68
ภาคเหนือตอนบน จากภูมิภาคเหนือตอนบน จำนวน ๒๓ เขตพื้นที่การศึกษา ภาคเหนือตอนบน รวบรวม ๑๖ บทความ ปที่ ๑ ฉบับที่ ๒ ประจำเดือน สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ เลมทีวารสารโรงเรียนวิถีพุทธ

เล่ม ๒-๕ ภาคเหนือตอนบน ปี ๕๓ สิงหาคม

Embed Size (px)

DESCRIPTION

"รู้ ตื่น และเบิกบาน" เป็นวารสารเกี่ยวกับการพัฒนาการศึกษาไทยตามหลักพุทธศาสนา โดยรู้ดีว่าประสบการณ์ของแต่ละคนมีค่าต่อการเรียนรู้ ต่อยอดได้ จึงได้ชวนผู้สนใจจากทั่วทุกภูมิภาคของประเทศส่งเรื่องราวของพวกเขามารวมไว้ในวารสารฉบับนี้ เพื่อหวังจะพาการศึกษาไทยให้พ้นวิกฤตที่เป็นอยู่ (ผู้สนับสนุนการผลิต สำนักงานการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.)กระทรวงศึกษาธิการ)

Citation preview

Page 1: เล่ม ๒-๕ ภาคเหนือตอนบน ปี ๕๓ สิงหาคม

ภาคเหนือตอนบนจากภูมิภาคเหนือตอนบน จำนวน ๒๓ เขตพื้นที่การศึกษา

ภาคเหนือตอนบนรวบรวม ๑๖ บทความ

ปที่ ๑ ฉบับที่ ๒ ประจำเดือน สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๓

เลมที่๒วารสารโรงเรียนวิถีพุทธ

Page 2: เล่ม ๒-๕ ภาคเหนือตอนบน ปี ๕๓ สิงหาคม
Page 3: เล่ม ๒-๕ ภาคเหนือตอนบน ปี ๕๓ สิงหาคม

เปนพลังแกผูอื่นไดมีไมนอยในแตละชวงจังหวะ

ชีวิต แตยังขาดการสืบคนท่ีครอบคลุม และเผยแพร

ในวงกวาง หากทำไดผมจึงขอเชิญชวนผูที่มีความ

สามารถดานงานเขียน และมีโอกาสประสบพบเห็น

เรื่องราวดีๆ ไดถายทอดออกมาเปนตัวหนังสือให

ปรากฏมากข้ึนๆ ในวารสารโรงเรยีนวถิพีทุธ : รูตืน่

และเบิกบาน ฉบับตอๆ ไป ท้ังที่ผลิตภายใน

สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา และผลิตโดยสำนักงาน

คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน พลังความดี

จะมีกำลังทวีคูณมหาศาล เกิดขึ้นไดบอยๆ คร้ัง

และสามารถกระตุนจิตสำนึกใหครู นักเรียน และ

ผูอานอื่นๆ รวมกันทำดี นำพาสังคมสูความสงบ

สันติ อยางที่ทุกคนปรารถนา

ดร.ชินภัทร ภูมิรัตน เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

จากวารสารโรงเรียนวิถีพุทธ : รูตื่นและ

เบิกบาน ฉบับที่ ๑ ทำใหผมไดขอมูลชัดเจนข้ึน

ถึงเรื่องงดงามที่ครู นักเรียนในสังกัดสำนักงาน

คณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานไดลงมือปฏิบัติ

ในพ้ืนท่ี ผานความยากลำบาก แตก็มุงม่ันเสียสละ

ไมยอทอตออุปสรรค อีกทั้งพยายามหาหนทางวิธี

ใหมท่ีจะทำเร่ืองท่ีมุงหวังใหสำเร็จ แมครู นักเรียน

เหลานี้ อาจไมใชผูที่เคยไดรางวัล ไมใชผูที่สังคม

รูจกั หรอืไมใชผูทีไ่ดรบัการยกยองจากหนวยงานใด

แตนั่นแสดงแลววาครู และนักเรียนเจาของเร่ือง

เปนครูดี นักเรียนดีอยางแทจริง วารสารโรงเรียน

วิถีพุทธ : รูตื่นและเบิกบาน นับเปนการบันทึก

คุณความดีที่เปนรูปธรรมอีกวิธีหนึ่ง ท่ีจะปรากฏ

หลักฐานใหคนรุนหลังไดเรียนรู

อยางไรกด็ ี ผมยงัเชือ่อกีวาคร ู และนกัเรยีน

ในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น

พื้นฐานที่ประกอบคุณงามความดี เปนตัวอยาง

จดหมายจากผูบริหาร

Page 4: เล่ม ๒-๕ ภาคเหนือตอนบน ปี ๕๓ สิงหาคม

แนวทาง

ทั้งระบบ การบริหารจัดการโรงเรียนวิถีพุทธ

อรทัย มูลคำ

ผูอำนวยการสำนักพัฒนานวัตกรรมการจดัการศกึษา สพฐ.

เราคุนชินกับคำวา “โรงเรียนวิถีพุทธ” มานาน

หลายยุคหลายสมัย (หลายรัฐบาล) บางคนต้ังคำถาม

วา ประเทศไทยเปนเมืองพุทธศาสนา มีโรงเรียนที่ดูแล

เด็กในวัยการศึกษาภาคบังคับ ๓๒,๐๐๐ กวาโรงเรียน

ตั้งแตขนาดเล็กมากจนถึงขนาดใหญมากกระจายไป

ทุกภาคสวนในประเทศ เพื่อใหครอบคลุมการเขาถึง

การศกึษาของเด็กทัง้ทีม่สีญัชาติไทยและไมมสีญัชาติไทย

ทำไมไมทำใหทุกโรงเรียนเปนโรงเรียนวิถีพุทธใหหมด

ถาเปนโรงเรียนที่ตั้งอยูในพื้นที่นับถือศาสนาอื่น ก็เปน

“โรงเรียนวิถีธรรม” ก็ได ถาถามวา ทานคิดถึงอะไรเปนสิ่งแรกเมื่อนึกถึง

โรงเรียนวิถีพุทธ คำตอบท่ีมักไดรับคือ ภาพเด็กน่ังสมาธิ

ภาพครู นักเรียนนุงหมสีขาว ภาพการไหวพระสวดมนต

ทำนองสรภัญญะ ภาพพระ/ผูนำศาสนาสอนนักเรียน

ภาพการแสดงโครงงานนักเรียนที่มีครูควบคุมกำกับ

เปนตน จริงๆ แลวถาเรามองมิติใหมในการบริหาร

จัดการโรงเรียนใหเปนวิถีพุทธท้ังระบบ จะสามารถสราง

รูปแบบวิถีพุทธที่ยั่งยืนใหเกิดขึ้นกับโรงเรียนได ไมวา

ผูบริหารเกงหรือครูเกงจะยายไปโรงเรียนอื่นแลวก็ตาม

ผูมาใหมจะสามารถสานตอได เพราะไดทำการฝงรากลึก

ลงไปในโรงเรียนทั้งระบบแลว เราจะดำเนินการพัฒนา

รูปแบบนี้ไดอยางไร (How to) ลองติดตามดูวามีความ

เปนไปไดมากนอยเพียงใด

การบริหารจัดการโรงเรียนวิถีพุทธ (วิถีธรรม)

ทั้งระบบ (Whole School Approach) ประกอบดวย

การพัฒนาโรงเรียนใหครบทั้ง ๔ ดาน ไดแก ดานการ

บริหารจัดการ ดานการจัดการเรียนการสอน ดานการ

จัดกิจกรรมสงเสริมการเรียนรู และดานการใหชุมชนมี

สวนรวม โดยดำเนินการพัฒนาพรอมๆ กันไป วิธีการ

ที่ทำแลวรับประกันไดวาประสบผลสำเรจ็แนนอน ๑๐๐%

“ไมมี” มีแตรับประกันไดวาแนวทางน้ีแหละถานำไป

ทดลองประยุกตใชใหเหมาะกับสภาพของโรงเรียนทาน

นาจะไมผิดหวัง มาดูตั้งแตประเด็นแรก

๑.ดานการบริหารจัดการ ผูรับ

ผิดชอบโดยตรงคือทานผูบริหารโรงเรียนและทีมงาน

ดานบริหาร ตองเริ่มจากการประกาศนโยบายที่ชัดเจน

วามีเจตจำนงจะเปนโรงเรียนวิถีพุทธ เหมือนประกาศ

ตนเปนพุทธมามกะนั่นแหละ เม่ือมีนโยบายก็ตองมี

วสิยัทศัน พนัธกจิและแผนดำเนินงานของโรงเรียนตามมา

อยางเปนรูปธรรม เพ่ือใหทุกคนในโรงเรียนรับรูและ

ตระหนักอยูเสมอวาจะตองสอดแทรกเรื่องของคุณธรรม

จริยธรรมเขาไปในทุกกิจกรรม เรียกวาทำทุกวัน ทำทุก

คนจนเปนนิสัยทีเดียว

นอกจากน้ัน การจัดสภาพบรรยากาศและ

สภาพแวดลอมเพื่อใหเกิดวิถีชีวิตจริงตองทำควบคูกัน

ไป ไดแก การสรางความรมร่ืนดวยความเขียวของตนไม

ใบหญา หรือจะเรียกวา ทำโรงเรียนใหเปนสีเขียว (Green

School) ไมใชโรงเรียนสีน้ำตาล (Brown School) คือ

โรงเรียนที่มีแตตึก มีแตซีเมนต พื้นดินไมมีหญา ไมมี

รมเงาของธรรมชาติ คำวา “โรงเรียนสีเขียว” ใน

ความหมายทีแ่ทจรงิคือโรงเรยีนที่มุงอนุรักษสิ่งแวดลอม

นั่นเอง และนั่นคือที่มาของ “จิตอาสา” ที่นักเรียนพึงมี

บมเพาะจนเปนอุปนิสัยเบื้องตน อาสาที่จะคืนผืนดินให

Page 5: เล่ม ๒-๕ ภาคเหนือตอนบน ปี ๕๓ สิงหาคม

ครูนักเรียนก็จะอารมณดีแจมใส สมองก็จะรับรูซึมซับ

วชิาความรูเขาไปไดงาย เพราะจิตเปนกุศล ที่สำคัญคือ

ครูผูสอนตองมีเมตตา ไมอารมณเสียหงุดหงิดใชวาจา

ทำรายเดก็

ประเด็นสำคัญในดานการบริหารจัดการท่ีถูก

ละเลยมองขามไปคือตัวผูบริหารและครูที่ตองทำตัว

เปนตนแบบสำคัญในการทำใหโรงเรียนเปนวิถีพุทธอยาง

ครบวงจร เพราะถาผูบริหารไมมีศีลไมมีสัตย ประพฤติ

ปฏิบัติแบบรูทฤษฎีแตไมสรางนิสัยที่ดีใหเด็กไดเห็น

กลายเปนโรงเรียนวิถีพุทธแตในนามไมใชแนวปฏิบัติ

เชน การตรงตอเวลา การถือศีล ๕ เปนกิจวัตร การ

บรหิารแบบโปรงใส การใหอภยั การเสยีสละ และอทุศิตน

๒. ดานการจัดการเรียนการสอน ผูรบัผดิชอบโดยตรงคือครูผูสอน คุณครูทุกคน

ตองรับผิดชอบรวมกันในการสอดแทรกคุณธรรมจริยธรรม

ถาโรงเรียนเปนโรงงานผลิตหลอหลอมเด็กออกไปสูสังคม บมเพาะไวตั้ง ๙-๑๒ ป เพ่ือใหเด็กออกไปมีคุณสมบัติเดนคือ เปนคนเกง คนดี คนมีความสุขในสังคม กระบวนการผลิตคือผูบริหารและครู

ชุมชืน้ คนืธรรมชาตสิูผนืแผนดินแม สิง่เหลานีท้ำไดไมยาก

ลงทุนไมสูง อาศัยความรวมมือรวมใจกัน ปลูกตนไม

ยนืตนคนละตน อาจปลกูวันคลายวนัเกดิของเด็กทกุคน

ทีส่ำคญัคอืการเฝาดแูลใหตนไมนัน้ไดเตบิใหญ แขง็แรง

แผรมเงาใหแกทุกชีวิตที่เขามาพักพิงอาศัย (เมตตา)

ไมจำเปนตองปลูกเฉพาะในโรงเรียนอาจปลูกในบาน

ที่สาธารณะของชุมชน ริมหวยหนองคลองบึง ในวัด

มัสยิด หรือโบสถคริสตจักร เปนตน เปนวิธีบมเพาะ

ชีวิตใหใกลชิดธรรมชาติ รูจักการให การเสียสละ

ฝกความสงบอ่ิมเอิบใจที่ไดทำดี ทำใหเกิดระบบนิเวศ

ทีส่ำคญัพลกิฟนคนืความเขียวคนืสูธรรมชาติ (กตัญู)

ตอมา ตองพรอมใจกันรักษาความสะอาดของ

โตะเรียน หองเรียน ตึกเรียน และบริเวณโรงเรียน เปนการ

ฝกกวาดขยะ (กวาดกิเลส) ออกจากซอกมุมของหอง

(จิตใจ) กำจัดขยะใหหมดไปเหมือนการกำจัดสิ่งไมดี

ความคิดไมดีออกไปจากจิตใจของตน ท่ีอยูท่ีเรียนสะอาด

Page 6: เล่ม ๒-๕ ภาคเหนือตอนบน ปี ๕๓ สิงหาคม

ลงในกลุมสาระวิชาท่ีตนสอน มิใชมอบใหเปนภาระ

หนาท่ีของครูกลุมสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม

หรือเปนเรื่องของพระสงฆ/ผูนำศาสนา ครูทานอื่นอาจ

มองวาจะสอนศาสนาผานวิชาที่รับผิดชอบไดอยางไร

ไมตรงกับเนื้อหาหลักสูตรที่กำหนด ไมอยูในเน้ือหาวิชา

ตรงไหน แตถามองยอนไปดูจุดหมายปลายทางของ

หลักสูตรดานคุณลักษณะท่ีพึงประสงคของนักเรียน จะ

พบถึงสัจธรรมวา ถาโรงเรียนเปนโรงงานผลิตหลอหลอม

เด็กออกไปสูสังคม บมเพาะไวตั้ง ๙-๑๒ ป เพื่อใหเด็ก

ออกไปมีคุณสมบัติเดนคือ เปนคนเกง คนดี คนมีความ

สุขในสังคม กระบวนการผลิตคือผูบริหารและครู และ

ที่ปนมากับมือก็คือครูทุกคนนั่นแหละเปนคนใกลชิด

ที่สุดในหองเรียน จึงไมอาจปฏิเสธไดวาครูไมเก่ียวของ

ลองมายกตวัอยางวาจะสอดแทรกตรงไหนไดบาง

คอมพิวเตอร การไมคัดลอกงานคนอื่นมาเปน

ของตน (copy file and paste) การไมเขาดูเว็ปไม

พึงประสงค การสรางเว็ป E-book เปนตน

คณิตศาสตร การตั้งคติธรรมแปลงคาใสลงใน

เลขโจทย การคำนวณหาพืน้ทีโ่บสถ วหิาร วัด การตรง

ตอเวลาในการทำงาน ความซ่ือสัตยในการทำงาน ฯลฯ

วิทยาศาสตร ดานการอนุรักษสิ่งแวดลอม การ

ประหยัดพลังงาน สาเหตุโลกรอน เปรียบเทียบจักรวาล

การศึกษามิติภาพชาติที่ซอนกัน ผีมีจริงหรือไม กลุม

พลังงานคือผีหรือเปลา ฯลฯ

ดนตรี ศิลปะ การวาด การปน การทอ การแกะสลกั การยอมมัด การรอง การแสดง การเตน ทีน่ำเอาเร่ืองราวทางศาสนาไปประยุกต ไมวาจะเปนคำสอน

พุทธประวัติ ชาดก นิทานพื้นบาน เพ่ือใหเกิดอารมณ

สุนทรียศาสตรที่ซึมซับคุณธรรมเขาไปใหเกิดการรับรู

และเกิดการกระตุนความคิดท่ีดีๆ ฝงลงไปในจิตใจ

สมารถขยายไปสูผูอ่ืนได ท่ีสำคัญเกิดสมาธิในการทำงาน

มากขึ้น

๓. ดานการจัดกจิกรรมสงเสริมการเรียนรู ผูรับผิดชอบโดยตรงคือนักเรียน

สวนใหญครูมักเขาใจผิดวาเปนหนาท่ีของครู แตในความ

เปนจริงแลวนักเรียนตองเปนผูริเริ่มคิดโครงการหรือ

โครงงานขึ้นมาโดยการรวมตัวกันทำกิจกรรมใหเกิด

ประโยชนตอผูอื่น เชน โครงการดานสิ่งแวดลอม

โครงการตอตานสารเสพติด โครงการทำดีถวายในหลวง

โครงการรณรงคสะสมบุญทุกวันพระ กิจกรรมหนังสือ

ทำมือเพ่ือนอง ฯลฯ โดยมีครูเปนเพียงท่ีปรึกษา ผูบริหาร

เปนผูสนับสนุนเงินหรือทรัพยากรในการทำกิจกรรม/

โครงการ ส่ิงที่ไดคือเด็กจะกลาแสดงออก เด็กเกิดการ

กระตุนใหเกิดการคิดวิเคราะหและคิดสรางสรรค เด็ก

ใชเวลาวางใหเปนประโยชน เด็กเกิดความภาคภูมิใจใน

ตัวเอง เด็กเกิดการรวมพลังกันดานจิตอาสา ดานการ

เสียสละ ดานการทำงานเปนทีม ดานการเสริมสราง

คุณธรรมในวิถีชีวิตในโรงเรียนและในบาน

๔. ดานการใหชมุชนมสีวนรวม

ผูรับผิดชอบโดยตรงคือผูบริหารและครู ที่ตองประสาน

สัมพันธใหชุมชนแสดงความคิดเห็นในการวางแผนการ

ทำงานรวมกัน เปนวิทยากรทองถิ่น เปนปราชญชาว

บานเลาเรื่องราวในอดีตของชุมชน เชน บานเมือง

สมัยกอน การอยูรวมกัน ความสงบ การพ่ึงพาอาศัย

ธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ วัฒนธรรมประเพณีพื้นบาน

พื้นเมือง เปนตน

นอกจากน้ัน โรงเรียนตองใหการสนับสนุน

ชุมชน รวมงานบุญ งานทำนุบำรุงศาสนาโดยสนับสนุนให

เด็กเขาไปมีสวนรวมเต็มตัว นอกจากจะไดใจพอแก

แมเฒาและคนในชุมชนแลว เด็กๆ จะไดเรียนรู

นอกหองเรียนที่เปนวิถีชุมชนอีกสวนหน่ึงดวย เปนการ

ถายโอนความรู ความเชื่อ ความศรัทธาใหเกิดการมี

สวนรวมระหวางบาน วัด โรงเรียนอยางแทจริง

ถึงแมจะมีวิธีการการจัดการโรงเรียนวิถีพุทธ

(วิถีธรรม) ทั้งระบบ (Whole School Approach) แต

สิ่งสำคัญกวาน้ันก็คือผูปฏิบัติ หากขาดซ่ึงสิ่งน้ีก็เกรงวา

จะเปนเรื่องยากทีเดียวที่เราจะไดเห็นผลสำเร็จอัน

จะเกิดข้ึนกับเด็กๆ และประเทศของเรา

Page 7: เล่ม ๒-๕ ภาคเหนือตอนบน ปี ๕๓ สิงหาคม

ของการปฏิรูปการศึกษาคือ การปฏิรูปการเรยีนรู หวัใจของการปฏริปูการเรยีนรูคือ การปฏิรูปจากการยึดวิชาเปนตัวตั้ง มาเปนยึดมนุษยหรือผูเรียนเปนตัวต้ัง หรือที่เรียกวา

น.พ.ประเวศ วะสี

ผูเรียนสำคัญท่ีสุด

หัวใจ

Page 8: เล่ม ๒-๕ ภาคเหนือตอนบน ปี ๕๓ สิงหาคม
Page 9: เล่ม ๒-๕ ภาคเหนือตอนบน ปี ๕๓ สิงหาคม

สารบัญ

บทความกลวย สรางคุณธรรมลำปาง เขต ๓

มัคคุเทศกนอย หวยตมลำพูน เขต ๒

ยุวพุทธ พันธุแทพะเยา เขต ๒

แปลกหรือ…ที่หนูไมเหมือนใครนาน เขต ๒

ดาวดวงนอยของครูแพร เขต ๑

ลาหูเด็กดี….เก็บไดฝากออมแมฮองสอน เขต ๑

ตัวอยางท่ีดี มีคามากกวาคำสอนนาน เขต ๒

จากดิน…สูดาว…ดวยสมาธิลำปาง เขต ๑

ทั้งชีวิตเพ่ือเปน “ครูชายขอบ”เชียงใหม เขต ๓

บทความเขาพรรษา พานองไปวัด…เชียงใหม เขต ๓

พฤกษศาสตรเรียนรูสูความพอเพียงลำปาง เขต ๑

นาฏยศีล คืออะไรแมฮองสอน เขต ๒

สมาธิมา ปญญาเกิดเชียงใหม เขต ๕

ทุกอยางเกิดขึ้นไดถาทุกคน มี…จิตสำนึกพะเยา เขต ๑

วินัยเชิงบวก…จะทำได ไหมนี่ลำพูน เขต ๑

เด็กพิเศษ พัฒนาไดเชียงใหม เขต ๑

เงินปากผีเชียงใหม เขต ๑

หนา๘

๑๑

๑๓

๑๙

๒๒

๒๔

๒๖

๒๘

๓๑

หนา๓๓

๓๗

๔๐

๔๒

๔๖

๔๙

๕๒

๕๕

Page 10: เล่ม ๒-๕ ภาคเหนือตอนบน ปี ๕๓ สิงหาคม

ลำปาง เขต ๓

เรื่องรัชนีกร สมศักดิ์

โรงเรียนรองเคาะวิทยา

ต.รองเคาะ อ.วังเหนือ

จ.ลำปาง

กลวยสรางคุณธรรม“โอโฮ! ดูกลวยท่ีพวกเราชวยกันปลูกไว

ตอนอยูชั้น ป.๔ ซิ งามจังเลย” เสียงของเด็กชายนูนดังขึ้น เมื่อเดินไปเปดหนาตางหองเรียน

ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ ในวันแรกท่ีเปดภาคเรียน

“เออ งามจริงๆ นะ กอใหญๆ ท้ังนั้นเลย ออกลูกตั้งหลายเครือนะ นาภูมิใจในฝมือของพวกเราดวยนะ” เปนเสียงตอบของเด็กชาย

ตูมตามเพื่อนรวมชั้น

Page 11: เล่ม ๒-๕ ภาคเหนือตอนบน ปี ๕๓ สิงหาคม

ตอนน้ีทุกคนข้ึนมาเรียนอยูชั้นประถม

ศึกษาปที่ ๖ แลว หองเรียนอยูชั้นบนของอาคาร

สองชั้นทางทิศเหนือ ซึ่งดานหลังเปนสวนกลวยที่

อดุมสมบรูณ เมือ่มองออกไปทางหนาตางหองเรยีน

ครั้งใด พวกเราก็เกิดความภาคภูมิใจมิรูลืมวา

สวนกลวยน้ีพวกเรามีสวนทำใหเกิดขึ้น เมื่อตอน

ที่พวกเราเรียนอยูชั้นประถมศึกษาปที่ ๔ จำไดวา

ในชวงเทศกาลวันเขาพรรษาของปนั้น โรงเรียน

ไดจัดกิจกรรมใหนักเรียนรวมกันปลูกตนไม เพื่อ

ถวายเปนพระราชกุศลแดพระบาทสมเด็จพระเจา

อยูหัว และเพื่อเปนการอนุรักษธรรมชาติและชวย

ลดภาวะโลกรอนดวย คุณครูผูสอนชวงชั้นท่ี ๒

และคุณครูผูทำการสอนกลุมสาระการเรียนรูการ

งานอาชีพและเทคโนโลยี (งานเกษตร) ไดตกลง

รวมกันจัดกิจกรรมเชิญชวนใหนักเรียนชั้นประถม

ศึกษาปที่ ๔ ถึงชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ ปลูก

กลวย โดยใชพื้นที่วางดานหลังของอาคารเรียน

หลังนี้ที่รกรางใหเกิดประโยชน ใหทุกคนนำหนอ

กลวยที่จะปลูกมาจากบาน พวกเราชวยกันปลูก

คนละตนเทานั้นเอง

พอมาเห็นสภาพในปจจุบันก็คิดวาเปน

ความคิดที่ดีเยี่ยมที่คุณครูไดเลือกใหพวกเราปลูก

กลวยแทนปลูกตนไมอื่น เพราะจากตนกลวยตน

เล็กๆ ไมคาดคิดเลยวาจะกลายมาเปนกอกลวย

ขนาดใหญหลายๆ กอจนกลายเปนปากลวย ที่

ใหความชุมชื้นทั้งยังชวยลดภาวะโลกรอนแลวยัง

ใหผลผลิตอยางมากมายทั้งดอกซึ่งเรียกกันวา

หัวปลี นำมาใชทำอาหารสารพัดชนิด สวนลำตน

และใบก็นำมาใชประโยชนอยางหลากหลาย โดย

นำมาประดิษฐงานใบตอง เชน การประดิษฐ

กระทงลอยน้ำ การประดิษฐกระทงกรวย การ

ประดิษฐกระทงหอหมก การฝกทำบายศรี จน

ทำใหนักเรียนในโรงเรียนของเรามีฝมือในดาน

งานใบตอง สามารถเขารวมแขงขันงานทักษะ

วิชาการและงานศิลปหัตถกรรม จนไดรับรางวัล

ในระดับเขตพื้นที่การศึกษาและระดับภาค และ

บางครั้งหากมีงานตางๆ ในชุมชนที่จำเปนตอง

ใชสวนประกอบของกลวยโดยเฉพาะใบกลวยที่

เราเรียกกันวาใบตอง สวนกลวยของโรงเรียนเราก็

มีสวนใหความชวยเหลืออยางมากมายอยูเสมอ

สวนที่สำคัญที่สุดท่ีจะกลาวถึงในท่ีนี้ก็คือ

ผลของกลวยที่มีมากมายตลอดฤดูกาล ซึ่ ง

นอกจากจะใหคุณคาทางดานอาหารตอสุขภาพ

แลวยังใหคุณคาตอทักษะในการดำเนินชีวิตอีก

ดวย พวกเราและคุณครูประจำชั้นไดลงความเห็น

กันวา นอกจากทุกคนจะไดกินกลวยสุกกันเปน

ประจำแลว นาจะนำกลวยมาแปรสภาพใหมี

รสชาติที่หลากหลาย ชวยใหเพื่อนๆ พี่ๆ และ

นองๆ ในโรงเรียนทุกคนไดรับประทานอาหาร

ปลอดสารพิษและมีคุณคาตอรางกาย และเพื่อ

เปนการสรางเสริมคุณธรรมและทักษะชีวิตใหกับ

นักเรียน คุณครูประจำชั้นของพวกเรา จึงจัดใหมี

โครงการเสริมรายไดระหวางเรียนขึ้นกับนักเรียน

กลุมที่สนใจ แลวใหพวกเราเรียนรูวิธีการแปรรูป

กลวยใหเปนอาหารวางชนิดตางๆ จากกลวย

โดยเริ่มจากการปลูกฝงใหพวกเรารูจักสังเกต

ศึกษาเรียนรู รูจักใชกิริยามารยาทเมื่อเขารับการ

Page 12: เล่ม ๒-๕ ภาคเหนือตอนบน ปี ๕๓ สิงหาคม

ศึกษาดูงานจากผูชำนาญการในการประกอบ

ผลิตภัณฑอาหารวางจากกลวย รูวิธีการคัดเลือก

กลวยที่จะนำมาใชผลิตเปนอาหารวางแตละชนิด

เชน หากจะนำมาทำเปนกลวยฉาบ กลวยเชื่อม

กลวยบวชชี กลวยตาก แตละอยางจะตองใช

กล วยดิบ กล วยสุก กล วยห ามขนาดไหน

นอกจากนี้ยังฝกใหพวกเราไดเรียนรูทักษะชีวิตอื่น

ที่จะเปนพื้นฐานในการดำรงชีวิต เชนการคำนวณ

ตนทุนผลผลิตในการผลิตอาหารวางจากกลวย

แตละชนิดวาประกอบดวยวัตถุดิบหรือเครื่องปรุง

อะไรบาง แตละอยางใชจำนวนเทาไรจึงจะพอดี

รูจักระบบการตลาด ระบบสหกรณที่เมื่อพวกเรา

ผลิตเสร็จแลวนำมาจำหนายผานระบบสหกรณ

รานคาของโรงเรียน ซึ่งเปนการคืนผลกำไรให

พวกเราที่เปนสมาชิกของสหกรณไปโดยไมรูตัวอีก

ดวย และการนำกลวยมาผลิตแตละครั้งนั้นพวก

เราจะคิดราคาทุนของกลวยดวย ซึ่งจะเก็บเงิน

สวนนี้ไวแลวนำเงินสวนนี้ไปใชจายในการกุศลท้ัง

ในและนอกโรงเรียน ซึ่งคุณครูพร่ำบอกพวกเรา

เสมอวา “คนเราทุกคนอยูในสังคมรวมกับผูอื่น ฉะนั้นเราตองรูจักชวยเหลือผูอื่นและตอบแทนสังคมบาง จะทำใหเราอยูรวมกับผูอื่นและสังคมไดอยางมีความสุข“

แตสิ่งที่พวกเราไดรับและมีคาเหนือสิ่งอื่นใด คือ ทำใหพวกเราได เ รี ยนรู ความเปน

ประชาธิปไตย เพราะในการประกอบอาหารวาง

จากกลวยครั้งใดพวกเราจะตองรวมปรึกษาหารือ

และรวมตกลงกันกอนวาในแตละครั้งนั้นพวกเรา

จะผลิตอาหารวางจากกลวยชนิดใด ทำใหเราได

เรียนรูความเปนประชาธิปไตย รูจักยอมรับความ

คิดเห็นของกันและกัน นอกจากนี้แลวยังเปนการ

ปลูกฝงการมีคุณธรรม จริยธรรมในชีวิตดาน

ตางๆ ใหกับพวกเราดวย เพราะเมื่อเราตกลงกัน

ไดแลวเราจะชวยกันลงมือประกอบรวมกันจนกวา

จะสำเร็จ ซึ่งบางครั้งตองใชเวลาในวันเสาร วัน

อาทิตย และเวลาวางหลังเลิกเรียน ซึ่งใชเวลา

นานมาก จึงทำใหเรารูจักความอดทนอดกล้ัน

ความรัก ความสามัคคี ความขยันหมั่นเพียร

ความเสียสละ

ความรบัผดิชอบ รูจกัใชวสัดุอยางประหยดั

และคุมคา ไดเรียนรูวาการประกอบอาชีพและ

การหารายไดของผูปกครองน้ันแทจริงแลวมี

ความเหนื่อยยากเพียงไรที่กวาจะไดเงินแตละ

บาทแตละสตางคสำหรับใชในการเลี้ยงดูพวกเรา

ฉะนั้นพวกเราจึงตั้งใจทำดวยความมุมานะและ

เต็มใจอยางย่ิง ผลผลิตที่ออกมาน้ันเปนที่ยอมรับ

สามารถนำไปเปนอาหารวางสำหรับตอนรับผูมา

เยี่ยมเยือนโรงเรียน และนำไปจำหนายเปนราย

ไดเขากลุมทำใหเรามีรายไดระหวางเรียนเปน

จำนวนเงินไมนอย ทำใหพวกเราเกิดความภาคภูมิใจ และไดขอคิดวา หากเราขยัน ใสใจใฝหาท่ีจะเรียนรู ก็จะทำใหเราไดรับประสบการณ ความ

รูความสามารถ และมีทักษะท่ีจะนำไปใชในชีวติ

ประจำวนัและในอนาคตได

๑๐

Page 13: เล่ม ๒-๕ ภาคเหนือตอนบน ปี ๕๓ สิงหาคม

ลำพูน เขต ๒

เรื่องสุดาพร มะโนธรรม

โรงเรียน บานหวยตม

ต.นาทราย อ.ลี้

จ.ลำพูน

หวยตมมัคคุเทศกนอย

ทามกลางหมอกสีขาวลอยลอง สายลม

หนาวพัดมาทักทาย ผูคนหลั่งไหลเขามาทอง

เที่ยวไมขาดสายเพื่อรับกลิ่นอายวัฒนธรรมชนเผา

และนมัสการสรีระทิพยหลวงปูครูบาชัยยะวงศา

พัฒนานักบุญแหงลานนาไหวสาองคพระมหาธาตุ

เจดียศรีเวียงชัย เยี่ยมชมของดีในชุมชน ยลถ่ิน

ปกากะญอ ณ ชุมชนบานหวยตม มัคคุเทศกตัว

นอยๆ จากโรงเรียนบานหวยตม แตงชุดประจำ

เผาแสนสวย ดวยรอยยิ้มอันสดใส รอรับการมา

เยือนของทุกทานพรอมกับการบอกขานเลา

ตำนานความเปนมาของชุมชน

โรงเรียนบานหวยตม ตั้งอยูในอำเภอลี้

จังหวัดลำพูน เปนโรงเรียนขยายโอกาสทางการ

ศึกษาขนาดใหญ ท่ีมีนักเรียนทั้งหมดเปนชาวเขา

เผากะเหรี่ยง และเปนเด็กดอยโอกาสทางการ

ศึกษา ในชุมชนมีแหลงโบราณสถาน โบราณวัตถุ

แหลงประกอบอาชีพที่สำคัญอยางหลากหลายใน

ชุมชน โดยมีครูบาชัยยะวงศาพัฒนา นักบุญแหง

ลานนา เปนศูนยรวมจิตใจของคนในทองถิ่น

ตลอดทั้งพุทธศาสนิกชนท่ัวไป ทำใหมีนักทอง

เที่ยวเดินทางเขามาทองเที่ยวและแสวงบุญใน

ชุมชนบานหวยตมตลอดป

๑๑

Page 14: เล่ม ๒-๕ ภาคเหนือตอนบน ปี ๕๓ สิงหาคม

อยางไรก็ตาม ในชุมชนยังขาดมัคคุเทศก

ที่มีความรูความเขาใจในการอธิบายใหความรู

เกี่ยวกับประวัติความเปนมาของหมูบาน วิถีชีวิต

ของชาวเขาเผากะเหรี่ยง ประวัติครูบาชัยยะ

วงศาพัฒนา ตลอดท้ังโบราณสถาน โบราณวัตถุ

และแหลงเรียนรูสูอาชีพในชุมชนที่ถูกตอง จึงมี

ความจำเปนอยางยิ่งที่ทางโรงเรียนจะตองจัดทำ

หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานใหสอดคลองกับ

ความตองการของชุมชนและทองถิ่น

วัตถุประสงคนั้นก็คือเพื่อใหนักเรียนไดมี

จิตสำนึก เกิดความรัก ความภาคภูมิใจ มี

เจตคติที่ดีตอบานเกิดและชนเผาของตนเอง มี

สวนรวมในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ

โบราณสถานโบราณวัตถุ และเผยแพรศิลป

วัฒนธรรม ของดีอันล้ำคาที่มีอยูในชุมชนใหผูอื่น

ไดทราบ และสามารถปฏิบัติหนาที่เปนมัคคุเทศก

พานักทองเที่ยวนำชมโบราณสถาน โบราณวัตถุ

และแหลงเรียนรูสูอาชีพในชุมชน บุคคลสำคัญ

และสถานที่ทองเท่ียวในชุมชน

โรงเรียนดำเนินการฝกอบรมนักเรียนท่ี

สมัครเขาร วมโครงการตามหลักสูตร จาก

วิทยากรผูมีประสบการณ ทั้งภาคความรูและการ

ฝกปฏิบัติจริงในทองถ่ิน

จากการประเมินผลพบวานักเรียนท่ีผาน

การอบรมมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับประวัติ

ชุมชน บุคคลสำคัญและสถานที่ทองเที่ยวใน

ชุ มชน มีพฤติ ก ร รม ท่ีพึ งประสงค ทั้ ง ด าน

บุคลิกภาพ กิริยามารยาทและความมีน้ำใจ

ตลอดจนมีทักษะในการพูด กลาแสดงออก มี

ความสุขกับการปฏิบัติหนาที่ รักและภูมิใจในชน

เผาและชุมชนของตนเอง สรางความประทับใจ

ใหกับนักทองเที่ยว กระตุนใหนักเรียนคนอื่น

สนใจอยากเขารับการฝกอบรม และเปนแบบ

อยางที่ดีกับเพื่อนในโรงเรียนและตางโรงเรียนได

การปฏิบัติงานของมัคคุเทศกเปนการ

ปฏิบัติงานที่ตอเน่ืองตลอดปการศึกษา นอกจาก

นักเรียนจะไดรับความรูเกี่ยวกับชุมชน เกิดความ

รักความภูมิใจในชนเผาของตนแลว ยังสามารถ

ฝกประสบการณที่นำไปใชเปนงานอาชีพหลังจาก

จบการศึกษา อีกทั้งยังสามารถหารายไดระหวาง

เรียนจากคาตอบแทนของนักทองเที่ยว ทั้งนี้ทาง

โรงเรียนไดมีการประชาสัมพันธโครงการโดยนำ

เสนอทางเว็บไซตและวารสารของโรงเรียน จึง

ทำใหหนวยงานตางๆ สนใจติดตอขอรับบริการ

นำเที่ยว

ขอขอบคุณนักทองเที่ ยวทุกทานที่ ใช

บริการมัคคุเทศกนอย และขอเชิญชวนทุกทาน

มาเยี่ยมชมความงดงามของพระมหาธาตุเจดียศรี

เวียงชัย กราบนมัสการสรีระหลวงปูครูบาชัยยะ

วงศาพัฒนา สัมผัสหมอกขาวๆ กับสาวๆ

ปกากะญอที่นารักกันบางสักวัน...นะคะ

๑๒

Page 15: เล่ม ๒-๕ ภาคเหนือตอนบน ปี ๕๓ สิงหาคม

พะเยา เขต ๒

เรื่องพระอธิการหนุย

ฐิติสัมปนโน

โรงเรียนบานกอหลวง

ต.ทุงกลวย อ.ภูซาง

จ.พะเยา

พันธุแท ถาจะถามวา “ยุวพุทธพันธุแท” คือใคร

และมีคุณสมบัติอยางไร คำตอบก็จะไดวายุวพุทธ

พันธุแทก็คือเด็กนักเรียนที่มีคุณธรรมในขอท่ีคน

ทั้งหลายเห็นวาเปนเครื่องรับประกันคุณภาพวา

เด็กคนน้ีเปนคนดีจริง คุณธรรมเชนท่ีวานั้นไดแก

ความกตัญูกตเวที ดังพุทธศาสนสุภาษิตที่วา

นิมิตฺตํ สาธุ รูปานํ กตฺู กตเวทิตานํ

ความกตัญูกตเวทีเปนเคร่ืองหมายของ

คนดี

แตกระบวนการในการทำใหคนเปนคนดีมี

ความกตัญูกตเวทีนั้นไมใชเรื่องงายซึ่งผูเปนพอ

แม เปนครูบาอาจารยตางก็ทราบเปนอยางดี

และมิใชเพียงแคสั่งสอนใหดูสื่อหรือทำใบงานแลว

ยุวพุทธ จะสำเร็จผล หากแตตองอาศัยทุกๆ ฝายชวยกัน

ทั้งโรงเรียนอบรมส่ังสอนท้ังภาควิชาการและการ

ปฏิบัติ ผูปกครองก็ตองพยายามปลูกฝงคุณธรรม

จริยธรรมและคานิยมท่ีพึงประสงค พระสงฆองค

เจาก็เพิ่มเติมเสริมสรางใหเด็กนักเรียนนำเอาคุณ

ธรรมจริยธรรมที่ไดรับการปลูกฝงนั้นมาใชใหเกิด

ประโยชนและเพิ่มเติมเสริมสรางคุณธรรมที่มีอยู

ตัวเด็กนักเรียนใหมีเพิ่มขึ้น กระตุนเตือนให

นักเรียนสรางคุณงามความดีใหบังเกิดมีขึ้นใน

ตนเอง และพยายามรักษาคุณงามความดีนั้นไว

ไมใหเสื่อม

จากความตระหนักถงึบทบาทของพระสงฆ

ตรงนี้ พระอธิการหนุย ฐิติสัมปนโน พระครูสอน

๑๓

Page 16: เล่ม ๒-๕ ภาคเหนือตอนบน ปี ๕๓ สิงหาคม

ศีลธรรมประจำโรงเรียนกอหลวงจึงไดพยายาม

ปรับวิ ธี ก ารสอน โดยมุ งปลู กตนกล าแห ง

จริยธรรมใหบังเกิดขึ้นในใจของนักเรียนใหได

เริ่มตั้งแตการปรับปรุงสื่อการเรียนการสอนท่ีมีแต

ใบงานใหเขียน มาเปนสื่อแผนปายคลายกับ

รายการแฟนพันธุแท ในหมวดคุณสมบัติ เพื่อเรา

ความสนใจนักเรียนมากยิ่งขึ้น และนำเอาธรรมะ

อยางงายๆ ที่ปรากฏในหมวดคำตางๆ ท่ีคำหนา

เหมือนกันและศัพททางพระพุทธศาสนามา

ประมวลเปนหมวดหมู และนำมาเปนเกมใบคำ

คลายกับรายการเวทีทอง นอกจากนั้นก็นำเอา

คำถามทายบทและแตง เพิ่ม เติมมาทำเปน

รายการเกมเศรษฐี ซึ่งไดรับความสนใจจาก

นักเรียนดียิ่ง

นอกจากนั้นไดจัดทำสมุดบันทึกความดีให

นักเรียนเขียนความดีที่ทำในแตละวัน เปนการ

กระตุนใหนักเรียนทำความดีเพิ่มเติมและรักษา

ความดีที่ทำไวไมใหเสื่อม โดยทำการตรวจบันทึก

ทุกๆ สัปดาห และใหรางวัลแกผูที่ทำความดี

อันยิ่งๆ ข้ึน และเพ่ือเปนการยืนยันวานักเรียนได

กระทำความดีดังที่ปรากฏในบันทึกจริง ทานจะ

ออกไปพบปะกับผูปกครองนักเรียนเปนการสุม

ตัวอยางอีกดวย ซึ่งผูปกครองนักเรียนก็ใหความ

รวมมือเปนอยางดี

การกระทำเพียงเทานี้ก็คงไมไดแตกตาง

จากครูบาอาจารยทั่วไปกระทำกัน หากแตพระ

อธิการหนุย ทานยังไดเพิ่มเติมกิจกรรมที่วัดสอด

รับกับการสอนท่ีโรงเรียน อีกประการหนึ่งที่

สำคัญยิ่ง นั่นคือเปดศูนยศึกษาพระพุทธศาสนา

วันอาทิตยที่วัดกอซาว ซึ่งตรงน้ีนักเรียนจะได

ตอยอดจากในโรงเรียน โดยรับนักเรียนทุกระดับ

ชัน้ตัง้แตอนุบาลถงึมธัยมปลาย ซึง่ ณ ทีน่ีย้วุพทุธ

ยุวพุทธจิตอาสา

กำลังกระตุนตอมความคิด

ของนองๆ

๑๔

Page 17: เล่ม ๒-๕ ภาคเหนือตอนบน ปี ๕๓ สิงหาคม

พันธุแทไดเริ่มปรากฏตัวขึ้น กลาวคือนักเรียนที่

เคยไดรับการศึกษาทั้งจากโรงเรียนกอหลวงและ

ศูนยศึกษาพุทธศาสนาวันอาทิตยวัดกอซาวหรือ

เรียกวาศิษยเกาก็คงไมผิด ปจจุบันในบางรายก็

อยูชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๒-๕ ตางก็มาชวยพระ

อาจารยทำกิจกรรมการงาน ไลตั้งแตการจัด

เตรียมสถานท่ีในวันเสาร เตรียมกิจกรรมตางๆ

ที่จะสอนนองและกิจกรรมนันทนาการตางๆ รวม

ถึงหารือเรื่องขาวปลาอาหารท่ีจะนำมาเล้ียงดู

นองๆ ของรางวัลตางๆ ซึ่งในกลุมลูกศิษยลูกหา

ของพระอาจารยเรียกตัวเองวา “กลุมยุวพุทธจิตอาสา” ซึ่งงานน้ีเปนการอาสาสมัครเขามาชวย

พระอาจารยไมไดรองขอ เมื่อทำแลวก็ไมมีคา

ตอบแทนแตประการใด ส่ิงที่ไดรับคือบุญลวนๆ

แตทุกคนก็เต็มใจทำ

กิจกรรมหลักๆ ของกลุมคือตระเตรียม

กระดาษเขียนคำคม จัดกลุมนองๆ นักเรียน

แนะนำเรื่องการสวดมนตไหวพระ สอนวิชาการ

ทางพระพุทธศาสนาในสวนของนองๆ ระดับ

อนุบาลถึงประถมศึกษาปที่ ๓ ชวยพระอาจารย

สอนธรรมศึกษาตรี โท และเอก ใหกับนักเรียน

ระดับประถมศึกษาปที่ ๔ ถึงมัธยมศึกษา ที่ยัง

ไมจบธรรมศกึษาเอก จดักจิกรรมภาคนนัทนาการ

และนำนองๆ บำเพ็ญสาธารณประโยชนเริ่มจาก

ที่วัด หมูบาน และสาธารณประโยชนอยางอ่ืนๆ

เชน ศาลาพักรอน ไปเยี่ยมผูสูงอายุ จัดเตรียม

อาหารใหกับนองๆ และสุดทายคือคัดเลือกคำคม

ที่ชนะเลิศในระดับตางๆ และมอบรางวัลให

เจาของคำคมแตละสัปดาห

กลุมยุวพุทธจิตอาสา ที่มีจติใจเสียสละตอ

วัดวาอารามตอพระศาสนาเชนนี้ จะเกิดมีขึ้นได

อยางไรเลาหากขาดเสียซึ่งการปลูกฝงตนกลา

แหงจริยธรรมในใจของพวกเขา นางสาวณัฐธิณี

อินทะเนตร หัวหนากลุมใหเหตุผลที่ชักชวน

เพื่อนๆ เขามาชวยเหลือพระอาจารยตรงนี้วา

“เพราะไดเห็นความตั้งใจและเสียสละของพระอาจารย ท่ีพยายามจะนำธรรมะของพระสัมมาสัมพุทธเจาใหนักเรียนไดเขาใจและนำไปใช ในบางครั้งสิ่งของที่นำมาเปนรางวัลนอกจากจะไดมาจากศรัทธาสาธุชนแลว พระอาจารยทานยังจัดหามาจากทุนทรัพยของพระอาจารยเอง เชนเส้ือผาอาภรณตางๆ และโดยเฉพาะอยางยิ่งนักเรียนท่ีกระทำความดีเปนที่ปรากฏ เชน ชวยพอแมทำการงาน ซื่อสัตยสุจริต ตั้งใจศึกษาเลาเรียน พระอาจารยจะมอบเสื้อยุวพุทธพันธุแทให แมในบางคร้ังเด็กคนน้ันอาจไมไดมาวัดในวันอาทิตย และท่ีประทับใจมากคือรางวัลสุดยอดคำคมคนโชคดี ในแตละเดือนหรือสองเดือนของการเรียนการสอน พระอาจารยจะจัดหารถจักรยานมามอบใหกับผูโชคดี แมวาสิ่งของเหลา

เมื่อตนเองสงบเย็นมีจิตใจอันดีงามอันบังเกิดแตความกตัญูกตเวทิตาธรรมแลว ยอมถายทอดแบงปนใหกับผูอื่นได

๑๕

Page 18: เล่ม ๒-๕ ภาคเหนือตอนบน ปี ๕๓ สิงหาคม

นี้จะเปนวัตถุภายนอก ผูใดมีเงินทองก็สามารถจัดหามาใหได หากแตการที่พระอาจารยไดแสดงออกถึงความเสียสละ และการใหโดยไมเลือกที่รักมักที่ชัง ใหแกคนท่ีสมควรให และท่ียิ่งศรัทธาเคารพพระอาจารยมากยิ่งขึ้นก็คือการมอบรางวัลใหญคือรถจักรยานน้ัน พระอาจารยไมไดมอบเพียงคนเดียว แมวาจะเปนเงินทองของทานที่ซื้อหามาก็ตามที แตทานจะใหไปเรียกบุคคลสำคัญในหมูบานมารวมมอบดวย ขอนี้เองที่ศรัทธาสาธุชนของบานกอหลวงกอซาวไววางใจพระอาจารยเปนอยางยิ่ง พระอาจารยเสียสละจากท่ีเคยไดรับเงินเดือนหาหกพันบาท มารับเงินคาตอบแทนไมเทาไร ซึ่งเห็นความตั้งใจของพระอาจารยแลวในฐานะลูกศิษยคนหนึ่งก็อยากชวยพระอาจารย แตวาการทำเพียงคนเดียวน้ันก็มีกำลังนอย จึงหารือกับเพื่อนรวมอุดมการณเดียวกัน และไมนาเชื่อวาจะมีมากถึงสิบกวาคนอยางท่ีเปนอยู”

การปลูกฝงตนกลาแหงจริยธรรมไวใน

จิตใจของคนเปนเรื่องยากอยูแลว เพราะบางคนก็

ไมเปดใจรับเสียตั้งแตแรก บางคนรับไปแตขาด

การบำรุงรักษาเลี้ยงดูใหตนกลาน้ันผลิดอกออก

ผลในจิตใจ ตนกลานั้นก็เหี่ยวเฉาแหงผากตายไป

เสียอยางนาเสียดาย การทำความดีโดยไมหวังสิ่ง

ตอบแทน การเปนคนรูคุณคน รูคุณสถาบันที่ตน

เคยไดรับประโยชน และตอบแทนทานและ

สถาบันเหลาน้ัน ไมวาจะแสดงออกในรูปแบบใด

ก็ตาม เปนปุย เปนน้ำ เปนฮอรโมนอยางวิเศษ

สุดท่ีจะทำใหตนกลาแหงจริยธรรมที่มีอยูในใจได

ผลิดอกงอกเงยเปนตนจริยธรรมที่ใหญโตงดงาม

แผกิ่งกานสาขาออกไปใหรมเงาใหความชุมชื้นแก

ใจตนเอง เมื่อตนเองสงบเย็นมีจิตใจอันดีงามอัน

บังเกิดแตความกตัญูกตเวทิตาธรรมแลว ยอม

ถายทอดแบงปนใหกับผูอื่นได ถาชุมชนของเรามี

กลุมอยางยุวพุทธจิตอาสาแลว เราคงจะมียุวพุทธ

พันธุแทกันเต็มบานเต็มเมืองแนนอน

เปนธรรมดาของคนที่เปนครูบาอาจารย ผู

ปกครองและพระอาจารยที่มุงหวังใหนักเรียนเปน

คนดีมีความรูความสามารถ แตทุกคนเกิดมาบน

พื้นฐานของความไม เทากัน หากวาทานได

พยายามทำการปกปอง คือใหความปลอดภัยแก

เขาแลว และไดปลุกปน คือใหความรูวิชาการ

และจริยธรรมอยางเต็มความสามารถ แตถามี

การแตกแถวเราก็ตองปราบปราม คือลงโทษบาง

สมควรแกโทษานุโทษ แตหากเขาทำไดดีรุดหนา

เราก็ตองปรีดาปราโมทย ใหกำลังใจเสริมแรง

เขาไป และสุดทายหากเราพยายามทำทุกอยาง

แลว แตไมไดอยางที่เราหวังตั้งใจ ส่ิงที่เราทานทั้ง

หลายในฐานะคนผูสรางคนจะพึงกระทำคือ

ปลดปลง

เจริญพร

พอหลวงทองดี ธรรมโม รวมกับกลุมยุวพุทธฯ และพระอธิการหนุย ฐิติสัมปนโน มอบจักรยาน

ใหแก เด็กหญิงจารุวรรณ กันทะเนตร นักเรียนผูชนะการประกวดคำคมและโชคดีประจำเดือน

๑๖

Page 19: เล่ม ๒-๕ ภาคเหนือตอนบน ปี ๕๓ สิงหาคม

๑๗

Page 20: เล่ม ๒-๕ ภาคเหนือตอนบน ปี ๕๓ สิงหาคม

การเรียนรูเปนสิ่งที่ประเสริฐที่สุดของมนุษย เพราะสมองของมนุษยเปนโครงสรางที่วิจิตรที่สุดในจักรวาล สามารถเรียนรู ใหบรรลุอะไรก็ได

ประเวศ วะสี

๑๘

Page 21: เล่ม ๒-๕ ภาคเหนือตอนบน ปี ๕๓ สิงหาคม

คุณแมบอกวา เมื่อตอนท่ีคลอดหนูออกมา

ใหมๆ ใบหนาหนูใหญมากและมีสีแดงเขม อวน

จนแขนขาเปนปลองๆ ผิวหนังออนนุมนิ่ม แมวา

หนูเหมือนเนื้อกอนหนึ่งที่กองอยู เพราะหนูไม

กระดุกกระดิก ไมดิ้น ไมรอง

เวลาผานไปหาวันหนูยังไมดูดนมแม ทุก

คนคิดวาหนูตาบอดเพราะหนูหลับตลอดเวลา

หลับแมขณะที่พยาบาลรับตัวไปอาบน้ำ แมมา

ทราบจากคุณหมอเมื่อวันท่ีเราจะกลับบานวาหนู

เปนเด็กในกลุมท่ีมีความพิการมาแตกำเนิด ที่

เรียกวา “ดาวนซินโดรม” ตั้งแตนั้นมาครอบครัวของหนูรวมท้ัง

ญาติและบุคคลอื่นก็รับรูวาหนูเปนเด็กดาวน

หมายถึง ผูที่บกพรองทางสติปญญา หรือเด็กท่ีมี

แปลกหรือ…ที่หนูไมเหมือนใคร

พัฒนาการชา คุณพอคุณแมและพี่สาวใหความ

รักความเขาใจและยอมรับในความผิดปกติของ

หนู แตหลายคนก็ยังมองหนูอยางแปลกใจ อาจ

เปนเพราะใบหนาของหนูที่แตกตางจากพวกเขา

คือตาของหนูจะเล็กๆ และเฉียงขึ้นขางบน ตา

ปรือๆ มองดูเหมือนหนูจะงวงนอนอยูเสมอ และ

คอของหนูจะเอียงๆ คุณแมและคุณพอพยายาม

อยางย่ิงที่จะกระตุนพัฒนาการของหนูทั้งดาน

รางกายและสติปญญา คุณแมจะคอยนวดกลาม

เนื้อที่ออนแรงของหนู นวดทั้งตัว พลิกรางกาย

ของหนูไปมา ทานจะพูดคุยทำเสียงเล็กเสียงนอย

กับหนูตลอดเวลาโดยไมสนใจวาหนูจะเขาใจหรือ

ไม หนูรูสึกเพลินและสบายใจทุกครั้งที่ทานทำ

อยางนี้ สวนคุณพอก็จะจับตัวหนูโยนไปมาเพื่อให

เลาจากชีวิตจริงของ ด.ญ ดรรชนี หมื่นคำเรือง

โรงเรียน บานดอนสบเปอ

อ.เชียงกลาง จ.นาน

นาน เขต ๒

๑๙

Page 22: เล่ม ๒-๕ ภาคเหนือตอนบน ปี ๕๓ สิงหาคม

หนูดีใจท่ีไดเกิดมา ถึงแมจะบกพรองทาง สติปญญา แตความรัก ความอบอุนและ ความเขาใจท่ีผูอื่นมีใหหนู มันลนเกินที่ ใจ ของหนูจะรับได

หนูไดรองและสงเสียง ทุกคนจะพูดคุยกับหนู

ตลอดเวลาเพื่อฝกการพูด หนูพูดคำวา ”แม” ไดเปนคำแรก ตอมาหนูสามารถพูดโตตอบและถาม

คนอื่นได ทุกคนชมวาหนูพูดเกง หนูเริ่มเดินและ

วิ่งไดเมื่ออายุเกือบสามขวบพรอมๆ กับเขาเรียน

ที่ โรงเรียนอนุบาลแหงหนึ่ ง ที่นี่หนูได เพื่อน

มากมาย หนูจำชื่อเพื่อนและแมเพื่อนไดทุกคน

หนูทองคำคลองจองและคำศัพทภาษาอังกฤษ

งายๆ ได ตอมาคุณแมพาหนูเขาเรียนชั้น ป.๑ ที่

โรงเรียนบานดอนสบเปอ ต.เปอ อ.เชียงกลาง

จ.นาน ท่ีนี่หนูอยูในโครงการเด็กพิเศษเรียนรวม

หนูทำทุกอยางเหมือนนักเรียนคนอ่ืน ถึงแมหนูจะ

ทำบางอยางชาไปบางหรือบางคร้ังก็ทำไมได

เหมือนเพื่อน แตทุกคนก็ใหความรกั ความเขาใจ

มีน้ำใจ

ใหความชวยเหลือ ไปไหนดวยกันถาหนู

เดินชาเพื่อนก็จะรอ ไมคิดวาหนูแตกตางจาก

พวกเขา ขณะน้ีหนูอยูชั้น ป.๕ บางครั้งหนูจะไป

เรียนและเลนกับชั้นอนุบาลและช้ันอื่นๆ ที่หนู

พอใจ หนูรักเพื่อนและนักเรียนท่ีโรงเรียนทุกคน

หนูรวมกิจกรรมทุกอยางของทางโรงเรียน ไดแก

การไปทัศนศึกษา การลงคะแนนเพื่อเลือกตั้ง

ประธานนักเรียน การเปนผูนำสวดมนต การเตน

แอโรบิก การแสดงบนเวที การปลูกผักสวนครัว

ฯลฯ

เพื่อนทุกคนคอยชวยเหลือดูแลหนู หนู

รูสึกอบอุนเมื่ออยูที่โรงเรียน โดยเฉพาะทานผู

อำนวยการโรงเรียนที่เขาใจและยอมรับเด็กพิเศษ

ทานมองเห็นความสามารถพิเศษของหนู คือการ

ชอบรองเพลงและเตนประกอบเพลง ทานจึงสง

เสริมใหหนูไดแสดงออกอยางเต็มที่ คุณครูทุกคน

ที่เขาใจหนู คอยอบรมสั่งสอน คอยพูดซ้ำๆ สอน

ซ้ำๆ ใหหนูจำและเขาใจเพ่ือที่จะปฎิบัติในสิ่งที่

ถูกตอง เหมาะสม คุณครูชมวาหนูพูดจาไพเราะ

ขยันเรียน หนูขยันทำการบาน ถึงแมหนูจะเขียน

ไมเปนประโยค แตหนูก็ทำสงคุณครูทุกครั้งไม

๒๐

ด.ญ ดรรชนี หมื่นคำเรือง กับเพื่อนๆ ที่โรงเรียน

Page 23: เล่ม ๒-๕ ภาคเหนือตอนบน ปี ๕๓ สิงหาคม

เคยขาด คุณครูชมวาหนูมีความรับผิดชอบ หนู

เขียนช่ือจริงและช่ือเลนได แตนามสกุลหนูคอน

ขางยาวหนูยังเขียนไมได หนูจะพยายามเขียนให

ได ในชั่วโมงเรียนหนูชอบตอบคำถามของครู

ขณะที่เพ่ือนมักจะเลนและคุยกัน หนูไมชอบเสียง

ดัง หนูมักจะพูดสลับคำเชน ขางหนาเปนขาง

หลัง ชาเปนเร็ว ฯลฯ

อยูที่โรงเรียนหนูมีความสุขกับเพ่ือนๆ

และคุณครูที่ใจดี เปนความสุขความอบอุนแบบ

วิถีพุทธที่เรียบงายและสัมผัสไดจากความรูสึกที่

หนูไดรับ ขณะอยูที่บานหนูก็มีความสุขกับคุณ

พอคุณแมที่รักและเอาใจใส คอยสอนทุกสิ่งทุก

อยาง สอนแลวสอนอีกสอนซ้ำๆ บอกซ้ำๆ ทำให

ดูแลวใหหนูหัดทำ สอนหนูเรื่องตางๆ ที่จำเปน

ในชีวิตประจำวัน สอนมารยาทท่ีดี สอนใหหนู

ทำงานบาน หลายคร้ังที่หนูซักถุงเทาใหคุณพอ

และพี่สาว หนูชวยแมทำอาหาร แมเรียกหนูวา

”คุณนายระเบียบ” เพราะหนูชอบจัดของใหเปน

ระเบียบ หนูพับเสื้อผาของหนูเอง หนูเขาหอง

สวม อาบน้ำ แตงตัวไดเอง หนูคิดวาหนูดูแลตัว

เองไดและสามารถดูแลคุณพอคุณแมได ทุกวันนี้

หนูชอบท่ีจะกอดและหอมแกมพรอมกับบอกทาน

วาหนูรักทาน คิดถึงทานเสมอ คุณพอคุณแมวา

หนูขี้ออน หนูมีความสุขทุกท่ี ทั้งที่โรงเรียน ท่ี

บาน และท่ีอื่นๆ เพราะส่ิงที่หนูไดรับไมได

บกพรองเหมือนสิ่งที่หนูเปนมาแตกำเนิด หนูมี

ความสุขมากมายเพราะหนูอยูทามกลางความรัก

ความอบอุนจากส่ิงรอบตัวที่เต็มไปดวยความเปน

วิถีพุทธ

คุณแมบอกวาไมคิดวาจะมีวันน้ี วันท่ีหนู

วิ่งเลนอยางราเริง แจมใส แมไมคิดวาหนูจะได

เรียนหนังสือ ในใจของแมตอนนั้นคิดวาหนูคง

นอนน้ำลายไหลอยูบนที่นอนและเปนภาระของ

ทานไปตลอดชีวิต หนูดีใจที่ไดเกิดมา ถึงแมจะ

บกพรองทางสติปญญา แตความรัก ความอบอุน

และความเขาใจที่ผูอื่นมีใหหนู มันลนเกินที่ใจ

ของหนูจะรับได หนูขอขอบคุณทุกส่ิงทุกอยางใน

แนวทางของวิถีพุทธที่ทำใหหนูมีชีวิตอยูในสังคม

ไดอยางมีความสุข

๒๑

Page 24: เล่ม ๒-๕ ภาคเหนือตอนบน ปี ๕๓ สิงหาคม

หากชีวิตวัยเด็กในความหมายของเด็ก

ทั่วไปหมายถึงความสนุกสนานราเริงและไมตอง

แบกภาระอะไรมาก สิ่งนี้ก็นับวาเปนนิยามหรือ

ความหมายท่ีเด็กทุกคนควรจะไดรับแตในความ

เปนจริง เสนกราฟชีวิตไมไดดำเนินไปตามเสน

ทางความหมายหรือนิยามของชวงชีวิต วาวัยเด็ก

จะตองมีความสุข เพราะแทจริงแลว ทางเดินของ

ชีวิตไมไดมีชวงเวลาเปนสูตรสำเร็จเสมอไป

เคราะหกรรมหรือโชคชะตาเปนตัวกำหนดชีวิต

ของเรา

ชีวิตของเด็กตัวเล็กๆ คนหน่ึงอาจจะไม

เคยสัมผัสกับรสชาติของวัยเด็กที่หอมหวาน ชีวิต

ในวัยเด็กของเธอถูกโยนท้ิงไปกับภาระหนักอึ้ง

และโชคชะตาของตัวเอง

ดาวดวงนอยดวงนี้ชื่อ กรรณิกา ปาดอน

หรือนองกัน เด็กนอยวัย ๕ ขวบที่อาศัยอยูกับพอ

สองคน พอมีอาชีพเผาถานขายและติดเหลา แม

ทิ้งเธอไปต้ังแตเธออายุยังไมถึงป เธออาศัยอยูใน

กระทอมเล็กๆ ที่เธอเรียกวาบาน ไมมีสิ่งอำนวย

แพร เขต ๑

ดาวดวงนอยของครู เรื่อง

ครูโรงเรียนบานหวยกาน

โรงเรียน บานหวยกาน

ต.หวยมาย อ.สอง

จ.แพร

ความสะดวกสักอยาง มีที่นอนเกาๆ ใหซุก

หัวนอน อยูในสภาพแวดลอมของพี่นองที่เหมือน

กับสลัมในชนบท วัยเพียงแค ๕ ขวบกวาๆ แต

เธอตองรับภาระหนักอึ้ง พอตองกลายเปนคนติด

เหลาหมดอาลัยตายอยากในชีวิต วันไหนเมาก็จะ

นอนทั้งวันไมไปทำงานพอเงินหมดถึงจะไป

ทำงาน เด็กนอยอยูอยางอดอยาก พอบังคับให

เธอตื่นแตเชาหุงขาว แทนที่วัยของเธอควรจะได

พักผอนและมีคนคอยดูแลหุงหาอาหารใหและไป

โรงเรียนเหมือนกับเด็กคนอื่นๆ ท่ัวไป

บางวันพอดื่มเหลา เครียด ทุบตีและ

ทำรายรางกายเธอเม่ือเธอไมทำตามใจที่พอ

ตองการ เธออยากไปเลนกับเพื่อนๆ อยากจะ

สนุกสนานเหมือนกับคนอื่นๆ บางครั้งญาติของ

เธอทนไมไหวตองมาเลาพฤติกรรมอันเลวรายของ

พอเธอใหครูไดรับรูและใหครูชวยตักเตือนและ

แกไขพฤติกรรมที่ทำกับลูกของตนเอง

ครูติ๊ก หรือครูณัฐธันยา คำหลอ ครู

ประจำชั้นของนองกัน ครูเปนทุกอยางของเด็ก

๒๒

Page 25: เล่ม ๒-๕ ภาคเหนือตอนบน ปี ๕๓ สิงหาคม

นอย เปนแมที่คอยสั่งสอน เปนแมครัว เมื่อเธอ

ไมไดกินขาวเชา เปนชางตัดผมเมื่อเธอผมยาว

เล็บยาว เปนชางเสริมสวยเม่ือเธอผมเผายุงเหยิง

ไมไดอาบน้ำมาหลายวัน

นองกัน เด็กหญิงตัวนอยที่อยูในสภาพ

แวดลอมที่ชาวบานแถวนั้นเรียกวา ซอยมนุษยหิน

เธอขาดความอบอุนตั้งแตยังเล็กๆ ขาดแม ไม

เหมือนกับลูกพ่ีลูกนองของเธอในวัยใกลเคียงกันที่

มีพอแมครบหมดมีความรักความอบอุนจากพอ

แม แตนองกันขาดที่พึ่งทางใจบวกกับพอท่ีชอบ

บังคับขูเข็ญและทุบตีเธอเปนประจำ ทำใหเธอมี

นิสัยกาวราว สมองวางเปลาไมรูผิดชอบ อันไหน

ดี อันไหนไมดีแยกไมออก ชอบพูดคำหยาบ

ชอบทุบตีเพ่ือนเมื่อเพื่อนทำไมไดดังใจเธอ มีนิสัย

ชอบลักขโมยของคนอ่ืน พฤติกรรมเหลานี้สืบ

เนื่องมาจากครอบครัวท่ีเลี้ยงดูเธอมา ลักขโมย

เนื่องจากพอเลี้ยงดูแบบอดอยาก มีนิสัยกาวราว

เพราะพอทำพฤติกรรมแบบนี้กับเธอ เมื่อครูพบ

พฤติกรรมเหลานี้ครูทุกคนปรึกษาหรือกันที่จะ

พยายามแกพฤติกรรมของเธอ ใหผาขาวที่ถูก

แตงเติมสีสันจนเปนผาสกปรกอยางเธอกลับมา

เปนผาขาวอีกครั้ง โดยครูใสความรักความเอาใจ

ใสลงไป เริ่มจากเธอชอบขโมยของ ครูถามเธอวา

เธอชอบหรือไมที่เพื่อนมาขโมยของของเธอ เธอ

ตอบวาไมชอบ ถาเธอไมอยากถูกเพ่ือนขโมยของ

เธอจะตองไมขโมยของคนอ่ืน ทางโรงเรียนเริ่ม

แกไขพฤติกรรมโดยเด็กนอยขาดเหลืออยากได

อะไรทางโรงเรียนหยิบยื่นใหแตมีขอแมวา ถาวัน

ไหนที่ครูจับไดวาขโมยของเพ่ือนอีกครูจะไมให

ความชวยเหลืออะไรอีกและจะถูกทำโทษ เด็ก

นอยเริ่มติดครูและลดพฤติกรรมแบบนี้ลง ความ

เปนเด็กกาวราวเริ่มถูกละลายไปทีละนอยดวย

ความรักของครู

ทางสังคมสงเคราะหและเขตพื้นท่ีการ

ศึกษาแพรเขต ๑ รวมถึงสภากาชาดไทยไดทราบ

ขาวเกี่ยวกับตัวเด็กนอยหนวยงานเหลานี้ก็เขามา

ใหความชวยเหลือ ใหทุนการศึกษาและใหสิ่งของ

เครื่องใชที่จำเปนกับเธอ ทางองคการบริหารสวน

ตำบลหวยหมายไดใหความชวยเหลือ สรางที่อยู

อาศัยใหเธอกับพอใหเปนบานที่เรียกวาบานจริงๆ

รวมท้ังของใชที่จำเปนในบาน พอกับเธอมีบานที่

ดีๆ อยู แตพฤติกรรมของพอยังคงเหมือนเดิม

เมื่อเธอเรียนอยูชั้นอนุบาลปที่ ๒ เทอม ๒

ทางสังคมสังเคราะหไดขอรับอุปการะตัวเธอไป

อยูในสถานสังเคราะห

ไปปรบัพฤตกิรรมใหม ทางสงัคมสังเคราะห

เห็นวาถาปลอยใหเด็กนอยอยูในสภาพแวดลอม

อยางนี้อีกหนอยเธอตองเปนปญหาของสังคม

แนนอน เนื่องจากสภาพแวดลอมรวมถึงพอไม

สามารถดูแลเธอได

ชีวิตของเด็กนอยเหมือนผาขาวแตผาขาว

ผืนนี้ถูกแตงแตมสีสันที่ขุนมัวลงไปโดยคนใน

ครอบครัวของเธอและทางโรงเรียนอยากท่ีจะ

ทำใหผาสกปรกผืนน้ีกลับมาขาวเหมือนเดิมโดย

การเปลี่ยนสภาพแวดลอมให เธอและใหคน

หลายๆ คน หนวยงานหลายๆ ที่ มาชวยดูแล

เธอ ตอจากวันนี้ไปถึงวันขางหนาผาสกปรกผืนนี้

อาจกลับมาขาวเหมือนเดิมไดดวยความรักจาก

ทุกๆ คน

๒๓

Page 26: เล่ม ๒-๕ ภาคเหนือตอนบน ปี ๕๓ สิงหาคม

เด็กนั้นเสมือนตนกลา หากไดรับการบม

เพาะดูแลเอาใจใสที่ดีก็จะเจริญเติบโตเปนตนไมที่

พรอมจะผลิดอกออกผลมาใหเราไดชมเชย ทวา

ปราศจากการดูแลเอาใจใส ตนกลาก็จะเห่ียวเฉา

และวายปราณในที่สุด

ฉันใด...ก็ฉันนั้น...

นิสัยท่ีดี มิไดมีมาแตกำเนิด แตสิ่งเหลานี้

จะถกูสรางขึน้มาภายหลงั และผูสรางสรรคสิง่ดีๆ

ดังกลาวนี้ก็คือบุคคลรอบขาง ทั้งในครอบครัว

และโรงเรียน

โรงเรียนบานวนาหลวง อำเภอปางมะผา

จังหวัดแมฮองสอน นักเรียนสวนใหญเปนชนเผา

มูเซอ หรือเรียกใหนาฟงกวานั้น คือ ลาหู การ

สรางความตระหนักดานคุณธรรมจริยธรรมหรือ

สำนึกดีใหเด็กนักเรียนชนเผาสวนหนึ่งหาใชเรื่อง

งายเลย เพราะพอแมผูปกครองมีเวลานอยนักที่

จะตองคอยอบรมสั่งสอนบุตรหลาน เน่ืองจาก

เวลาเปนสิ่งล้ำคาตอชีวิตการทำมาหากินเพื่อ

แมฮองสอน เขต ๑

ลาหูเด็กดี... เก็บไดฝากออม

เรื่อง ครูโรงเรียนบานวนาหลวง

โรงเรียน บานวนาหลวง

อ.ปางมะผา ต.ถ้ำลอด

จ.แมฮองสอน

ความอยูรอด หนทางเดียวท่ีนักเรียนจะไดรับการ

ปลูกฝง คือการมาโรงเรียน ดวยเหตุนี้เองทาง

โรงเรียนไดจัดทำโครงการลาหูเด็กดี เก็บไดฝาก

ออม ทั้ ง น้ี เพื่อสรางสิ่ งที่ เรียกวา คุณธรรม

จริยธรรมและจิตใตสำนึกที่ดีใหกับนักเรียนตั้งแต

ยังเยาว เพราะวัยนี้สามารถดูดซับสิ่งเราไดดี ที่

เปนเรื่องเปนราวขึ้นมาได คือ นักเรียนเก็บเงินได

แลวนำมาใหคุณครู เพื่อประกาศตามหาเจาของ

เมื่อตามเจาของไมเจอเงินนั้นจะกลายเปนเงินไร

เจาของที่ไมไรคา คุณครูจึงมีแนวคิดดีๆ ขึ้นมา

แทนท่ีครูจะเอาเงินท่ีไดคืนนักเรียนท่ีเก็บได แต

เราไมทำ เพราะถาหากคืนนักเรียนท่ีเก็บได จะ

เปนการสรางนิสัยเห็นแกตัว ที่สำคัญคือนักเรียน

จะไมรูจักการใหเลย คุณครูจึงหากระปุกออมสิน

เด็กดีเก็บไดมาหยอดเงินดังกลาว คุณครูมิไดรับ

เงินสวนนั้นแลวหายไป แตคุณครูจะบันทึกเด็กดี

เก็บไดทุกครั้ง และใหนักเรียนที่เก็บไดกลับไป

เขียนบันทึกความดีของตัวเอง ไมเพียงเทานั้น

๒๔

Page 27: เล่ม ๒-๕ ภาคเหนือตอนบน ปี ๕๓ สิงหาคม

โรงเรียนยังมีรางวัลใหกับลาหูเด็กดีอีกดวย

เงินของลาหูเด็กดีละ...หายไปไหน...?

นักเรียนเก็บได ก็ควรจะเปนของนักเรียน

มิใชหรือ... แตใชวาใครเก็บไดตองเปนของคนนั้น

คุณครูจึงตองอธิบายใหนักเรียนทราบวา เงินนี้เรา

จะออมไว สะสมรวบรวมไว เปนสวนหนึ่งของ

กิจกรรมนักเรียน และนำมาใชในยามจำเปน

อาทิ ซื้อของรางวัลในวันเด็ก งานกีฬาสีโรงเรียน

และสารพัดงานกิจกรรมนักเรียน นอกจากนี้ การ

สรางสำนึกดีใหกับนักเรียนท่ีเปนชนเผา ใหรูจัก

การประหยัดอดออม โรงเรียนบานวนาหลวง มี

โครงการคุณธรรมตางๆ มากมาย อีกสิ่งหนึ่งที่

อยากจะยกมาบอกเลาเกาสิบ คือ โครงการครู

เดือนละรอย เด็กนอยวันละบาท

ชีวิตที่อยูดีมีสุขใครๆ ก็อยากได แตเราไม

สามารถท่ีจะเลือกเกิดไดในท่ีที่มีพรอมทุกอยาง

เฉกเชนเดียวกับชาวชุมชนบานวนาหลวงท่ี

ตรากตรำลำบาก เพื่อความอยูรอดของชีวิต เรื่อง

การประหยัดอดออมไมตองพูดถึง แมจะกินจะใช

หาแทบเลือดตากระเด็น ปจจัยดังกลาวนี้สงผล

กระทบมายังบุตรหลานไมรูจักจบสิ้น เมื่อพอแม

ไมสามารถที่จะสงลูกหลานเรียน นักเรียนก็ตอง

ออกจากโรงเรียน ไมไดไปศึกษาเลาเรียนตอ

วงจรชีวิตก็มีอยูท่ีวนาหลวง เพียงเพื่อเวียน วาย

ตาย เกิด โครงการครูเดือนละรอย เด็กนอยวัน

ละบาท จึงเปนจุดเริ่มตนแหงหนทางนำไปสูการ

แกปญหาที่กลาวมา

นักเรียนที่ดี ได ดวยเห็นตัวอยางดีๆ

ตัวอยางนั้นหรือ คือครูผูเปนแมพิมพของชาติ ครู

จะใหนักเรียนฝากออม ครูตองเปนตัวอยางใหกับ

นักเรียน ทั้งครูและนักเรียนตางตองฝากออม

ทรัพย ครูฝากเดือนละรอย แตนักเรียนไมไดฝาก

มากมาย แควันละบาทกับครูประจำชั้น ครั้นสิ้น

เดือนมาก็จะรวบรวมเขาสหกรณ กองทุนนี้จะ

ถอนคืนไดตอเมื่อจบจากโรงเรียนไป เพ่ือเปนทุน

การศึกษาตอ นอกจากนี้ยังมีรางวัลนักออมดีเดน

ทุกเดือน รางวัลน้ีไมใชรางวัลของคนท่ีมียอดรวม

แตละเดือนมากที่สุด แตเปนรางวัลของคนที่ฝาก

ประจำทุกวัน ผลพวงที่ตามมาคือ นักเรียนรูจัก

การประหยัดอดออมเพื่ออนาคตของตัวเอง

เงินหน่ึงบาทสองบาทไมไดทำใหนักเรียน

ของเราอิ่มทอง แตใหนักเรียนของเรารูจักการ

ประหยัดอดออมรูจักการให และซื่อสัตยตอ

ตนเอง ส่ิงเหลาน้ีเปนคุณธรรมจริยธรรมที่จะ

ติดตัวนักเรียนตลอดไป

๒๕

Page 28: เล่ม ๒-๕ ภาคเหนือตอนบน ปี ๕๓ สิงหาคม

นาน เขต ๒

ตัวอยางที่ด ีมีคามากกวาคำสอน เรื่อง

รุจิรา เตชนันท

โรงเรียน สมาคมพยาบาลไทย

ต.นาไรหลวง อ.สองแคว

จ.นาน

ชี วิ ตหนึ่ งถื อกำ เนิดขึ้ นมาท ามกลาง

ธรรมชาติกลางปาเขาลำเนาไพรบนภูเขาสูงท่ี

เรียงรายกันหลายลูก สลับซับซอนกันสูงบาง ต่ำ

บาง มีที่ราบเปนสวนนอย มีลำหวยธารน้ำไหล

ออกมาตามขุนเขาจนรูสึกหนาวเย็นมากๆ แมน้ำ

ลำธารเหลานี้เปรียบเสมือนเสนโลหิตของชุมชนที่

อาศัยอยู ทั้งใชดื่ม (ประปาภูเขา) ใชอาบและใช

ในการเกษตร ชุมชนแหงนี้ประกอบอาชีพทำไร

ทำสวน เลีย้งสตัว เชน ไรขาวโพด ขาว สวนลิน้จี ่

เลี้ยงวัว เปนตน คนในชุมชนสวนใหญมีฐานะ

ยากจน อยูกันอยางยากลำบาก แตละครอบครัว

มีสมาชิกในครอบครัวจำนวนมาก

“มาร ีววิฒันาวไิล” (ไขมกุ) คอืผูหญงิออทิสตกิ

ตัวเล็กๆ คนหนึ่งท่ีตอสูชีวิตในชุมชนแหงนี้มา

๑๘ ป ดวยความยากลำบาก อดทน ขยัน และ

กตัญูมาตลอด เมื่อมารีเกิดมาพรอมกับความ

ผิดปกติดานการพัฒนาการที่ชากวาเด็กทั่วไป

มารีตองอาศัยการเรียนรูจากพอแมและพี่ๆ ใน

การทำงานตางๆ จนทำใหมารีสามารถทำงาน

ชวยเหลือครอบครัวเทาที่มารีจะทำได โดยดู

ตัวอยางจากพอแมและพี่ๆ ที่ทำกันเปนประจำ

อยูทุกวันจนเคยชิน ทำใหมารีไดบมเพาะนิสัย

โดยท่ีเธอไมรูตัว พอมารีมีอายุถึงเกณฑในการ

เขาโรงเรียน เธอก็ไดเจอกับอีกสังคมหน่ึงที่มีทั้ง

เพื่อนๆ พ่ีๆ นองๆ รวมถึงคุณครูที่คอยสอน

หนังสือ อบรม สั่งสอน ส่ิงตางๆ เหลานี้ใหมารี

๒๖

Page 29: เล่ม ๒-๕ ภาคเหนือตอนบน ปี ๕๓ สิงหาคม

ไดเห็นและเรียนรู มารีไดนำสิ่งเหลานี้ไปปฏิบัติ

ใชในชีวิตประจำวัน

ถ้ ำ เ วี ย งแก เป นชื่ อห มู บ านของมา รี

ครอบครัวของเธอมีพี่นองรวมทั้งหมด ๙ คน

มารีเปนคนสุดทอง สาวนอยที่มีบุคลิกทาทางไม

อยูนิ่ง เดินไปเดินมา โดยเฉพาะขาทั้งสองขาง

ของเธอทรงตัวไดไมดี บางคร้ังก็หกลมจนเปน

แผลตามแขนตามขา ถาวันไหนที่มารีรีบเรงจะวิ่ง

โดยไมมองใคร ขาท้ังสองขางแทบจะพันกัน เปน

ที่รูกันวามารีวิ่งมาชวยครูหิ้วของ แสดงใหเห็น

การมีน้ำใจของมารีกวางยิ่งกวามหาสมุทรจน

เพื่อนๆ ตั้งฉายาวา “ยอดหญิงออทิสติกแหงขุนเขา” เสียงไกขันยามเชาตรูเหมือนเสียงดนตรี

ที่ขับขานใหมารีตื่นขึ้นมาทำภารกิจอันยิ่งใหญ

เปนประจำ คือการหุงขาว ทำกับขาวใหแมซึ่ง

ปวยออดๆ แอดๆ รับประทานทุกวัน วันไหนที่

แมอาการหนัก มารีตองไปโรงเรียนสาย เพื่อรอ

ปอนขาวแม แทบไมนาเชื่อเลยวาเด็กออทิสติก

อยางมารีจะมีความกตัญูและทำหนาท่ีลูกที่ดีได

ขนาดนี้ เพื่อนๆ หลายคนทึ่งในตัวมารีและพูด

เปนเสียงเดียวกันวา มารีเปนยอดหญิงในดวงใจ

ของทุกคน เพ่ือนทุกคนรักมารีเพราะมารีเปนคน

ที่มีความเสียสละ มีน้ำใจ และชวยเหลือทุกคน

มารีเปนนักเรียนชุมนุมจิตอาสาที่เปนแบบอยางที่

ดีใหกับเพื่อนๆ เม่ือมารีเห็นครูคนไหนก็ตามจะ

รีบวิ่งเขามาทักทาย “สวัสดีคุณคู (ครู)” พรอม

ยกมือไหวอยางสวยงาม น้ำเสียงพูดไมชัด แต

แสดงออกมาดวยความจริงใจท่ีมีใหตอครู

“คู คู คู (ครู) คะ หนูชวยหิ้วของคะ” ดวยความมีน้ำใจของมารี ครูไมปฏิเสธ ความ

ชวยเหลือพรอมกับชมวามารีเปนเด็กดี ลูกศิษย

จิตอาสาของครู ขอใหการทำความดีสงผลใหมารี

มีความสุขในชีวิต มารีพยักหนาพรอมกับอมยิ้มที่

มุมปาก มารีไมเขาใจคำวา จิตอาสา แตรูจักการ

ทำความดีช วยเหลือผู อื่ น โดยที่ ไมหวั งผล

ตอบแทน สังเกตจากครูใหของขวัญหรือรางวัล

ตางๆ มารีจะไมเอาสิ่งตอบแทนจากครูหลังจาก

ที่ชวยงานเสร็จ นี่คือ เอกลักษณเฉพาะตัวของ

มารีที่ทุกคนประทับใจ มารีรักโรงเรียน รัก

เพื่อนๆ และคุณครูทุกคน มีความขยันเรียน โดย

เฉพาะวิชาคณิตศาสตร มารีจะอวดเพ่ือนๆ วา

นับเลข ๑-๑๐ ไดแลวและโตข้ึนจะเปนหมอ

เพราะจะไดรักษาแมใหหายปวย มารีสงสารแมที่

เห็นแมเจ็บปวดกับโรครายตางๆ ถาเจ็บปวดแทน

ได มารีขอเจ็บปวดคนเดียว เสียงเรียกรองความ

ปรารถนาของมารี ทุกคนอยากใหเธอไดสมหวัง

ในส่ิงที่เธอฝน

จากประสบการณสิ่งแวดลอมใกลตัวและ

แบบอยางท่ีดีท่ีมารีไดสัมผัสไดเรียนรู และได

สังเกตเห็นแบบอยางที่ดีเหลาน้ันอยางเปนรูป

ธรรม ทั้งจากที่บาน วัด ชุมชน โรงเรียน ทำให

มารีสามารถทำงานรวมกับผูอื่นได เรียนรูสิ่ง

ตางๆ ไดตามรูปแบบท่ีเห็นโดยแสดงพฤติกรรมที่

ดีออกมา มารีจึงสามารถอยูในสังคมได แตถา

มารีไดเห็นรูปแบบหรือตัวอยางที่ไมดี แลวผลที่

ออกมาคงเปนตรงกันขามที่กลาวมาเพราะมารี

เปนเด็กออทิสติก การเรียนรูสิ่งที่เปนนามธรรม

จึงเขาใจยาก การสอนรอยคำ พันคำ อาจมีคา

นอยกวาตัวอยางที่ดีเพียงครั้งเดียว เหมือนพอ

แมสอนลูก อยาด่ืมสุรา ไมดี แตพอแมกลับดื่ม

สุราเปนตัวอยางใหเห็น ลูกจึงไมเชื่อฟง ดังน้ัน

ชีวิตของมารีจึงเรียนรูดวย “ตัวอยางที่ดีมีคากวาคำสอน” ดังนั้น พอแม คุณครู ควรเปนแบบ

อยางที่ดีใหแกลูกหลานไดเรียนรูสืบตอไป

๒๗

Page 30: เล่ม ๒-๕ ภาคเหนือตอนบน ปี ๕๓ สิงหาคม

จากดิน… สูดาว… ดวยสมาธิ

เรื่อง ศรีนวย สำอางคศรี

โรงเรียน ไหลหินวิทยา

อ.เกาะคา ต.ไหลหิน

จ.ลำปาง

ลำปาง เขต ๑

“...๕ ปมาแลวที่ยูก็เปนหนึ่งในนักเรียนที่ฉันเคี่ยวเข็ญใหเขาวัดไหลหิน เพื่อใหไปกวาดลานวัด พูดคุยกับพระ และทำสมาธิ ฉันคิดวา ยูคงจะเขาวัด ทำสมาธิ เพราะฉันส่ังใหไป ใหทำเทานั้น แตจริงๆ...”

ฉันเริ่มตนชีวิตครูดวยการเปนครูสอนวิชา

ดนตรีในโรงเรียนไหลหินวิทยา ซ่ึงเปนโรงเรียน

มัธยมฯ อันดับสองของอำเภอ ในชีวิตการทำงาน

ฉันหวังวาฉันคงจะพบกับลูกศิษยที่พรอมดวยทั้ง

ฐานะ สติปญญา และอารมณ แตมันเปนเพียง

ความฝนเทานั้น เพราะในความเปนจริง สารพัด

ปญหาของนักเรียนที่ฉันตองชวยแกไข และ

ปองกันใหแกเด็กนักเรียนตัวเล็กๆ ไมใหเขาไปใน

วงจรของความช่ัวราย

“ยู” เด็กชายที่ฉันเฝาดูมาตั้งแตเรียนชั้น

ม.๑ ดวยลักษณะทาทางเรียบรอย หนาตาดี มี

น้ำใจใหการชวยเหลืองานกิจกรรมของโรงเรียน

แตไมคอยมีเพื่อน และไมสุงสิงกับใคร ฐานะทาง

บานยากจนมาก พอปวยเปนโรคเบาหวาน แม

ปวยเปนโรคไต ตองตัดไตออกไป ๑ ขาง ทั้งพอ

และแมของยูทำงานหนักมากไมได ทั้งๆ ท่ีกำลัง

อยูในวัยทำงานหาเงินเลี้ยงครอบครัว

ดวยปญหาฐานะทางครอบครัว ยูตองชวย

แมทำขนม และเข็นรถนำขนมไปขายที่ตลาดทุก

เชา กอนที่จะกลับบานอาบน้ำแตงตัวไปเรียน

บางวันหลังเลิกเรียน ยูตองชวยแมทำขนมจน

กระทั่งดึก ไมมีเวลาทบทวนบทเรียน และเวลา

พักผอนไมเพียงพอ อยูในหองเรียนยูจะไมคอยมี

สมาธิเรียนหนังสือ มักจะแอบงีบหลับอยูเสมอ

ทำใหผลการเรียนตกต่ำ

ฉันเปนครูสอนดนตรี ฉันเห็นยูเปนเด็กดี

มีน้ำใจ ชวยเหลือพอแมทำงาน หารายไดเพื่อใช

จายในครอบครัวแตผลการเรียนคอนขางต่ำ และ

ที่สำคัญฉันเห็นวาในหมูบานที่ยูอาศัยอยู มีเด็ก

วัยรุนบางคนท่ีทำตัวเปนอันธพาล ติดยาเสพติด

ฉันเกรงวายูจะไปคบกับเด็กเหลานั้น และอาจจะ

หลงเขาไปในวงเวียนของยาเสพติดได จึงคิดที่จะ

ดึงยูใหหันมาเลนดนตรี

ฉันคอยๆ ดึงและปลูกฝงใหยูหันมาฝก

เลนดนตรีพื้นเมือง ฉันจะไมเรงรัดใหยูหัดเคร่ือง

ดนตรีหลายๆ ชนิดพรอมกัน แตฉันจะฝกใหยูหัด

เลนสะลอ ซึ่งเปนเครื่องดนตรีประเภทเครื่องสาย

กอน ตอนหัดเลนสะลอใหมๆ ยูจะหงุดหงิด ไมมี

สมาธิ เพราะเห็นเพื่อนๆ สามารถเลนเครื่อง

ดนตรีได และเลนไดหลายชนิดดวย ฉันใหกำลัง

ใจยู เพราะเกรงวายูจะหมดกำลังใจและเลิกหัด

แลวสิ่งที่ฉันกลัวก็อาจจะเกิดข้ึนกับยูได

ที่ผานๆ มา เม่ือนักเรียนคนใหมของฉัน

๒๘

Page 31: เล่ม ๒-๕ ภาคเหนือตอนบน ปี ๕๓ สิงหาคม

เขามาหัดเลนเครื่องดนตรี ทุกคนจะไมมีสมาธิ

ไมมีความมั่นใจ และเลิกหัดเลนไปหลายคน ฉัน

คิดหาหนทางมานานวาจะทำอยางไร นักเรียนจึง

จะมีใจรักที่จะเลน มีความอดทนในการฝกหัด

โรงเรียนที่ฉันสอนอยูนี้อยูตรงขามกับวัด

ซึ่งเปนวัดเกาแก มีชื่อเสียง “วัดไหลหิน” ฉันเคยพานักเรียนไปวัดในวันสำคัญทางศาสนาตางๆ

ใหนักเรียนไดบำเพ็ญประโยชน ทำความสะอาด

วัด ฟงเทศน ปฏิบัติธรรมและฝกสมาธิกับทาน

พระครูฯ ซ่ึงก็ทำใหนักเรียนสามารถสงบนิ่งไดชั่ว

ขณะ ซึ่งวันน้ันฉันคิดวา หากฉันทำบอยๆ ซ้ำๆ

จนเปนเรื่องปกติ นักเรียนของฉันตองมีสมาธิ

สงบนิ่ง แลวส่ิงที่ดีตางๆ ก็จะเขามาในชีวิตของ

นักเรียนของฉันแนนอน ซึ่งจะตองรวมทั้งยูดวย

ใช! กอนที่จะหัดเลนเครื่องดนตรีทุกครั้ง

ฉันจะพานักเรียนเขาหองประชุมเล็กของโรงเรียน

ที่มีโตะหมูบูชา และพระพุทธรูปอยู ฉันจะให

นักเรียนไหวพระ สวดมนต และนั่งสมาธิ ทำ

จิตใจใหสงบน่ิง แลวจึงฝกเลนเคร่ืองดนตรี และ

บางครั้ง ฉันจะใหนักเรียนขามถนนไปวัด เพื่อพูด

คุยกับพระและนั่งสมาธิ และไปฝกเลนเครื่อง

ดนตรีภายในวัด ซึ่งก็ไดรับความรวมมือและการ

สนับสนุนจากเจาอาวาสวัดไหลหินหลวง พระครู

อภัย สุวรรณกิจ เปนอยางดี

ฉันนึกออกแลว! ฉันจำได ๕ ปมาแลวที่ยู

ก็เปนหน่ึงในนักเรียนท่ีฉันเคี่ยวเข็ญใหเขาวัดไหล

หิน เพื่อใหไปกวาดลานวัด พูดคุยกับพระ และ

ทำสมาธิ ฉันคิดวา ยูคงจะเขาวัด ทำสมาธิ

เพราะฉันส่ังใหไป ใหทำเทาน้ัน แตจริงๆ แลว

ฉันเห็นบางวันกอนกลับบาน ยูและเพื่อน ๒-๓

คนจะเดินขามถนนไปวัด เพื่อกวาดใบไม และ

พูดคุยกับพระอยูเสมอๆ

เริ่มตนนับหน่ึง แลวตองตอดวยสอง ยูเริ่ม

มีพัฒนาการทางดานดนตรี น่ิงสงบ มีสติมากขึ้น

ยูสามารถเลนดนตรีไดหลายชนิด ไมวาจะเปน

สะลอ ซอ ซึง ขลุย ระนาด กลองปูจา หรือแม

กระท่ัง “เพลงซอพ้ืนเมือง” ซึ่งการรองเพลงซอ

พื้นเมือง เปนการรองดวยภาษาเหนือ ผูกใหเปน

๒๙

Page 32: เล่ม ๒-๕ ภาคเหนือตอนบน ปี ๕๓ สิงหาคม

เรื่องราว มีจังหวะเราใจ ชวนใหคนแกไดรำลึกถึง

อดีต จนกระทั่งวันนี้ ยูอยูชั้น ม.๖ ยูเปนพระเอก

ในวงดนตรีพื้นเมืองแกวสะหรีลัมภางค ท่ีฉันกอ

ตั้งข้ึน เปนตัวชูโรงในการเขารวมประกวดแขงขัน

ไดรับรางวัลชนะเลิศในระดับอำเภอ ระดับ

จังหวัด ระดับภาค และระดับประเทศมาแลว

ในชุมชนที่ยูอาศัยอยู เห็นความสำคัญ

ของดนตรีพื้นเมือง และมีใจรวมอนุรักษศิลปะ

ดนตรีพื้นเมือง เม่ือมีงานหรือกิจกรรมตางๆ ใน

ชุมชน ไมวาจะเปนงานประเพณีพื้นเมือง งาน

มงคลตางๆ หรืองานศพ ก็มักจะมาติดตอที่ฉัน

หรือท่ีโรงเรียน เพื่อใหยูและเพื่อนๆ ออกไปแสดง

ใหความบันเทิงแกแขกในงาน บอยครั้งที่ยูรอง

เพลงซอไดจับใจคนฟง รางวัลที่ไดคือ เสียงปรบ

มือและเงินรางวัลเล็กๆ นอยๆ จากผูฟง ซึ่งทุก

ครั้งยูจะยิ้มแกมแทบปริ

ศีล สมาธิ เกิดขึ้นไดจากการฝกและ

ปฏิบัติ การฝกปฏิบัติที่เริ่มตนตั้งแตเด็ก ปฏิบัติ

ใหเกิดความเคยชิน ยอมติดและฝงลึกอยูในจิตใจ

การทำส่ิงใดที่เปนความชั่ว เลวราย ยอมทำได

ยาก และลำบากใจที่จะทำ เชนเดียวกัน ยูเขาวัด

ปฏิบัติธรรม ทำสมาธิตั้งแตอยูชั้น ม.๑ และทำ

ตอเนื่องกันมาเปนเวลานาน ยูรูสิ่งใดผิด ส่ิงใดถูก

สิ่งใดควรละเวน หรือควรกระทำ จึงไมเขาไปของ

แวะกับยาเสพติดที่มีอยูรายลอมในชุมชน

มาวันนี้ ดินที่ฉันขุดขึ้นมา ฉันเฝาคลุก

เคลาผสมน้ำ บีบ นวด ใหเปนดินท่ีเหนียว และ

ปนใหเปนดาวของฉัน เปนดาวท่ีมีสติ มีสมาธิ

ไมเขาไปของแวะกับยาเสพติด ใชเวลาวางใหเกิด

ประโยชน หารายไดชวยเหลือครอบครัว และท่ี

สำคัญ ผลการเรียนดีขึ้นเปนลำดับ ลาสุด “ยู” ดาวของฉัน ไดเกรดเฉลี่ย ๓.๗๒ เขาฝนท่ีจะเปน

บุรุษพยาบาล เพื่อที่จะกลับมาดูแลแมและพอที่

ปวย และคนในชุมชนใหมีสุขภาพกายและใจที่

แข็งแรง

ถึงแมฉันจะเปนเพียงครูสอนดนตรีพื้น

เมือง ที่หลายๆ คนเห็นวาลาสมัย เกาแก คร่ำ

ครึ แตฉันก็ดีใจท่ีไดทำใหเด็กหลายๆ คนใน

โรงเรียนไหลหินวิทยาเห็นความสำคัญของพุทธ

ศาสนา เขาวัด ปฏิบัติธรรม ทำสมาธิ รำลึกถึง

พระคุณครู คุณบิดา-มารดาทุกครั้งกอนฝกหัด

และเลนดนตรี สอนใหเด็กเปนคนดี ใชดนตรี

กลอมเกลาจิตใจ เปนเด็กที่มีสติ มีสมาธิในการ

เรียน และสามารถอยูรวมในสังคมไดอยางมี

ความสุข

เรื่องของยู อาจจะเปนเรื่องธรรมดาๆ

ของเด็กผูชายบานนอกคนหนึ่ง แตสมาธิและ

ดนตรี ชวยใหเขามีผลการเรียนที่ดีขึ้น มีเพื่อน

มากขึ้น กลาแสดงออก ไมเก็บตัว และมีชีวิต

ความเปนท่ีอยูที่ดีขึ้นกวาเดิม แลวคุณไมคิดที่จะ

เอาดนตรีมาเปนเครื่องขัดเกลาจิตใจลูกหลาน

ของคุณบางเลยหรือ?

ฉันเคยพานักเรียนไปวัดในวันสำคัญทางศาสนาตางๆ ใหนักเรียนไดบำเพ็ญประโยชน ทำความสะอาดวัด ฟงเทศน ปฏิบัติธรรมและฝกสมาธิกับทานพระครูฯ ซึ่งก็ทำใหนักเรียนสามารถสงบนิ่งไดชั่วขณะ

๓๐

Page 33: เล่ม ๒-๕ ภาคเหนือตอนบน ปี ๕๓ สิงหาคม

เปนเวลานานรวม ๒๖ ปที่ครูเรียม สิงห

ทร ตัดสินใจทิ้งบานเกิดที่แมกลอง จังหวัด

สมุทรสงครามและที่อยูตามทะเบียนบานคือ

กรุงเทพฯ เมืองฟาอมร ไปใชชีวิต “ครูดอย” สอนนักเรียนตัวนอยๆ ที่ดอยโอกาสทางการ

ศึกษา ณ โรงเรียนบานขอบดง ตำบลมอนปน

อ.ฝาง จ.เชียงใหม และเพื่อคนชายขอบ

“สมัยกอนตองยอมรับวา พื้นที่บนดอยอางขาง อำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม เปนพื้นที่อันตรายจากยาเสพติดและชนกลุมนอย แตครูเรียมไมใชคนในพ้ืนท่ี และไมทราบวาในพื้นท่ีอันตรายมีอยูมากนอยเพียงใด ในความคิดมีแต

เชียงใหม เขต ๓

ทั้งชีวิตเพ่ือเปน “ครูชายขอบ”

เรื่อง สุเทพ สังขเพ็ชร

โรงเรียน บานขอบดง

ต.มอนปน อ.ฝาง

จ.เชียงใหม

๓๑

Page 34: เล่ม ๒-๕ ภาคเหนือตอนบน ปี ๕๓ สิงหาคม

เพียงวา เรามาสอนลูกเขา ถาคนเปนครูดูแลและหวังดีกับลูกเขา เขาคงไมทำรายเราและจะไดสิ่งที่ เปนมิตรและดีๆ กลับคืนมา” จึงเปนแรง

บันดาลใจที่จะเขามาเติมในสิ่งขาดใหเด็ก

หลงัจากเรยีนจบจากวทิยาลยัครสูวนสุนนัทา

และทำงานมาหลายที่ แตจุดเปลี่ยนของชีวิตหลัง

จากที่ไปเท่ียวดอยอางขาง ไดเห็นเด็กนักเรียนที่

ไมมีครูสอนหนังสือ จึงเกิดแรงบันดาลใจท่ีจะไป

สอนหนังสือบนดอยอางขาง หลังจากเดินทาง

กลับมากรุงเทพฯ จึงสมัครเปนอาสาสมัครของ

โครงการหลวงเพ่ือไปเปนครูที่โรงเรียนบานขอบ

ดง เมื่อป ๒๕๒๗ “สิ่งท่ีทำใหตัดสินใจเขามาทำงานในพื้นที่ชายแดนก็คือ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวท่ีเสด็จพระราชดำเนินไปทุกท่ีแมวาจะเปนถิ่นทุรกันดาร เพื่อทรงเย่ียมเยยีน และชวยเหลอืประชาชนของพระองค” ครูเรียมยอนถึงแรง

บันดาลใจ

ครูเรียมยึดหลักวา หากมีความมุงมั่น รัก

และความศรัทธาในหนาที่ จะทำใหคนเรามี

ความอดทนและบากบั่นในการทำงาน เพื่อให

บรรลุเปาหมาย

กวา ๒๓ ป ทุกสิ่งไดสะทอนใหเห็นถึง

ความตั้งใจของครูเรียม จากเดิมที่โรงเรียนบาน

ขอบดงไมมีครูและนัก เรียนแมแตคนเ ดียว

ปจจุบันมีนักเรียน ๓๓๙ คน และครู ๑๐ คน

โดยเฉพาะชาวบานในพื้นที่ สวนใหญเปนชาว

มูเซอดำ ที่อาศัยอยูกันมาตั้งแตดึกดำบรรพ และ

ชาวนอแลเผาปะหลองที่เพิ่งโยกยายมาตั้งรกราก

ปจจุบันเด็กนักเรียนสวนมากไดรับสัญชาติ

ไทย แตยังมีเด็กอีกจำนวนหน่ึงที่ยังไมไดสัญชาติ

“ครใูนพืน้ทีร่าบตองทำหนาทีอ่ยูในกรอบ ผูปกครอง มีความคาดหวังตอนักเรียนมาก สวนครูบนดอยเปนผูที่ทำทุกอยาง แมวาความคิดของคนทั่วไปจะมองเรา เรามาทำหนาที่เพียงสอนหนังสือ แตความจริงแลวไมใช เราอยากใหเขาเห็นถึงความสำคัญของการศึกษา ซึ่งจะสามารถปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตของเขา รูจักรับสิ่งใหมที่ดี และอนุรักษวัฒนธรรมของทองถิ่นท่ีมีคุณคาไวสืบไป” ครู

เรียมย้ำจิตสำนึกตรงน้ี จนทำใหประสบความ

สำ เร็ จ ในการปฏิบั ติ หน าที่ ค รู คนหนึ่ งของ

สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาเชียงใหม เขต ๓

คาของครู อยูที่ไหน ใครรูบาง ใชรูปราง หนาตา อาวุโส ใชตำแหนง การงาน บานใหญโต ใชคนโก เกงกลา กวาผูคน อันความจริง คาครู คือรูคิด รูถูกผิด ช่ัวดี มีเหตุผล รูประกอบ กิจการ งานของตน ฝากเปนผล งานไว ในแผนดิน

๓๒

Page 35: เล่ม ๒-๕ ภาคเหนือตอนบน ปี ๕๓ สิงหาคม

“คุณครูครับ อยากไปวัดอีกครับ” เสียง

เด็กชายตัวนอยๆ บอกคุณครูของเขา เม่ือกลับ

จากการไปรวมกิจกรรมถวายเทียนพรรษาที่วัดกับ

ทางโรงเรียน ซึ่ งก็คงเหมือนกับอีกหลายๆ

โรงเรียนที่นิยมปฏิบัติกันเปนประจำทุกปใน

เทศกาลเขาพรรษา การพานักเรียนไปรวม

กิจกรรมตางๆ ท่ีวัดนับไดวาเปนสิ่งที่ดี เพราะ

ทำใหไดเรียนรู เรื่องราวของพระพุทธศาสนา

วัฒนธรรมและประเพณีตางๆ ผานทางกิจกรรม

แตการพาเด็กปฐมวัยตัวเล็กๆ ที่มีอายุเพียง ๔-๕

ขวบไปวัด ซึ่งโดยธรรมชาติของเด็กในวัยนี้จะมี

พลังเหลือเฟอจึงคอนขางที่จะซุกซนไมชอบอยูนิ่ง

ความสนใจก็มีนอยแลวคุณครูจะนำพลังที่มีอยู

ของเด็กไปใชอยางสรางสรรคจนเกิดการเรียนรูได

อยางไร

หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช

๒๕๔๖ ไดกำหนดหลักการใหพัฒนาเด็กโดยองค

รวมและจัดประสบการณ ในรูปแบบบูรณาการ

ผานการเลนจะไมจัดเปนรายวิชา เพื่อใหเด็กมี

โอกาสสัมผัสสิ่งแวดลอมรอบตัว มีปฏิสัมพันธกับ

บุคคล ซ่ึงอาจเปนส่ิงที่เกิดตามธรรมชาติโดยไมมี

การวางแผนหรือเปนส่ิงที่เกิดจากการวางแผน

โดยอยูบนพื้นฐานและความตองการของเด็ก และ

ในปการศึกษา ๒๕๕๒ กระทรวงศึกษาธิการไดมี

...เขาพรรษา พานองไปวัด...

เรื่อง บัญชร สุรศาสตรพิศาล

โรงเรียน บานหลายฝาง

ต.แมงอนกลาง อ.ฝาง

จ.เชียงใหม

เชียงใหม เขต ๓

๓๓

Page 36: เล่ม ๒-๕ ภาคเหนือตอนบน ปี ๕๓ สิงหาคม

โครงการตามนโยบายเรียนฟรี ๑๕ ป อยางมี

คุณภาพ ซ่ึงในสวนของกิจกรรมพัฒนาผูเรียนน้ัน

ไดจัดสรรงบประมาณใหสถานศึกษาจัดกิจกรรม

คุณธรรมใหกับเด็กระดับปฐมวัยทุกคนเพื่อสง

เสริมใหมีคุณธรรม จริยธรรม คานิยมท่ีดีงาม

และคุณลักษณะที่พึงประสงค ดวยเจตนารมณที่

จะตอบสนองความตองการของเดก็อยางสอดคลอง

กับหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช

๒๕๔๖ และบรรลุเปาหมายตามนโยบายเรียนฟรี

๑๕ ป อยางมีคุณภาพของกระทรวงศึกษาธิการ

โรงเรียนบานหลายฝาง อำเภอฝาง จังหวัด

เชียงใหม สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเชียงใหม

เขต ๓ จึงไดจัดทำ “โครงการเขาพรรษาพานองไปวัด” ขึ้น

โครงการเขาพรรษาพานองไปวัด เปน

โครงการท่ีจัดทำขึ้นสำหรับนักเรียนระดับปฐมวัย

ของโรงเรียนบานหลายฝาง มีบุคลากรเขารวม

โครงการจำนวน ๖๘ คน เปนนักเรียนชั้นอนุบาล

ปที่ ๑ จำนวน ๓๕ คน ช้ันอนุบาลปที่ ๒

จำนวน ๒๙ คน คุณครูและครูพี่เลี้ยง จำนวน ๔

คน งบประมาณ จำนวน ๓,๐๐๐ บาท ไดรับการ

สนับสนุนจากนโยบายเรียนฟรี ๑๕ ป อยางมี

คุณภาพ กิจกรรมพัฒนาผูเรียนระดับกอนประถม

ศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ และสถานที่คือ

วัดคงคาราม ซ่ึงอยูหางจากโรงเรียนประมาณ

๒๐๐ เมตร โดยมีเปาหมายพานักเรียนไปฟง

เทศนที่วัดทุกวันพระในชวงเทศกาลเขาพรรษา

จำนวน ๑๐ ครั้ง หากวันพระใดตรงกับวันเสาร

หรือวันอาทิตยก็ใหพานักเรียนไปวัดในวันศุกร

แตถามีฝนตกในวันพระอีกก็จะเปลี่ยนเปนนิมนต

พระมาเทศนใหนักเรียนฟงที่โรงเรียนแทน

วิถีชีวิตชาวชนบทในวันพระชวงเทศกาล

เขาพรรษา จะนิยมไปทำบุญตักบาตรในตอนเชา

และฟงเทศนในตอนบาย ดังน้ันชวงเวลาที่เหมาะ

๓๔

Page 37: เล่ม ๒-๕ ภาคเหนือตอนบน ปี ๕๓ สิงหาคม

สมตอการพาเด็กๆ ไปฟงเทศนที่วัดจึงควรเปน

ตอนสายๆ เพราะวัดจะวางยังไมมีผูคนมาทำ

กิจกรรมและอากาศก็ไมคอยรอน เด็กสามารถ

เดินทางไปกลับไดดวยตนเอง ท่ีสำคัญบุคลากร

ในชุมชน ไดแก พระ สามเณร คุณปู คุณยา

คุณตา คุณยาย คุณลุง คุณปา ก็จะมีเวลาวาง

พอที่มาชวยเปนวิทยากรใหกับเด็กๆ ได ดังนั้น

กอนถึงวันพระ ๑ วัน คุณครูจะตองนัดหมาย

เด็กๆ ทุกครั้ง ใหจัดเตรียมดอกไมธูปเทียน

สำหรับใสพานดอกไม เตรียมผลไมสำหรับใส

สังฆทาน และขวดน้ำเล็กๆ สำหรับกรวดน้ำอุทิศ

สวนกุศลใหญาติพี่นองผูลวงลับไปแลว ในวันนี้

คุณครูจะขอความรวมมือจากผูปกครองผานทาง

สมุดสื่อสารของโรงเรียนใหชวนเด็กๆ มาชวยจัด

เตรียมส่ิงของตางๆ ที่จะใชในการไปฟงเทศนที่

วัดดวย เพ่ือใหเด็กไดมีสวนรวมและอยากทำ

กิจกรรมเหลานั้นดวยตนเอง ถึงแมวาบางครั้ง

คุณครูจะเคยลืมนัดหมายลวงหนา แตเด็กๆ กับ

ผูปกครองก็ไมเคยลืมที่จะจัดเตรียมสิ่งของเพ่ือไป

วัดทุกวันพระ คงเปนเพราะพวกเขาไดมีสวนรวม

ในกระบวนการเหลานั้นมาโดยตลอดนั่นเอง

เมื่อวันพระมาถึงเด็กๆ จะต่ืนเตน ดีใจท่ี

จะไดไปวัด สวนมากจะมาถึงโรงเรียนแตเชาและ

จัดเตรียมสิ่งของมามากมายแสดงใหเห็นถึงความ

รับผิดชอบของเด็กและความรวมมือเปนอยางดี

ของผูปกครอง ซ่ึงบางทานก็ไดฝกเด็กใหมีความ

ซื่อสัตยโดยฝากเงินมารวมเปนเจาภาพกัณฑ

เทศนตามจิตศรัทธา กอนจะเดินทางไปวัดเพื่อให

เด็กๆ มีระเบียบวินัยสามารถรวมกิจกรรมได

อยางปลอดภัยและสรางสรรคคุณครูกับเด็กๆ จึง

สรางขอตกลงรวมกัน ๓ ขอ คือ ขอ ๑. เด็กๆ

จะเดินตามกันเปนแถว ๒ แถว ขอ ๒. เด็กๆ จะ

ไมวิ่งและจะไมเลนกันในแถว ขอ ๓. เด็กๆ จะ

ไมสงเสียงดังในบริเวณวัด จากนั้นเด็กๆ ทั้ง ๒

แถวก็จะจูงมือเดินตามกันไป สวนมืออีกขางก็จะ

ถือสิ่งของที่ตนเองไดเตรียมมา เวลาเดินผาน

ผูคนสวนมากก็จะถามเปนเสียงเดียวกันวา...ไป

ไหนจะ...เด็กๆ จะตอบพรอมกันอยางภาคภูมิใจ

ดวยเสียงอันดังวา...ไปวัดครับ...ไปวัดคะ... ที่วัดคงคาราม...เด็กๆ ไดพบกับทานเจา

อาวาส สามเณร คุณปู คุณยา คุณตา คุณยาย

และคุณลุง คุณปาผูใจดี มีเมตตามารอรับและ

ชวยฝกสอนขั้นตอนการปฏิบัติกิจตางๆ ในการ

ฟงเทศนใหกับเด็กๆ เริ่มตั้งแตการกราบพระจะ

ตองกราบแบบเบญจางคประดิษฐ การกลาวคำ

บูชาพระรัตนตรัยสั้นๆ เหมาะกับวัยของเด็ก ซึ่ง

สวนมากจะปฏิบัติได เพราะทำเปนประจำท่ี

โรงเรียนอยูแลวจึงนำมาใชไดเปนอยางดีในวันนี้

จากนั้นเด็กๆ ก็ไดฝกเรียนรูวิธีการใสพานดอกไม

ควรใชดอกไมสีขาวจะไดอานิสงสมากที่สุด ถัด

มาคือสีเหลืองและสีแดง สวนการประเคนของ

พระและสามเณร ผูหญิงใหนำสิ่งของวางบนผาท่ี

ทานเตรียมไวให จากนั้นก็รับศีลและกรวดน้ำซึ่ง

จะตองระมัดระวังไมใหน้ำหกเลอะเทอะ และนำ

น้ำที่กรวดแลวไปรดตนไมในบริเวณวัดเพื่อใหรูจัก

ชวยกันดูแลรักษาสิ่งแวดลอม ในวันพระตอมาถา

เวลาเดินผานผูคนสวนมากก็จะถามเปนเสียงเดียวกันวา ...ไปไหนจะ... เด็กๆ จะตอบพรอมกันอยางภาคภูมิใจดวยเสียงอันดังวา...ไปวัดครับ...ไปวัดคะ...

๓๕

Page 38: เล่ม ๒-๕ ภาคเหนือตอนบน ปี ๕๓ สิงหาคม

มีเวลาและยังไมเบื่อ เด็กๆ ก็จะไดฝกน่ังสมาธิ

ซึ่งชวยใหเด็กสงบ เรียบรอย มีความอดทนมาก

ขึ้น และยังไดเรียนรูเรื่องราวพุทธประวัติ นรก

สวรรค จากภาพวาดท่ีฝาผนังในวิหารของวัดอีก

ดวย

การพาเด็กไปวัดอยางสม่ำเสมอทำใหเห็น

ถึงความเปล่ียนแปลงมากมายท่ีเกิดขึ้น แตสิ่งท่ี

คุณครูประทับใจก็คือ เด็กที่เปนลาหูจำนวน ๑๓

คน ในชีวิตประจำวันจะไมเคยไปทำบุญท่ีวัดเลย

เพราะนับถือผีฟาและไมมีวัดในหมูบาน ดังน้ันจึง

ไมเขาใจวาจะตองทำอยางไรบางและไมไดเตรียม

อะไรมาเลย แตพอคุณครูพาไปวัดบอยๆ และ

เพื่อนๆ แบงดอกไมให วันพระตอมาเด็กๆ เหลา

นั้นก็สามารถจัดเตรียมดอกไมมาไดเอง

ถึงแมวาจะเปนเพียงดอกหญาที่เก็บมา

จากในปา เชน ดอกหญาหนวดแมว (มีสีมวง

ดอกเล็กๆ) ดอกไมยราพ (มีสีชมพูเปนรูปทรง

กลมเล็กๆ) บางคนก็ใชดอกเฟองฟา บางคนก็

ใชใบดอกเทียน ซึ่งแสดงใหเห็นถึงความคิด

สรางสรรคและวิธีการแกปญหาของเด็กๆ ไดเปน

อยางดี สวนนักเรียนท่ีมีผูปกครองเปนไทยใหญก็

จะมัดดอกไมกับธูปเทียนติดกันเปนชุดทำให

สะดวกตอการหยิบใสพานของเด็กๆ และในวัน

พระตอมาไดมีผูปกครองนักเรียนสวนมากนำไป

ปฏิบัติตาม แตสิ่งที่คุณครูประทับใจมากที่สุดก็

คือพี่ๆ ระดับประถมศึกษาที่ไดเห็นนองๆ ไปวัด

ทุกวันพระ ก็อยากไปวัดดวย จาก ๑ หองก็เพิ่ม

เปน ๒, ๓, ๔ หอง จนหมดท้ังโรงเรียน แตพอ

เทศกาลเขาพรรษาสิ้นสุดลง โรงเรียนบานหลาย

ฝางซึ่งเปนโรงเรียนวิถีพุทธเครือขาย ไมอยากให

โครงการที่กำลังดำเนินไปไดดวยดีสิ้นสุดตามไป

ดวย จึงไดจัดใหมีโครงการสานตอในโรงเรียนขึ้น

ใหมโดยใหชื่อโครงการวา “โครงการพบพระทุกวันศุกร”

หลายๆ สิ่งที่ไดกระทำลงไปน้ัน บางครั้ง

อาจทำไปโดยไมรูความหมาย แตบางครั้งความ

หมายของส่ิงท่ีไดกระทำลงไปน้ันก็อาจปรากฏ

ออกมาในลักษณะของความเชื่อที่ยากแกการ

อธิบายได ดังเชนเด็กปฐมวัยซึ่งอยูในวัยเรียนรู

และตองการการดูแลเอาใจใสจนกวาจะยืนหยัด

ไดดวยตนเอง การพัฒนาเสริมสรางและปลูกฝง

คุณธรรม จริยธรรมตั้งแตเล็กๆ อยางตอเนื่อง

สม่ำเสมอ เพ่ือใหเปนบุคคลที่มีพื้นฐานจิตใจดี

งาม ทั้งการกระทำทางกาย ทางวาจา ทางใจ

ยอมสงผลใหเติบโตเปนผูใหญที่ดี มีวินิจฉัยที่ถูก

ตองและมีความสุขในการดำเนินชีวิต อีกท้ังยัง

เปนบุคคลที่สามารถทำคุณประโยชนใหกับสังคม

และประเทศชาติในอนาคตใหนาอยูและสงบสุข

ได

ดังนั้นการนำพุทธศาสนาไปชวยกลอม

เกลาจิตใจเด็กจึงเปนหนทางที่ดีที่สุดสำหรับพอ

แม ผูปกครอง และคุณครู โดยการพาเด็กๆ เขา

วัดใหคุนเคยกับวัด การฟงเทศน และการปฏิบัติ

ตน เพ่ือเปนการเสริมสรางเกราะคุมกันภัยที่อาจ

เรียกไดวาเปนวัคซีนใจใหกับเด็กๆ เพราะหากรอ

ไปจนถึงวัยผูใหญหรือวัยทำงานก็อาจจะสายเกิน

แก

๓๖

Page 39: เล่ม ๒-๕ ภาคเหนือตอนบน ปี ๕๓ สิงหาคม

เน้ือที่กวา ๕๐ ไร ของโรงเรียนประชาราช

วิทยา ไดรับการอนุรักษพืชพันธุไมปานานาชนิด

ติดตอกันมาต้ังแตแรกเริ่มสรางโรงเรียน ดวยแรง

แหงการใหความรวมมือของชุมชนและทุกฝายที่

เกี่ยวของ สวนปา ท่ีรกชัดไดกลายเปนสวน

พฤกษศาสต ร ใ น โ ร ง เ รี ย นที่ ไ ด รั บ ร า ง วั ล

พระราชทานจากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ

สยามบรมราชกุมารี เมื่อ ๒๐ ตุลาคม ๒๕๕๒

“ปายพระราชทานโครงการอนุรักษพันธุกรรมพืชและสิ่งแวดลอม งานสวนพฤกษศาสตรโรงเรียน” ใหเปนแหลงเรียนรูที่ครูผูสอนสามารถบูรณาการ

เขากับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในทุก

กลุมสาระการเรียนรู

การจัดกระบวนการเรียนรูแบบบูรณาการ

(Learning Integration) ดังกลาวนี้ สอดคลอง

กับพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.

๒๕๔๒ แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕

มาตรา ๒๓ “การจัดการศึกษา ทั้งการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยตอนเนนความสำคัญความรู คุณธรรม กระบวนการเรียนรู และบูรณาการตามความเหมาะสม...” และมาตรา ๒๔ (๔) “จัดการเรียน

ลำปาง เขต ๑

พฤกษศาสตรเรียนรู สูความพอเพียง

เรื่อง ครูโรงเรียนประชาราช

วิทยา

โรงเรียน ประชาราชวิทยา

ต.บานรอง อ.เงา

จ.ลำปาง

๓๗

Page 40: เล่ม ๒-๕ ภาคเหนือตอนบน ปี ๕๓ สิงหาคม

การสอนโดยผสมผสานสาระความรูดานตางๆ อยางไดสัดสวน สมดุลกัน รวมทั้งปลูกฝงคุณธรรม คานิยมที่ดีงาม และคุณลักษณะอันพึงประสงคไวในทุกวิชา”

สำหรับการจัดกระบวนการเรียนรูแบบ

บูรณาการของโรงเรียนประชาราชวิทยานั้นไดใช

การบูรณาการ ๒ รูปแบบ คือ

๑. บูรณาการแบบสอดแทรก (Infusoin

Instruction) เนนการจัดกระบวนการเรียนรูที่ครู

ผูสอนในวิชาหนึ่งสอดแทรกเนื้อหาของวิชาอื่นๆ

เขาในการเรียนการสอนของตนเอง คือ บูรณา

การวิถีพุทธ หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสวน

พฤกษศาสตรโรงเรียนเขากับรายวิชาพื้นฐานใน 8

กลุมสาระและกิจกรรมพัฒนาผูเรียน

๒. บูรณาการแบบสหวิทยาการ (Multidis-

criplinary Instruction) เปนการจัดกระบวนการ

เรียนรูที่ครูผูสอนต้ังแต ๒ คนข้ึนไป รวมกัน

วเิคราะห มาตรฐานการเรยีนรู ตวัช้ีวดั ทีส่ามารถ

บูรณาการใหครอบคลุมในทุกกลุมสาระการเรียน

รูในหนวยการเรยีนรูทีม่สีวนพฤกษศาสตรโรงเรยีน

เปนฐาน คือ “พฤกษศาสตรเรียนรู สูความพอเพียง” โดยกำหนดชื่อหนวยการเรียนรูบูรณาการ

ตามลำดับชั้นดังน้ี

ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๑, ๔ หนวย รักษ

ตนไม รักษสิ่งแวดลอม

ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๒, ๕ หนวย พฤกษ-

ศาสตรศึกษา คนควารายงาน

ชันมัธยมศึกษาปที่ ๓, ๖ หนวย พฤกษ-

ศาสตรเชี่ยวชาญ โครงงานคุณธรรม

การจัดการเรยีนรูบรูณาการแบบสหวิทยาการ

ที่โรงเรียนไดดำเนินการอยางเปนรูปธรรมนั้น กอ

ใหเกิดประโยชนตอผูเรียนทุกคนไดพัฒนาตนเอง

อยางสมดุล ดวยเหตุผลดังน้ี

๑. ใชวิธีการที่หลากหลายในการแกปญหา

ชีวิต

๒. เกิดความคิดรวบยอดในเน้ือหาบท

เรียนไดดียิ่งขึ้น

๓. ลดความซ้ำซอนของเนื้อหาและลด

ภาระงาน

๔. ชวยใหนักเรียนเปน “นักจัดการ-ประสานประโยชน”

การจัดกระบวนการเรียนรูแบบบูรณาการ

ทั้ง ๒ รูปแบบที่โรงเรียนประชาราชวิทยาไดจัด

ทำขึ้นโดยใชสวนพฤกษศาสตรในโรงเรียนเปน

แหลงเรียนรูนั้น เปนการจัดกระบวนการเรียนรู

โดยองครวม หรือ “รวบรวมเนื้อหาสาระทั้งหลายใหกลายเปนหน่ึงเดียว” (Whole in one) ซึ่งมิใช

การจัดการเรียนรูแตสาระการเรียนรูแตเพียงอยาง

เดียว แตไดบูรณาการองคความรูกับกระบวนการ

เรียนรูเขาดวยกัน ฝกฝนใหผูเรียนเรียนรูดวย

กระบวนการคิดวิเคราะห คิดสังเคราะห คิด

สรางสรรคและแสวงหาความรูไดดวยตนเอง

ประการสำคัญคือการปลูกฝงและฝกฝนนักเรียน

๓๘

Page 41: เล่ม ๒-๕ ภาคเหนือตอนบน ปี ๕๓ สิงหาคม

มีคุณธรรม จริยธรรม คุณลักษณะอันพึงประสงค

และการนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช

ในการจัดกิจกรรมการเรียนรูที่สอดคลองกับ

สภาพวิถีชีวิตของผูเรียน กลาวคือมิใชพัฒนาผู

เรียนใหมีแตความรู เทานั้น แตหมายถึงการ

พัฒนาชีวิตจิตใจของผูเรียนไดอีกดวย ซึ่งเปนไป

ตามวิสัยทัศนของหลักสูตรแกนกลางการศึกษา

ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ คือ พัฒนาผู

เรียนทุกคนมีความสมดุลท้ังดานรางกาย ความรู

คุณธรรม จิตสำนึกในความเปนพลเมืองไทย

เปนพลโลก ยึดมั่นในการปกครองตามระบอบ

ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนพระ

ประมุข มีความรู ทักษะพื้นฐาน เจตคติที่ดีงาม

คุณลักษณะอันพึงประสงค คือ ดี เกง มีปญญา

และเรียนรูอยางมีความสุขตามหลักปรัชญา

เศรษฐกิจพอเพียงไดอยางแทจริง

จากเน้ือที่ที่ เคยถูกทอดท้ิงใหสูญเปลา

ประโยชนและดวยแรงใจแรงกายของครู นักเรียน

ผูปกครองตลอดหนวยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวของใน

ชุมชนไดแผวถางสรางเสริมให เปนผืนปาที่

สถาปนาใหชือ่วา “สวนพฤกษศาสตรในโรงเรียน” แมจะนอยนิดเมื่อเทียบกับพื้นที่รอบขาง แตก็

มากดวยคุณคาตอการเรียนรู ในการปลูกฝงและ

สร า ง เสริม ให เ ยาวชนเกิดจิตสำนึกที่ ดี ต อ

ธรรมชาติและสิ่งแวดลอม พรอมท่ีจะอยูกับ

ธรรมชาติอยางสรางสรรคผสมกลมกลืนไปกับวิถี

ชีวิต รูจักใช รูจักสราง รูจักรักษาและรูจักพัฒนา

ประการสำคัญคือมนุษยเปนผูจัดการความสมดุล

ของธรรมชาติสิ่งแวดลอมมิใชเปนผูทำลายอีก

ตอไป

๓๙

Page 42: เล่ม ๒-๕ ภาคเหนือตอนบน ปี ๕๓ สิงหาคม

ตามพจนานุกรมภาษาไทยฉบับประมวล

ศัพท โดยฝายวิชาการโรงเรียนดวงแกว คำวา

“นาฏย” (นาตะยะ) หมายถึง เกี่ยวกับการฟอน

รำ เกี่ยวกับละคร สวนคำวา “ศีล” (บาลี : สีล) สารานุกรมวิกิพีเดียไดใหความหมายไววา ขอ

ปฏิบัติตนขั้นพื้นฐานทางพระพุทธศาสนา เพื่อ

ควบคุมความประพฤติทางกายและวาจาใหตั้งอยู

ในความดีงามโดยปกติสุข เพื่อประโยชนขั้นพื้น

ฐานคือความสุขและไมมีการเบียดเบียดในสังคม

ดังนั้นคำวา “นาฏยศีล” อาจหมายถึง การฟอน

รำเพื่อควบคุมความประพฤติทางกายและวาจา

เพื่อใหเกิดความสุขในสังคม

เรื่อง กาญจนา เหมืองหมอ

โรงเรียน บานจอมแจง

มิตรภาพท่ี ๑๙๓

ต.แมสะเรียง

อ.แมสะเรียง

จ.แมฮองสอน

นาฏยศีล คืออะไร

นาฏยศีลกับกิจกรรมพัฒนาคุณลักษณะ

อันพึงประสงคของโรงเรียนบานจอมแจงมิตรภาพ

ที่ ๑๙๓ หน่ึงในโรงเรียนแกนนำวิถีธรรมวิถีพุทธ

สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาแมฮองสอน

เขต ๒ นอกจากทางโรงเรียนจะจัดกระบวนการ

เรียนรูเพื่อพัฒนาศักยภาพผูเรียน ท้ังทางดาน

ทักษะวิชาการ กลุมสาระการเรียนรูตางๆ แลว

ดานกิจกรรมพัฒนาผูเรียนก็เปนกิจกรรมเรียนรูที่

โรงเรียนใหความสำคัญไมยิ่งหยอนไปกวากัน

เพราะโรงเรียนบานจอมแจงมิตรภาพที่ ๑๙๓ พึง

ตระหนักอยูเสมอวา การเรียนรูใหผูเรียนมีการ

พัฒนาท้ังทางดานรางกาย สติปญญา อารมณ

แมฮองสอน เขต ๒

๔๐

Page 43: เล่ม ๒-๕ ภาคเหนือตอนบน ปี ๕๓ สิงหาคม

และสังคม จะตองควบคูไปกับการปลูกฝงคุณ

ธรรม จริยธรรม เพ่ือใหสามารถอยูรวมกับผูอื่น

ไดอยางมีความสุข ตลอดจนผูเรียนเปนพลเมืองดี

ของสังคมไทยและสังคมโลก ตามพระบัญญัติ

การศึกษาแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ ไดกำหนดไว

“นาฏยศีล” เปนชื่อกิจกรรมชุมนุมใน

ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๑ ของโรงเรียนบาน

จอมแจงมิตรภาพที่ ๑๙๓ เปนกิจกรรมพัฒนา

ผูเรียนท่ีสงเสริมการอนุรักษศิลปวัฒนธรรมไทย

ประเพณีทองถิ่นไทย ปลูกฝงใหผูเรียนมีความรัก

และหวงแหน มีความภาคภูมิใจในความเปนไทย

สรางเสริมบุคลิกภาพที่ดีแกผูเรียน เปนการออก

กำลังกายอยางหนึ่งท่ีมีทวงทำนองท่ีสวยงามเม่ือ

ฝกเปนประจำสุขภาพก็จะแข็งแรง กลามเนื้อ

กระชับ รูปรางดี นอกจากจะเปนกิจกรรมที่สง

เสริมคุณลักษณะดังกลาวแลว ศิลปะการฟอนรำ

ยังเปนศาสตรแขนงหนึ่งที่แฝงหลักธรรม “ไตรสิกขา” ไดแก ศีล ปญญา สมาธิ กลาวคือ การ

ฝกฟอนรำนั้นผูเรียนจะตองตั้งจิตใหแนวแน จน

เกิดสมาธิจึงจะจดจำทาฟอนรำไดอยางถูกตอง

เมื่อจดจำไดอยางถูกตองแลวตองหม่ันฝกฝนให

เกิดปญญา เกิดทักษะในการปฏิบัติ และเมื่อ

ฝกฝนจนเกิดความชำนาญแลวยอมมีความคิด

ริเริ่มสรางสรรค ใฝรู ใฝเรียน และเกิดความสุข

ทั้งกายใจ รักที่จะเรียนรูอยางมีความสุข มีขอ

ปฏิบัติตนดวยความสมัครใจ นั่นคือเกิดศีล

นั่นเอง จะเห็นไดวาการฟอนรำ เปนทั้งศาสตร

และศิลปที่ชวยใหผูเรียนไดพัฒนาตนเองใหเปน

มนุษยที่สมบูรณทั้งรางกาย จิตใจ สติปญญา

ความรูและคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรม

ในการดำรงชีวิต สามารถอยูรวมกับผูอื่นไดอยาง

มีความสุข

๔๑

Page 44: เล่ม ๒-๕ ภาคเหนือตอนบน ปี ๕๓ สิงหาคม

สมาธิมา ปญญาเกิด

เรื่อง คุณครูอิศรากุล ตุนเครือ

โรงเรียน บานวังลุง

(เพชรประชานุเคราะห)

ต.หางดง อ.ฮอด

จ.เชียงใหม

เชียงใหม เขต ๕

สวนลึกของมนุษยจะมีจิตคอยบัญชาการใหกระทำสิ่งที่ดีและสิ่งที่ไมดี มากนอยแคไหนจะอยูที่จิตที่หยาบหรือจิตที่ละเอียดเปนตัวกำหนด เพราะจิตสรางได หลอหลอมได อยูที่วาเราจะมีการฝกฝนจิตหรือไม

๔๒

Page 45: เล่ม ๒-๕ ภาคเหนือตอนบน ปี ๕๓ สิงหาคม

โรงเรียนบานวังลุง (เพชรประชานุเคราะห)

ตั้งอยูหมูที่ ๑๐ ตำบลหางดง อำเภอฮอด จังหวัด

เชียงใหม สังกัดสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา

เชียงใหม เขต ๕ เปดทำการสอนระดับอนุบาล

ถงึชัน้มธัยมศึกษาปที ่ ๓ เขารวมโครงการโรงเรียน

วิถีพุทธเมื่อปพุทธศักราช ๒๕๔๗ โดยนำหลักไตร

สิกขา คือ ศีล สมาธิ ปญญา มาบูรณาการจัด

กิจกรรมการเรียนการสอนมาอยางตอเนื่อง

จากการสังเกตพฤติกรรมนักเรียนพบวา

ปจจุบันนักเรียนมีจิตใจที่ไมสงบ มีจิตฟุงซาน

หงุดหงิดงาย ควบคุมอารมณไมได เนื่องจากจิต

ไมนิ่งพอ อันจะสงผลใหนักเรียนไมมีสมาธิในการ

เรียน พบเห็นไดจากการเรียนหนังสือในหองเรียน

พบนักเรียนแสดงออกทางใบหนา แววตา กิริยา

อาการกระสับกระสาย สืบเนื่องมาจากเด็กขาด

สมาธิหรือมีสมาธิสั้นนั่นเอง

จิตฟุงซานทำใหนักเรียนไมมีสมาธิในการ

เรียน ในรางกายของมนุษยจะมีจิตเปนใหญ ดัง

คำกลาวที่วา จิตเปนนาย จิตเปนบาว จิตเปน

ไพร ดังนั้นเราจะตองฝกจิตใหมีสมาธิ จะตอง

สรางจิตใหเขมแข็ง เพื่อเปนเกราะคุมครองให

รางกายแข็งแรง โดยฝกจิตใหมีฉันทะในความ

พอใจในส่ิงที่เราเปน เรามี เราควรฝกจิตดวย

ความเพียรพยายาม เราควรฝกจิตดวยความ

ใครครวญ และควรฝกจิตดวยการไตรตรอง

สม่ำเสมอ จะทำใหเราประสบความสำเร็จในการ

เรียน จะทำใหเราประสบความสำเร็จในการ

ทำงาน จะทำใหเราประสบความสำเร็จในชีวิต

เพราะจิตของเราฝกฝนมาดีแลว

ดวยเหตุผลดังกลาว จึงคิดหาวิธีแกไข

เรื่องการเรียนของนักเรียน ก็คนพบในหลักไตร

สิกขา เรื่อง ศีล สมาธิ ปญญา ประเด็นหลัก คือ

สมาธิจะตองมีการฝกฝนเปนประจำ เพื่อให

นักเรียนมีจิตที่สงบนิ่ง จะชวยในดานการเรียน

ทางโรงเรียนไดนำนักเรียนไปเขาคายปฏิบัติธรรม

ณ วัดปญญาวุธาราม (วัดสันกู) เปนเวลา ๓ วัน

๒ คืน รักษาศีล ๘ (อุโบสถศีล) ฝกวิปสสนา

กรรมฐานเบื้องตน โดยมีพระครูใบฎีกาพิษณุ

สจฺจวโร เจาอาวาสวัดปญญาวุธาราม พระ

อาจารยพระมหาสามารถ ภูริปฺ โญ พระ

วิทยากรจากศูนยพัฒนาจิตเฉลิมพระเกียรติ ได

รับมอบหมายจากพระธรรมมังคลาจารย วิ .

(หลวงปูทอง สิริมงฺคโล) ผูอำนวยการฝก

วิปสสนากรรมฐานภาคเหนือ เจาอาวาสวัดพระ

ธาตุศรีจอมทองวรวิหาร เปนผูฝกอบรมตาม

พิธีกรรมแนวสติปฏฐาน ๔ ใหแกนักเรียน

กำหนดลมหายใจเขา ออก โดยหายใจเขา

พิจารณาวา “พองหนอ” หายใจออกพิจารณาวา

“ยุบหนอ” กำหนดลมหายใจอยางตอเน่ืองจะ

ทำใหเกิดจิตวาง เมื่อจิตวางจะทำใหเกิดสมาธิ

การฝกสมาธิแนววิปสสนากรรมฐานสำหรับ

นักเรียนเปนขั้นพื้นฐานจะใหเวลาประมาณ ๑๐

นาที และเพิ่มเวลาขึ้นเมื่อนักเรียนมีสมาธินิ่งขึ้น

นำหลักวิปสสนากรรมฐานมาปฏิบัติที่

โรงเรียน เมื่อนักเรียนผานการอบรมวิปสสนา

กรรมฐาน ทางโรงเรียนใหนักเรียนปฏิบัติฝก

สมาธิ เปนประจำหลังจากเคารพธงชาติ โดยมี

นักเรียนแกนนำวิถีพุทธ จำนวน ๙ คน คือ ๑.

เด็กหญิงยุวดี คำลอย (ประธานนักเรียนแกนนำ)

๒. เด็กหญงิอรอนงค ปูสอง ๓. เดก็หญงิอารรีตัน

๔๓

Page 46: เล่ม ๒-๕ ภาคเหนือตอนบน ปี ๕๓ สิงหาคม

โทะคำ ๔. เด็กหญิงวิชิดา เผอะแส ๕. เด็กหญิง

จุฑามาศ กาวิเนตร ๖. เด็กหญิงกาญจนา ซีแฮ

๗. เด็กหญิงทิพยเกสร สิริโพธิวงศ ๘. เด็กชาย

ธวชัชยั พนิจิวรีกลุ ๙. เดก็ชายชยัรตัน จติรธนารกัษ

นักเรียนแกนนำวิถีพุทธจะนำนักเรียนจะน่ังสมาธิ

ตามระเบียงหนาหองเรียน ในหองเรียน และหอง

จริยธรรม แลวแตความเหมาะสมของแตละชั้น

เรียน โดยนักเรียนจะนั่งทาขัดสมาธิ กำหนดลม

หายใจเขา พิจารณาวา “พองหนอ” กำหนดลม

หายใจออก พจิารณาวา “ยุบหนอ” อยางตอเนือ่งเปนเวลาประมาณ ๙-๑๐ นาที จากน้ันนักเรียน

แผเมตตา เขาเรียนตามปกติ จากการสังเกต

นักเรียนพบวาอาการ กิริยา และพฤติกรรม มี

การเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดี จากพฤติกรรมที่

นักเรียนท่ีมีอารมณเรารอน ทำใหมีอารมณเยือก

เย็น จากอาการโกรธงาย ทำใหระงับการโกรธลง

ได จากการหลงลืมงาย ทำใหมีสติดีขึ้น จากการ

ที่มีสมาธิสั้น ทำใหมีใจจดจอตอการเรียนมากขึ้น

จากนิสัยดุดัน จะลดความรุนแรงลง ท้ังน้ีเปนผล

จากการฝกสมาธิ

ประธานนักเรียนแกนนำกลาววา ในการ

ฝกสมาธินั้นเราจะจัดฝกสมาธิรวมกันมิไดแยก

ชายหญิงออกจากกัน เหตุผลเพราะการฝกสมาธิ

เปนเรื่องของจิตใจ เปนเรื่องของการมีสติ เปน

เรื่องละเอียดออน ชายหญิงมีการฝกสมาธิรวมกัน

ได แตความแตกตางในรางกาย ความรูสึกใน

อารมณความนึกคิด ระหวางชาย หญิง อาจแตก

ตางกัน เมื่อเปนเชนน้ีการฝกสมาธิระหวางชาย

กับหญิง อาจมีความแตกตางกัน ในดานความ

นิ่งทางอารมณ ความสงบ ความสุขุม ความ

เยือกเย็น ความรูสึกนึกคิด ความเพียรพยายาม

ความละเอียดออน จะไมเหมือนกัน

แกนนำนักเรียนกลาวเสริมวา จากการ

สังเกตการณฝกสมาธิ นักเรียนที่ฝกสมาธิไดดี

๔๔

Page 47: เล่ม ๒-๕ ภาคเหนือตอนบน ปี ๕๓ สิงหาคม

สวนมากจะเปนนักเรียนหญิง เพราะมีความมุง

มั่น ตั้งใจ มีความสงบนิ่ง มีการควบคุมอารมณ

ไดดี ตลอดถึงกิริยาทาทางการฝกสมาธิตามที่

พระอาจารยที่ กำหนดให นักเรียนหญิงจะ

แสดงออกในทางสรางสรรค เชน ฝกสมาธิที่

โรงเรียนเปนประจำและนำไปปฏิบัติที่บาน โดยมี

บิดา มารดา รวมฝกสมาธิรวมกับนักเรียนแกน

นำ ในวันสำคัญทางศาสนาหรือวันหยุดนักเรียน

แกนนำจะมีการฝกฝนเพิ่มเติม ณ สถานที่ปฏิบัติ

ธรรมศูนยพัฒนาจิตเฉลิมพระเกียรติ นอกจากน้ี

สิ่งที่พบเห็นในนักเรียนหญิง คือ ความออนโยน

ความละเอียด ทำงานเรียบรอย การพูดจา

ไพเราะ ตลอดถึงการเดิน การนั่ง การนอน การ

กราบ การไหว และการทำความเคารพ ดู

เรียบรอยงดงามมาก สวนนักเรียนชาย พบความ

อดทน ความเพียรพยายาม ความกลาแสดงออก

ความเชื่อมั่น การเสียสละ เปนตน

สมาธิ ทำใหเกิดปญญา จากการฝก

สมาธิสม่ำเสมอเปนประจำ จะทำใหจิตเกิด

ปญญา ขอใหปฏิบัติเปนประจำจะเกิดผลดีแก

ผูปฏิบัติอยางแทจริง โดยจิตสงบ ไมฟุงซาน จิต

มีสมาธิ จะสงผลถึงการเรียน จะมีความจำดี มี

ความสุขในการเรียน มีความสุขในการทำงาน

จะดับความวุนวาย ความสับสนลงได เม่ือจิตเปน

สมาธิจะมีการตั้งมั่น ไมปลอยวางไปท่ีอื่น จิตจะ

จดจอในการฟงเรื่องที่สนใจฟง จิตจดจอในการ

คิดใครครวญเรื่องที่ตองการทราบ จิตจดจอใน

เรื่องที่ตองการถามเพื่อหาคำตอบ จิตจดจอเรื่อง

ที่เรียบเรียงเขียนบรรยาย อภิปราย ทำใหเกิด

ปญญาแกผูมีสมาธิ ดังพระสัมมาสัมพุทธเจาตรัส

หัวใจบัณฑิตที่วา สุ จิ ปุ ลิ คือ สุ ใหมีสมาธิใน

การฟง จิ ใหมีสมาธิคิด ปุ ใหมีสมาธิในการถาม

ลิ และใหมีสมาธิในการเขียน เมื่อมีกับผูใดจะ

ทำใหผูเปนบัณฑิตไดอยางแนนอน

ผลของการฝกสมาธิ ผูที่ฝกสมาธิจะเกิด

ผลดี คือ เปนคนที่มีจิตใจสงบ มีสติในกายทุก

เมื่อ มีความเพียรพยายาม มีความอดกลั้นอดทน

ลดความสับสนวุนวายในกายและใจ เปนคนที่มี

เหตุผล สมองแจมใส ทำใหเกิดความจำดี ทำให

เกิดปญญารอบรู เปนท่ีรักใครของผูคน เปนที่

เคารพนับถือแกผูพบเห็น เปนกัลยาณมิตรกับคน

ทั่วไป พบแตความสุขกาย ความสุขใจ เพราะจิต

ที่ฝกฝนมาดีแลวยอมนำความสุขมาให

๔๕

Page 48: เล่ม ๒-๕ ภาคเหนือตอนบน ปี ๕๓ สิงหาคม

ถ าพูดกันอย างตรงไปตรงมาถึง เด็ก

นักเรียนในยุคปจจุบัน จะเห็นวาการมีจิตสำนึก

กับการทำกิจกรรมสาธารณประโยชน เปนสิ่งที่

หายากมาก อาจเนื่องมาจากการมัวเมากับการใช

เทคโนโลยี และส่ือตางๆ ทำใหเด็กนักเรียนไมรู

จักการใชเวลาวางที่เปนประโยชน การบำเพ็ญ

ประโยชนสูสังคมและการสวนรวมไมมี มีแต

ความเห็นแกตัว กิริยา-วาจาก็ไมออนนอมถอม

ตน ฯลฯ นับเปนปญหาที่สำคัญยิ่ง จึงควรมีได

รับการแกไขอยางเรงดวน

โรงเรียนดงเจนวิทยาคม เปนสถาบันการ

ศึกษาที่มีเด็กนักเรียน ๙๐๐ คนโดยประมาณและ

เด็กนักเรียนสวนใหญเปนกลุมวัยรุนตอนตน-

ทกุอยางเกิดขึน้ได ถาทกุคน ม.ี..

จติสำนกึ

พะเยา เขต ๑

เรื่อง เกศิรินทร รัตนรักษมงคล

โรงเรียน ดงเจนวิทยาคม

ต.ดงเจน อ.ภูกามยาว

จ.พะเยา

๔๖

Page 49: เล่ม ๒-๕ ภาคเหนือตอนบน ปี ๕๓ สิงหาคม

วัยรุนตอนกลาง ปญหาและพฤติกรรมใน

คุณลักษณะที่ไมพึงประสงคคงไมตองพูดถึง ก็มี

มากมายหลายชนิด แตก็ไมนาเชื่อ... ทุกสิ่งทุก

อยางคอยๆ มีการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้น

ซึ่งเด็กนักเรียนก็เชื่อกันวา เกิดจากการดำเนิน

กิจกรรมตางๆ ของโรงเรียนคุณธรรมชั้นนำท่ี

ปลูกฝงและสรางความตระหนักใหพวกเรามี

พฤติกรรมและคุณลักษณะที่พึงประสงค

เรื่องราวนี้ก็เปนแคเรื่องราวเล็กๆ ที่อยาก

เลาสูกันฟงวา ทุกอยางเกิดขึ้นได ถาทุกคนมี ...จิตสำนึก...

เด็กวัยรุนที่โดยธรรมชาตินั้นจะรักสวย รัก

งามแตก็ตองรวมกิจกรรมนี้ดวย “จิตสำนึก” เหตุ

๔๗

ก็เกิดจากกลุมนักเรียน ๑๐-๑๒ คน มองเห็น

ความสกปรกของหองน้ำในโรงเรียน พวกเขาคิด

วา หองน้ำเปนท่ีที่สรางความสุขใหกับทุกคน

แตทุกคนมองขามท่ีจะใหการดูแลและเอาใจใส

ทำอยางไรดีคะครู? เปนคำถามที่ เกิดขึ้นกับ

นักเรียนกลุมน้ี และใชเวลาไดไมนานเขาก็คิดได

เองวา “ตัวอยางที่ดี มีคามากกวาคำสอน” ก็เลยชวยกันลงมือทำความสะอาดกับหองน้ำท้ัง ๕

หลัง ตกแตงหองน้ำใหนาใช พรอมทั้งทำปาย

รณรงคใหทุกคนชวยกันรักษาความสะอาด (ทั้ง

โรงเรียน) ยังไมพอแคนั้น ทุกๆ เชาก็จะขอ

อนุญาตคุณครูเวรประจำวันทุกวัน ขึ้นพูดหนา

เสาธงเพื่อขอความรวมมือ ก็ยังไมไดผลและรูสึก

Page 50: เล่ม ๒-๕ ภาคเหนือตอนบน ปี ๕๓ สิงหาคม

เหนื่อยกับการลงทุนและลงแรง...

ทำอยางไรดีคะครู? เปนครั้งที่ ๒ (ครู

สังเกตดูหนาตานักเรียนแตละคนทอแท และ

เหนื่อยลากันมาก) ครูจึงใหกำลังใจ และเลาเรื่อง

ของธอนไดน เปนนักจิตวิทยาทานหนึ่งที่ไดศึกษา

พฤติกรรมของมนุษย โดยใชสัตวเปนตัวทดลอง

และแลวการศึกษาของเขาก็ทำใหเกิดนิยามขึ้นวา

“การเรียนรูที่ดี เกิดจากการกระทำสิ่งนั้นๆ ซ้ำๆ” แลวเขาก็ใชเวลารวมกันคิด (ใชเวลาไม

นานมาก ๑ วันเต็มๆ) แลวรูวา “การใหทุกคนไดทำ” จึงเกิดกระบวนการการทำงานท่ียึดหลัก

การมีสวนรวมขึ้น ในการทำกิจกรรม “หองน้ำสุขสันต” มีการมอบหมายเขตความรับผิดชอบ มีการประเมินรวมกันทุกสัปดาห จุดรับผิดชอบของ

ใครมีขอบกพรองทุกคนมีสวนรวมในการทำความ

สะอาด ใชเวลาอยูระยะหนึ่ง (ก็ประมาณ ๒

เดือนได) นักเรียนก็ใชความอดทนเพื่อรอดูการ

เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของนักเรียนท้ังโรงเรียน...

ตามเรื่องราวของนักจิตวิทยาท่ีครูเลาใหฟง ไมนา

เชื่อ... จิตสำนึกเกิดขึ้นแลว ทุกอยางคอยๆ ดีขึ้น

เริ่มตั้งแตความสะอาด ความรับผิดชอบในการใช

หองน้ำ ที่สำคัญคือการรักของของตัวเอง รัก

โรงเรียน (ขอใชคำวา...) นักเรียนสวนใหญ

(เพราะคงเปนไปไมได...ท่ีจะใชคำวา นักเรียนทุก

คน) มีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการใชหองน้ำ

ไปในทางท่ีดีขึ้น

ความเปนมหัศจรรย เกิดข้ึน...แลว เขาชวยกัน? ชวยกันดูแลเอาใจใส รักษา

ความสะอาดของหองน้ำ ทำกันคนละไมคนละ

มือ ดวยความเอื้ออาทรตอกันกำลังเกิดขึ้น จาก

เรื่องราวเล็กๆ ซึ่งมีโอกาสสงผลอันยิ่งใหญใหกับ

โรงเรียนดงเจนวิทยาคมของเราในอนาคตขาง

หนานี้อยางแนนอน

พวกเราไม เสียใจเลยคะครู ! กับการ

ลงทุน...กำลังแรงกาย กำลังแรงใจ ที่เหนื่อยมาก

ความอดทน...ตอเวลา ตอการเปล่ียนแปลง

พฤติกรรมที่ใชเวลาคอนขางนาน ความเหนื่อยลา

ความทอแทที่เกิดข้ึน

เพราะทุกสิ่งทุกอยางสอนใหพวกเรารูถึง

ความคุมคาท่ีไดลงทุนไปกับมหัศจรรยที่เกิดขึ้น

มาใหม คือ “จิตสำนึก”

๔๘

Page 51: เล่ม ๒-๕ ภาคเหนือตอนบน ปี ๕๓ สิงหาคม

วินัยเชิงบวก... วินัยเชิงบวก... ใครๆ ก็พูดกันจัง ครั้งแรกที่ ไดรับรู ใจหนึ่งคิดวาถาทำไดก็คงดีไมนอย แต... ใครท่ีเปนครูคงเขาใจดีวา ครูไม ใชพระอิฐพระปูน เปนคนธรรมดาที่มีโกรธ มีโมโห มีอะไรสารพัดที่เปนภาพลบ เม่ือเจอกับเด็กยุคใหมที่วากันวา ดื้อดาน สอนยาก วินัยเชิงบวกที่อุตสาหตั้งใจจะเอาไปใชก็มักตกหายกลางหอง กลางทาง ฉันเองก็เปนหนึ่งในบรรดาครูที่กลาวมาขางตน ที่มักจะโมโห ฉุนเฉียวเอากับเด็กๆ เหลานี้ จนกระทั่งวันหนึ่งก็ ไดเรียนรูวา วินัยเชิงบวก ไม ใชเรื่องยาก เพียงแตตองอาศัยความพยายามและตองอาศัยเวลาพอสมควร

วินัยเชิงบวก... จะทำไดไหมนี่

เรื่อง เกสร แซเหลี่ยว

โรงเรียน ปาตาลบานธิพิทยา

อ.บานธิ จ.ลำพูน

ลำพูน เขต ๑

๔๙

Page 52: เล่ม ๒-๕ ภาคเหนือตอนบน ปี ๕๓ สิงหาคม

เรื่องเริ่มขึ้นในวันหนึ่ง ฉันเดินเขาไปใน

หองสมุดเพ่ือทำงานตามปกติ ครูเจาหนาท่ีหอง

สมุดก็หยิบเอาเบาะรองน่ังที่ฉันอุตสาหเย็บมาให

เด็กๆ รองนั่งอานหนังสือ มาใหดูพรอมกับ

รายงานวา มีเด็กกลุมหนึ่ง มักใชเวลาวางมานั่งๆ

นอนๆ ในหองสมุด โดยไมอานหนังสือและไมนั่ง

เฉยๆ แตกลับนำเบาะรองน่ังมาฟาดกันอยาง

สนุกสนานเสียงดังรบกวนผูอื่นอยูเปนนิจ เมื่อ

สอบถามรายละเอียด ก็รูวาเปนเด็กกลุมท่ีมักจะ

ถูกฉันดุในหองเรียนเปนประจำ เน่ืองจากไมตั้งใจ

เรียนบาง ชอบแกลงเพื่อนบาง ประเภทวาไป

ที่ไหนก็เดือดรอนที่นั่น เปนที่เลื่องลือทั่วไป ขณะ

ที่กำลังโมโหกรุนๆ อยูนั้น เด็กกลุมดังกลาวก็วิ่ง

ไลแกลงกันเขามาในหองสมุดพอดี ฉันจึงปรี่

เขาไปตอวาทันที

“นี่! ถาเขามาแลวไมอานหนังสือ หรือมาเลนเอาเบาะฟาดกันอยางที่เคยทำก็ไมตองเขามา ไปใหไกลๆ เลย ไป ไป! พวกเธอนะฉันจะเอาขึ้นบัญชีดำไว ไมตองมายุงในหองสมุด” เจอครู

เอ็ดตะโรอยางนี้พวกเด็กๆ ก็แตกฮือไปคนละทิศ

ละทาง

หลังจากนั้นมา หองสมุดก็สงบไปไมนอย

และไมตองมารับฟงเรื่องจุกจิกกวนใจ แตก็ผาน

ไปไดไมนาน อาจารยที่ทำงานหองสมุดอีกคนก็

เขามาพูดคุยถึงเด็กกลุมที่ถูกไลตะเพิดวา ไป

สรางวีรกรรมใหมดวยการไปรวมกลุมกันอยูหลัง

ถังเก็บน้ำประปาซ่ึงคอนขางลับสายตา บางคนก็

แอบสูบบุหรี่ ฉันจึงคิดไดวาระหวางที่ใหเด็กมา

ซุกซนในหองสมุดกับการที่ เ ด็กแอบไปทำ

พฤติกรรมเชิงลบอยูหลังถังเก็บน้ำ อยางแรกนา

จะดีกวา เพราะอยางนอยก็อยูในสายตาครู ถึง

แมจะถูกผูเขามาใชหองสมุดหรือครูบางทานที่ไม

เขาใจตอวา วาหองสมุดมีบรรยากาศไมดี ไม

เงียบสงบเทาที่ควรจะเปน และอีกประการหนึ่ง

เมื่อมาคิดทบทวนดู ฉันก็พบตัวเองวา ไดใช

อารมณกับเด็กมากไปและการทอดท้ิงเด็กไมเอา

เปนธุระไมใชสิ่งที่ถูกตอง

เมื่อคิดไดเชนนี้ ฉันจึงฝากใหเจาหนาท่ี

หองสมุดพูดเปนเชิงอนุญาตใหเด็กกลุมนั้นเขาใช

หองสมุดไดดังเดิม แตขอใหสำรวมและปรับ

เปล่ียนพฤติกรรมใหดีขึ้น โชคดีที่เจาหนาที่ชวย

งานหองสมุดสามารถเลนดนตรีไดทั้งดนตรีไทย

ดนตรีพื้นเมืองและดนตรีสากล เธอจึงมีสวนชวย

ชักจูงใหเด็กกลุมนั้นมาฝกเลนดนตรีในยามวาง

พวกเขาจึงมีพฤติกรรมดีขึ้นและท่ีเหนือสิ่งอื่นใด

ก็คือ เรื่องของวินัยเชิงบวกที่เกริ่นแตแรกไดถูกใช

ไปโดยไมรูตัว

วันหน่ึง ฉันลงไปทำงานท่ีหองสมุดตาม

ตารางท่ีตัวเองวางไว ก็เจอ “เต” ซึ่งจัดวาเปน

หัวโจกของกลุมที่เคยถูกไลตะเพิดกำลังหัดเลน

สะลออยูดวยทาทางเอาจริงเอาจัง

“วาไง เต อยากจะเปนนักดนตรีหรือ?” ฉันยิ้มใหพรอมกับทักทาย

“ครับอาจารย” เตตอบดวยทาทางอายๆ

“ไมรูจะหัดไดรึเปลา” “เออ! ตองยังงี้สิ ทำอะไรที่มันสรางสรรค

ดีกวามาเลนซุกซนไรสาระไปวันๆ” ฉันชม “วันไหนเลนเปนเพลงอยาลืมมาเลนใหครู

ฟงนะ ครูจะรอ”

๕๐

Page 53: เล่ม ๒-๕ ภาคเหนือตอนบน ปี ๕๓ สิงหาคม

“แหม! อาจารยก็ ผมเพิ่งหัด” เตยังมีทีทาเขินๆ ซ่ึงเปนส่ิงแปลกตามากสำหรับฉัน

ฉันมองหนาเขาแลวยิ้มให “ครูพูดจริง หัดใหไดนะ” ฉันเนนเสียง

ผานไปหนึ่งหรือสองวัน ฉันก็มีโอกาสได

สอนหองของเต ดูเตสงบเสงี่ยม เรียบรอยดี เมื่อ

สอนไปไดสักพักฉันก็พูดกับเด็กๆ วา

“นี่! นักเรียนรูไหม เด๋ียวนี้เตเขาไมใชคนเดิมแลว เขาเปนนิวเตแลวละ อีกหนอยเขาจะเลนสะลอใหครฟูงนะจะบอกให” เพือ่นๆ ทำเสยีง

ฮือฮาดวยความแปลกใจ พลางหันไปมองเต

เจาตัวทำทาเขินๆ ปนปลื้ม

วันตอมา ขณะที่ฉันกำลังจะสอนหนังสือ

อยูหนาหอง เตก็โคงคำนับแลวเขามานั่งยิ้มแฉง

อยูหลังหอง

“อาว! เต มาทำอะไรนะ” ฉันถามดวย

ความสงสัยเพราะเตไมใชนักเรียนหองท่ีฉันกำลัง

จะสอน

“คาบวางครับอาจารย ไมรูจะทำอะไร มาเรียนภาษาไทยดีกวา” เตตอบพรอมกับยิ้มเปน

เชิงประจบ

“แหม! ดีจัง มาสิจะไดเกงภาษาไทย” ฉันอนุญาตดวยความยินดีสุดๆ จะไมใหยินดีได

อยางไร ก็จากเด็กที่เคยเปนตัวปวนในหองจนฉัน

รูสึกเอือมระอา เปล่ียนมาเปนเชนนี้ได ไมยินดีก็

ไมรูจะพูดวากระไรแลว

ในวินาทีนั้นเอง ความคิดหน่ึงก็แวบเขา

มา “นี่ไง! ผลของวินัยเชิงบวก” เพียงแตจะตอง

ใชความพยายาม ความอดทน และตองใชเวลา

ในการเปลี่ยนแปลงบางพอสมควร สิ่งที่ชัดเจนคือ

ตอนที่ใชก็ไมรูตัวดวยซ้ำวากำลังใชวินัยเชิงบวก

ขอเพียงแคใชความเมตตา ความเขาใจและความ

มีเหตุผล แทนการใชอารมณ แทนความโกรธ

โมโห ฉุนเฉียว เทานี้เอง ผลท่ีไดกลับคืนมาชางมี

คุณคามากมายนัก รางวัลท่ีเปนกำลังใจสำหรับ

การทำงานของครูคงไมมีอะไรยิ่งไปกวาการที่ได

ชวยใหลูกศิษยเปนคนดีของสังคม

หลังจากนั้น สัมพันธภาพระหวางฉันกับเต

ก็ดีวันดีคืน สงผลไปถึงพรรคพวกเพื่อนฝูงของเขา

ดวย และท่ีสำคัญ เมื่อหองสมุดจัดกิจกรรม

สัปดาหสงเสริมการใชหองสมุด กลุมของเตได

กลายเปนเรี่ยวแรงสำคัญในการดำเนินงาน และ

สามารถแบงเบาภาระของเราไดในระดับที่นา

พอใจเลยทีเดียว

ขอบคุณ วินัยเชิงบวก... ขอบคุณมาก

๕๑

Page 54: เล่ม ๒-๕ ภาคเหนือตอนบน ปี ๕๓ สิงหาคม

พระราชดำรัสในพระบาทสมเด็จพระเจา

อยูหัว พระราชทานแกคณะกรรมการมูลนิธิ

อนุ เคราะหคนพิการ ในพระราชูปถัมภของ

สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ณ พระ

ตำหนักจิตรลดารโหฐาน วันศุกรที่ ๒๒ มีนาคม

๒๕๑๗…จากพระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จ

พระเจาอยูหัวขางตนนี้ ทำใหผูเขียนซึ่งเปนครูใน

โรงเรียนท่ีจัดการเรียนรวมเด็กปกติและเด็กที่มี

ความตองการพิเศษ เกิดแรงบันดาลใจและคิด

เสมอวา “ตองชวยเหลือเด็กเหลานี้” โรงเรียนวัดชางเค่ียนมีเด็กที่มีความ

ตองการพิเศษเรียนรวมหลายประเภท แตเด็ก

กลุมที่มีความบกพรองทางสติปญญา มีศักยภาพ

ในการพัฒนาได เปนกลุมที่ผูเขียนสนใจ ปญหา

ของเด็กกลุมนี้คือ ไมเปนที่ยอมรับของคนทั่วไป

ไมวาจะเปนครอบครัว โรงเรียน หรือชุมชน

เพราะเด็กเหลาน้ีมีพัฒนาการดานตางๆ ลาชา

กวาเด็กปกติในวัยเดียวกัน จึงทำใหมีความ

สามารถในการรับรูและการเรียนรูนอย มีความ

สามารถจำกัดในการส่ือสารกับผูอื่น รวมถึงการ

ชวยเหลือตนเองในดานตางๆ สงผลทำใหเด็ก

ไมมีความมั่นใจในตนเอง มีปญหาดานอารมณ

และบคุลกิภาพ มกัแสดงพฤตกิรรมทีไ่มเหมาะสม

ขณะใชชีวิตอยูในสังคม นอกจากตัวเด็กเองท่ีมี

ปญหาแลว พอแม ผูปกครอง ตางเผชิญความ

ทุกขกายทุกขใจที่ตองดูแลหรือคอยแกปญหาให

พวกเขาเหลานี้

ผูเขียนเริ่มตนดวยการศึกษาเด็กกลุมนี้

อยางละเอียด จนทราบวา วิธีการหนึ่งในการชวย

เหลือเด็กเหลานี้ใหชวยเหลือตนเองได โดยเฉพาะ

ทักษะชีวิตประจำวันนั้นก็คือ “การฝก” และการ

ฝกสำหรบัเดก็เหลาน้ีตองใช ”หลักการวเิคราะหงาน”

“…งานชวยผูพิการนี้ มีความสำคัญเปนอยางยิ่งเพราะวาผูพิการไมไดเปนผูอยากจะพิการ และอยากชวยตนเอง ถาเราไมชวยเขาใหสามารถที่จะปฏิบัติงานอะไรเพ่ือชีวิต และมีเศรษฐกิจของครอบครัว จะทำใหเกิดสิ่งที่หนักในครอบครัว หนักแกสวนรวม ฉะน้ันนโยบายที่จะทำก็คือ ชวยเขาใหชวยตัวเองได เพื่อจะใหเขาสามารถเปนประโยชนตอสังคม…”

เรื่อง กาญจนณภัทร ปญญาโกญ

โรงเรียน วัดชางเค่ียน

ต.ชางเผือก อ.เมือง

จ.เชียงใหม

เด็กพิเศษ พัฒนาได เชียงใหม เขต ๑

๕๒

Page 55: เล่ม ๒-๕ ภาคเหนือตอนบน ปี ๕๓ สิงหาคม

(Task Analysis) เพ่ือฝกทักษะตางๆ โดยนำ

รายการทีไ่ดจากการสำรวจพฤตกิรรมมาวเิคราะห

แยกเปนขั้นตอนยอย เพ่ือสะดวกในการสอนเด็ก

แตละข้ัน ซึ่งจะทำใหเด็กรูสึกวาปฏิบัติไมยากเกิน

ไป สามารถทำไดสำเร็จ และไมตองใชเวลาใน

การฝกนานในแตละขั้นตอน เมื่อผูเขียนรูแลววา

จะตองนำวิธีการดังกลาวนี้มาพัฒนาเด็กๆ เหลา

นี้แลว ผูเขียนจึงคิดตออีกวา “การรวมมือกัน” เปนส่ิงสำคัญที่สุดในการที่จะพัฒนาใหประสบ

ความสำเร็จ ดังนั้น คำวา “เด็กพิเศษพัฒนาได ตองรวมแรงรวมใจ บานและโรงเรียน” จึงเกิดขึ้น ซึ่งสอดคลองกับพระราชบัญญัติการศึกษาแหง

ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตราท่ี ๒๔ (๕) ท่ีกำหนดไว

วา “การจัดกระบวนการเรียนรู ตองจัดใหเกิดขึ้นไดทุกเวลา ทุกสถานที่ มีการประสานความรวมมือกับบิดา มารดา ผูปกครอง และบุคคลในชมุชนทกุฝายเพือ่รวมพฒันาผูเรยีนตามศกัยภาพ” อันจะเปนการชวยเหลือใหเด็กเหลานี้ สามารถ

ดำรงชีวิตประจำวันไดอยางมีความสุข โดยไม

เปนภาระแกครอบครัวและสังคม

โดยผูเขียนไดคัดเลือกเด็กจำนวน ๓ คน

และสำรวจทักษะชีวิตประจำวันท่ีจะพัฒนา ซ่ึง

ไดแก การผูกเชือกรองเทา และการซักผา จาก

นั้นจึงทำการพัฒนาแผนกิจกรรมการฝกทักษะ

ชีวิตประจำวันข้ึนใหเปนแผนตนแบบ โดยใช

”หลักการวิเคราะหงาน” (Task Analysis) ตลอด

จนจัดอบรมวิธีการฝกแกพอแมและญาติของเด็ก

ทั้ง ๓ ครอบครัว จนเขามีความเขาใจและมี

ทักษะในการฝกเด็กตามหลักการวิเคราะหงานดัง

กลาว จากนั้นจึงตกลงวางแผนการฝกรวมกัน

ระหวางบานและโรงเรียน โดยพอแมและญาติ

ทำการฝกเด็กที่บาน สวนผูเขียนและครูพี่เลี้ยงฝก

เด็กในโรงเรียน ทำการนัดหมายเวลาเพื่อมาพูด

คุยแลกเปลี่ยนเรียนรูถึงปญหาและการแกไขดวย

กัน รวมท้ังการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นเปนระยะ

รวมระยะเวลาที่ฝกตามแบบฝกท่ีพัฒนาขึ้นทั้งสิ้น

เปนเวลา ๕ เดอืน ผลการฝกพบวา แผนกิจกรรม

การฝกท่ีพัฒนาขึ้น สามารถพัฒนาเด็กเหลานี้ให

มีทักษะชีวิตประจำวันคือ ผูกเชือกรองเทา และ

ซักผาได จนผานเกณฑที่กำหนด

ผลจากการทำกิจกรรมน้ี สามารถเรียก

รอยย้ิมท้ังน้ำตาของพอแมได ทุกคนมีกำลังใจดี

ขึ้น ดังคำพูดของพอแมคูหนึ่งที่สะทอนความ

นอยใจ หดหูกับชีวิตของลูกรักและตนเองกอน

เขารวมกิจกรรมวา “พอรูวา ลูกสาวเราเปนแบบนี้ (เด็กปญญาออน) พอกับแมนอนเอามือกายหนาผาก นอนไมหลับทุกคืน คิดวาหากลูกไมสามารถพัฒนาได ถาโตขึ้นลูกจะอยูกับใคร อยูอยางไร รูสึกกลัว กังวล คิดไปตางๆ นานา แลวก็กอดกันรองไหทุกคืน” แตวันนี้เมื่อสามารถฝก

ลูกใหซักผาได ซึ่งแตกอนเขาทำไมได พอกับแม

ก็มีความหวังวา ลูกตองทำกิจกรรมอื่นๆ ได โดย

พอกับแมสังเกตพบวา ลูกสาวชอบทำกับขาว

เพราะที่บานทำอาหารขาย ก็จะนำหลักการ

วิเคราะหงานไปฝกลูกสาวใหทำกับขาวงายๆ ให

ได อยางนอยลูกก็จะไดทำอาหารทานเองหรือทำ

เปนอาชพีได ทั้งน้ีพอกับแมขอใหผูเขียนชวยดูแล

การวางแผนการฝกและเปนท่ีปรึกษาการฝกให

ดวย

ขณะท่ีเด็กอีก ๒ คนสามารถทำกิจกรรมที่

ฝกไดตามเกณฑ ทำใหพอแมและญาติดีใจจน

น้ำตาไหล มองเห็นความหวังที่ลูกจะสามารถอยู

รวมกับสังคมไดโดยไมเปนภาระกับใครจนเกินไป

แตสิ่งที่พอแมยิ้มแกมปริคือ เด็กมีความสุขและมี

๕๓

Page 56: เล่ม ๒-๕ ภาคเหนือตอนบน ปี ๕๓ สิงหาคม

ความมั่นใจในตนเองมากขึ้น เชน กลาพูด กลา

แสดงออก โดยพบวาทักษะท่ีเขาทำได เขาจะ

ดีใจและขอเปนพี่เลี้ยงในการฝกใหกับเด็กที่มี

ความตองการพิเศษคนอื่นที่ยังไมไดรับการฝก

กิจกรรมนี้ นอกจากไดชวยเหลือเด็ก

โดยตรงแลว ยังไดชวยเหลือพอแมผูปกครองใหมี

เครือขายเพื่อชวยเหลือซึ่งกันและกัน มีเวทีไดพูด

คุยระบายปญหา ปรึกษาหารือกัน และใหกำลัง

ใจซึ่งกันและกัน นอกจากนั้นแลวยังทำใหครูและ

ผูที่เกี่ยวของมีความเขาใจเกี่ยวกับศักยภาพของ

เด็กที่มีความบกพรองทางสติปญญามากขึ้น โดย

เห็นความสำคัญของการพัฒนาเด็กที่ตองอาศัย

ความรวมมือจากผูเกี่ยวของหลายฝายโดยเฉพาะ

โรงเรียนและครอบครัวการยอมรับฟงความคิด

เห็นซึ่งกันและกัน การใหขอมูลแกกันอยางเปด

เผย การเปดโอกาสใหผูปกครองมีสวนรวม ใน

การกำหนดจุดมุงหมาย เนื้อหาในการเรียนรู

ปรับกิจกรรมและข้ันตอนการฝก การใชสื่อและ

เทคนิคตางๆ ในการฝก ตลอดจนวิธีการวัดและ

ประเมินผล รวมทั้งการใหแรงเสริมทางบวกท่ี

สอดคลองกับความตองการของเด็ก เปนราย

บุคคล จนสงผลใหเด็กเหลานี้มีพัฒนาการทุก

ดานดีขึ้นดังกลาว ทำใหผูปกครองเด็กเกิดความ

ตระหนักในการพัฒนาเด็กมากข้ึน ตลอดจนมี

ความภาคภูมิใจ และมีความรูสึกรวมเปนสวน

หนึ่ ง รวมท้ังยินดีในการเปนแกนนำในการ

ประสานความรวมมือระหวางโรงเรียนกับ

ครอบครัวในการพัฒนาเด็กดานอื่นๆ ตอไป

ผูเขียนขอขอบพระคุณทุกคนที่ใหความ

รวมมือในกิจกรรมน้ี แตอยากสรุปวา ความ

เมตตากรุณาที่มีให . . .ความหวงใยเวทนานา

สงสาร...ของขวัญดอกไม เงินใหทาน...อาจ

ตองการแตไมเทาความเขาใจ…ที่สุดของที่สุด

คือ “ความเขาใจเด็กจากสังคม” ที่พอแมของเด็ก

ที่มีความตองการพิเศษ...ตองการ…

๕๔

Page 57: เล่ม ๒-๕ ภาคเหนือตอนบน ปี ๕๓ สิงหาคม

๕๕

เชียงใหม เขต ๑

สมัยเปนสามเณร อาตมภาพเคยพลาดทา

ไปรวมในเหตุการณหนึ่ง ซึ่งเปนครั้งแรกและครั้ง

เดียวในชีวิต จนปจจุบันยังคงจดจำไดเปนอยางดี

พระอาทิตยเพิ่งจะลาลับขอบฟาไดไมนาน

โยมผูหญิงคนหนึ่งก็รองไหขึ้นมาบนศาลา และ

ขอใหหลวงพอไปดูอาการปวย หรือไปเย่ียมคน

ปวยทำนองนี้ ทั้งวัดมีกันอยูแค ๒ รูป เพื่อความ

สบายใจ ไมตองอยูวัดคนเดียว จึงจำใจไปกับ

หลวงพอ ไปถึงบานโยม หลวงพอหันมาบอก ช่ือ

เจาของบาน “บานโยม...” จึงเริ่มนึกไดทีละนอย

วาโยมทานนี้เปนคนมีอันจะกิน เรียกวาเศรษฐี

ทามกลางสังคมที่มีการแขงขันสูง ผูคนสวนใหญมุงแตแสวงหาผลประโยชน ใสตัว จะมองหาน้ำใจคนนับวายากทั้งหมดเพราะการถูกปลูกฝงใหเปนคนเห็นแกตัว โดยพฤติกรรมของผูใหญบางคน ที่มองวัตถุสำคัญกวาเร่ืองคุณธรรม ทำใหเยาวชนปจจุบันซึมซับเอาลักษณะนิสัยนี้ไวโดยไมรูตัว ทั้งที่จริงคุณคาของคนมิไดอยูที่วัตถุเงินทอง เพราะส่ิงเหลานี้ วันหนึ่งเราตองพลัดพรากจากมันอยางแนนอน คุณธรรมคือความเสียสละ มีน้ำใจ มีเมตตา ไมยึดมั่นถือมั่นตางหากคือสิ่งสำคัญที่สุด ดังเรื่องราวตอไปนี้

เงินปากผี

เรื่อง พระมหาอำนวย ปฺญาวชิโร

โรงเรียน ธรรมราชศึกษา

วัดพระสิงหวรมหาวิหาร

อ.เมือง จ.เชียงใหม

บานนอกก็ได พอเดินตามแสงตะเกียงเจาพายุ

ขึ้นไปบนเรือนชั้น ๒ บรรยากาศเหงาๆ เขาขั้น

หดหู ยังแววไดยินเสียงสะอื้นเบาๆ ของคนบน

เรือน ทำใหหดหูหนักยิ่งขึ้น คนแกคนหน่ึงนอน

อยูกลางบาน มีผาหมมาครึ่งตัว มือทั้งสองวาง

อยูบนอก

พอน่ังลง ไมกลาน่ังหางหลวงพอ นัยวา

เพื่อความปลอดภัย ตามองไปรอบๆ หูก็ฟงคำ

สนทนาของโยมกับหลวงพอ ไมกลาแมแตจะ

หายใจแรง พอสำรวจโดยรอบ ก็มาหยุดท่ีรางคุณ

ตาท่ีนอนสงบนิ่งอยู ฟงคำสนทนาระหวางหลวง

Page 58: เล่ม ๒-๕ ภาคเหนือตอนบน ปี ๕๓ สิงหาคม

๕๖

Page 59: เล่ม ๒-๕ ภาคเหนือตอนบน ปี ๕๓ สิงหาคม

พอกับโยม แมจะไมเขาใจนัก แตพอสรุปไดวา

คุณตากำลังจะเสียชีวิต “เพ่ิงเอากลับมาจากโรงพยาบาล หมอบอกใหทำตามความตองการของแก… แกตองการมาเสียท่ีบาน” ลูกสาวตา

รายงานใหหลวงพอทราบ

คุณตาอายุนาจะออนหรือแกกวาหลวงพอ

ไมเทาไร คอืนาจะราว ๗๐ ป เคยไดยนิกติตศิพัท

ของคุณตามาบาง แตไมสูจะเปนกิตติศัพทเชิง

บวก เปนเชิงลบมากกวา เขาวาแกเปนคน

ตระหน่ี เห็นแกตัว ใชคำวา งก จะเห็นภาพชัด

กวา เพราะอานิสงสความงกกระมัง ทำใหคุณตา

มีฐานะดี นึกไมออกวาเคยเห็นตาใสบาตรไหม?

นึกไมออกวาตาเคยไปวัดไหม? เพราะภาพนั้นไม

เคยปรากฏใหเห็น เรื่องที่จะใหสมบัติตนสักเทา

หนวดกุงหลุดไปอยูในมือคนอื่น เปนเรื่องท่ีเปน

ไปไมไดสำหรับตา ชีวิตตาเหมือนไดรับพรจาก

ฟาวา เกิดมาตองไดเทานั้น ตองเปนผูรับเทานั้น

การให การเสียสละ สำหรับตา มันคือคำสาปท่ี

ตองหลีกใหพน บอยครั้งที่ตองทะเลาะกับเพื่อน

บาน ที่บังอาจมายุงกับสมบัติตา ที่อาจหาญมา

รังแกลูกหลานตา สมบัติคือชีวติตา ลูกหลานคือ

ลมหายใจของตา ตามั่นใจวาทั้งสองสิ่งคือทุก

อยางที่มี และเปนคำตอบของชีวิต เปนผลสัม

ฤทธิ์ที่ เกิดมาเปนคน มีลูกหลานรอบขาง มี

สมบัติรอบกาย สุขกวานี้ เห็นจะไมมีอีกแลว

ขณะน่ังก็คิดไปเร่ือยเปอย ความกลัว

ความเกรง ความเกร็ง เร่ิมหมดไป มองดพูฤตกิรรม

ของทุกคนอยางใจจดใจจอ แมแตการขยับตัว

ของผูคนก็รูสึกวานาสนใจไปเสียทั้งหมด เวลา

ผานไปนับชั่วโมง มีการคุยกันบาง เงียบบาง

ภาพหนึ่งที่เพ่ิงเคยเห็นเปนครั้งแรก ยังนึกในใจวา

มีอยางนี้ดวยหรือ เพราะเปนภาพท่ีนาชื่นใจเปน

ที่สุด ลูกหลานตาไดนำเงินมาใหตา คนแรกเปน

ผูชาย ทราบวาเปนลูกคนหัวป (คนโต) นำเงิน

จำนวนหนึ่งเปนธนบัตรท้ังหมดมาแตะที่มือตา

แลวใสในกระเปาเสื้อ พรอมกระซิบอยางนาซึ้งใจ

วา “พอ…เงินอยูในกระเปา พอเอาไวใชนะ”

เสียงตาตอบออกจากลำคอวา “อื้อ…” ถาเปน

ประโยคเต็ม สันนิษฐานวาตาคงจะพูดวา “เออ พอรูแลว พอขอบใจนะลูก” ทำนองนี้ พอลูกคน

หวัปทำ ทัง้ลกูท้ังหลานตอควิยาวเหมือนกลวัตกขอบ

ไมไดคะแนนลูกหลานกตัญู ลูกสาวคนรองเอา

เงินใสกระเปาเสื้อตา บางคนเอาไวใตหมอน ใต

ที่นอน คงเพราะกระเปาเต็ม แตละคนบรรจง

ลอกคำพูดของพี่ชายคนโต “เงิน เอาไวใชนะพอ อยากใชอะไรก็ใช” ตาตอบไดดวยประโยคเดิมวา “อื้อ...” เดาใจวาตาคงปลาบปล้ืมกับจำนวน

สมบัติที่อยูรอบตัว คงปล้ืมปติกับความกตัญู

ของลูกหลาน สมแลวที่ตามั่นใจวา นี่คือสรณะ

อันเที่ยงแทของชีวิต

เวลาผานไปนานพอดู แตยังซึ้งน้ำใจและ

ความอดทนของหลวงพอ ถาไมเกรงใจวาเปน

บานโยม อาตมภาพคงจะตัดสินใจลมตัวลงนอน

เปนแน จูๆ หัวใจก็ถูกโจมตีดวยความตื่นเตนอีก

ครั้ง เมื่อตาสงสัญญาณไมปกติ หายใจดัง มือทั้ง

สองขางยกขึ้นเหมือนไขวควาหาอะไรสักอยาง มี

เสียงออกจากลำคอแตกลับไมเปนภาษาคน และ

ตายังมีอาการหลายอยาง ท่ีไมทราบจะถายทอด

เปนตัวอักษรอยางไรดี ทุกคนตกใจ อาตมภาพก็

พลอยตกใจไปดวย คนท่ีตั้งสติไดคือคุณลุงทาน

หนึ่ง ถามลูกตาวา ดอกไมที่ใหเตรียมไวอยูไหน

พอไดดอกไม ลุงรีบเอาไปใสที่มือตา แลวพูด

เตือนสติใหนึกถึงพระรัตนตรัย พรอมบอกวา

พระอยูนี่ๆ แลวยังหันหนามองมาทางหลวงพอ

ตาหายใจแรงมาก สิ้นระยะเวลาไมนานนัก ก็แน

นิ่งไป

เหมือนตกสูภวังค ทุกคนเงียบตามกันไป

หมด แลวเริ่มระล่ำระลักถามกันวา พอเปนยังไง

ตาเปนยังไง เสียงใครก็ไมทราบ พูดวา ไปแลว..

ไปแลว... พอเสียแลว... เทานั้นเอง เสียงรองไห

ดังระงมทั้งบาน ยาหมองยาดมถูกนำมาใชกันวุน

วายไปหมด เห็นภาพ แมแตผูหมผาเหลืองยังอด

น้ำตาซึมไปดวยไมได

พอเริ่มทำใจกันได เสียงรองไหเริ่มเบาลง

๕๗

Page 60: เล่ม ๒-๕ ภาคเหนือตอนบน ปี ๕๓ สิงหาคม

หรือเรียกวา “พิธีกรรมรองไห” ส้ินสุดลงสำหรับ

ผูรับบทลูกกตัญู และแลวภาพที่นาหดหูใจภาพ

หนึ่งก็ปรากฏแกสายตา ซึ่งใครเห็นคงจะตอง

สะทอนใจ อาจหวัเราะแบบสะเทอืนใจวา “หึๆ ๆ” ลูกหลานเขามาหารางพอ รางตา กอดบาง

กราบบาง บรรจงหอมท่ีแกมบาง รูสึกวาตาของ

ตาจะหลับไมสนิท คือลืมตาอยูจนลูกตองเอามือ

ลูบลงเพื่อปดเปลือกตาให

สิ่งที่ลูกหลานทุกคนไมลืม คือนำเงินกลับ

ไป แลวยังนับจำนวนดวยเพ่ือความถูกตอง ยังมี

เสียงตัดพอตอวากันใหไดยิน “พี่เอาไปเกิน... นั่นเงินฉันนะ” ที่ทำปากขมุบขมิบก็มีอีกหลายรายท่ี

ทำตาเขียวใหกันก็มี ท่ีแยงเงินจากมือกันเลยก็มี

มองดูหนาตาผูที่เพิ่งจะจากไปไมนาน สลับกับ

มองหนาลูกหลานตา ถาหากปลุกตาใหตื่นได

อยากจะฟองตาถึงพฤติกรรมท่ีลูกหลานทำตอตา

ไหนวารักตา ไหนวาหวงตา ไหนวาเงินน้ีใหตานะ

ตาจะใชอะไรก็ใชนะ แลวนี่มันคืออะไร ตาจะรับ

รูไหมหนอ หรือวิญญาณตากำลังร่ำไหอยูขางๆ

หยาดน้ำตาคงอาบแกม และเปนหยาดน้ำตาแหง

การสำนึกรูวา อะไรคือผลสัมฤทธ์ิของการเกิด

เปนคน อะไรคือผลตอบแทนของการเกิดมาเปน

คน อะไรคือที่พึ่งที่แทจริงของคน

วิญญาณตาคงพบคำตอบแลววา ไมใชลูก

หลาน ไมใชทรัพยสมบัติ แลวมันคือส่ิงใด... ที่

เปนผลสัมฤทธิ์ ผลตอบแทน ท่ีพึ่งอันแทจริงของ

การเกิดเปนคน เงินสักเฟองสักบาทท่ีเขาบรรจง

ใสในปากตา ไมรูวาคนขางหลัง จะอนุมัติใหนำ

ไปหรือไม กอนไฟทวมราง เขาอาจงางปากเอา

ออกมากอนก็ได น่ีแหละหนอ เงินปากผี คนตาย

ไมไดใช แตผูที่ควรใชคือคนเปน ใชคิด ใช

พิจารณา ใชเปนส่ือในการปลอยวาง และตองรีบ

ใช กอนที่เหรียญนั้นจะตกมาอยูในปากของเรา

๕๘

Page 61: เล่ม ๒-๕ ภาคเหนือตอนบน ปี ๕๓ สิงหาคม
Page 62: เล่ม ๒-๕ ภาคเหนือตอนบน ปี ๕๓ สิงหาคม

๖๐

พระพรหมคุณาภรณ (ป.อ.ประยุตฺโต)

รากฐาน ปราชญแผนดิน

เมื่อรวมแปดสิบปกอน ณ บานเลขที่ ๔๙

อำเภอศรีประจันต จังหวัดสุพรรณบุรี เปนที่ตั้ง

รานคาผาจีนของสองสามีภรรยาที่รูจักกันทั่วไปวา

ทานมหาสำราญ กับแมชุนกี บานหลังน้ีเปนชุมชน

ของตลาดใต ตลาดเล็กๆ ท่ีประกอบไปดวยหมู

เรือนแถวไมสองช้ันบุราณเรียงเปนแนวยาวขนาน

ไปกับแมน้ำทาจีน รานคาในหองแถวอันแสน

ธรรมดานี้เองเปนที่ถือกำเนิดของเด็กชายเล็กๆ

คนหนึ่ง เมื่อวันพฤหัสบดีที่ ๑๒ มกราคม ๒๔๘๑

เด็กชายบอบบางขี้โรค แตมีสติปญญาเปน

เลิศผูน้ี เติบใหญข้ึนมาเพ่ือเปนปราชญแทคนสำคัญ

แหงยุคสมัย

แมวัดบานกรางจะอยูหางเพียงชั่วพายเรือ

ขามแมน้ำกั้น หากแตสำหรับเด็กชายผูออนนอม

และเปนทีร่กั เสนทางแหงชวีติใหมถกูกำหนดไวแลว

ใหไกลจนไมอาจแมแตจะถวิลหาตักอุน เสนทางสู

พรหมจรรยอันประเสริฐ

มหาสำราญ อารยางกูร เจาของรานคาผาจนี

เกิดที่ดอนเจดีย เคยบวชเรียนแลวไปจำพรรษาอยู

ที่วัดเบญจมบพิตรที่กรุงเทพฯ สอบไดนักธรรมโท

และพยายามสอบจนไดเปรียญ ๔ ประโยค แต

แลวมีเหตุใหตัดสินใจ ดวยไดรับมอบหมายใหทำ

หนาที่เลขานุการสวนตัวของพระช้ันผูใหญ แต

ทานมหาฯไมตองการยุงเกี่ยวกับผูคนหลายฝาย

มากหนา จึงลาสิกขาบทแลวกลับมาสุพรรณบุรี

คัดยอและเรียบเรียงจาก

นิตยสาร ฅ.คน ปที่ ๔ ฉบับที่ ๒ (๓๘) ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๑

บานเกิด ต้ังตนชีวิตใหมแตงงานกับสาวลูกจีน

ชื่อ แมชุนกี เปดรานคาขายที่ตลาดใต ริมแมน้ำ

ทาจีน ท่ีอำเภอศรีประจันต

มหาสำราญเปนคนซื่อตรง เห็นความ

สำคัญของการศึกษาเลาเรียน อีกทั้งผานการบวช

เรียนจนไดนักธรรมจึงเปนที่เคารพนับถือของผูคน

ในแถบน้ัน

รานใบรตันาคารเปนรานคหูาเดียวจำหนาย

ผาไหม ผาทอ กางเกงแพร กางเกงจนี ทีก่อตัง้ขึน้

เปนที่รูจักเชื่อถือของลูกคา จนเปนที่พูดติดปาก

Page 63: เล่ม ๒-๕ ภาคเหนือตอนบน ปี ๕๓ สิงหาคม

๖๑

กันวา “ซื้อผาไหม กางเกงแพร ตองไปรานแมกี-ทานมหาฯ” มหาสำราญเปนคนชอบริเริ่มสรางสรรค

ไมยอมอยูเฉย หลังจากปดกิจการจำหนายผาแลว

ตอมาไมนานไดใชบานคาขายเปดเปนโรงเรียน

มัธยมขึ้นเปนแหงแรกของอำเภอศรีประจันต ดวย

เหตุผลที่วาตัวทานเปนผูมีวิชาความรู ผานการ

บวชเรียนมาแลว และสังเกตพบวาท่ีอำเภอ

ศรีประจันตในครั้งกระโนนการคมนาคมยังไม

สะดวกเหมือนปจจุบัน การเดินทางตองอาศัยเรือ

เยี่ยมบานเจาคุณ

ชาตภิมูสิถาน ป. อ. ปยตุโฺต

อ.ศรีประจันต จ.สุพรรณบุรี

เมลแดง หากจะไปกรงุเทพฯตองใชเวลารวม ๒ วัน

หรือเดินทางไปตัวเมืองสุพรรณบุรีก็ใชเวลานาหลาย

ช่ัวโมง เด็กท่ีจบช้ันประถมส่ีนอยคนนักจะมีโอกาส

ไดเรียนตอ

โรงเรียนมัธยมเล็กๆ ช่ือ บำรุงวุฒิราษฎร เปดขึน้กลางตลาด มีวตัถปุระสงคเพือ่ใหเดก็ๆ ได

มีโอกาสเรียนในระดับมัธยมเปนสำคัญ เปดสอน

มาไดไมกี่ป การคมนาคมก็สะดวกขึ้น ประกอบ

กับมีโรงเรียนมัธยมแหงใหมมาเปด โรงเรียนของ

มหาสำราญจึงปดกิจการลง เพราะหมดหวงวา

Page 64: เล่ม ๒-๕ ภาคเหนือตอนบน ปี ๕๓ สิงหาคม

๖๒

เด็กๆ จะไมมีโอกาสไดเรียนตอ

ภายหลังจากเลิกกิจการไปแลว ทานมหาฯ

เพ่ิงมารูวานอกเหนือจากโตะ เกาอี้ กระดานดำ

ที่ตกคางอยูภายในเรือนแถวท่ีปดตัวเองไป ไดมี

อีกสิ่งหนึ่งที่เจริญงอกงามเกินความคาดหมาย ก็

คือ จิตวิญญาณแหงครู ครูแทๆ ที่ปรากฏในตัว

ลูกชายคนท่ีหก...

ความสามารถ นอกเหนือไปจากการอบรมสั่งสอน

ในครอบครัวในเรื่องความซ่ือตรง ซึ่งทานเล็งเห็น

วาเปนหัวใจสำคัญของการประกอบการคา

ลำพังกิจการรานคาผาเล็กๆ ไมเพียงพอที่

จะเลี้ยงดูสงเสียลูกชายวัยกำลังเรียนถึงหาคน

ชีวิตของทานมหาฯ จึงริเริ่มทำกิจการอื่นๆ อยู

เสมอ ท้ังกิจการโรงสีที่รวมหุนกับญาติพี่นอง จน

เปนโรงสีที่ไดรับความเชื่อถืออยางย่ิงในยุคนั้น

เน่ืองจากทานมหาฯ ปฏิเสธระบบการชักเปอรเซ็นต

เพราะถือวาตนเคยบวชเรียนมาแลว มีความรูสูง

ไมควรเอาเปรียบชาวนา นอกจากไมเอาเปรียบยัง

พรอมจะชวยเหลือเกื้อกูลผูอื่น

นอกจากนี้ยังใชพื้นที่ของโรงสีเปดโรงเรียน

สอนตัดเส้ือสตรีขึ้น เพราะเห็นวาภรรยามีความ

สามารถทางการตัดเย็บ ท้ังไดเชิญครูจากโรงเรียน

สอนตัดเส้ือจากกรุงเทพฯมาสอน และเปนตัวแทน

จำหนายจักรเย็บผาของบริษัท หลุยส ที เลียวโนเวนส

ตอมาในชวงหลังกิจการโรงสีไดเปลี่ยนมือ

ไปอยูในความดูแลของญาติพี่นองฝายทานมหาฯ

ตัวทานจึงหันมาทำโรงถาน และรับเหมาขนถม

ดินลูกรัง

หลายตอหลายคร้ังที่ครอบครัวเผชิญกับ

ปญหาตางๆ อันเนื่องมาจากความเจ็บปวยของ

ทานมหาฯ เอง หรือคุณแมชุนกี ที่สงผลกระทบ

ถึงรายได แตพื้นฐานของครอบครัวที่รักใคร

กลมเกลียวกัน ประกอบกับคุณธรรมหลายขอที่

เด็กๆ ไดรับการพร่ำสอน อบรม รวมถึงความ

อดทนเขมแข็งของบุพการี ทำใหสามารถผานพน

วิกฤตนั้นมาไดเสมอ

ตลอดชีวิตแมจะตองแบกภาระในการหา

เลี้ยงครอบครัว แตทานมหาฯ ก็มิไดละเลยในการ

อบรมสั่งสอนลูกใหดำเนินชีวิตไปบนครรลองที่ถูก

ที่ควร

ส่ิงน้ีกระมังที่เปนพื้นฐานอันสำคัญยิ่ง ที่จะ

ทำใหเด็กๆ เติบโตข้ึนมาเปนคนดี

เมื่อ เริ่มตนชีวิตใหมกับทานมหาหนุม

แมชุนกี หญิงสาวลูกจีนผูใจเย็น และเกงดานการ

ตัดเย็บ งานฝมือตางๆ ก็ไดกลายเปนศูนยกลาง

แหงความรักความอาทรของครอบครัว โดยเฉพาะ

ในหมูลูกๆ ท้ังหมด เนื่องจากบุคลิกภาพเปน

คนใจดี ขยันอยางย่ิงยวด ทั้งยังอดทนใหความ

สำคัญแกคนอ่ืนกอนตนเอง ซ่ึงคุณสมบัติเหลานี้

ลวนถายทอดมายังลูกชายคนเล็กที่แมรักอยางยิ่ง

และบางที ดวยคุณสมบัติเหลานี้เองได

กลายเปนสิ่งท่ีสวางเรือง ประดับเหนือแกวปญญา

อันสูงยอดแหงปราชญใหเพียบพรอมในกาลตอมา

ครอบครวัอารยางกรู เปนครอบครวัคนช้ันกลาง

ทำธุรกิจการคา แตฐานะไมไดมั่งคั่ง เพราะมีคา

ใชจายมาก อันเนือ่งมาจากทานมหาฯมลีกูหลายคน

และใหความสำคัญอยางยิ่งตอการศึกษาเลาเรียน

พยายามสงเสียลูกชายใหไดเรียนสูงๆ ไปตามกำลัง

Page 65: เล่ม ๒-๕ ภาคเหนือตอนบน ปี ๕๓ สิงหาคม

๖๓

บทความจากกองบรรณาธิการ

ทายเลม

จากกองบรรณาธิการกลางสถาบันอาศรมศลิป

เรารอยเรียงใจความสำคัญของเรื่องเลาที่มาจาก

ตนฉบับที่ไดรับการคัดเลือกแลวจาก ๘ ภูมิภาค

ทั่วประเทศ ส่ิงหนึ่งท่ีเราเห็นในความเปนโรงเรียน

วิถีพุทธ คือ ในน้ัน มีครูท่ีมีความรัก มีความหวงใย

ในเด็ก มีเด็กที่ตองการความรัก ตองการเรียนรู

มีชุมชนรอบโรงเรียนท่ีเปนสภาพแวดลอมการเรียนรู

ใหแกเด็กครู และชุมชน อยางแยกออกจากกัน

ไมได สัมพนัธภาพทีก่อตวัขึน้นัน้ หยัง่ราก ผลดิอก

ออกผล ผานกิจกรรมในรูปแบบตางๆ และออก

มาจากจิตใจที่ตองการพัฒนามนุษย โดยใช

เครื่องมือเดียวกันท่ีเรียกวา “การศึกษา” การศึกษา...เรื่องเลามากมายในเลม ท่ี

ทำใหเราไดเหน็แลววาความเรยีบงายของวถิไีทยนัน้

ไปกันดวยดีกับการศึกษา มันงดงามและเปยมดวย

พลังความผูกผัน จากครูสูเด็ก จากเด็กสูครอบครัว

จากครอบครัวสูชุมชม และสายใยความผูกผันนี้

ก็ถักรอยแผขยายออกไป จนทำใหเรารับรูวาทุก

คนมีเปาหมายเหมือนกัน คือ ความสุข ความสุข

ที่จะเกิดขึ้นในโรงเรียน ความสุขที่จะเกิดข้ึนใน

ครอบครัว ความสุขที่จะเกิดขึ้นในชุมชน และมัน

คงไมดีเลยถา จะมีใครสักคนในชุมชน ในครอบครัว

ในโรงเรียนหรือแมแตในหองเรียนไมมีความสุข...

* สามารถหาชมไดผานทางเว็ปไซตโดยพิมพ “Children full of life” Director by Noboru Kaetsu

หรือทางเวปไซตอาศรมศิลป www.arsomsilp.ac.th

เราเช่ือวาขณะนี ้ ทกุทานกำลงัสรางสมัพนัธ

แหงความสุขและความดี เหมือนดังเชนบทความ

ที่ทุกทานสงมา ที่ไดทำหนาอยางดี ทำใหเราได

เห็นวาการทำความดีนั้นเปนรากฐากสูความสุข

เรายังรูสึกอบอุนและดีใจท่ีไดรูวากำลังมีใครทำอะไร

อยูทีไ่หนบาง และทัง้หมดนัน้มุงไปเพือ่การศกึษาทีจ่ะ

นำเราไปสูความสุขเทาทีม่นุษยพึง่มตีามหลกัวถิพีทุธ

ทายน้ีทางกองบรรณาธิการกลางสถาบัน

อาศรมศิลป อยากขอแนะนำหนังสารคดีเร่ืองเย่ียม

จากญี่ปุน “Children full of life”* สารคดี

เรื่องนี้ไดการยอมรับดวยรางวัลชนะเลิศมาแลว

เรือ่งราวน้ันเกดิขึน้ทีโ่รงเรยีนประถมในเขตคานาซาวา

ทางตะวันตกเฉียงเหนือของโตเกียว ครูโทชิโร

คานามูริ ครูประจำช้ันของนักเรียน ป. ๔ ไดแสดง

ใหเห็นถึงวิธีการเรียนการสอนเก่ียวกับเรื่องความ

เมตตาบนความเขาใจในธรรมชาติของเด็ก

ครูกานามูริ ใชวิธีใหนักเรียนของเขาเขียนสมุด

บันทึกและอานใหเพื่อนฟงเปนประจำ ซ่ึงทำให

เด็กๆ ของเขาไดเรียนรูและเติบโต จนเขาใจถึง

ความสำคัญของการใสใจในเพื่อน ความหมาย

ของการมีชีวิต และหนทางที่จะสรางความสุข น้ี

อาจเปนอีกตัวอยางเรื่องราว ท่ีสรางวิธีการและ

พลังใจใหกับเราได ขอขอบคุณ

Page 66: เล่ม ๒-๕ ภาคเหนือตอนบน ปี ๕๓ สิงหาคม

๖๔

ภาคเหนือตอนบน โรงเรียนรองเคาะวิทยา ลำปาง เขต ๓

โรงเรียนบานหวยตม ลำพูนเขต ๒

พระอธิการหนุย ฐิติสัมปนโน พะเยา เขต ๓

โรงเรียนบานดอนสบเปอ นาน เขต ๓

โรงเรียนบานหวยกาน แพร เขต ๓

โรงเรียนบานวนาหลวง แมฮองสอน เขต ๑ รุจิรา เตชะนันท นาน เขต ๒ ศรีนวย สำอางศรี ลำปาง เขต ๒ โรงเรียนบานขอบดง เชียงใหม เขต ๓

โรงเรียนบานหลายฝาง เชียงใหม เขต ๓

โรงเรียนประชาราชวิทยา ลำปาง เขต ๑ โรงเรียนบานจอมแจง แมฮองสอน เขต ๓

โรงเรียนบานวังลุง (เพชรประชานุเคราะห) แมฮองสอน เขต ๒

โรงเรียนดงเจนวิทยาคม พะเยา เขต ๑

โรงเรียนปาตาลบานธิพิทยา ลำพูน เขต ๓

โรงเรียนธรรมราชศึกษา เชียงใหม เขต ๑ โรงเรียนวัดชางเคี่ยน เชียงใหม เขต ๑ ภาคเหนือตอนลาง โรงเรียนนวมินทราชูทิศ มัชฌิม นครสวรรค เขต ๑ โรงเรียนบานหนองโมก กำแพงเพชร เขต ๒

โรงเรียนวัดวังมะเดื่อ พิจิตร เขต ๑

โรงเรียนบานหวยยศ อุตรดิตถ ๒ โรงเรียนบานน้ำกอ เพชรบูรณ ๒

โรงเรียนอนุบาลบรรพตพิสัย นครสวรรค เขต ๒ โรงเรียนวัดหวยเรียงใต พิจิตร เขต ๒

ประสมพร ประจันตะเสน พิษณุโลก เขต ๑

โรงเรียนบานหวยคอม อุตรดิตถ เขต ๒ โรงเรียนวัดปากหวยไมงาม ตาก เขต ๑ โรงเรียนวัดประชาสรรค นครสวรรค เขต ๓

โรงเรียนบานเขาวง อุทัยธานี เขต ๒ โรงเรียนบานยาวี-หวยโปง เพชรบูรณ เขต ๑

โรงเรียนจำรญูชยัพฤกษราษฎรวทิยา กำแพงเพชร เขต ๑ โรงเรียนวัดเสนาสน พิษณุโลก เขต ๓

โรงเรียนชุมชนไผลอมวิทยา อุตรดิตถ ๑

ภาคอีสานตอนบน โรงเรียนสามหมอโนนทัน ขอนแกน เขต ๒ โรงเรียนอนุบาลเลย เลย เขต ๑ โรงเรียนบานกอกโนนแต ขอนแกน เขต ๓

พิษณุ สิงหสถิตย เลย เขต ๓

โรงเรียนบานดอนกลาง นครพนม เขต ๒

โรงเรียนบานเพีย สกลนคร เขต ๓

โรงเรียนบานหนองผือ หนองคาย เขต ๑ โรงเรียนบานบอพนา หนองคาย เขต ๓

โรงเรียนบานโคกมุนเหลาสวรรค อุดรธานี เขต ๓

โรงเรียนบานกระนวนซำสูง ขอนแกน เขต ๔

โรงเรยีนบานโนนนกหอ (เพง็แสนวทิยา) อดุรธาน ีเขต ๑ โรงเรียนกุงแกววิทยาคาร หนองบัวลำภู เขต ๑ โรงเรียน บานหนองแรง ขอนแกน เขต ๓

โรงเรียนผาเทิบวิทยา มุกดาหาร โรงเรียนเรณูนครวิทยานุกูล นครพนม เขต ๑

ภาคอีสานตอนลาง โรงเรียนบานสรางมวงสมเสี้ยว อุบลราชธานี เขต ๕

โรงเรียนบานทมอ (เดื่อราษฎรบำรุง) สุรินทร เขต ๓

โรงเรียนหนองพอกวิทยา รอยเอ็ด เขต ๓

โรงเรียนบานหัวชางโคกมวง มหาสารคาม เขต ๒ จำรูญศักดิ์ ศรีประทุม กาฬสินธุ ๑

โรงเรียนบานขามเรียน มหาสารคามเขต ๒ โรงเรียนบานหนองแสง มหาสารคาม เขต ๓

โรงเรียนตั้งใจวิทยาคม สุรินทร เขต ๑ โรงเรียนรอยเอ็ดวิทยาลัย รอยเอ็ด เขต ๑ โรงเรียนบานดอนกลอย อุบลราชธานี เขต ๑ โรงเรียนศรีตระกูลวิทยา ศรีสะเกษ เขต๓

โรงเรียนบานทุงแต ยโสธรเขต ๑ โรงเรียนเมืองใหมสุวรรณภูมิ รอยเอ็ด เขต ๒ โรงเรียนบานแก ศรีสะเกษ เขต ๔

โรงเรียนบานโคกลาม มหาสารคาม เขต ๑ โรงเรียนขุมคำวิทยาคาร อุบลราชธานี เขต ๒ โรงเรียนบานนาแมด อุบลราชธานี เขต ๒ โรงเรียนฆองชัยวิทยาคม กาฬสินธุ เขต ๒

โรงเรียนบานน้ำคำใหญ ยโสธร เขต ๑

ภาคประตูอีสาน โรงเรียนนางรองพิทยาคม บุรีรัมย เขต ๓

โรงเรียนบานหนองศาลาปาชาด ชัยภูมิเขต ๒ โรงเรียนบานดอดถั่วแปปพัฒนา นครราชสีมา เขต ๖ โรงเรียนบานคลองตาหมื่น ปราจีนบุรี เขต ๒ โรงเรียนบานซับเจริญสุข ชัยภูมิ เขต ๓

โรงเรียนปญญาประทีป นครราชสีมา เขต ๔

โรงเรียนบานคลองทราย สระแกว เขต ๑ โรงเรียนสุนทรวัฒนา ชัยภูมิ เขต ๑ โรงเรียนบานดาน (ราษฎรบำรุง) สระแกว เขต ๑ โรงเรียนบานหนองมะคา ลพบุรี เขต ๒

โรงเรียนบานบุวิทยาสรรค บุรีรัมย เขต ๒ โรงเรียนโคกลำพานวิทยา ลพบุรี เขต ๑

โรงเรียนหนาพระลาน (พิบูลสงเคราะห) สะบุรี เขต ๑ โรงเรียนอุดมอักษรพิทยาคม บุรีรัมย เขต ๔

ภาคกลาง-ตะวันออก โรงเรียนอนุราชประสิทธิ์ นนทบุรี เขต ๑ โรงเรียนมโนรม ชลบุรี เขต ๓

โรงเรียนสังวาลยวิทย ๖ จันทบุรี เขต ๒ โรงเรียนชุมชนวัดปราสาท อางทอง โรงเรียนบานยางเอน ระยอง เขต ๒

สำนักศึกษานิเทศก นนทบุรี เขต ๒ โรงเรียนการทำมาหากินวัดโพธิ์เฉลิมรักษ ฉะเชิงเทรา เขต ๑

โรงเรยีนวัดชมุพลนกิายาราม พระนครศรีอยธุยา เขต ๒ โรงเรียนวัดแสนภุมราวาส ฉะเชิงเทรา เขต ๒ วัดใหญ สมุทรปราการ โรงเรียนบานบางจาก สมุทรปราการ เขต ๑ โรงเรียนวัดถั่วทอง ปทุมธานี เขต ๑ โรงเรียนวัดนาพราว ชลบุรี เขต ๓

โรงเรียนเปรมประชากร ปทุมธานี เขต ๑ โรงเรยีนวัดหนองแขม กรุงเทพมหานคร ๓

ภาคตะวันตก-ใตตอนบนโรงเรียนบานราชกรูด ระนอง โรงเรียนสามัคคีอนุสรณ สุราษฎรธานี เขต ๓

โรงเรียนบานตรอกสะเดา กาญจนบุรี เขต ๔

โรงเรียนบานสะเตย กาญจนบุรี เขต ๔

โรงเรียนดานสิงขร ประจวบคีรีขันธ เขต ๑ ปราณี โสภณ เพชรบุรี เขต ๒

โรงเรียนวัดพราว สุพรรณบุรี เขต ๑

โรงเรียนวชิรธรรมโศภิต เพชรบุรี เขต ๑

โรงเรียนธงชัยวิทยา ประจวบคีรีขันธ เขต ๑ โรงเรียนคงคาราม เพชรบุรี เขต ๑

โรงเรียนสระยายโสมวิทยา สุพรรณบุรี เขต ๒

โรงเรียนบานพุมวงราษฎรบำรุง ราชบุรี เขต ๑ โรงเรียนวัดสระพังลาน สุพรรณบุรี เขต ๒

โรงเรียนวัดชองลาภ ราชบุร ีเขต ๑ โรงเรียนบานหนองตาเย็น ประจวบคีรีขันธ เขต ๒

ภาคใตตอนลาง พินสร ภูเก็ต โรงเรียนตนบากราษฎรบำรุง ตรัง เขต ๑ โรงเรียนบานเจะบิลัง สตูล โรงเรียนวัดโรงเหล็ก นครศรีธรรมราช เขต ๔

โรงเรียนบานจำปา นครศรีธรรมราช เขต ๒ โรงเรียนวัดรังสิตาวาส ยะลา เขต ๑ โรงเรียนบานตอหลัง นราธิวาส เขต ๒ โรงเรียนบานชะอวด นครศรีธรรมราช เขต ๓

โรงเรียนไทยรัฐวิทยา ๕๒ (ชุมชนบานตนไพ) ปตตานี เขต ๒

โรงเรียนสตรีภูเก็ต ภูเก็ต โรงเรียนยะหาศิรยานุกูล ยะลา ๒ โรงเรียนบานบอทราย พัทลุง เขต ๑

โรงเรียนวัดชองเขา สงขลา เขต ๓

โรงเรียนบานยุโป (รุงวิทยา) ยะลา เขต ๑ โรงเรียนวัดควนกอ นครศรีธรรมราช เขต ๓

โรงเรียนวัดทรายขาว สงขลา เขต ๑

รายชื่อโรงเรียนในวารสารวิถีพุทธฉฉับบที่ ๒

Page 67: เล่ม ๒-๕ ภาคเหนือตอนบน ปี ๕๓ สิงหาคม
Page 68: เล่ม ๒-๕ ภาคเหนือตอนบน ปี ๕๓ สิงหาคม

สนใจอานวารสารของภูมิภาคอ่ืนไดที่เว็ปไซตhttp://inno.obec.go.th

ทานเจาคุณฯ พูดเสมอวาหากจะพัฒนาเด็กไทย ตองสอนใหมี

ความใฝรู เม่ือรูแลว แตยังไมชัด ก็มีความใฝใจท่ีจะหาความรูตอไป

เพ่ือใหรูชัดเจน แจมแจง อยางถึงท่ีสุด ถาเปนอยางน้ีไดเด็กน้ันจะมี

ความสุขในการหาความรูในการเลาเรียนศึกษาเอง โดยไมตองใช

ความสุขจัดตั้งอยางที่เปนอยู ความสุขจัดตั้งก็คือ ความสุขที่ผูใหญ

คอยจัดสรร ปรุงแตง กระบวนการเลาเรียนศึกษาใหมันสนุก แตไม

รูตัววาไมไดปลุก “ปจจัยภายใน” ใหเด็กมีความสุขดวยตัวเอง

ตัวผูใหญเหมือนผูจัดสรร ใหบริการใหเด็กมีความสุข สนุกสนาน

พอทำอยางน้ีเด็กจะรูสึกสนุก แตโลกท่ีเปนจริงไมมีคนคอยมาจัดสรร

หรือคอยใหบริการ อยางนั้นเด็กจึงตองมีความสามารถที่จะอยูได

ในโลกท่ีเปนจริงได อยางมีความสุขและอยางดีท่ีสุดดวย ทำอยางไร

เด็กจะมีความสุขได ก็ตองสรางปจจัยภายในใหเขาสามารถมี

ความสุขไดดวยตนเอง ไมตองอาศัยความสุขจัดตั้ง ส่ิงสำคัญก็คือ

ทำอยางไรจะพัฒนาใหเด็กเกิดมีปจจัยภายในท่ีจะใหเด็กมีความสุข

ในการเรียนรูจนกระท่ังไมตองอาศัยครู หรือพอแมมาคอยชวยเหลือ

เด็กก็มีความสุขในการเรียนรูไดดวยตัวของตัวเอง

จากหนังสือวิถีแหงปราชญ : ปฏิปทา จริยาวัตร ของพระพรหมคุณาภรณ (ป.อ. ปยุตฺโต)

บทท่ี ๖๐

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน (สพฐ.)