรา ของของใครใครก็รัก ของของใครใครก็หวงและหวงดั่งดวงใจ และถาเอาของของผูอื่น เขาก็จะรูสึกเสียใจ ซึ่งการกระทำอยางนี้เปนการกระทำความผิด ผูที่กระทำความผิดยอมไมมีความสุขท้ังกายและใจ เพราะตลอดเวลาจะรูสึกตนวากระทำความผิดและจะตกอยูในสภาพหวาดผวา กลัววาสิ่งที่ตนเองจะกระทำจะมีคนรูหรือกลัวถูกจับได เมื่อถูกจับไดก็จะเกิดความละอาย สังคมก็จะไมยอมรับ จากคำสอนนี้ ไดผานหูของเด็กชายนัฎพงค ชายทุย ซึ่งเปนนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ ๓ โรงเรียนวัดโรงเหล็กอยูเสมอ แตเด็กชายนัฎพงคก็จะฟงและนั่งอมยิ้ม บอยครั้งที่ครูพูดตักเตือนเด็กชายนัฎพงค เพราะทราบวาทุกครั้งที่สิ่งของของเพ่ือนๆ หาย

เพื่อนๆ จะสงสัยวาเด็กชายนัฎพงคเปนคนขโมย แตไมเคยจับได และถาพบเงินก็ไมมอบครู หรือคืนกลับเจาของ กลับยึดไวเปนของตนเอง ครูประจำช้ันก็จับไมไดเพราะเขาไมรับ เมื่อคร ู ซักถามก็มักจะพูดจาบายเบี่ยงเกง

อยูมาวันหน่ึง เด็กชายนัฎพงค ชายทุย ก็นำเงินจำนวน ๕๐ บาท มอบใหกับครูหนาเสาธง เพื่อนๆ ปรบมือใหเสียงดังสน่ันมากกวาคนอื่นๆ ที่พบเงินมอบครู พรอมตะโกนออกมาวา “เกงจังเลย วันนี้เด็กชายนัฎพงคพบเงินมอบครู” ครูประจำชั้นก็รูสึกชื่นชมและรูสึกแปลกใจวาทำไมวันนี้เด็กชายนัฏพงคจึงนำเงินที่พบมอบครูได ทั้งที่ผานมาไมเคยพบวาเด็กชายนัฏพงคนำเงินมามอบครูเลย ครูทราบจากเพ่ือนสนิทของ เด็กชายนัฎพงควาท่ีผานมา เด็กชายนัฏพงคมักจะเก็บเงินหรือส่ิงของมีคาท่ีพบไวเอง และยังชักชวนเพื่อนๆ คนอื่นๆ ไมใหมอบครูหรือคืนของที่พบ

Page 21: เล่ม ๒-๓ ภาคใต้ตอนล่าง ปี ๕๓ สิงหาคม

๑๙

กลับคืนเจาของ โดยใหเหตุผลวา “เราพบเราไมผิด เราพบของ ของนั้นก็ตองเปนของเรา เธอไมตองมอบหรอก เอาเสีย” ซึ่งทราบจากเพื่อนอีกคนวา บางคนก็ทำตาม แตบางคนก็เอาเงินมามอบครู แตเมื่อเพื่อนคนไหนเอาของท่ีพบมามอบครูเด็กชายนัฎพงคก็จะลอวา “ไอโง มันโงมากๆอยาคบ” เมื่อครูปราโมทยทราบอยางนั้นก็เรียกเด็กชายนัฎพงคมาถามวาเพราะสาเหตุใดครั้งนี้เธอจึงมามอบเงินครู เพราะครูเองก็ยังรูสึกงงและแปลกใจ และดีใจท่ีเธอเปนคนดี เปนคนเกงท่ีนาชื่นชม

เด็กชายนัฏพงคยิ้มพรอมเลาใหครูฟงวา “เมื่อไมกี่วันมานี้เงินของตนเองหาย ๓๐ บาท จึงทำใหทราบดีวามีความรูสึกอยางไรเมื่อเงินหาย รูสึกอยางไรที่ตองกินน้ำลูบทองแทนอาหารม้ือกลางวัน” และเด็กชายนัฎพงคยังเลาใหฟงวา เขาไดเสียสละเงินใหเพื่อนกินอาหารมื้อเที่ยงดวย

ตอนน้ีเขาสัญญากับตัวเองเอาไวแลววา เขาจะไมเอาส่ิงของและเงินเพื่อนอีก ถาพบส่ิงของหรือเงินของเพื่อนเมื่อไหรก็จะคืนกลับเจาของหรือมอบครู วันน้ีเขาพบเงิน ๕๐ บาท จึงนำมอบครูเพื่อหาเจาของมารับ และยังเลาใหฟงตอไปวา เขารูสึกสบายใจมากท่ีวันน้ีเขาไดทำตามคำสัญญาที่เขาไดสัญญากับตัวเองแลว

จากประสบการณจริงท่ีเงินตนเองหายทำใหเด็กชายนัฎพงคมีจิตสำนึกวาตนเองจะไมเอาสิ่งของหรือเงินของใครอีกเลย น่ีแหละท่ีวา สอนเทาสอนถาไมพบกับของจริง ก็จะไมรูสึก หรือจากประสบการณจริงสรางจิตสำนึกได

“เมื่อไมกี่วันมานี้เงินของตนเองหาย ๓๐ บาท จึงทำใหทราบดีวามีความรูสึกอยางไรเมื่อเงินหาย รูสึกอยางไรที่ตองกินน้ำลูบทองแทนอาหารมื้อกลางวัน”

Page 22: เล่ม ๒-๓ ภาคใต้ตอนล่าง ปี ๕๓ สิงหาคม

๒๐

นครศรีธรรมราช เขต ๒

“ขอใหเพื่อนๆ และนองๆ ทุกคนรีบขึ้นมาเขาแถว ปฏิบัติกิจกรรมประจำวันดวยคะ” ทุกคนจะไดยินเสียงนี้เจื้อยแจวจนคุนหูทางเสียงตามสายในทุกวันเปดเรียน ในเวลาเชากอนเขาแถว เคารพธงชาติ ทุกคนจำไดดีวาเปนเสียงของเด็กหญิงเกศิณีย ขอสวัสดิ์ หรือที่ทุกคนเรียกกันติดปากวา “พี่สม” ที่เรียกเพื่อนๆ และนองๆนักเรียนทุกคนใหมาเขาแถว สมเปนเด็กผูหญิงท่ีนารักคนหนึ่ง เธอพูดจาไพเราะออนหวาน สุภาพเรียบรอย เปนเด็กท่ีขยันเรียน ขยันทำงาน สม

เปนเด็กที่อาภัพ เธอไมมีโอกาสที่จะไดอาศัยอยูกับพอแม เพราะพอแมแยกทางกันตั้งแตสมเพิ่งลืมตาดูโลกไดไมนาน ทิ้งเธอไวกับปูและยา แตอยางไรก็ตาม สภาพครอบครัวที่แตกแยกมิไดเปนอุปสรรคในการทำความดีของเธอเลย ในทางกลับกันเธอทำตัวเปนเด็กดีเปนท่ีรักใครของทุกคน สมเปนที่รักของคุณปูคุณยาและทุกๆ คนในหมูบานที่เธออาศัยอยู ทุกๆ เชาสมจะรีบตื่นนอนตั้งแตตอนเชา ชวยเหลืองานบานเล็กๆ นอยๆ ชวยคณุยาหุงขาว ลางจาน กวาดบาน กอนอาบนำ้

อยากเปน...พี่สม

เรื่อง พรศักดิ์ ธนาวุฒิ

โรงเรียน บานจำปา

ต.ถำใหญ อ.ทุงสง จ.นครศรีธรรมราช

Page 23: เล่ม ๒-๓ ภาคใต้ตอนล่าง ปี ๕๓ สิงหาคม

๒๑

แตงตัวไปโรงเรียน สมจะรับประทานอาหารเชากอนไปโรงเรียนเสมอ กอนออกจากบานสมจะไหวคุณปูคุณยาทุกครั้ง เพราะคุณปูคุณยาสอนสมเสมอวา

“สมจะ เราเปนเด็กจะตองมีสัมมาคารวะตอผูใหญ เด็กตองไหวผูใหญ ไมเฉพาะแตกับปูกับยาเทานั้น กับคนอื่นๆ ก็เหมือนกัน จำไวนะลูก”

ทุกเชาไมวาคุณปูหรือคุณยาไปสงสมที่โรงเรียน เม่ือถึงโรงเรียนลงจากรถ สมไมลืมที่จะยกมือไหวและกลาวคำวา “สวัสดีคะ” เวลาเลิกเรียนเหมือนกัน สมจะสวัสดีคุณปูคุณยาทุกครั้งเมื่อกลับถึงบาน

ปนี้สมเรียนอยูชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ ตลอดเวลาที่อยูในโรงเรียน เธอเปนท่ีรักใครของคุณครูและเพ่ือนๆ มาโดยตลอด เพราะเธอต้ังใจเรียนเสมอ ขยันทำการบานเสร็จทุกครั้ง มีจิตอาสาชอบชวยเหลือเพื่อน ไมเห็นแกตัว กิริยามารยาทงดงาม พบครูที่ไหนก็แลวแต สมจะเขาไปยกมือไหวทักทายทุกครั้งที่โอกาสจะอำนวย ดวยความเปนเด็กดีมีคุณธรรมของสมทำใหเธอไดรับความไววางใจจากเพื่อนเลือกให เปนประธานนักเรียนในปการศึกษา ๒๕๕๒ สมทำหนาที่ไดอยางสมบูรณแบบ ไมทำใหเพื่อนผิดหวัง เริ่มตั้งแตอานขาวออกอากาศทางเสียงตามสายของโรงเรียน ชวยเหลือครูในการดูแลใหเพื่อนนักเรียนปฏิบัติกิจกรรมหนาเสาธง นำสวดมนตไหวพระ นำรองเพลงสดุดีมหาราชา ชวยเหลือครูในการตรวจสุขภาพนักเรียนประจำวัน รวมทั้งชวยเสนอความคิดในการพัฒนาโรงเรียนบอยคร้ัง

ทุกวันตอนเชาเมื่อคุณครูไปถึงโรงเรียนนักเรียนทุกคนจะไหวและทักทายวา “คุณครู ...ครับ (ขา) สวัสดีครับ (คะ)” สมและเพื่อนหรือนักเรียนคนอื่นๆ จะเดินไปอาสาชวยถือของใหคุณครูเมื่อกาวลงจากรถ ซึ่งเปนภาพที่ปรากฏใหเห็นจนชินสายตาของทุกคน แมแตเปนครูจากโรงเรียนอื่นหรือบุคคลภายนอกที่มาเย่ียมเยียนติดตอราชการที่โรงเรียนบานจำปา นักเรียนจะเขาไปทักทายและอาสาชวยถือของใหดวย

พฤติกรรมเหลานี้เปนคุณธรรมจริยธรรมอันงดงามของนักเรียนโรงเรียนบานจำปา ซึ่งเกิดขึ้นมาจากแนวความคิดของคณะกรรมการนักเรียนที่มีเด็กหญิงเกศิณีย ขอสวัสด์ิ หรือ “พี่สม” ของทุกคน เปนประธานน่ันเอง

คุณงามความดีของสมยังมีอีกมากมาย เวลาโรงเรียนมีกิจกรรมใดๆ เธอจะอาสาเขามาชวยเหลือ ชวยครูจัดนิทรรศการแสดงผลงานนักเรียนในวันประชุมผูปกครอง กิจกรรมเสริมสรางความสัมพันธกับชุมชน เปนผูนำนักเรียนในการประกอบพิธีการทางศาสนาเนื่องในวันสำคัญตางๆ ท้ังที่โรงเรียนและที่วัด แมวาจะเปนวันหยุดก็ตาม กับเพื่อนๆ เธอก็มีจิตอาสาชวยเหลือเพื่อนโดยไมหวังผลตอบแทนเชนกัน ท่ีสำคัญไมมีครูหรือเพื่อนคนไหนไดยินสมบนวาเหน่ือย หรือแสดงอาการเบื่อหนายทอแทใหเห็น ไมเคยเห็นสมหนาหงิกงอ เธอมีสีหนาย้ิมแยมอยูตลอดเวลา สมไมเคยถูกครูตำหนิหรือลงโทษเลย เธอยังอาสาเขารวมกิจกรรมการประกวดแขงขันตางๆ ทั้งในระดับโรงเรียนและที่หนวยงานภายนอกจัดขึ้นเสมอ จากความตั้งใจฝกฝนทำให

Page 24: เล่ม ๒-๓ ภาคใต้ตอนล่าง ปี ๕๓ สิงหาคม

๒๒

เธอไดรับรางวัลตางๆ มากมาย ท้ังกิจกรรมทางวิชาการและกิจกรรมท่ีเกี่ยวของกับคุณธรรมจริยธรรม เชน การแขงขันประดิษฐเศษวัสดุ การสวดมนตหมูทำนองสรภัญญะ การประกวดเรื่องเลาเราความดี ประกวดหนังสือเลมเล็ก แขงขันตอบปญหาธรรมะ เปนตน สรางเกียรติยศชื่อเสียงใหกับวงศตระกูลและโรงเรียนเสมอมา ผาพั นคอสี ส ม ท่ี คล อ งคอ เ ธออ ยู ทุ ก วั น เ ป นเครื่ องหมายแหงคุณภาพที่ รับรองวาสมคือประธานนักเรียน เปนผูนำของทุกคนท่ีทำหนาที่ไดสมบูรณแบบท่ีสุดคนหนึ่งในสายตาของครู เพื่อนและนองๆ

ดวยอานิสงสแหงคุณงามความดีที่สมไดกระทำตลอดเวลาที่อยูโรงเรียนบานจำปา สงผลใหเธอกลายเปนขวัญใจของครูและนักเรียนดวย

กัน นักเรียนทุกคนตั้งแตชั้นอนุบาลถึงชั้นประถมศึกษาปที่หกรูจักเด็กหญิงเกศิณีย ขอสวัสดิ์ ในนาม “พี่สม” เปนอยางดี ใครไมรูจักสมไมมี หลายคนต้ังใจอยางแนวแนวาจะประพฤติปฏิบัติตนเปนเด็กดีมีคุณธรรมอยางพี่สมใหได อยากเปน...พี่สม

Page 25: เล่ม ๒-๓ ภาคใต้ตอนล่าง ปี ๕๓ สิงหาคม

๒๓

ยะลา เขต ๑

เสียงใดในแดนหลา... เสียงตนกลาที่ถูกลืม

“ไมอยากใหประเพณีอันล้ำคาหายไปกับสังคมไทยในปจจุบัน ความผูกพันในวิถีชาวบาน รอยยิ้มที่เคยมีใหยังคงแจมใสเหมือนดอกไมที่แยมบาน เพื่อใหมีประเพณีสืบสานถึงคนรุนตอไป”

เรื่อง จริยา จันทรศรี โรงเรียน วัดรังสิตาวาส ต.ทาธง อ.รามัน จ.ยะลา

Page 26: เล่ม ๒-๓ ภาคใต้ตอนล่าง ปี ๕๓ สิงหาคม

โมง...โมง...ทงึ...โมง...ทงึ...โมง...ทงึ...โมง... เสียงดังกึกกองในเขตของโรงเรียนวัดรังสิตาวาส เปนกิจกรรมท่ีมีมาชานานคูกับชุมชนบานสาเมาะ “กลองยาว” เปนกิจกรรมหนึ่งที่มีชื่อเสียงของหมูบานสาเมาะ ซ่ึงเริ่มตนมาชานานในสมัยเจาอาวาส... (ทานเพชรแกว) ในอดีต ซึ่งทานไดทำกลองยาวขึ้นเองจากไมขนุนใชหนังวัวหุมหนากลอง กลองยาวบานสาเมาะเคยรวมการแขงขันมาหลายครั้งในอดีต โดยอดีตผูใหญบานนายจวง อินโท ซึ่งเปนลูกศิษยคนสำคัญของอดีตเจาอาวาส (ทานเพชรแกว) แตเมื่อวันวานเจาอาวาส (ทานเพชรแกว) ไดจากเราไป...แตทานไดสรางความทรงจำและการเรียนรูการตีกลองยาวไวในหมูบานแหงน้ี... นายจวง อินโท ชาวบานสาเมาะ ครูภูมิปญญาทองถิ่นท่ีไดนำกลองยาวกลับมาสอนใหกับนักเรียนอีกครั้งหน่ึง

ลุงจวงบอกกอนจะนำกลองยาวมาใชตองมีการไหวครูกอน ไมวาจะทำอะไรเราตองไหวครูใหนักเรียนทุกคนจำเอาไว ในการไหวครูกอนนำกลองยาวมาใช ลุงจวงใชอุปกรณ คือ ธูป เทียน ดอกไม น้ำ ๑ แกว ลุงจวงเริ่มทำพิธีประมาณ ๑๕ นาที แลวจึงนำกลองยาวมาใชได

นองแม็กเปนนักเรียนคนหน่ึงในโรงเรียนกำลังเรียนอยูชั้นประถมศึกษาปที่ ๕ ซ่ึงชอบตีกลองยาวมาก นองแม็กเปนเด็กดีของครอบครัว ชวยคุณแมปลูกผัก กวาดบาน หุงขาว ทุกวัน นองแม็กบอกวาเคยเห็นพวกผูใหญตีกลองยาวกันในงานตางๆ เชน งานบวช งานแตงงาน มีการแขงการตีกลองยาวในงานทอดกฐินดวย “ครูครับผมอยากตีกลองยาวดวยครับ ผมชอบมากครับ” เปนสิ่งที่แม็กบอกและมีความตั้งใจอยางมาก แม็กเริ่มตีกลองยาวไดสักระยะหนึ่งก็นั่งเศรา ครูเขาไปถาม แม็กบอกวานอยใจวาทำไมเพ่ือนๆ ถึงไดตีกลองยาวกันเกงจัง แตผมยังตีไมเกงเลย ครูบอกแม็กวาใหตั้งใจซอม..สู ..สู ...จะคอยใหกำลังใจ ในไมชานองแม็กสามารถตีกลองยาวไดเกงไมแพเพื่อนๆ อีกดวย เมื่อซอมตีกลองยาวเสร็จแลวกิจกรรมที่แม็กจะตองทำอีกหนึ่งอยาง

ความทุกขที่เกินทน จะหลอมคนใหทนทาน

๒๔

Page 27: เล่ม ๒-๓ ภาคใต้ตอนล่าง ปี ๕๓ สิงหาคม

คือ ซอมมวยไทย เปนกิจกรรมท่ีนองแม็กชอบและชวยคุณครูสอนมวยไทยใหกับนองๆ อีกดวย

การตีกลองยาวของแม็กสรางความภาคภูมิใจใหกับคุณแมมาก กิจกรรมแรกท่ีแม็กไดรวมตีกลองยาวกับเพ่ือนๆ เปนงานบวชท่ีวัดรังสิตาวาส เมื่อวันที่ ๒๖ มีนาคม ๒๕๕๓ แม็กบอกวาตื่นเตนมาก ตีกลองไมถูกบางตอน แมวาในวันน้ันอากาศจะรอน กลองจะหนัก และเริ่มหิวน้ำ แตแม็กและเพื่อนๆ ในทีมงานก็บอกวาภาคภูมิใจมาก มีคุณแมและเพ่ือนๆ มาใหกำลังใจคณะทีมกลองยาวของเราทำใหหายเหน่ือยไปไดมาก แม็กบอกกับครูวา ผมดีใจมากท่ีคุณครูไดนำกลองยาวมาสอนใหกับพวกเรากันอีก เพราะวาตอนนี้กลองยาวในหมูบานของเราเร่ิมหายไป ทุกคนหันมาเลนดนตรีสากลกันเปนสวนใหญ ผมจะแบงเวลาในการทำกิจกรรมดวยครับครู ผมจะซอมกลองยาว, ซอมมวยไทยใหกับนองๆ, ต้ังใจเรียน, ชวยเพ่ือนๆ ปลูกผัก เปนตน

แม็กยังบอกอีกวาผมจะชวนนองๆ และ

พี่ๆ มารวมกันอนุรักษการตีกลองยาวของบาน สาเมาะไวนะครับครู และผมยังเห็นอีกวาการตีกลองยาวสอนใหแม็กรูจักการใชเวลาวางใหเปนประโยชนอีกดวย

จากการมุงมานะของแม็กทำใหแม็กไดรูจักคำวาเสียสละ อดทน มีน้ำใจ ดังเชนท่ีวา

“ความทุกขที่ เกินทน จะหลอมคนใหทนทาน” ถาเราไมเริ่มชวยกันตั้งแตวันนี้แลวตอไปจะมีอะไรเหลือไวในชุมชนของเราอีกบางไหมหนอ...

๒๕

Page 28: เล่ม ๒-๓ ภาคใต้ตอนล่าง ปี ๕๓ สิงหาคม

๒๖

นราธิวาส เขต ๒

เรือจางท่ีเกยตื้น... เรื่อง อัญญาณี รองสวัสด์ิ

โรงเรียน บานตอหลัง

ต.ไพรวัน อ.ตากใบ จ.นราธิวาส

ภาพ : creativecommons.com

Page 29: เล่ม ๒-๓ ภาคใต้ตอนล่าง ปี ๕๓ สิงหาคม

๒๗

...ถาหากจาเพียร ขาเหล็ก วีรบุรุษแหงเทือกเขาบูโด ไมเสียชีวิตจากการลอบซุมโจมตีของกลุมผูกอความไมสงบ ก็อีก ๑ ป ที่นายตำรวจทานน้ีก็คงเปนแคตำรวจแกๆ ที่ถูกปลดระวางอยูบาน เลี้ยงหลาน “กินน้ำชานินทาเพ่ือน” อยางที่ทานเคยใหสัมภาษณสื่อ...

...ถาหากราชาเพลงปอป “King of pop” ไมเคิล แจ็คสัน ไมตายจากไปดวยวัยแค ๕๑ ป จากการที่หมอประจำตัวฉีดยาเกินขนาด เขาก็แคนักรองตกยากคนหนึ่ง ตั้งแตโดนฟองในคดีอนาจารเด็กเมื่อ ๑๐ กวาปที่แลว จนตองอยูอยางทรมาน เกือบลมละลาย ไรเงิน ไรเพื่อน... คดียังไมสิ้นสุด ตองเปนเชลยของสังคมโลก...

ทำไม? ถึงไดยกยอง สรรเสริญ สดุดี “คนที่ไมมีลมหายใจ”

...ทำไม? คานิยมของคนไทย หรือคนท้ังโลกจึงมีอะไรคลายๆ กันจนยากที่จะแยกความดี ความเลว ความเห็นแกตัว และการใหอภัย...

...ภาพผูชายรางสูงขาว ผมสลับสีขาวมากกวาดำ ถึงจะบงบอกถึงความชรา แตหนาตาอิ่มเอิบเปยมไปดวยรอยยิ้มปรากฏกายในทุกๆ งานทุกๆ กิจกรรม ที่ไดชื่อวาเปนงานสวนรวมของชุมชนในหมูบานตอหลัง หมู ๓ ตำบลไพรวัน อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส ไมมีใครไมรูจัก “คุณครูแดง ยอมเต็ม” ปูชนียบุคคลของโรงเรียนบานตอหลัง...

ทานเปนคนตอหลัง บรรจุเปนครูครั้งแรกก็ที่โรงเรียนบานตอหลัง เหตุการณหลายๆ อยาง จากสังคมในหมูบานบีบบังคับจนเรือจางลำน้ีตองพิจารณาตัวเองออกจากวงราชการครูดวยวัยแค ๕๖ ป กลายเปนเรือจางที่เกยตื้นไปไมถึงฝงทั้งที่

ผานมาเกือบ ๓๐ ป ทานไดสั่งสอนศิษยรุนแลว รุนเลาใหประสบผลสำเร็จในชีวิต ปจจุบันเกินครึ่งของครูโรงเรียนบานตอหลังตางก็ลวนเปนศิษยของทาน ดิฉันก็เปนคนหนึ่งที่เปนศิษยของทานเชนกัน…

หลังการจากไปของครู ภายในโรงเรียนไม มี ค ำ ใดๆ มาบรรยาย ได ถึ งความ รู สึ ก เงียบ...วังเวง...หอเหี่ยว...มีครูแค ๓ คน รวมทั้งดิฉัน สอนนักเรียน ๗ หอง รอคอย อะไรตางๆ มากมาย...รอ?

ดิฉันเชื่อวาเวลารักษาอะไรไดหลายๆ อยาง รวมท้ังจิตและหัวใจของครูแดงดวย โรงเรียนขาดครู หมูบานขาดบุคลากร คนดีมีปญญา มีความสามารถเต็มหมูบาน แตจะหาคนที่ดี และเสียสละเพื่อหมูบานละ... หายากจริงๆ

แลววันหน่ึงวันที่เรือจางท่ีเคยเกยตื้นตอง

...คุณอาจไดอะไรมากมาย จากการเห็นแกตัว แตสิง่ทีค่ณุไมมทีางไดเลย คอืโอกาสเขาไปนัง่ในใจคน...

พระมหาวุฒิชัย วชิรเมธี

Page 30: เล่ม ๒-๓ ภาคใต้ตอนล่าง ปี ๕๓ สิงหาคม

๒๘

กลับมาทำหนาที่อีกครั้ง คณะครูโรงเรียนบานตอหลังและชาวบานไดเชิญทานมาเปนประธานกรรมการสถานศึกษาของโรงเรียน ไมมีคำปฏิเสธ มีแตรอยยิ้มที่รูสึกไดดวยสายตา

ดิฉันไมรูวา...ทานจะลืมความเจ็บช้ำที่เคยรับจากท่ีนี่ ไดหรือไม? ทุกวันน้ีทานไดดำรงตำแหนง มัคนายกของวัด, ประธานกองทุนหมูบาน, ประธานกลุมโรงสี ฯลฯ

ฟาหลังฝนยอมสดใส น้ำใจท่ีมีใหแกกันของครูแดงกับชาวบาน กลายมาเปนน้ำที่ผลักดัน ใหเรือจางลำนั้นกลับมารับสงศิษยไดอีกครั้ง ในฐานะครูสอนพิเศษ “วิชาประวัติศาสตร และศีลธรรม” โดยไดรับคาจางจาก สพฐ. นราธิวาส เขต ๒ แตเงินทุกบาททุกสตางคที่เปนคาจาง ครูแดงกลับมอบใหเปนทุนการศึกษาแกเด็กในโรงเรียน

...คุณครูแดง ยอมเต็ม อาจไมใชคนดี คนเดน คนดัง หรือวิเศษวิโสในสายตาคนหมูบานอื่นๆ แตสำหรับดิฉัน นางอัญญาณี รองสวัสด์ิ ผูเขียนบทความน้ี ซึ่งอยูในฐานะลูกศิษยของทานคนหนึ่ง ขอยกยองนับถือ สักการะ ใหทานเปนบุคคลตนแบบในเรื่องความดีมีน้ำใจ เชื่อและ

ศรัทธาในอาชีพที่ตนรัก นั่นคือการเปน “ครู” ดิฉันคิดวาทุกวันนี้ทานเปนครูดีที่ไดเขาไปอยูในดวงใจของคณะครู และชาวบาน บานตอหลังทุกๆ คน อยางปฏิเสธมิได…

สอนพิเศษวิชาประวัติศาสตร และศีลธรรม

Page 31: เล่ม ๒-๓ ภาคใต้ตอนล่าง ปี ๕๓ สิงหาคม

๒๙

Page 32: เล่ม ๒-๓ ภาคใต้ตอนล่าง ปี ๕๓ สิงหาคม

วิลเลียม อาเธอร วอรด

ครูธรรมดาทั่วๆ ไปจะบอกเลาครูที่ดีจะอธิบายครูที่ดีกวาจะสาธิตใหดูเปนตัวอยาง

ครูที่ยิ่งใหญจะสรางแรงบันดาลใจ

๓๐

Page 33: เล่ม ๒-๓ ภาคใต้ตอนล่าง ปี ๕๓ สิงหาคม

๓๑

บนเวที...เด็กหญิงตัวนอยๆ กำลังเลานิทาน น้ำเสียง ลีลา ทาทาง และเร่ืองราวสะทอนความกตัญูกตเวทีของ เย็น ผูพิการ... แตดูเหมือนวาเธอกำลังแสดงละครประกาศคำสอนสำคัญแหงองคพระสัมมาสัมพุทธเจาอยางเปนรูปธรรม...เด็กละครยอดกตัญู

เด็กหญิงกัลยาณัฐ กิติยามาศ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ ๓ โรงเรียนบานชะอวด ผูไดรับรางวัลเหรียญทองจากการประกวดเลานิทานคุณธรรมในงานมหกรรมวิชาการเปดโลกการศึกษา ขั้ น พ้ืนฐาน สำนักงานเขต พ้ืนที่ การ ศึกษานครศรีธรรมราช เขต ๓ และงานศิลปหัตถกรรมภาคใต ปการศึกษา ๒๕๕๒ จากการเลานิทานท่ีดูเหมือนการแสดงละครเธอสามารถถายทอด อารมณความรูสึกและบทบาทของตัวละครในนิทานไดอยางยอดเยี่ยม เธอจึงไดรับเชิญไปรวมงานตางๆ เพ่ือเลานิทานใหเด็กๆ และเยาวชนรวมทั้งครูและผูปกครองไดฟง ทุกครั้งที่นิทาน “เย็นยอดกตัญู” จบลง เสียงปรบมือพรอมกับคำชมก็ดังขึ้น สีหนา แววตาและรอยยิ้มที่ปรากฏบงบอกถึงความสุข ...”หนูชอบเลานิทาน”...

วันที่ ๔ กุมภาพันธ ๒๕๕๓ งานตลาดนัดคุณธรรม เมล็ดพันธุแหงความดี ป ๔ ตอนนายคุณธรรม กับนางสาวทำดี โรงเรียนชะอวด โรงเรียนวิถีพุทธสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา

เด็กละคร

นครศรีธรรมราช เขต ๓ เด็กหญิงกัลยาณัฐ กิติยามาศ ไดรับเชิญใหไปเลานิทานคุณธรรมเรื่อง “เย็นยอดกตัญู” เวทีการแสดงไดรับการออกแบบและตกแตงไวอยางสวยงาม น้ำตกจำลองถูกโอบดวยผาหิน ตนไม และดอกไมสีสันสวยงามใหความรูสึกรมรื่น เย็นสบาย ฉากหลังมีข อความ “ตลาดนัด คุณธรรม เมล็ดพัน ธุ แหงความดี” เปนคำเขียนที่ใหความรูสึกถึงสิ่งที่วาดหวัง เด็กผูหญิงคนหนึ่งยืนอยูกลางเวทีพรอมอุปกรณประกอบในการเลานิทาน มีขาเทียม แขนเทียม ซึ่งดัดแปลงมาจากกระบอกไมไผ มีเคียวและจอบวางอยูบนโตะ มีเวทีจำลองฉากหลังเปนภาพเขียนของ ”เย็น” ท่ีกำลังทำงานอยูในทุงหญาที่ไกลออกไปเปนปาไมและภูเขา เธอทำหนาที่โดยสวมบทบาทตัวละครในนิทานและเริ่มเลานิทานโดยเดินไปท่ีโตะหยิบขาเทียมมาใส

เรื่อง วิจิตร ทองปาน

โรงเรียน บานชะอวด

จ.นครศรีธรรมราช

นครศรีธรรมราช เขต ๓

Page 34: เล่ม ๒-๓ ภาคใต้ตอนล่าง ปี ๕๓ สิงหาคม

๓๒

สวมบทเปน “เย็น” ซึ่งเปนเด็กพิการขาขวาและแขนท้ัง ๒ ขาง พอของเย็นติดเหลา แมมีอาชีพเพาะปลูกและรับจาง พ่ีชายและพี่สาวไปทำงาน ที่กรุงเทพฯ นองสาวกำลังเรียนอยูชั้นประถมศึกษาปที่ ๔ สวนเย็นกำลังเรียนอยูชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ ...หลายคร้ังท่ีเพื่อนๆ หยอกลอ รวมทั้งพอที่ไมเคยภาคภูมิใจในตัวเย็นเลย หลายคร้ังเมื่อพอเมาเหลา พอจะพูดและประชดประชันใหนอยใจ แตเย็นก็ไมโกรธเพราะมีแมคอยปลอบและใหกำลังใจเย็นตลอดเวลา “อยาโกรธพอนะลูก...พอเหน็ดเหนื่อยจากการทำงาน...พอทำเพื่อ

ชวยแมหาเงินเพื่อจะไดนำเงินไปซื้อยาและนำพอไปหาหมอ เย็นขอใหนองจำปไปตัดไมไผมาทำเปนขาเทียมและแขนเทียมฝกใชจนชำนาญ เย็นออกไปรับจางตัดหญาในทุงนาทุกวัน ไดเงินจำนวนหนึ่งจึงเอาไปใหพอ “พอครับ เย็นทำงานเอาเงินมาใหพอ พอไปหาหมอนะครับ พอจะไดหายปวย” มือพอรับเงินจากเย็น “พอภูมิใจลูกมาก พอรักลูก” ตาพอเหมอลอยมือท้ัง ๒ ขาง ยื่นมาจับแขนของเย็นไปแนบไวที่อก แลวพูดกับเย็นวา “เย็น พอเสียใจพี่ทั้งสองของเจาเสียแรงที่พอรัก ไปอยูกรุงเทพฯ ไมเคยมาเยี่ยม ไมเคยสงขาวคราว ไมเคยสงเงินมา” พอรองไห น้ำตาพอไหลพรอมกับดึงตัวของเย็นไปกอดไว “เย็น เอย! พอรักลูก ลูกเปนคนดี” สิ่งที่พอพูดและปฏิบัติกับเย็นทำใหเย็นมีกำลังใจทำงานจนกระท่ังพอเสียชีวิต เย็นก็ยังทำงานชวยแมและสงนองจำปเรียนหนังสือ คนในหมูบานชื่นชมในการทำความดีของเย็น ยกยองใหเย็นเปนแบบอยางของความกตัญูกตเวที ทุกคนในชุมชนเรียกเย็นวา “เย็นยอดกตัญู” เย็นยังคงทำงานและ มีความสุขมากที่ไดชวยเหลือแมและนอง

กัลยาณัฐ กิติยามาศ เด็กผูหญิงตัวนอยๆ เด็กเลานิทาน ผูถายทอดอารมณความรูสึกทุกตัวละครในนทิาน ใหผูคนไดซมึซบั ซาบซึง้ และอิม่เอบิในคุณคาแหงความรักและความกตัญูกตเวทีตอผู มีพระคุณ ในขณะ ท่ีผู ชมชื่ นชมในความสามารถการเปนนักแสดง ผูถายทอดเรื่องราวของความกตัญูกตเวที เธอผูแสดงละครประกาศคำสอนสำคัญแหงองคพระสัมมาสัมพุทธเจา เธอมีความสุขมาก และยังคงแสดงละคร “เย็นยอดกตัญู” ตอไป เธอคือ “เด็กละคร”

ลูกทำเพื่อพวกเราทุกคน” เย็นฟงแมดวยความสนใจ “ครับแม” เย็นจบชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ สอบไดอันดับที่ ๑ เย็นตองการใหพอรัก และมีความภาคภูมิใจจึงนำผลการเรียนไปบอกพอ “พอครับ เย็นสอบไดที่ ๑” “ครูที่ไหนหลับหูหลับตาใหมึงวะ...สอบไดที่ ๑ แลวยังไง...โตขึ้นมึงจะเปนอะไร...มึงจะหาเงินมาเล้ียงกูไดไหม” เย็นฟงพอดวยอาการสงบ รูสึกนอยใจกับคำพูดของพอ เย็นรองไหแตเย็นไมโกรธพอ กลับนำคำพูดของพอไปคิดทำใหเกิดมีมานะและมุงมั่นในการทำงาน คุณพอของเย็นลมปวยลงดวยพิษสุราเรื้อรัง และเปนอัมพาตไปไหนไมได เย็นอยูดูแลพออยางใกลชิดเอาขาวและน้ำใหพอ เย็นอยาก

Page 35: เล่ม ๒-๓ ภาคใต้ตอนล่าง ปี ๕๓ สิงหาคม

ปตตานี เขต ๒

แมเหน็ดเหนื่อย... ก็คุมคาที่ฝาฟน

“เปนมนุษยเปนไดเพราะใจสูง เหมือนหนึ่งยูงมีดีที่แววขน ถาใจต่ำเปนไดแตเพียงคน ยอมเสียทีที่ตนไดเกิดมา...”

เรื่อง อรพินท แสนรักษ โรงเรียน ไทยรัฐวิทยา ๕๒ (ชุมชนบานตนไพ) ต.เมาะมาวี อ.ยะรัง จ.ปตตานี

๓๓

Page 36: เล่ม ๒-๓ ภาคใต้ตอนล่าง ปี ๕๓ สิงหาคม

เสียงเจื้อยแจวที่คุนหูทำใหผูเขียนตองหยุดฟงดวยความตั้งใจทุกครั้งที่ไดยิน เธอผูนี้หลงใหลบทกลอนบทนี้ตั้งแตเรียนอยูชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ และทองจำจนขึ้นใจ... แมปจจุบันนี้เธอกำลังเรียนอยูชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ แลวก็ตาม ผูเขียนเคยถามวาทำไมจึงชอบบทกลอนบทน้ีนัก “หนูชอบทองกลอนบทน้ี เพราะทำใหหนูไมลืมตัว ไมทำตัวไรคาคะคุณครู” และน่ีคือคำตอบของคอดีเยาะ หะยีอาซา เด็กหญิงผูมีผิวคอนขางคล้ำ รูปรางสูงโปรง หนาตาสะสวย

ผูเขียนรูจักและเริ่มสนิทสนมกับเธอครั้งเมื่อไดสอนวิชาภาษาไทย ตอนเธอเรียนอยูชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๑ บุคลิกที่ฉายแววผูนำปรากฏเดนชัด... จนทำใหครูหลายคนไมละเลยที่จะสนับสนุนในทุกดาน และไดรับการยอมรับจากเพื่อนนักเรียนใหเปนประธานนักเรียนในปการศึกษา ๒๕๕๒

ชีวิตของคอดีเยาะอาจจะไมเพียบพรอมเหมือนเด็กคนอื่นๆ ...มารดาเสียชีวิตตั้งแตเธอยังเล็ก มีพี่นองรวมมารดาและตางมารดาจำนวน ๑๖ คน เธออาศัยอยูกับบิดาผูชรา ฐานะทางบานคอนขางขัดสน... แตเด็กรักดีอยางคอดีเยาะไมเคยปลอยเวลาและโอกาสใหหลุดลอยไปอยางไรคา เวลาวางไมวาที่บานหรือที่โรงเรียนเธอจะนั่งวาดภาพอยางสงบ จนผลงานการวาดภาพของเธอไดรับรางวัลมากมาย เธอมีบุคลิกที่สงบ เสง่ียม พูดจาสุภาพเรียบรอยและนิ่งอยางคนใชความคิดอยูตลอดเวลา

เธอเปนผูนำในการรณรงคใหนองๆ และเพื่อนๆ มีจิตอาสาชวยเหลือชุมชน ชักชวนกันไปพัฒนามัสยิด และสรางจิตสำนึกใหทุกคนรักโลกและถ่ินกำเนิดของตนเอง โดยรวมกลุมกับเพื่อนๆ จำนวน ๘ คน จัดทำโครงงานคุณธรรมทำดีถวายในหลวงจนสามารถควารางวัลชนะเลิศในระดับเขตพื้นท่ี

ผูเขียนมีความเชื่อวาสิ่งที่สอนคนเราไมได ก็คือ “สามัญสำนึก” แต...คอดีเยาะ มีในตัว อยางเต็มเปยม

๓๔

Page 37: เล่ม ๒-๓ ภาคใต้ตอนล่าง ปี ๕๓ สิงหาคม

วันนั้ น เปนวัน เสาร เปนวัน ท่ีผู เ ขี ยนกระวนกระวายใจเปน ท่ีสุดเพราะวัน ท่ี ๑๘ สิงหาคม ๒๕๕๒ จะมีการประกวดโครงงานคุณธรรมของสำนักงานเขตพื้นที่ ทั้ง ๓ เขตใน “งานชบาเบงบาน การศึกษาปตตานี” แตเปนชวงเวลาที่ตรงกับทางโรงเรียนนำนักเรียนชวงช้ันท่ี ๒ และ ๓ ไปรวมกิจกรรมวันวิทยาศาสตร ที่อำเภอหาดใหญ จั งหวั ดสงขลา ซ่ึ ง ไม ส ามารถเปล่ียนแปลงได และในจำนวนนั้นมีนักเรียน ๘ คน ที่จะตองนำเสนอโครงงานอยูดวย ผูเขียนรีบโทรศัพทไปหาคอดีเยาะซึ่งเปนประธานในการนำเสนอดวยหัวใจที่ไมเปนสุขนัก..

...ถามวา...เราจะทำอยางไรดีกับการนำเสนอโครงงานในวันท่ี ๑๘ นี้ เพราะทุกคนตองไปงานวันวิทยาศาสตรกันหมด......

“ครูขา ครูไมตองตกใจหรอกคะ หนูขอเปนผูเสียสละ หนูไมขอไปสงขลา ใหเพื่อนๆ ไปเถอะคะ...หนูจะอยูชวยครู ถาโรงเรียนเราไมนำเสนอ โรงเรียนก็จะเสียชื่อและครูก็ตองถูกตำหนิจากเขตพ้ืนที่”

นี่คือคำตอบของเด็กผูหญิงคนนี้ เธอ...ผูมีบทบาทเปนผูนำนักเรียนของ

โรงเรียน เธอ...ผูที่ทำใหผูเขียนรองไหดวยความต้ืน

ตันใจ ความเสียสละของคอดีเยาะ สงผลใหเธอ

ไดรับรางวัลชนะเลิศการนำเสนอโครงงานคุณธรรมในครั้งน้ัน และไดเปนตัวแทนไปนำเสนอในระดับภาคจนสามารถควารางวัลเหรียญเงิน สรางความภาคภูมิใจใหแกโรงเรียนและเขตพื้นที่เปนอยางยิ่ง

ผลจากการทำความดีของคอดีเยาะเปนแบบอยางทีด่แีกนองๆ และเพ่ือนๆ ในการปฏิบติัตนเปนผูมีน้ำใจ รับผิดชอบ เสียสละความสุขสวนตัวเพื่อประโยชนสวนรวม สงผลใหไดรับรางวัลเด็กดี ในวันเด็กแหงชาติประจำป ๒๕๕๓ จากผูอำนวยการเขตพืน้ทีก่ารศกึษาปตตาน ีเขต ๒

ผูเขียนเช่ือวา ไมมีเชื้อโรคใดเจาะผาน

ภูมิคุมกันของเราได หากมีจิตใจที่คิดแตสิ่งดี เฉกเชน เด็กหญิงคอดีเยาะ หะยีอาซา ผูนี้ ภายใตวิกฤตท่ีเลวรายในยุคน้ี หากใชสติและเหตุผลพิจารณาอยางรอบคอบ เราอาจจะไดเห็นดานดีๆ ของชีวิตท่ีซอนอยูก็ได เพราะเราตางมีแสงสวางในตัวเอง ซ่ึงพรอมท่ีจะสองสวางเมื่อสังคมใหโอกาส เด็กหญิงคอดีเยาะ หะยีอาซา เปนเพียงตัวอยางหนึ่งที่หยิบยกใหเห็นถึงความเสียสละ เธอสอนใหเรารูวา เวลาของทุกๆ คนน้ันมีเทากัน เพียงแตจะแบงเวลามาใหกับสวนรวมมากนอยเพียงไรนี่สิสำคัญ

ตลอดระยะเวลา ๖ ป ที่ผูเขียนและเพ่ือนครูไดฝาฟน เพื่อใหนักเรียนโรงเรียนไทยรัฐวิทยา ๕๒ ( ชุมชนบ านตน ไพ) เปนผู มี คุณธรรม จริยธรรม... วันน้ี...ทำใหเราหายเหน่ือยแมวาจะตองแลกกับอะไรหลายๆ อยางในชีวิต ไมวาจะเปนความมานะอดทน ความบากบ่ัน หรือเวลาที่สูญเสียไป สิ่งสำคัญที่สุดสำหรับผูชนะจึงมิใชแคเรื่องการตอสู หรือการแขงขันกับใครๆ หรือส่ิงใด แตชัยชนะที่แทจริงคือความอิ่มเอมใจที่ทำใหลูกศิษยเปนคนดี และมีที่ยืนในสังคม ไมสรางความเดือดรอนใหสังคมสวนรวม แมจะเปนความเบิกบานในใจที่เกิดขึ้นกับเสี้ยวหน่ึงของความสำเร็จ แตเราก็ภูมิใจที่ไดลงมือทำ แมเหน็ดเหน่ือย...ก็คุมคาที่ฝาฟน มิใชหรือ

๓๕

Page 38: เล่ม ๒-๓ ภาคใต้ตอนล่าง ปี ๕๓ สิงหาคม

ภูเก็ต

ขณะที่ครูจรรยากำลังเช็คชื่อนักเรียนหลังเขาแถวเคารพธงชาติ อันเปนภารกิจประจำวันของครูประจำช้ัน ณัฐพงษ ก็กระหืดกระหอบเขามาพรอมหนีบกระเปาหนังสือใบเกา

“ขออนุญาตครับ” เด็กหนุมบอกดวยเสียงเรียบ ขณะเดินยองๆ เขาไปท่ีโตะเรียน

“สายอีกแลว” ครูจรรยาตวาดเสียงดัง สีหนามีอารมณโกรธ

“ออกมานี่ซิ” คำสั่งของครูทำใหเด็กหนุมชะงัก หันกลับและเดินมายืนหนาชั้น

“เธอนี่สอนยากจริงๆ เมื่อวานก็สาย วันน้ีเหมือนเดิมอีก ทำไมดื้อดาน พูดยากพูดเย็นเหลือเกิน ฉันละเบื่อจริงๆ” ณัฐพงษกมหนานิ่ง ไมมีคำพูดใดหลุดจากปากของเขา

“ถาเปนอยางนี้อยูอีก” ฉันจะสงเธอใหฝาย

เรื่อง พิทักษ สวนอักษร

โรงเรียน สตรีภูเก็ต

ต.ตลาดใหญ อ.เมือง จ.ภูเก็ต

ชีวิตผม...ในกำมือของครู

ปกครองจัดการ ณ โรงอาหารของโรงเรียน ครูจรรยานั่ง

สนทนาอยูกับครู วินัย เรื่ องพฤติกรรมของนักเรียนท่ีมีปญหา

ณัฐพงษ เปนนักเรียนคนหน่ึงที่อยูในหัวขอของการสนทนา

“ชั่วโมงวิทยของผมก็เหมือนกัน เขาดูซึมๆ เหมือนงวงนอน สงสัยจะนอนดึก เด็กสมัยนี้ไมแชตคุยกับเพื่อน ก็เลนเกม”

“เผลอๆ อาจเลนพนันบอลก็ได” ครูจรรยาเสริมขึ้นบาง

พฤติกรรมการมาสายและนั่งหลับของ ณัฐพงษเปนท่ีเอือมระอาของบรรดาครูที่หวังดี และตั้งใจสอนหนังสือท้ังหลาย ครูหลายคนใชคำพูดคอนขางแรง เชน

๓๖

Page 39: เล่ม ๒-๓ ภาคใต้ตอนล่าง ปี ๕๓ สิงหาคม

“ถาครูเปนแมเธอ ครูใหลาออกไปนานแลว”

“อยางพวกเธอนี่เขาเรียกวา ตัวถวงความเจริญของเพื่อน”

“นิสัยแกไมหายแบบน้ี เขาเรียกวาดื้อเหมือนควาย”

คำดุดาที่ไดรับทำใหณัฐพงษทอแท หมดกำลังใจ

“ผมอยากลาออกครับแม จะไดมาชวยแมทำงานไดเต็มที่ อยูโรงเรียนก็อายเพื่อนมัน ครูดาทุกวัน” ณัฐพงษรำพันกับแม

“อดทนหนอยนะลูก ตองเรียนใหสูง จะไดมีงานดีๆ ทำ ไดเลี้ยงแมตอนแกเฒา เราก็มีกันสองคนนี่แหละ” แมพูดใหกำลังใจ

เชาวันหน่ึงขณะครูจรรยากับครูวินัย มาทำธุระที่สำนักงานสหกรณออมทรัพยครูในจังหวัด และแวะมาทานกวยเตี๋ยวที่รานเล็กๆ แหงหนึ่ง แมคาเปนหญิงวัยกลางคน ขะมักเขมนอยูกับการปรุงกวยเตี๋ยวและใหบริการลูกคา แมจะเปนรานเล็กแตก็ดูสะอาด ลูกคาอุดหนุนหนาตา แมคานอกจากปรุงแลวยังคิดเงิน และนำกวยเตี๋ยวไปเสิรฟใหลูกคาดวย ตอนหนึ่งแมคาตะโกนเขาไปหลังราน

“พงษ พงษ ออกมาชวยหนารานหนอย จานเด๋ียวคอยลาง”

“ครับแม” มีเสียงตะโกนตอบออกมา ส้ินเสียงเด็กหนุมในชุดนักเรียนมัธยมปลาย กุลีกุจอ ออกมาหนารานขณะที่มือยังคงเปยก

และแลวกวยเตี๋ยว ๒ ชามก็ถูกเด็กหนุมนามวา “ณฐัพงษ” ยกมาเสริฟใหกบัคณุครทูัง้สอง

“อาว เธอเองหรือนี่” ครูทั้งสองอุทานขึ้นเกือบจะพรอมกัน

แมคาวางมือจากงานท่ีกำลังทำอยู เดินเขามาทักทายคุณครูของลูกชาย

“สวัสดีจะคุณครู” “แมของผมครับ” ณัฐพงษแนะนำแมให

คุณครูรูจัก ขณะน้ันใกลจะแปดนาฬกาแลว

“ดิฉัน ...ตองขอโทษคุณครูดวยนะคะ ท่ีลูกไปโรงเรียนสายบอย พงษตองตื่นตั้งแตตีสี่ชวยดิฉันเตรียมขาวของ หกโมงเปดรานก็ชวยบริการลูกคาสลับเขาไปลางจาน ตอนนี้ครอบครัวของเราก็เหลือกันแคดิฉันกับลูกสองคน เหน่ือยสักหนอย” แมพูดพรอมรอยยิ้ม ขณะที่ณัฐพงษยืนกมหนานิ่ง

ระหวางเดินทางกลับโรงเรียน “ถารูอยางน้ีตั้งแตแรก ผมจะไมดาใหแก

เสียกำลังใจ” ครูวินัยเอยขึ้น “เด็กกตัญูอยางนี้ ควรไดรับการยกยอง

ใหเปนเยี่ยงอยางดวยซ้ำไป” ครูจรรยาเสริมขึ้นบาง

“เดี๋ยวผมจะเสนอฝายแนะแนวพิจารณาหาทุนการศึกษาใหสักทุน เ ด็กดีๆ อยาง น้ีโรงเรียนตองสนับสนุน นี่ยังดีที่ เขาไมเสียใจ ทอแท ลาออกไปเสียกอน”

ขาวเด็กกตัญูของณัฐพงษลือกระฉอนไปทั่วโรงเรียน จากความเอือมระอา เบ่ือหนาย เปลี่ยนเปนรอยยิ้มและความชื่นชม

เมื่อครู เขาใจนักเรียน อะไรๆ ก็ดีขึ้น ณัฐพงษมีความสุข ผลการเรียนดีขึ้น ครูมีรอยยิ้มและคำปลอบใจใหเด็กกำพราพออยาง ณัฐพงษ เด็กหนุมเองก็ปรับตัว และมาสายนอยลง

ภาคเรียนตอมาเม่ือไดรับทุนการศึกษา แมของณัฐพงษก็ จ าง เด็กไวช วยงาน ท่ีร านกวยเตี๋ยวคนหน่ึง ต้ังแตนั้นมาณัฐพงษก็ไมเคยมาโรงเรียนสายอีกเลย

๓๗

Page 40: เล่ม ๒-๓ ภาคใต้ตอนล่าง ปี ๕๓ สิงหาคม

ขอนแกน เขต ๔

เด็กผูหญิงคนนั้น หนาตาดี สูงโปรง ผอม ดูเดนเปนสงาในหมูเพื่อนดวยกัน น้ำเสียงใสกองกังวาน เปนความประทับใจ ดึงดูดใหผูคนมองไปที่เจาของเสียงนั้นเปนตาเดียว เธอ คือ กลวย

เมื่อมองรูปลักษณภายนอก ไมนาเชื่อวาเธอจะมีความสามารถมากมาย เธอมีความมุงมั่นในการปฏิบัติงาน จากความประทับใจในเสียงสวดมนตของเธอวันนั้น ทำใหครูนิตยสอบถามพี่ชายซึ่ งกำลังศึกษาอยูชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๔ ทราบวากลวยตั้งใจศึกษาตอโรงเรียนในเมือง ทำใหนึกเสียดายอยูในใจวา หากนักเรียนคนน้ีมาเรียนที่โรงเรียนของเรา คงจะทำใหมีผูนำท่ีดีเพิ่มขึ้นอีกคนหนึ่ง

วันเปดภาคเรียนวันแรก ปการศึกษา ๒๕๔๗ นักเรียนใหมเดินกันมาเปนกลุมใหญ ฉันตะลึงเมื่อเห็นกลวยยืนอยูใตตนพิกุลพรอมกับเพื่อนๆ ของเธอ สิ่งท่ีประทับใจครั้งแรกที่พบเห็น คือการแตงกายสะอาดเปนระเบียบเรียบรอย เหมาะกับบุคลิกหนาตาดี ฉันตรงเขาไปหา เธอ

เรื่อง ครูแมนิตย โรงเรียน

ยะหาศิรยานุกูล อ.ยะหา จ.ยะลา

จริงหรือ! บุญบันดาล…

ยกมือไหว พูดวา “สวัสดีคะคุณครู” ฉันรับไหวและพูดวา “หนูนารักจริง อยูชั้น ม.๑ หองไหนคะ”

เธอตอบวา “ม.๑ หอง ๑ คะ” หลังจากวันนั้นฉันไมไดเจอเธออีกเลย หนึ่งภาคเรียนตอมา ในช่ัวโมงวชิาพระพทุธศาสนา พบวา “กลวย” เปนผูนำมาตลอด เร่ิมตั้งแตการสวดมนตทำนองสรภัญญะ น้ำเสียงกังวาน ชัดเจน จังหวะดี เราใจ หลังจากน้ันโรงเรียนรับสมัครผูนำกลุมในการสวดมนต กลวยสมัครเปนกลุมแรกพรอมทีมงานอีก ๔ คน และทำการฝกซอมเพื่อเขาแขงขันระดับจังหวัด เปนผูนำกลุมนักเรียนทั้งโรงเรียนสวดมนตในกิจกรรมอบรมประจำสัปดาหทุกวันศุกร และเขารวมการประกวดสวดมนตระดับจังหวัดทุกป จนกระทั่งไดรับรางวัลชนะเลิศ เปนความภาคภูมิใจของโรงเรียนและของเธอเองดวย เธอไดแสดงความขอบคุณคุณครูที่ ใหโอกาส แสดงใหเห็นถึงความเปนคนรูคุณคนและมีน้ำใจ

เมื่อเรียนจบช้ันมัธยมศึกษาปที่ ๓ กลวยก็

ยะลา เขต ๒

๓๘

Page 41: เล่ม ๒-๓ ภาคใต้ตอนล่าง ปี ๕๓ สิงหาคม

ยั งคง เปนกล วยคนเดิม อ อนนอมถอมตน มารยาทดี พูดจาสุภาพไพเราะ มีน้ำใจ กลาแสดงออก ปฏิบัติงานอยางทุมเทดวยความมุงมั่น เปนที่รักของเพ่ือนๆ พ่ีๆ นองๆ และครูบาอาจารยทุกทานในโรงเรียน กลวยพูดกับนองๆเสมอวา ใหตั้งใจทำความดี แมใครจะไมเห็นแตตัวเรารู ยึดตัวอยางพอหลวง พระองคทานทรงงานอยางไมยอทอเพื่อปวงชนชาวไทย กลวยจึงตั้งใจทำความดีตลอดมา

ความดีของกลวยสงผลใหเธอไดรับทุนการศึกษาในพระบรมราชูปถัมภสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ ไดศึกษาตอในชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๔ กลวยบอกวา “ถาไมมีแมนิตยคนนี้ กลวยคงไมไดศึกษาตอ” ครอบครัวของกลวยมีฐานะยากจน พอแมแยกทางกัน แตก็ไมไดเปนอุปสรรคกับกลวย กลับทำใหเธอมุมานะพยายาม ไมยอทอ กลวยตั้งปณิธานไววาจะศึกษาตอทางสาขาแพทย หรือพยาบาล จะไดชวยเหลือผูคนท่ีเจ็บปวย ประสบความลำบากในชีวิต เธอแสดงออกถึงความเปนคนมีเมตตากรุณา มีจิตอาสา กลวยเปนผูริเริ่มโครงงานจิตอาสาชวยเหลือผูเจ็บปวย ผูสูงอายุ บำเพ็ญประโยชนตอสังคม รวมปฏิบัติงานเปนคณะทีมงาน ณ โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราช อำเภอยะหา ศูนยคนชรา ออกเย่ียม เยียนผูปกครองของเพื่อนๆ ที่เจ็บปวย กลวยเปนผูนำและไดรับการยอมรับจากทุกคน กลวยบอกกับดิฉันวา “คนที่มีจิตใจบริสุทธิ์ คิดดี ทำดี ปฏิบัติดี มีใจยึดหลักธรรมขององคสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจา โดยเฉพาะหลักธรรมอิทธิบาท ๔ (ฉันทะ วิริยะ จิตตะ วิมังสา) และพรหมวิหาร ๔ (เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา) จะประสบความสำเร็จในชีวิต เปนหลักธรรมที่หนูใชเปนสิ่งเตือนใจ สงผลใหหนูพบกับความสำเร็จในชีวิตระดับหน่ึง” การปฏิบัติของกลวยดวยจิตสำนึกที่ดี มีความรับผิดชอบ ตั้งใจศึกษาเลาเรียน รูจักใชจายทรัพย เก็บออมไวใชในโอกาสท่ีจำเปน นำเงินที่สะสมไวซื้อหนังสืออานเสริมเพ่ิมเติมชวงปด

ภาคเรียน เติมเต็มใหกับตัวเอง หาสถานที่เรียนติวเขมเพื่อไดรับความรูใหมๆ เพื่อจะเขาเรียนตอในสาขาแพทย และพยาบาล

ความหวังของเธอเปนความจริง วันท่ี ๒๙ มกราคม ๒๕๕๓ เปนวันท่ีกลวยดีใจเปนท่ีสุดเมื่อทราบวาสอบผานแพทยแผนจีนในเครือขายโรงพยาบาลพระมงกุฎเกลา กรุงเทพมหานคร จากสถาบันราชภัฏจันทรเกษม กลวยพูดกับครูวา “สวรรคบันดาลหนูจริงๆ ใหประสบความสำเร็จดังที่ตั้งความฝนไว” แตครูบอกวา “เพราะความดีที่หนูกระทำตางหาก โดยการปฏิบัติธรรม หลักอิทธิบาท ๔ พรหมวิหาร ๔ มีสัมมาคารวะ รูจักเก็บออม รับผิดชอบตอหนาที่ มุงมั่น พยายาม อดทน เปนผลบุญหนุนนำใหหนูประสบความสำเร็จ” ครูดีใจเปนที่สุด และขอบอกวา “ไมวาหนูจะอยูที่ไหน จงรักษาความดี ปฏิบัติคุณธรรมตลอดไป”

ความดีของ “กลวย” นางสาวณิชกุลโรชา แกวบันดาล ไดฝากบทเรียน ประสบการณ อุดมการณอันคุมคาไวใหนองๆ ท่ีใครๆ คิดวากลวยๆ แตกลวยคนนี้คิดดี ทำดี ปฏิบัติดี มีคุณธรรมเปนท่ีประจักษ กุศลผลบุญสนองตอบใหประสบความสำเร็จ เปนแบบอยางที่ดี มีคาตอสังคมประเทศชาติในอนาคตสืบไป จริงหรือ! บุญบันดาล...

“เพราะความดีที่หนูกระทำตางหาก โดยการปฏิบัติธรรม หลักอิทธิบาท ๔ พรหมวิหาร ๔ มีสัมมาคารวะ รูจักเก็บออม รับผิดชอบตอหนาที่ มุงมั่น พยายาม อดทน เปนผลบุญหนุนนำใหหนูประสบความสำเร็จ”

๓๙

Page 42: เล่ม ๒-๓ ภาคใต้ตอนล่าง ปี ๕๓ สิงหาคม

เด็กเปรียบเหมือนผาขาวท่ียินยอมใหผูใหญแตงแตมสีตามที่เห็นวาผานั้นจะเกิดความสวยงาม ทามกลางกระแสโลกาภิวัตนเปนโลกแหงการเรียนรู การเรียนรูสามารถเกิดขึ้นไดตลอดเวลา ทำใหเด็กไทยรวมทั้งเด็กนักเรียนของโรงเรียนบานบอทราย ตกอยูภายใตสังคมแหงการเรียนรู ที่รับเอาเทคโนโลยีและวัฒนธรรมจากทั่วโลกมาใชอยางขาดความรอบคอบ สงผลกระทบตอคุณธรรมและจริยธรรมของเด็กซึ่งนับวันยิ่งรุนแรง จึงมีความจำเปนที่เราจะตองกลับไปจัดการศึกษาเหมือนเมื่อหลายสิบปกอน คืนครูใหกับศิษย คืนการศึกษาใหกับชุมชน ครอบครัว หรือวัด เพื่อใหเกิดการเรียนรูอยางสรางสรรค การจัดการศึกษาตองเปนไปเพื่อพัฒนาเด็กใหมีความพรอม สมบูรณทั้งดานรางกาย จิตใจ สติ

พัทลุง เขต ๑

ดาวแหงความดทีี่บอทราย

เรื่อง ประสพ เพชรจันทร

โรงเรียน บานบอทราย ต.บานพราว

อ.ปาพะยอม จ.พัทลุง

ปญญา มีความรูและคุณธรรม เปนผูมีจริยธรรมในการดำเนินชีวิต สามารถอยูรวมกับผูอื่นไดอยางมีความสุข

โรงเรียนบานบอทราย ไดมองเห็นความสำคัญของปญหาเหลาน้ี จึงไดจัดกิจกรรมสงเสริมและพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมนักเรียนอยางหลากหลาย โดยเนนกิจกรรมโรงเรียนวิถีพุทธ เน่ืองจากเห็นวากิจกรรมโรงเรียนวิถีพุทธ เปนแนวทางท่ีจะแกปญหาเหลาน้ีไดเปนอยางดี เนนการนำหลักธรรมของพระพุทธเจามาประยุกตใชในการบริหารจัดการ และพัฒนาผูเรียนโดยรวมของโรงเรียน เนนกรอบการพัฒนาตามหลักไตรสิกขา คือ ศีล สมาธิ และปญญาอยางบูรณาการ เปนการพัฒนาผู เ รียนให เปนมนุษยที่สมบูรณดวยภาวนา ๔ คือ พัฒนาทางกาย

๔๐

Page 43: เล่ม ๒-๓ ภาคใต้ตอนล่าง ปี ๕๓ สิงหาคม

สังคม จิต และปญญา การสงเสริมและพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมใหเกิดขึ้นในตัวนักเรียน ตามแนวทางโรงเรียนวิถีพุทธ จึงมีสวนสำคัญยิ่งในการพัฒนาผูเรียน นอกจากจะเปนคนเกง คนดี และมีความสุขแลว ยังมีการปฏิสัมพันธแบบเกื้อหนุนสงเสริมซึ่งกันและกันอีกดวย เชน การเปนคนดีดวยศีล จะทำใหมีวินัยในการเรียน ผลที่ตามมาคือเรียนเกงขึ้น การเปนคนมีความสุขดวยสติและสมาธิ จะทำใหตั้งใจเรียนและเรียนเกงข้ึน การเปนคนเกงดวยปญญาจะทำใหผูเรียนเปนคนดีที่ไมเห็นแกตัว เพราะปญญาจะชวยใหผูเรียนรูจักเอาใจเขามาใสใจเรา กิจกรรมโรงเรียนวิถีพุทธ เนนการมีสวนรวมของบาน วัด และโรงเรียน เพ่ือมุงหวังใหเกิดผลดีตอนักเรียนในทุกดาน มีคุณธรรม จริยธรรม มีจิตสำนึกที่ด ี มี

คณุลกัษณะ อันพึงประสงค เปนท่ีพอใจของครู ผูปกครองนักเรียน และเปนที่ยอมรับของชุมชน นอกจากนี้ ทางโรงเรียนยังมุงที่จะสรางนักเรียนเปนผูนำเยาวชนตนแบบดานศีลธรรม หรือ ดาวแหงความดี โดยผานบทฝกในกิจวัตรประจำวันอยางตอเนื่องจนเปนนิสัย ควบคูกับการทำกิจกรรมสรางสรรคสังคม โดยความรวมมือของสถาบันหลักในสังคม คือ บาน วัด และโรงเรียน ซึ่งเปนมรดกทางวัฒนธรรมไทยท่ีจะชวยปลูกฝงรากลึกทางคุณธรรม จริยธรรมเขาสูจิตใจของผูนำเยาวชนตนแบบไดอยางยั่งยืน และสามารถถายทอดศีลธรรม คุณธรรม ความดี แนวทางการดำเนินชีวิตท่ีถูกตองสูเพื่อนเยาวชน คนรอบขาง และสังคมตอไป

เพื่อใหการดำเนินกิจกรรมวิถีพุทธของ

๔๑

Page 44: เล่ม ๒-๓ ภาคใต้ตอนล่าง ปี ๕๓ สิงหาคม

โรงเรียนบานบอทรายเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ คณะกรรมการโรงเรียนวิถีพุทธของโรงเรียนไดรวมกันกำหนดกิจกรรมอยางหลากหลาย ตอเนื่อง โดยกำหนดกิจกรรม ๔ ลักษณะ ดังน้ี

กิจกรรมเสริมเนื้อหาสาระตามหลักสูตร ไดแก สอดแทรกหลกัทางพุทธธรรม และบรูณาการในการจัดหนวยการเรียนรู ของกลุมสาระตางๆ ทุกกลุมสาระ รวมท้ังกิจกรรมพัฒนาผูเรียน จัดทำโครงงานคุณธรรม พิธีแสดงตนเปนพุทธมามกะ ณ วัดโดนคลาน เปนประจำทุกป การประกวดมารยาทไทย กิจกรรมคายคุณธรรม กิจกรรมบริหารจิตเจริญปญญา

กิจกรรมประจำวัน / ประจำสัปดาห ไดแก กิจกรรมรักษาความสะอาดเขตรับผิดชอบ สวดมนตไหวพระ แผเมตตา ยกยองผูที่ทำความดีมีความรับผิดชอบ ครู เวรอบรมคุณธรรม

จริยธรรม สวดมนตทำนองสรภัญญะในวันสุดสัปดาห

กิจกรรมเนื่องในโอกาสวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา ไดแก กิจกรรมวันวิสาขบูชา วันอาสาฬหบูชา วันเขาพรรษา วันมาฆบูชา วันสารทไทย ซึ่งในวันสำคัญเหลานี้ ทางโรงเรียนจัดกิจกรรมรวมกับผูปกครองและชุมชน ณ วัดโดนคลาน เชน ฟงพระเทศน เวียนเทียน พัฒนาวัด ถวายเทียนพรรษา และผาอาบน้ำฝน รวมกับชุมชน ทำขนมเทศกาลเดือนสิบ

กิจกรรมพิเศษอื่นๆ ไดแก หิ้วปนโตไปวัดทุกวันพระ โดยผลัดเปลี่ยนกันไปคร้ังละ ๑ ช้ัน โดยผูปกครองนักเรียนไปรวมดวยทุกครั้ง แตละครั้งมีการสวดมนต ฟงพระเทศน และพัฒนาวัด รวมกับชุมชน ทำบุญตักบาตรปใหมที่โรงเรียนเปนประจำทุกป กิจกรรมวันแม การอบรม

๔๒

Page 45: เล่ม ๒-๓ ภาคใต้ตอนล่าง ปี ๕๓ สิงหาคม

จริยธรรมโดยพระอาจารย การเรียนธรรมศึกษาในโรงเรียน กิจกรรมบันทึกความดี โดยการฝกทำความดีในกิจวัตรประจำวัน ๑๐ ขอ ไดแก ไมนอนต่ืนสาย/เก็บท่ีนอนหลังต่ืนนอน แตงกายสุภาพ สมาทานศีลกอนออกจากบาน หรือหนาเสาธง การออมทรัพย สวดมนตไหวพระกอนนอน ไหวพอ-แม ญาติและผูใหญ เขียนความดีของครู เพ่ือน และคนรอบขาง นั่งสมาธิ ชวยเหลือทำงานบาน และอานหนังสือเรียน หรือหนังสือที่มีประโยชน กิจกรรมปนน้ำใจแกผูสูงวัยในชุมชน

จากการท่ีโรงเรียนบานบอทรายไดดำเนินการพัฒนาสูโรงเรียนวิถีพุทธ โดยนำหลักธรรมทางพระพุทธศาสนามาประยุกตใชในการจัดการศึกษา โดยมีจุดเนนที่สำคัญคือนำหลักธรรมมาใชในระบบการพัฒนาผูเรียน นำไปสูการพัฒนาผูเรียนใหสามารถกิน อยู ดู ฟง เปน คือใชปญญาในการแกปญหา จนนักเรียนไดรับรางวัลตางๆ อาทิ รางวัลนักเรียนผูมีความประพฤติดี และบำเพ็ญตนเปนประโยชนตอสังคม ของกระทรวงวัฒนธรรม ตั้งแตป ๒๕๕๑, ๒๕๕๒ และ ๒๕๕๓ รางวัลชนะเลิศในการประกวดโครงงานคุณธรรม ชวงช้ันที่ ๒ ในระดับ สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาพัทลุง เขต ๑ รางวัลเหรียญทอง ในการประกวดโครงงานคุณธรรม ชวงช้ันที่ ๒ ในงานศิลปหัตถกรรมนักเรียนภาคใต รางวัลเหรียญทอง ในการประกวดแตงเพลงและรองเพลงคุณธรรม ชวงชั้นที่ ๒ ในงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน

ภาคใต นอกจากนี้ยังสามารถปรับพฤติกรรมและจิตใจ ซึ่งถือเปนวิถีทางหนึ่งที่ทำใหนักเรียนของโรงเรียนบานบอทรายเติบโตอยางมีความรูคูคุณธรรม เจริญกาวหนาบนพื้นฐานการศึกษาธรรมะตามพุทธวิธี เพื่อจะไดเปนคนดี จะเห็นไดจากผลการประเมินพฤติกรรมนักเรียน พบวา มีการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมในทางท่ีดีขึ้นอยางชัดเจน ผ านเกณฑการประเ มิน ท่ี โรง เรี ยนกำหนด นักเรียนไดรับการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะอันพึงประสงคตางๆ พรอมกับการพัฒนาสติปญญาเปนดาวแหงความดี ที่เปนแบบอยางแกเพื่อนๆ และคนรอบขางตอไป

กิจกรรมพิเศษอื่นๆ ไดแก หิ้วปนโตไปวัดทุกวันพระ

๔๓

Page 46: เล่ม ๒-๓ ภาคใต้ตอนล่าง ปี ๕๓ สิงหาคม

สงขลา เขต ๓

เรื่อง สุดใจ ใหมคง โรงเรียน วัดชองเขา ต.คลองเปย อ.จะนะ จ.สงขลา รุงอรุณ

ที่ชองเขา

๔๔

Page 47: เล่ม ๒-๓ ภาคใต้ตอนล่าง ปี ๕๓ สิงหาคม

เมื่อยอนอดีตไปประมาณ ๔๐ กวาป ผูคนหลายคนในยุคนั้นรวมท้ังผูเขียนดวย ก็ยังจดจำสิ่งที่ดีๆ ในโรงเรียนไดอยางแมนยำ ถึงแมวาเวลาจะผานไปนานแลวก็ตาม หากมีใครถามวาประทับใจเรื่องอะไรบางในอดีต ผูเขียนก็จะคิดถึงเรื่องที่คุณครูสอนให เรามีประสบการณตรง ฝกหัดทำและปฏิบัติสิ่งตางๆ ดวยตัวเอง คิดถึงคุณครูที่มีจิตใจดี เปนแบบอยางที่ดี มุงมั่นสั่งสอนเราใหเปนคนดี ใหเรามีน้ำใจ ใหชวยเหลือในสิ่งตางๆ เทาที่จะทำได ไมนิ่งดูดาย ทั้งยังปลูกฝงใหเรายึดมั่นในศาสนาท่ีเรานับถือ โดยคุณครูจะฝกผู เขียนรวมทั้งเ พ่ือนๆ ท่ีนับถือศาสนาพุทธใหสวดมนตทุกเชาและกอนกลับบาน สวนวันศุกรทุกคนจะมาพรอมกันทุกชั้นเรียน มานั่งสวดมนตไหวพระและสวดสรภัญญะเพ่ือสวดสรรเสริญพระพุทธคุณ พระธรรมคุณ และพระสังฆคุณ จนเชี่ยวชาญ มีความรูสึกลึกซึ้ง ไดกลาวบทสวดเมื่อใดก็จะรูสึกอิ่มเอิบใจอยางบอกไมถูก และที่ผูเขียนไมเคยลืมเมื่อถึงวันสุดทายของภาคเรียน คุณครูก็ จะนิมนตพระมาที่โรงเรียน นักเรียนทุกคนจะนำอาหารหวานคาวมาถวายพระ ใสปนโตห้ิวกันมาคนละสาย พอแมมีความยินดีที่ลูกๆ นำอาหารมาถวายพระ ทำอาหารจนสุดฝมือ เมื่อทำพิธีทางศาสนาเสร็จ ทุกคนจะรับประทานอาหารรวมกัน รอฟงผลการสอบแลวจึงกลับบานดวยความสุขใจ

จะเห็นไดวาในอดีตเด็กๆ และเยาวชนมีพฤติกรรมในทาง ท่ีดี ต า งจากในปจจุบั นเนื่องจากแบบท่ีดีก็นอยลง มีปญหาตางๆ ทั้ง

ดานเศรษฐกิจ ครอบครัว และปญหาสังคม เด็กในปจจุบันไมมีสัมมาคารวะ มีความประพฤติไมเรียบรอย แลงน้ำใจ เมื่อทำกิจกรรมทางศาสนาก็จะเมินเฉยไมสนใจ พฤติกรรมเหลานี้มาจากปญหาขาดการอบรมสั่งสอนดูแลอยางใกลชิดจากพอแม หรือผูปกครอง ขาดการใหประสบการณตรงที่ดีแตรับประสบการณที่เลวรายโดยไมรูตัวเพราะเด็กไดรับสื่อที่ไมดีเชนดูโทรทัศนรายการที่ไมมีสาระ บางก็ดูรายการท่ีมีการฆาฟนกัน แกงแยงชิงดีชิงเดนกันในหนัง ในละคร โดยท่ีเด็กดูเพียงลำพังไมมีใครแนะนำบอกกลาววาเปนส่ิงไมดี ทุกอยางไดซึมซับเขาไปโดยไมรูตัว ผูเขียนในฐานะที่เปนครูผูรับผิดชอบกิจกรรมพัฒนาคุณธรรมในสถานศึกษาของโรงเรียนวัดชองเขา ตระหนักและเห็นความสำคัญในการพัฒนานักเรียนใหเปนผูที่มีคุณธรรม มีพฤติกรรมที่พึงประสงค เปนท่ีตองการของสังคม ใหอยูในสังคมไดอยางมีความสุข

จงึรวมกบัคณะคร ูผูบรหิาร คณะกรรมการ สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน วางแนวทางการจัดกิจกรรมท่ีพัฒนานักเรียนอยางหลากหลายเชน การชวยเหลือทำความสะอาดในบริเวณโรงเรียน การสวดมนตไหวพระในตอนเชา การสมาทานศีล การนั่งสมาธิกอนเรียน การออมทรัพย การฝกวิถีชีวิตตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง การประชุมพรอมกันในวันสุด สัปดาห โดยสวดสรภัญญะ น่ังสมาธิพรอมกันทุกคนในกิจกรรมกอนเรียนตอนบาย การไปรวมบุญในวันสำคัญทางศาสนา และขาดไมไดก็คือกิจกรรมวันปด

๔๕

Page 48: เล่ม ๒-๓ ภาคใต้ตอนล่าง ปี ๕๓ สิงหาคม

ภาคเรียนซึ่งคลายคลึงกับประสบการณในอดีตของผูเขียน โดยใหนักเรียนนำอาหารหวานคาวมาถวายพระ เชิญผูปกครองมารวมกิจกรรม นักเรียนจะเปนผูดำเนินการเอง เชน การจัดโตะหมูบูชา การเปนประธานจุดธูปเทียนบูชาพระรัตนตรัย การเปนพิธีกรทางศาสนา การกลาวบทสวดมนตตามธรรมเนียมประเพณีของทองถิ่น การถายอาหารใสภาชนะถวายพระ การรวมทำบุญตักบาตร ทุกอยางนักเรียนเปนผูปฏิบัติดวยตนเอง เ ม่ือรับประทานอาหารรวมกันนักเรียนจะไดรูจักการแบงปนกัน สรางมิตรภาพที่ดีตอกัน มีความรักความอบอุน ไดพูดคุยกันขณะรับประทานอาหาร กิจกรรมนี้ถือไดวาโรงเรียนไดสรางแนวทางการปฏิบัติที่ดีใหนักเรียนไดมีประสบการณที่สรางสรรค ผูเขียนเชื่อวาหากนักเรียนไดรับการขัดเกลาจิตใจโดยผานกิจกรรมที่หลากหลาย เห็นครู พอแม ผูปกครอง หรือเห็นแบบอยางที่ดี ก็จะชวยสั่งสมประสบการณ กิจกรรมที่กลาวมานั้น ตองทำอยางตอเน่ืองทุกภาคเรียน จากชั้นอนุบาลจนถึงชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ ปละ ๒ ครั้ง ในเวลา ๗ ป ประสบการณเหลานีก้ค็งจะไดซมึซาบสูตวันกัเรยีนไดเปนอยางดี อยางเชนผูเขียนในอดีต

ผูเขียนเห็นวาถึงเวลาแลวที่ทุกคน ทุกฝาย ทั้งบาน วัด โรงเรียน ซึ่งมีพอแม ผูปกครอง ครู พระหรือโตะครู ตองรวมใจกันพัฒนาคุณธรรมของเด็กๆ ซึ่งเปนอนาคตของชาติใหเปนคนดี มี

นิสัยที่ดี เปนแบบอยางที่ดี สรางความรักความศรัทธาในศาสนาท่ีตนเองนับถือเปนเครื่องยึดเหน่ียวจิตใจ เด็กๆ จะไดนำเอาประสบการณตางๆ มายึดถือเปนแนวทางในการปฏิบัติไดอยางเชนผูเขียนที่มีแนวปฏิบัติที่ดีในอดีตแลวนำมาพัฒนาลูกศิษยใหเปนเด็กดีอยูในสังคมไดอยางมีความสุข โดยอยาใหสิ่งที่ดีๆ ในอดีตถูกลบเลือนหายไป เมื่อทุกคนรวมแรงรวมใจกันการเดินทางของเราคงจะบรรลุผลไดอยางแนนอน รุงอรุณของวันใหมของโรงเรียนแตละโรงที่มุงหวังใหนักเรียนไปตามเปาหมายคงสำเร็จไดดังเชนรุงอรุณที่ชองเขา

หากมีใครถามวาประทับใจเรื่องอะไรบางในอดีต ผู เขียนก็จะคิดถึงเ ร่ืองที่คุณครูสอนให เรามีประสบการณตรง ฝกหัดทำและปฏิบัติสิ่งตางๆ ดวยตัวเอง คิดถึงคุณครูที่มีจิตใจดี เปนแบบอยางท่ีดี

๔๖

Page 49: เล่ม ๒-๓ ภาคใต้ตอนล่าง ปี ๕๓ สิงหาคม

ยะลา เขต ๑

พลิกแนวการสอนพุทธศาสนา ๓ จังหวัดภาคใต คำ เสียงสัมผัส และความหมาย ฝกสมาธิ สรางศรัทธา ใชปญญาพัฒนาจิต ใหรูตื่น รูเบิกบาน

จิตตื่น ใจเบิกบาน ดวยการสวดสรภัญญะ

เรื่อง อัญชลี กัณหผะลา โรงเรียน บานยุโป (รุงวิทยา) อ.เมือง จ.ยะลา

๔๗

Page 50: เล่ม ๒-๓ ภาคใต้ตอนล่าง ปี ๕๓ สิงหาคม

นับเปนเวลา ๒๕๕๓ ป ที่พุทธศาสนาใชทำนองสวดสรภัญญะเพื่อจดจำพระไตรปฎก จำนวน ๘๔,๐๐๐ พระธรรมขันธ ไดอยางมีประสิทธิภาพมาจนถึงปจจุบัน ซึ่งทำนองสวดสรภัญญะนั้น นับเปนกระบวนการเรียนรูโบราณที่ควรคาแกการปรับปรุงพัฒนาตอยอดใหสามารถนำมาใชไดอยางเหมาะสมในกระบวนการเรียนการสอนยุคใหม และจากแนวคิดดังกลาวสงผลใหเกิดวิธีสอนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาดวยบทสวดสรภัญญะขึ้น

วิธีสอนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาดวยบทสวดสรภัญญะ ใชในการเรียนหนังสืออานประกอบการเรียนสาระที่ ๑ ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม ชวงช้ันท่ี ๒ กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม เรื่อง วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา โดยวิธีสอนดวยบท

สวดสรภัญญะ ซึ่งประกอบดวยวันสำคัญทางศาสนาตางๆ เชน วันอาสาฬหบูชา วันมาฆบูชา วันวิสาขบูชา วันเขาพรรษา และวันออกพรรษา ที่เขียนเปนบทรอยกรอง ตามเทคนิคในการชวยความจำ ๓ วิธี คือ การสราง เ สียงสัมผัส (Rhymes ) การสร างคำ เพื่ อช วยความจำ (Acronym) การสรางประโยคท่ีมีความหมาย (Acrostic) เชน

ในการใชวิธีสอนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาดวยบทสวดสรภัญญะ เรียนรูวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา โดยวิธีสอนดวยบทสวดสรภัญญะนั้นมีขั้นตอนสำคัญ ๔ ขั้นตอน คือ

ขั้นตอนท่ี ๑ ฝกสมาธิ นำไปสูความใสใจและเขาใจ ซึ่งจะใชเวลาประมาณ ๕ นาที เพ่ือทำจิตใจของผูเรียนใหอยูในความสงบเย็น โดยนั่งในทาท่ีสบาย ปลอยตัวตรง สงบน่ิง หลับตา

๔๘

Page 51: เล่ม ๒-๓ ภาคใต้ตอนล่าง ปี ๕๓ สิงหาคม

มยํ โข เอตรหิ อิมํ อาสาฬฺหปุณฺณมีกาลํ โกณฑัญญะมากบารมี ขอบรรพชาทันที คือสงฆองคแรกเรืองรอง ชาวพุทธท่ัวแควนแดนทอง กิเลศลดกอง มุงสรางทางบุญทั่วไทย

บทสวดสรภัญญะ เรื่อง อาสาฬหปุณฺณมี พระธรรมคำสอนศาสดา ทรงประทานมา โปรดแกชาวพุทธท่ัวกัน เดือนแปดวันเพ็ญเห็นจันทร เกิดสิ่งสำคัญ ไตรรัตนเริ่มเปลี่ยนปญญา เปนอาสาฬหบูชา ทรงเทศนา ใหหมูปจวัคคีย

ในสภาพปกติ หยุดการเคล่ือนไหว ทำใหความคิดลอยอยูเบื้องหนาของตน แลวฟงบรรยายถึงความเปนมา และสาระสำคัญของวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาที่จะเรียนรู

เด็กหญิงสรธิชา ศรีพลอย นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ ๕ โรงเรียนบานยุโป (รุงวิทยา) กลาววา “หนูชอบนั่งสมาธิ เพราะชวยทำใหหนู มีใจสงบไมกังวล กอนนอนหนูก็นั่งสมาธิ คุณแมก็บอกวาลูกเกงมาก หนูรูสึกภูมิใจในตัวเอง เพราะการมีสติทำใหหนูเรียนไดดี คุณครูชมวาหนูเรียนเกงและหนูก็ตั้งใจเรียนจริงๆ คะ”

ขั้นตอนที่ ๒ สรางศรัทธา เพ่ิมแรงจูงใจ ใหปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเหมือนแบบ ขั้นตอนน้ีจะใชเวลาประมาณ ๑๐ นาที เพื่อทำจิตใจของ ผูเรียนใหเกิดความเลื่อมใส ศรัทธาในเน้ือหา ในตัวผูสอนซึ่งเปนตนแบบซึ่งจะเปนประโยชนตอ

การปรับเปล่ียนพฤติกรรมของผูเรียนเอง ทั้งน้ีโดยใชกระบวนการสนทนาแลกเปล่ียนความรู ความเปนมาและสาระสำคัญของวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา พรอมท้ังฟงตนแบบการสวดสรภัญญะอยางสงบเย็น สรางศรัทธาเพิ่มแรงจูงใจใหปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

ขั้นตอนท่ี ๓ ใชปญญาสูการจำ รูจักและระลึกได เปนขั้นตอนการฝกใชปญญาพัฒนาการเรียนรูของตน โดยปลอยใหผูเรียนเปนศูนยกลาง (Learner-centered) อยางแทจริง ซึ่งผูเรียนจะตองเขาใจเนื้อหา และคำศัพทตางๆ พรอมฝกอานและสวดตามทำนองสรภัญญะ จนไปสูการจำ ทั้งจำแบบรูจัก (Recognition) โดยรูสึกวาไดคุนเคย ไดพบ หรือไดสัมผัสมากอน และจำแบบระลึกได (Recall) ท่ีนึกยอนถึงสิ่งที่เคยเกิดขึ้นไดเอง โดยไมตองอาศัยแรงจูงใจ

๔๙

Page 52: เล่ม ๒-๓ ภาคใต้ตอนล่าง ปี ๕๓ สิงหาคม

๕๐

Page 53: เล่ม ๒-๓ ภาคใต้ตอนล่าง ปี ๕๓ สิงหาคม

ขั้นตอนที่ ๔ ประเมินผลการเรียนรู เปนกระบวนการสำคัญที่จะบงบอกถึงความสำเร็จของการจัดการศึกษา ซึ่งจะชวยใหทั้งผูสอนและผูเรียน รวมทั้งผูบริหารสถานศึกษาไดทราบวา การเรียนการสอนไดผลตามความคาดหวังที่ตั้งไวหรือไม ซึ่งแนวทางในการประเมินผลการเรียนรู กำหนดใหดำเนินการท้ังกอนเรียน ระหวางเรียนและหลังเรียน โดยใชเครื่องมือและวิธีการ ๓ รูปแบบ คือ ทดสอบโดยใชแบบทดสอบ สังเกตโดยใชแบบสังเกตพฤติกรรมและตรวจผลงานจากผลงานที่ปฏิบัติ นอกจากนี้ยังใชชุดการเรียนการสอนครบวงจร ตูไปรษณียมหัศจรรย มาใชในการประเมินผลการเรียนรูดวย

เด็กชายปาณัสม ชูมณี นัก เรี ยนชั้ นประถมศึกษาปที่ ๖ โรงเรียนบานยุโป (รุงวิทยา) กลาววา “ผมชอบเลนเกมตูไปรษณีย เพราะทำใหผมหาคำตอบท่ีถูกได ถาผมหาคำตอบท่ีถกูไมได รูปภาพที่ไดจะไมเปนรูป ดูไมรูเรื่อง แตถา

คำตอบถูกทั้งหมด รูปภาพท่ีไดจะสวยงาม ดูรูเรื่อง การเลนเกมตูไปรษณียทำใหผมรูไดทันทีวา ผมเกงหรือไม”

การใชวิธีสอนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาดวยบทสวดสรภัญญะนั้น องคประกอบสำคัญที่จะทำใหประสบผลสำเร็จ คือตัวแบบท่ีจะนำไปสูการลอกเลียนพฤติกรรม ทั้งนี้เพราะวา หากผูเรียนไมศรัทธา ก็จะไมมีสมาธิ และเมื่อไมมีสมาธิ ปญญายอมไมเกิดข้ึนอยางแนนอน

“การสอนพุทธศาสนาในพ้ืนท่ีนี้มีปญหามาก แตวิธีสอนแนวใหมนี้ นักเรียนตั้งใจรวมกิจกรรมและมีความสุขในการเรียนรูรวมกันดีมาก” นางเบญจณี โลหะปณิธาน ผูอำนวยการโรงเรียนบานยุโป (รุงวิทยา) กลาวยืนยันดวยความภาคภูมิใจ

หากผูเรียนไมศรัทธา ก็จะไมมีสมาธิ และเมื่อไมมีสมาธิ ปญญายอมไมเกิดขึ้นอยางแนนอน

๕๑

Page 54: เล่ม ๒-๓ ภาคใต้ตอนล่าง ปี ๕๓ สิงหาคม

นครศรีธรรมราช เขต ๓

ทำใหใจสงบ สมาธิ

๕๒

Page 55: เล่ม ๒-๓ ภาคใต้ตอนล่าง ปี ๕๓ สิงหาคม

จากประสบการณที่ตนเองไดปฏิบัติธรรม สมัยตอนเด็กๆ อายุประมาณ ๘-๙ ขวบ ตอนที่ยังเรียนอยูชั้นประถมศึกษา คุณครูจะสอนใหสวดมนต ไหวพระทุกวันสุดสัปดาห โดยเฉพาะบทสวดพุทธคุณ ธรรมคุณ สังฆคุณ และชอบไปทำบุญฟงพระเทศนา โดยเฉพาะวันเขาพรรษา ๓ เดือน จะไปกับคุณยาย คุณแม ฟงพระธรรมเทศนาทุกคืน รูสึกวาตอนน้ันมีความสุข และสนุกดวยที่ไดเขาวัดทำบุญจนติดเปนนิสัย และปจจุบันนี้โรงเรียนไดมอบหมายใหรับผิดชอบงาน โครงการโรงเรียนวิถีพุทธ ก็นึกถึงตอนที่เปนเด็ก นาจะนำประสบการณที่ตนเองไดปฏิบัติมา มาฝกกับนักเรียน เพราะการที่ไดปฏิบัติจะทำใหจิตใจสงบ มีความสุข จิตใจเยือกเย็น อารมณดี ไมโกรธ ไมโลภ ไมหลง พบคนอื่นๆ ทุกคนก็เปนกัลยาณมิตรทั้งหมด

ก็นำประสบการณนี้มาใชฝกกับนักเรียน ทุกวันตอนเชากอนเรียน โดยเฉพาะนักเรียนชั้นประถมศึกษาป ๒ เพราะตนเองสอนประจำชั้นประถมศึกษาป ๒ จึงมีเวลาไดพูดคุยกับนักเรียน ทุกๆ วันตอนเชา และยังบอกใหนักเรียนสวดมนต ไหวพระ ไหวคุณพอคุณแม และนั่งสมาธิกอนนอน วันพระจะพานักเรียนไปวัด สวดมนต ไหวพระ ฟงพระธรรมเทศนาเปนประจำ

ในวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา จะนำนักเรียนไปรวมกิจกรรมกับชุมชนท่ีวัด สวนกิจกรรมท่ีโรงเรียน กอนเขาชั้นเรียน นักเรียนจะไหวพระ สวดมนต สรรเสริญพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ อาราธนาศีล แผเมตตา นั่งสมาธิประมาณ ๑๕ นาที กิจกรรมดังกลาวนักเรียนไดรวมปฏิบัติทุกวันจนเปนนิสัย จากการสอบถาม

เรื่อง ลำไย ไกรสิทธิ์ โรงเรียน วัดควนกอ อ.ถ้ำพรรณรา จ.นครศรีธรรมราช

๕๓

Page 56: เล่ม ๒-๓ ภาคใต้ตอนล่าง ปี ๕๓ สิงหาคม

จะชวยกันเช็ดถู ปดกวาดอยางขะมักเขมน ดูแลวนักเรียนมีความสุขสนุกสนาน

วันไหนเปนวันพระนักเรียนบางคนจะเตือนคุณครู บอกคุณครูวาพรุงน้ีเปนวันพระ แลวก็นัดแนะวาใครจะเอาอาหารอะไรไปถวายพระท่ีวัด บางครั้งก็มีการเรี่ยไรเงินภายในโรงเรียน เพื่อใสซองถวายพระ ตอนฤดูผลไมนักเรียนก็จะนำผลไมใสกระเชาไปถวายพระ จากประสบการณที่ตนเองไดปฏิบัติ และไดนำมาสั่งสอนนักเรียน ทำใหสามารถมองเห็นการเปลี่ยนแปลงของนักเรียนในทางท่ีดีขึ้น ทำใหตนเองมีความสุข และดีใจกับนักเรียนที่ไดเห็นนักเรียนเปนคนดี มีน้ำใจ ชวยเหลือผูอื่น และหวังวานักเรียนจะนำสิ่งที่ดีไปปฏิบัติในชีวิตประจำวัน เพราะจะทำใหตนเอง ครอบครัว และผูอื่นมีความสุข ถาทุกคนมีธรรมะภายในใจก็จะเ กิดสันติสุขภายในครอบครัว ชุมชน และประเทศชาติตอไป

ตัวนักเรียน นักเรียนเลาวา การไดทำกิจกรรมดังกลาวทำใหมีความสุข จิตใจสงบ และขอบคุณคุณครูที่นำธรรมะมาสั่งสอนรวมกับการศึกษาภายในชั้นเรียน เมื่อไดฟงเชนนั้นแลวทำใหรูสึกป ลื้ ม แ ล ะดี ใ จ ที่ ส า ม า ร ถท ำ ใ ห นั ก เ รี ย นเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมไปในทางที่ดี นักเรียนบางคนก็ไดนำกิจกรรมตางๆ ที่เกี่ยวกับพระพุทธศาสนาไปแนะนำใหเพื่อนๆ ฟงวา กอนนอนจะสวดมนต ไหวพระ ไหวพอแม นั่งสมาธิ และยังไหวพระพรอมกับคุณยายดวย เด็กๆ บอกวามีความสุขมาก และจากการท่ีไดติดตอสอบถาม ผูปกครองวานักเรียนไดปฏิบัติจริงหรือไม ก็ไดรับคำตอบกลับมาวาไดปฏิบัติจริ ง และยังขอบคุณคุณครูที่สอนใหลูกของเขาเปนคนดี ชอบทำบุญ เขาวัด และมีจิตใจชอบชวยเหลือคนอื่นๆ ชอบชวยเหลือกิจกรรมท่ีวัด ใหครูพาไปวัด ชวยเช็ดถูปดกวาดธรรมศาลา บริเวณวัด วันไหนท่ีครูบอกวาจะพาไปวัดนักเรียนจะดูตื่นเตน และเตรียมอุปกรณ เชน ไมกวาด ผาขี้ริ้ว ถังน้ำ โดยที่คุณครูไมตองสั่งวาจะตองเตรียมอะไรไปบาง นักเรียนจะจัดไปเองทั้งหมด เม่ือถึงที่วัดก็

๕๔

Page 57: เล่ม ๒-๓ ภาคใต้ตอนล่าง ปี ๕๓ สิงหาคม

คานิยมประหยัดอดออม สรางได

เรื่อง ประทีป เพ็ชรจำรัส โรงเรียน วัดทรายขาว อ.เมือง จ.สงขลา

๕๕

สงขลา เขต ๑

Page 58: เล่ม ๒-๓ ภาคใต้ตอนล่าง ปี ๕๓ สิงหาคม

๕๖

จากภาวะวิกฤตเศรษฐกิจตกต่ำอยางรุนแรงตั้งแตป พ.ศ. ๒๕๓๙ เปนตนมา ทำใหเกิ ดปญหา เพิ่ มพูนขึ้ นหลายด าน ท้ั งปญหาเศรษฐกิจ การเมือง สังคมและวัฒนธรรม อันสงผลกระทบตอชีวิตความเปนอยูของประชาชนอย า งมาก ก อ ให เ กิดปญหาทาง คุณธรรม จริยธรรม สังคมขาดระเบียบวินัย ขาดความรับผิดชอบ ซึ่งสำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา ( ส ก ศ . ) ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร ร ว ม กั บมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต “สวนดุสิตโพล” ไดสำรวจพฤติกรรมอันไมพึงประสงคของเยาวชนไทย เม่ือวันที่ ๑๐-๑๘ มีนาคม ๒๕๕๐ สรุปผลการสำรวจปญหาคุณธรรมดานการประหยัดและออม จากนักเรียน นักศึกษา ผูบริหาร ครูอาจารย ผูปกครอง พบวา คานิยมการใชสินคาฟุมเฟอย ๑๓.๐๑ % จากขอมูลดังกลาวจะเห็นไดวาคานิยมการใชสินคาฟุมเฟอยเปนพฤติกรรมที่ไมพึงประสงคของเยาวชนในระดับตนๆ อันมีสาเหตุมาจากภาวะวิกฤตคุณธรรมของเยาวชนไทย

Page 59: เล่ม ๒-๓ ภาคใต้ตอนล่าง ปี ๕๓ สิงหาคม

๕๗

โรงเรียนวัดทรายขาว เปนโรงเรียนวิถีพุทธ นำหลักธรรมของพระพุทธศาสนามาประยุกตใชในการบริหารและการพัฒนาผูเรียน โดยใชหลักไตรสิกขา คือ ศีล สมาธิ ปญญา ในการสรางฐานความรู สรางฐานของความดีงามใหแกผูเรียน มีเปาหมายใหผูเรียนเปนคนเกง คนดี และมีความสุข การจัดการเรียนรูในโรงเรียนวิถีพุทธ จึงเนนการพัฒนาพรอมกันในทุกๆ ดาน ไดแก ดานปญญา สังคม จิตใจและรางกาย อยางไมแยกสวน เขตบริการของโรงเรียนมีแหลงบันเทิง รานเกม สื่อสิ่งพิมพ รานมินิมารท มีสภาพสิ่งแวดลอมท่ีไมดี มีสิ่งลอใจท่ีชักจูงใหเยาวชนมีพฤติกรรมใชจายท่ีไมประหยัด นักเรียนมีพฤติกรรมใชจายเงินฟุมเฟอย ใชจายเงินสิ้นเปลืองโดยไมจำเปน

จากปญหาดังกลาว หากไมมีการปองกันลวงหนา จะกอใหเกิดความเสียหาย กอใหเกิดเปนนิสัยที่ไมพึงประสงคติดตัวนักเรียนไปในอนาคต และจะเปนผูใหญที่ไมมีคุณภาพของสังคม ประเทศชาติ จะกอใหเกิดความเสียหาย

ทางดานสังคม เศรษฐกิจนานัปการ จึงมีความจำเปนอย างยิ่ ง ท่ีจะตองนำหลักธรรมของพระพุทธศาสนามาประยุกตใชในการเสริมสรางคุณลักษณะการประหยัดอดออมใหกับนักเรียน ดวยกิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิตที่หลากหลาย ชึ่งเปนคุณธรรมที่มีความสำคัญอยางยิ่งที่จะมีติดตัวนักเรียนไปทุกคน การประหยัดและอดออมเปนหัวใจของการต้ังหลักตั้งฐานใหมั่นคง ซ่ึงพระสัมมาสัมพุทธเจาทรงสอนเอาไววา การที่ใครจะตั้งหลักตั้งฐานใหไดนั้น มีหลักอยู ๔ ประการดวยกัน เรียกวา ทิฏฐธัมมิกัตถประโยชน ไดแก ๑.อุฏฐานสัมปทา แปลวา ถึงพรอมดวยความหมั่น หรือวา หาเปน ๒.อารักขสัมปทา แปลวา ถึ งพร อมด วยการรั กษา หรื อว า เก็ บ เปน ๓.กัลยาณมิตตตา แปลวา ความมีเพื่อนเปนคนดี หรือวา สรางเครือขายคนดีเปน ๔.สมชีวิตา แปลวา การเล้ียงชีวิตตามสมควรแกกำลังทรัพยที่หาได หรือวา ใชเปน

การจัดการศึกษาโดยสรางความตระหนักปลูกจิตสำนึกในคุณคาของการประหยัดอดออม

“เงินทองน้ันเปนของมีคา ตองไดมาดวยความวิริยะ สุจริต และใชจายออกไปดวยความมัธยัสถและไตรตรอง”

Page 60: เล่ม ๒-๓ ภาคใต้ตอนล่าง ปี ๕๓ สิงหาคม

๕๘

ของนักเรียน การจัดตั้งธนาคารนักเรียน เปนการสงเสริมการออม การจัดทำบันทึกรายรับ-รายจาย เปนกิจกรรมท่ีบมเพาะนิสัยความละเอียดรอบคอบในการใชจายเงินและเห็นคุณคาของเงิน การรณรงคลดความฟุมเฟอยในการใชจายเงินส้ินเปลืองโดยไมจำเปน เชน ขนม น้ำอัดลม รองเทา ปากกา แชมพู ฯลฯ เปนตน เพื่อเปนการลดความฟุมเฟอยสิ้นเปลืองเงินโดยไมจำเปนดังกลาว โรงเรียนตองประสานกับเจาหนาที่สถานีอนามัย และหนวยงานที่เกี่ยวของ จัดประชุมใหความรูกับผูปกครองและนักเรียน เพื่อใหผูปกครองและนักเรียนมีความรูความเขาใจ รูเทาทันการโฆษณาชวนเช่ือของสินคา ผูปกครองซ่ึงเปนคุณพอคุณแมของนักเรียนตองทำใหนักเรียนดู การประพฤติปฏิบัติตนดวยความประหยัดและอดออมใหลูกดู คือวิธีการสอนที่วิเศษท่ีสุด เพราะเมื่อพอแมทำใหดู ทำใหเห็นอยูเปนประจำ ลูกก็จะมีแนวคิด แนวพูด แนวการกระทำ ตามอยางท่ีคุณพอคุณแมทำใหดูนั้น เพราะฉะนั้น นิสัยประหยัด นิสัยอดออมของลูก แนนอนและชัดเจนลงไปเลยวา ยอมไดจากคุณพอคุณแมเปนหลัก การคบเพ่ือนท่ีมีนิสัยประหยัด มีนิสัยอดออม หาทางชวนใหแกมาที่บานบอยๆ เพื่อสงเสริมใหคบกับลูกๆ ของเรา แลวการซึมซับนิสัยดีๆ จากเพื่อนก็จะเกิดข้ึน หาครูดีใหลูก พาไปเรียนหนังสือ หรือหาครูดีๆ มาสอน

หนังสือที่บานใหลูกของเราเปนพิเศษ ซ่ึงครูนั้นนอกจากจะมีความรูดานวิชาการดีแลว ยังตองมีนิสัยประหยัด มีนิสัยอดออมดวย เด๋ียวแกก็จะซึมซับนิสัยดีๆ เหลานั้นจากคุณครูเขามาในตัวของแกไดเอง

สรุป ฉะน้ันหลักการประหยัดจึงเปนวิธีการหนึ่งที่ใชไดทุกยุคสมัย เปนไปตามแนวทางปฏิบัติตนตามแนวทางโรงเรียนวิถีพุทธโดยแท นักเรียนในทุกชวงวัยทุกคนเกิดความตระหนักและเห็นคุณคาของการประหยัด เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการใชจาย ลด ละ เลิกพฤติกรรมที่ใชจายฟุมเฟอย มีการวางแผนการใชจาย รูจักจัดทำบัญชีรายรับ-รายจาย นักเรียนมีความสุขกับการออมทรัพย ผูปกครองมีสวนรวมและมีความพึงพอใจในการสรางเสริมคานิยมการประหยัดใหกับบุตรหลาน ครูสอนสอดแทรกใหนักเรียนรูจักคาของเงิน คาของงาน คาของสินคา จึงเปนการสอนที่ควบคูไปกับการเรียนรู ซึ่งสอดคลองกับคำวา “เงินทองนั้นเปนของมีคา ตองไดมาดวยความวิริยะ สุจริต และใชจายออกไปดวยความมัธยัสถและไตรตรอง”

ครูสอนสอดแทรกใหนักเรียนรูจักคาของเงิน คาของงาน คาของสินคา

Page 61: เล่ม ๒-๓ ภาคใต้ตอนล่าง ปี ๕๓ สิงหาคม
Page 62: เล่ม ๒-๓ ภาคใต้ตอนล่าง ปี ๕๓ สิงหาคม

๖๐

พระพรหมคุณาภรณ (ป.อ.ประยุตฺโต)

รากฐาน ปราชญแผนดิน

เมื่อรวมแปดสิบปกอน ณ บานเลขที่ ๔๙ อำเภอศรีประจันต จังหวัดสุพรรณบุรี เปนที่ตั้งรานคาผาจีนของสองสามีภรรยาที่รูจักกันทั่วไปวา ทานมหาสำราญ กับแมชุนกี บานหลังน้ีเปนชุมชนของตลาดใต ตลาดเล็กๆ ท่ีประกอบไปดวยหมูเรือนแถวไมสองช้ันบุราณเรียงเปนแนวยาวขนานไปกับแมน้ำทาจีน รานคาในหองแถวอันแสนธรรมดานี้เองเปนที่ถือกำเนิดของเด็กชายเล็กๆคนหนึ่ง เมื่อวันพฤหัสบดีที่ ๑๒ มกราคม ๒๔๘๑ เด็กชายบอบบางขี้โรค แตมีสติปญญาเปนเลิศผูน้ี เติบใหญข้ึนมาเพ่ือเปนปราชญแทคนสำคัญแหงยุคสมัย แมวัดบานกรางจะอยูหางเพียงชั่วพายเรือขามแมน้ำกั้น หากแตสำหรับเด็กชายผูออนนอม และเปนทีร่กั เสนทางแหงชวีติใหมถกูกำหนดไวแลว ใหไกลจนไมอาจแมแตจะถวิลหาตักอุน เสนทางสูพรหมจรรยอันประเสริฐ มหาสำราญ อารยางกูร เจาของรานคาผาจนี เกิดที่ดอนเจดีย เคยบวชเรียนแลวไปจำพรรษาอยูที่วัดเบญจมบพิตรที่กรุงเทพฯ สอบไดนักธรรมโท และพยายามสอบจนไดเปรียญ ๔ ประโยค แตแลวมีเหตุใหตัดสินใจ ดวยไดรับมอบหมายใหทำหนาที่เลขานุการสวนตัวของพระช้ันผูใหญ แตทานมหาฯไมตองการยุงเกี่ยวกับผูคนหลายฝายมากหนา จึงลาสิกขาบทแลวกลับมาสุพรรณบุรี

คัดยอและเรียบเรียงจาก นิตยสาร ฅ.คน ปที่ ๔ ฉบับที่ ๒ (๓๘) ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๑

บานเกิด ต้ังตนชีวิตใหมแตงงานกับสาวลูกจีน ชื่อ แมชุนกี เปดรานคาขายที่ตลาดใต ริมแมน้ำทาจีน ท่ีอำเภอศรีประจันต มหาสำราญเปนคนซื่อตรง เห็นความสำคัญของการศึกษาเลาเรียน อีกทั้งผานการบวชเรียนจนไดนักธรรมจึงเปนที่เคารพนับถือของผูคนในแถบน้ัน รานใบรตันาคารเปนรานคหูาเดียวจำหนายผาไหม ผาทอ กางเกงแพร กางเกงจนี ทีก่อตัง้ขึน้เปนที่รูจักเชื่อถือของลูกคา จนเปนที่พูดติดปาก

Page 63: เล่ม ๒-๓ ภาคใต้ตอนล่าง ปี ๕๓ สิงหาคม

๖๑

กันวา “ซื้อผาไหม กางเกงแพร ตองไปรานแมกี-ทานมหาฯ” มหาสำราญเปนคนชอบริเริ่มสรางสรรค ไมยอมอยูเฉย หลังจากปดกิจการจำหนายผาแลว ตอมาไมนานไดใชบานคาขายเปดเปนโรงเรียนมัธยมขึ้นเปนแหงแรกของอำเภอศรีประจันต ดวยเหตุผลที่วาตัวทานเปนผูมีวิชาความรู ผานการบวชเรียนมาแลว และสังเกตพบวาท่ีอำเภอ ศรีประจันตในครั้งกระโนนการคมนาคมยังไมสะดวกเหมือนปจจุบัน การเดินทางตองอาศัยเรือ

เยี่ยมบานเจาคุณ ชาตภิมูสิถาน ป. อ. ปยตุโฺต อ.ศรีประจันต จ.สุพรรณบุรี

เมลแดง หากจะไปกรงุเทพฯตองใชเวลารวม ๒ วัน หรือเดินทางไปตัวเมืองสุพรรณบุรีก็ใชเวลานาหลายช่ัวโมง เด็กท่ีจบช้ันประถมส่ีนอยคนนักจะมีโอกาสไดเรียนตอ โรงเรียนมัธยมเล็กๆ ช่ือ บำรุงวุฒิราษฎร เปดขึน้กลางตลาด มีวตัถปุระสงคเพือ่ใหเดก็ๆ ไดมีโอกาสเรียนในระดับมัธยมเปนสำคัญ เปดสอนมาไดไมกี่ป การคมนาคมก็สะดวกขึ้น ประกอบกับมีโรงเรียนมัธยมแหงใหมมาเปด โรงเรียนของมหาสำราญจึงปดกิจการลง เพราะหมดหวงวา

Page 64: เล่ม ๒-๓ ภาคใต้ตอนล่าง ปี ๕๓ สิงหาคม

๖๒

เด็กๆ จะไมมีโอกาสไดเรียนตอ ภายหลังจากเลิกกิจการไปแลว ทานมหาฯ เพ่ิงมารูวานอกเหนือจากโตะ เกาอี้ กระดานดำ ที่ตกคางอยูภายในเรือนแถวท่ีปดตัวเองไป ไดมีอีกสิ่งหนึ่งที่เจริญงอกงามเกินความคาดหมาย ก็คือ จิตวิญญาณแหงครู ครูแทๆ ที่ปรากฏในตัวลูกชายคนท่ีหก...

ความสามารถ นอกเหนือไปจากการอบรมสั่งสอนในครอบครัวในเรื่องความซ่ือตรง ซึ่งทานเล็งเห็นวาเปนหัวใจสำคัญของการประกอบการคา ลำพังกิจการรานคาผาเล็กๆ ไมเพียงพอที่จะเลี้ยงดูสงเสียลูกชายวัยกำลังเรียนถึงหาคน ชีวิตของทานมหาฯ จึงริเริ่มทำกิจการอื่นๆ อยูเสมอ ท้ังกิจการโรงสีที่รวมหุนกับญาติพี่นอง จนเปนโรงสีที่ไดรับความเชื่อถืออยางย่ิงในยุคนั้น เน่ืองจากทานมหาฯ ปฏิเสธระบบการชักเปอรเซ็นตเพราะถือวาตนเคยบวชเรียนมาแลว มีความรูสูงไมควรเอาเปรียบชาวนา นอกจากไมเอาเปรียบยังพรอมจะชวยเหลือเกื้อกูลผูอื่น นอกจากนี้ยังใชพื้นที่ของโรงสีเปดโรงเรียนสอนตัดเส้ือสตรีขึ้น เพราะเห็นวาภรรยามีความสามารถทางการตัดเย็บ ท้ังไดเชิญครูจากโรงเรียนสอนตัดเส้ือจากกรุงเทพฯมาสอน และเปนตัวแทนจำหนายจักรเย็บผาของบริษัท หลุยส ที เลียวโนเวนส ตอมาในชวงหลังกิจการโรงสีไดเปลี่ยนมือไปอยูในความดูแลของญาติพี่นองฝายทานมหาฯ ตัวทานจึงหันมาทำโรงถาน และรับเหมาขนถมดินลูกรัง หลายตอหลายคร้ังที่ครอบครัวเผชิญกับปญหาตางๆ อันเนื่องมาจากความเจ็บปวยของทานมหาฯ เอง หรือคุณแมชุนกี ที่สงผลกระทบถึงรายได แตพื้นฐานของครอบครัวที่รักใครกลมเกลียวกัน ประกอบกับคุณธรรมหลายขอที่เด็กๆ ไดรับการพร่ำสอน อบรม รวมถึงความอดทนเขมแข็งของบุพการี ทำใหสามารถผานพนวิกฤตนั้นมาไดเสมอ ตลอดชีวิตแมจะตองแบกภาระในการหาเลี้ยงครอบครัว แตทานมหาฯ ก็มิไดละเลยในการอบรมสั่งสอนลูกใหดำเนินชีวิตไปบนครรลองที่ถูกที่ควร ส่ิงน้ีกระมังที่เปนพื้นฐานอันสำคัญยิ่ง ที่จะทำใหเด็กๆ เติบโตข้ึนมาเปนคนดี

เมื่อ เริ่มตนชีวิตใหมกับทานมหาหนุม แมชุนกี หญิงสาวลูกจีนผูใจเย็น และเกงดานการตัดเย็บ งานฝมือตางๆ ก็ไดกลายเปนศูนยกลางแหงความรักความอาทรของครอบครัว โดยเฉพาะในหมูลูกๆ ท้ังหมด เนื่องจากบุคลิกภาพเปน คนใจดี ขยันอยางย่ิงยวด ทั้งยังอดทนใหความสำคัญแกคนอ่ืนกอนตนเอง ซ่ึงคุณสมบัติเหลานี้ลวนถายทอดมายังลูกชายคนเล็กที่แมรักอยางยิ่ง และบางที ดวยคุณสมบัติเหลานี้เองไดกลายเปนสิ่งท่ีสวางเรือง ประดับเหนือแกวปญญาอันสูงยอดแหงปราชญใหเพียบพรอมในกาลตอมา ครอบครวัอารยางกรู เปนครอบครวัคนช้ันกลางทำธุรกิจการคา แตฐานะไมไดมั่งคั่ง เพราะมีคาใชจายมาก อันเนือ่งมาจากทานมหาฯมลีกูหลายคน และใหความสำคัญอยางยิ่งตอการศึกษาเลาเรียน พยายามสงเสียลูกชายใหไดเรียนสูงๆ ไปตามกำลัง

Page 65: เล่ม ๒-๓ ภาคใต้ตอนล่าง ปี ๕๓ สิงหาคม

๖๓

บทความจากกองบรรณาธิการ ทายเลม

จากกองบรรณาธิการกลางสถาบันอาศรมศลิป เรารอยเรียงใจความสำคัญของเรื่องเลาที่มาจากตนฉบับที่ไดรับการคัดเลือกแลวจาก ๘ ภูมิภาคทั่วประเทศ ส่ิงหนึ่งท่ีเราเห็นในความเปนโรงเรียนวิถีพุทธ คือ ในน้ัน มีครูท่ีมีความรัก มีความหวงใยในเด็ก มีเด็กที่ตองการความรัก ตองการเรียนรู มีชุมชนรอบโรงเรียนท่ีเปนสภาพแวดลอมการเรียนรูใหแกเด็กครู และชุมชน อยางแยกออกจากกัน ไมได สัมพนัธภาพทีก่อตวัขึน้นัน้ หยัง่ราก ผลดิอก ออกผล ผานกิจกรรมในรูปแบบตางๆ และออกมาจากจิตใจที่ตองการพัฒนามนุษย โดยใชเครื่องมือเดียวกันท่ีเรียกวา “การศึกษา” การศึกษา...เรื่องเลามากมายในเลม ท่ีทำใหเราไดเหน็แลววาความเรยีบงายของวถิไีทยนัน้ไปกันดวยดีกับการศึกษา มันงดงามและเปยมดวยพลังความผูกผัน จากครูสูเด็ก จากเด็กสูครอบครัว จากครอบครัวสูชุมชม และสายใยความผูกผันนี้ ก็ถักรอยแผขยายออกไป จนทำใหเรารับรูวาทุกคนมีเปาหมายเหมือนกัน คือ ความสุข ความสุขที่จะเกิดขึ้นในโรงเรียน ความสุขที่จะเกิดข้ึนในครอบครัว ความสุขที่จะเกิดขึ้นในชุมชน และมันคงไมดีเลยถา จะมีใครสักคนในชุมชน ในครอบครัว ในโรงเรียนหรือแมแตในหองเรียนไมมีความสุข...

* สามารถหาชมไดผานทางเว็ปไซตโดยพิมพ “Children full of life” Director by Noboru Kaetsu หรือทางเวปไซตอาศรมศิลป www.arsomsilp.ac.th

เราเช่ือวาขณะนี ้ ทกุทานกำลงัสรางสมัพนัธแหงความสุขและความดี เหมือนดังเชนบทความที่ทุกทานสงมา ที่ไดทำหนาอยางดี ทำใหเราไดเห็นวาการทำความดีนั้นเปนรากฐากสูความสุข เรายังรูสึกอบอุนและดีใจท่ีไดรูวากำลังมีใครทำอะไร อยูทีไ่หนบาง และทัง้หมดนัน้มุงไปเพือ่การศกึษาทีจ่ะ นำเราไปสูความสุขเทาทีม่นุษยพึง่มตีามหลกัวถิพีทุธ ทายน้ีทางกองบรรณาธิการกลางสถาบันอาศรมศิลป อยากขอแนะนำหนังสารคดีเร่ืองเย่ียมจากญี่ปุน “Children full of life”* สารคดี เรื่องนี้ไดการยอมรับดวยรางวัลชนะเลิศมาแลว เรือ่งราวน้ันเกดิขึน้ทีโ่รงเรยีนประถมในเขตคานาซาวา ทางตะวันตกเฉียงเหนือของโตเกียว ครูโทชิโร คานามูริ ครูประจำช้ันของนักเรียน ป. ๔ ไดแสดงใหเห็นถึงวิธีการเรียนการสอนเก่ียวกับเรื่องความเมตตาบนความเขาใจในธรรมชาติของเด็ก ครูกานามูริ ใชวิธีใหนักเรียนของเขาเขียนสมุดบันทึกและอานใหเพื่อนฟงเปนประจำ ซ่ึงทำใหเด็กๆ ของเขาไดเรียนรูและเติบโต จนเขาใจถึงความสำคัญของการใสใจในเพื่อน ความหมายของการมีชีวิต และหนทางที่จะสรางความสุข น้ีอาจเปนอีกตัวอยางเรื่องราว ท่ีสรางวิธีการและพลังใจใหกับเราได ขอขอบคุณ

Page 66: เล่ม ๒-๓ ภาคใต้ตอนล่าง ปี ๕๓ สิงหาคม

๖๔

ภาคเหนือตอนบน โรงเรียนรองเคาะวิทยา ลำปาง เขต ๓ โรงเรียนบานหวยตม ลำพูนเขต ๒ พระอธิการหนุย ฐิติสัมปนโน พะเยา เขต ๓ โรงเรียนบานดอนสบเปอ นาน เขต ๓ โรงเรียนบานหวยกาน แพร เขต ๓ โรงเรียนบานวนาหลวง แมฮองสอน เขต ๑ รุจิรา เตชะนันท นาน เขต ๒ ศรีนวย สำอางศรี ลำปาง เขต ๒ โรงเรียนบานขอบดง เชียงใหม เขต ๓ โรงเรียนบานหลายฝาง เชียงใหม เขต ๓ โรงเรียนประชาราชวิทยา ลำปาง เขต ๑ โรงเรียนบานจอมแจง แมฮองสอน เขต ๓ โรงเรียนบานวังลุง (เพชรประชานุเคราะห) แมฮองสอน เขต ๒ โรงเรียนดงเจนวิทยาคม พะเยา เขต ๑ โรงเรียนปาตาลบานธิพิทยา ลำพูน เขต ๓ โรงเรียนธรรมราชศึกษา เชียงใหม เขต ๑ โรงเรียนวัดชางเคี่ยน เชียงใหม เขต ๑ ภาคเหนือตอนลาง โรงเรียนนวมินทราชูทิศ มัชฌิม นครสวรรค เขต ๑ โรงเรียนบานหนองโมก กำแพงเพชร เขต ๒ โรงเรียนวัดวังมะเดื่อ พิจิตร เขต ๑ โรงเรียนบานหวยยศ อุตรดิตถ ๒ โรงเรียนบานน้ำกอ เพชรบูรณ ๒ โรงเรียนอนุบาลบรรพตพิสัย นครสวรรค เขต ๒ โรงเรียนวัดหวยเรียงใต พิจิตร เขต ๒ ประสมพร ประจันตะเสน พิษณุโลก เขต ๑ โรงเรียนบานหวยคอม อุตรดิตถ เขต ๒ โรงเรียนวัดปากหวยไมงาม ตาก เขต ๑ โรงเรียนวัดประชาสรรค นครสวรรค เขต ๓ โรงเรียนบานเขาวง อุทัยธานี เขต ๒ โรงเรียนบานยาวี-หวยโปง เพชรบูรณ เขต ๑ โรงเรียนจำรญูชยัพฤกษราษฎรวทิยา กำแพงเพชร เขต ๑ โรงเรียนวัดเสนาสน พิษณุโลก เขต ๓ โรงเรียนชุมชนไผลอมวิทยา อุตรดิตถ ๑ ภาคอีสานตอนบน โรงเรียนสามหมอโนนทัน ขอนแกน เขต ๒ โรงเรียนอนุบาลเลย เลย เขต ๑ โรงเรียนบานกอกโนนแต ขอนแกน เขต ๓ พิษณุ สิงหสถิตย เลย เขต ๓ โรงเรียนบานดอนกลาง นครพนม เขต ๒ โรงเรียนบานเพีย สกลนคร เขต ๓ โรงเรียนบานหนองผือ หนองคาย เขต ๑ โรงเรียนบานบอพนา หนองคาย เขต ๓ โรงเรียนบานโคกมุนเหลาสวรรค อุดรธานี เขต ๓ โรงเรียนบานกระนวนซำสูง ขอนแกน เขต ๔

โรงเรยีนบานโนนนกหอ (เพง็แสนวทิยา) อดุรธาน ีเขต ๑ โรงเรียนกุงแกววิทยาคาร หนองบัวลำภู เขต ๑ โรงเรียน บานหนองแรง ขอนแกน เขต ๓ โรงเรียนผาเทิบวิทยา มุกดาหาร โรงเรียนเรณูนครวิทยานุกูล นครพนม เขต ๑ ภาคอีสานตอนลาง โรงเรียนบานสรางมวงสมเสี้ยว อุบลราชธานี เขต ๕ โรงเรียนบานทมอ (เดื่อราษฎรบำรุง) สุรินทร เขต ๓ โรงเรียนหนองพอกวิทยา รอยเอ็ด เขต ๓ โรงเรียนบานหัวชางโคกมวง มหาสารคาม เขต ๒ จำรูญศักดิ์ ศรีประทุม กาฬสินธุ ๑ โรงเรียนบานขามเรียน มหาสารคามเขต ๒ โรงเรียนบานหนองแสง มหาสารคาม เขต ๓ โรงเรียนตั้งใจวิทยาคม สุรินทร เขต ๑ โรงเรียนรอยเอ็ดวิทยาลัย รอยเอ็ด เขต ๑ โรงเรียนบานดอนกลอย อุบลราชธานี เขต ๑ โรงเรียนศรีตระกูลวิทยา ศรีสะเกษ เขต๓ โรงเรียนบานทุงแต ยโสธรเขต ๑ โรงเรียนเมืองใหมสุวรรณภูมิ รอยเอ็ด เขต ๒ โรงเรียนบานแก ศรีสะเกษ เขต ๔ โรงเรียนบานโคกลาม มหาสารคาม เขต ๑ โรงเรียนขุมคำวิทยาคาร อุบลราชธานี เขต ๒ โรงเรียนบานนาแมด อุบลราชธานี เขต ๒ โรงเรียนฆองชัยวิทยาคม กาฬสินธุ เขต ๒ โรงเรียนบานน้ำคำใหญ ยโสธร เขต ๑ ภาคประตูอีสาน โรงเรียนนางรองพิทยาคม บุรีรัมย เขต ๓ โรงเรียนบานหนองศาลาปาชาด ชัยภูมิเขต ๒ โรงเรียนบานดอดถั่วแปปพัฒนา นครราชสีมา เขต ๖ โรงเรียนบานคลองตาหมื่น ปราจีนบุรี เขต ๒ โรงเรียนบานซับเจริญสุข ชัยภูมิ เขต ๓ โรงเรียนปญญาประทีป นครราชสีมา เขต ๔ โรงเรียนบานคลองทราย สระแกว เขต ๑ โรงเรียนสุนทรวัฒนา ชัยภูมิ เขต ๑ โรงเรียนบานดาน (ราษฎรบำรุง) สระแกว เขต ๑ โรงเรียนบานหนองมะคา ลพบุรี เขต ๒ โรงเรียนบานบุวิทยาสรรค บุรีรัมย เขต ๒ โรงเรียนโคกลำพานวิทยา ลพบุรี เขต ๑ โรงเรียนหนาพระลาน (พิบูลสงเคราะห) สะบุรี เขต ๑ โรงเรียนอุดมอักษรพิทยาคม บุรีรัมย เขต ๔ ภาคกลาง-ตะวันออก โรงเรียนอนุราชประสิทธิ์ นนทบุรี เขต ๑ โรงเรียนมโนรม ชลบุรี เขต ๓ โรงเรียนสังวาลยวิทย ๖ จันทบุรี เขต ๒ โรงเรียนชุมชนวัดปราสาท อางทอง โรงเรียนบานยางเอน ระยอง เขต ๒

สำนักศึกษานิเทศก นนทบุรี เขต ๒ โรงเรียนการทำมาหากินวัดโพธิ์เฉลิมรักษ ฉะเชิงเทรา เขต ๑ โรงเรยีนวัดชมุพลนกิายาราม พระนครศรีอยธุยา เขต ๒ โรงเรียนวัดแสนภุมราวาส ฉะเชิงเทรา เขต ๒ วัดใหญ สมุทรปราการ โรงเรียนบานบางจาก สมุทรปราการ เขต ๑ โรงเรียนวัดถั่วทอง ปทุมธานี เขต ๑ โรงเรียนวัดนาพราว ชลบุรี เขต ๓ โรงเรียนเปรมประชากร ปทุมธานี เขต ๑ โรงเรยีนวัดหนองแขม กรุงเทพมหานคร ๓ ภาคตะวันตก-ใตตอนบนโรงเรียนบานราชกรูด ระนอง โรงเรียนสามัคคีอนุสรณ สุราษฎรธานี เขต ๓ โรงเรียนบานตรอกสะเดา กาญจนบุรี เขต ๔ โรงเรียนบานสะเตย กาญจนบุรี เขต ๔ โรงเรียนดานสิงขร ประจวบคีรีขันธ เขต ๑ ปราณี โสภณ เพชรบุรี เขต ๒ โรงเรียนวัดพราว สุพรรณบุรี เขต ๑ โรงเรียนวชิรธรรมโศภิต เพชรบุรี เขต ๑ โรงเรียนธงชัยวิทยา ประจวบคีรีขันธ เขต ๑ โรงเรียนคงคาราม เพชรบุรี เขต ๑ โรงเรียนสระยายโสมวิทยา สุพรรณบุรี เขต ๒ โรงเรียนบานพุมวงราษฎรบำรุง ราชบุรี เขต ๑ โรงเรียนวัดสระพังลาน สุพรรณบุรี เขต ๒ โรงเรียนวัดชองลาภ ราชบุร ีเขต ๑ โรงเรียนบานหนองตาเย็น ประจวบคีรีขันธ เขต ๒ ภาคใตตอนลาง พินสร ภูเก็ต โรงเรียนตนบากราษฎรบำรุง ตรัง เขต ๑ โรงเรียนบานเจะบิลัง สตูล โรงเรียนวัดโรงเหล็ก นครศรีธรรมราช เขต ๔ โรงเรียนบานจำปา นครศรีธรรมราช เขต ๒ โรงเรียนวัดรังสิตาวาส ยะลา เขต ๑ โรงเรียนบานตอหลัง นราธิวาส เขต ๒ โรงเรียนบานชะอวด นครศรีธรรมราช เขต ๓ โรงเรียนไทยรัฐวิทยา ๕๒ (ชุมชนบานตนไพ) ปตตานี เขต ๒ โรงเรียนสตรีภูเก็ต ภูเก็ต โรงเรียนยะหาศิรยานุกูล ยะลา ๒ โรงเรียนบานบอทราย พัทลุง เขต ๑ โรงเรียนวัดชองเขา สงขลา เขต ๓ โรงเรียนบานยุโป (รุงวิทยา) ยะลา เขต ๑ โรงเรียนวัดควนกอ นครศรีธรรมราช เขต ๓ โรงเรียนวัดทรายขาว สงขลา เขต ๑

รายชื่อโรงเรียนในวารสารวิถีพุทธฉฉับบที่ ๒

Page 67: เล่ม ๒-๓ ภาคใต้ตอนล่าง ปี ๕๓ สิงหาคม
Page 68: เล่ม ๒-๓ ภาคใต้ตอนล่าง ปี ๕๓ สิงหาคม

สนใจอานวารสารของภูมิภาคอ่ืนไดที่เว็ปไซตhttp://inno.obec.go.th

ทานเจาคุณฯ พูดเสมอวาหากจะพัฒนาเด็กไทย ตองสอนใหมี ความใฝรู เม่ือรูแลว แตยังไมชัด ก็มีความใฝใจท่ีจะหาความรูตอไป เพ่ือใหรูชัดเจน แจมแจง อยางถึงท่ีสุด ถาเปนอยางน้ีไดเด็กน้ันจะมี ความสุขในการหาความรูในการเลาเรียนศึกษาเอง โดยไมตองใช ความสุขจัดตั้งอยางที่เปนอยู ความสุขจัดตั้งก็คือ ความสุขที่ผูใหญ คอยจัดสรร ปรุงแตง กระบวนการเลาเรียนศึกษาใหมันสนุก แตไม รูตัววาไมไดปลุก “ปจจัยภายใน” ใหเด็กมีความสุขดวยตัวเอง ตัวผูใหญเหมือนผูจัดสรร ใหบริการใหเด็กมีความสุข สนุกสนาน พอทำอยางน้ีเด็กจะรูสึกสนุก แตโลกท่ีเปนจริงไมมีคนคอยมาจัดสรร หรือคอยใหบริการ อยางนั้นเด็กจึงตองมีความสามารถที่จะอยูได ในโลกท่ีเปนจริงได อยางมีความสุขและอยางดีท่ีสุดดวย ทำอยางไร เด็กจะมีความสุขได ก็ตองสรางปจจัยภายในใหเขาสามารถมี ความสุขไดดวยตนเอง ไมตองอาศัยความสุขจัดตั้ง ส่ิงสำคัญก็คือ ทำอยางไรจะพัฒนาใหเด็กเกิดมีปจจัยภายในท่ีจะใหเด็กมีความสุขในการเรียนรูจนกระท่ังไมตองอาศัยครู หรือพอแมมาคอยชวยเหลือ

เด็กก็มีความสุขในการเรียนรูไดดวยตัวของตัวเอง

จากหนังสือวิถีแหงปราชญ : ปฏิปทา จริยาวัตร ของพระพรหมคุณาภรณ (ป.อ. ปยุตฺโต)

บทท่ี ๖๐

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน (สพฐ.)