12
วรรณภิงคาร สุ จดหมายข่าวเพื่อการประชาสัมพันธ์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ปีที่ 8 ฉบับที่ 21 กุมภาพันธ์ - มีนาคม 2555 ISSN : 1906-9014 (สงวนลิขสิทธิ์) 3 นานาทรรศนะ หน้า วิวัฒนาการของการอ่านวรรณกรรม นานาสาระทางวิชาการ หน้า เด็กชายในชุดนอนลายทาง 6 เก็บมาฝาก หน้า ไปแข่งกลอนสด 8 วิจัยชวนคิด หน้า งานวิจัยต่างสาขากับแรงบันดาลใจ ของนักวิจัยวรรณคดี 9 กระดานศิษย์เก่า หน้า น้ำใจ “มนุษย์”...น้ำใจไม่สุดสิ้น 10 http://historymedren.about.com ขอบคุณภาพประกอบจาก

จดหมายข่าวสุวรรณภิงคาร ฉบับ ก.พ.-มี.ค.55

Embed Size (px)

DESCRIPTION

จดหมายข่าวสุวรรณภิงคาร ฉบับ ก.พ.-มี.ค.55

Citation preview

Page 1: จดหมายข่าวสุวรรณภิงคาร ฉบับ ก.พ.-มี.ค.55

วรรณภิงคารสุจดหมายข่าวเพื่อการประชาสัมพันธ์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

ปีที่ 8 ฉบับที่ 21 กุมภาพันธ์ - มีนาคม 2555ISSN : 1906-9014 (สงวนลิขสิทธิ์)

มหาว ิทยาลัยนเรศวร

คณ

ะมนุษยศาสตร์

3นานาทรรศนะ หน้าวิวัฒนาการของการอ่านวรรณกรรม

นานาสาระทางวิชาการ หน้า เด็กชายในชุดนอนลายทาง

6

เก็บมาฝาก หน้าไปแข่งกลอนสด

8

วิจัยชวนคิด หน้างานวิจัยต่างสาขากับแรงบันดาลใจ

ของนักวิจัยวรรณคดี

9

กระดานศิษย์เก่า หน้าน้ำใจ “มนุษย์”...น้ำใจไม่สุดสิ้น

10

http://historymedren.about.comขอบคุณภาพประกอบจาก

Page 2: จดหมายข่าวสุวรรณภิงคาร ฉบับ ก.พ.-มี.ค.55

ข้อมูลผู้เขียน

1. อ.สถิตย์ ลีลาถาวรชัย

อาจารย์ประจำภาควิชาภาษาตะวันตก

คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

e-mail: [email protected]

2. รศ.น.ท.ดร.วัฒนชัย หมั่นยิ่ง

อาจารย์ประจำภาควิชาภาษาและคติชนวิทยา

คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

e-mail: [email protected]

3. ผศ.นัทธนัย ประสานนาม

อาจารย์ประจำภาควิชาวรรณคดี

คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

e-mail: [email protected]

4. สุรีย์พร ชุมแสง

นักประชาสัมพันธ์ คณะมนุษยศาสตร์

มหาวิทยาลัยนเรศวร

e-mail: [email protected]

ที่ปรึกษาคณบดีคณะมนุษยศาสตร์

รองคณบดีฝ่ายบริหาร

รองคณบดีฝ่ายวิชาการ

รองคณบดีฝ่ายวิจัยและวิเทศสัมพันธ์

รองคณบดีฝ่ายประกันคุณภาพ

รองคณบดีฝ่ายกิจการนิสิต

บรรณาธิการดร.อรอุษา สุวรรณประเทศ

กองบรรณาธิการดร.ชมนาด อินทจามรรักษ์

อ.วราภรณ์ เชิดชู

อ.สถิตย์ ลีลาถาวรชัย

อ.วทัญญ ฟักทอง

ว่าที่ร้อยตรีมาโนชญ์ สองแกะ

ศิลปกรรมณัฐวุฒิ นลินรัตนกุล

เลขานุการสุรีย์พร ชุมแสง

งานประชาสัมพันธ์ :คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

อ.เมือง จ.พิษณุโลก 65000

โทรศัพท์ 0-5596-2035

http://www.human.nu.ac.th

บทบรรณาธิการ

ดร.อรอุษา สุวรรณประเทศ

บรรณาธิการ

[email protected]

ความหลากหลายขององค์ความร ู ้ทางว ิชาการด้านมนุษยศาสตร ์”

กองบรรณาธิการของเราก็ได้นำเอาวิสัยทัศน์นี ้ มาเป็นแนวนโยบาย

ในการทำงานตลอดมา เพื่อสะท้อนให้เห็นถึง “ความหลากหลาย”

อันจะเป็นส่วนเติมเต็มให้เกิด “ความสมบูรณ์” ในความเป็นมนุษยศาสตร์

ท่านผู้อ่านจึงสามารถมองเห็นพัฒนาการของ “สุวรรณภิงคาร”

ที่พยายามคัดสรรแง่มุมต่างๆ ของความเป็นมนุษยศาสตร์ มานำเสนอ

ต่อท่าน ไม่ว่าจะเป็นประเด็นเรื่องมนุษยศาสตร์กับการวิจัย มนุษยศาสตร์

กับประชาคมอาเซียน มนุษยศาสตร์กับภาษาและหนังสือ มนุษยศาสตร์

กับเพลงและดนตรี และล่าสุดฉบับนี้นำเสนอในประเด็นมนุษยศาสตร์

กับวรรณคดี (Literature)

ในเล่ม ท่านจะได้เห็นทรรศนะทั้งเชิงบวกและเชิงลบต่อกิจกรรม

ทางวรรณกรรมในแต่ละยุคสมัย ตั้งแต่จุดเริ่มต้นที่ยังเป็นมุขปาฐะเรื่อยมา

จนถึงวรรณกรรมลายลักษณ์ จากคอลัมน์นานาทรรศนะ ที่ อ.สถิตย์

ลีลาถาวรชัย ได้ใช้ความพากเพียรไปสืบค้นมานำเสนอต่อท่านผู้อ่าน

นานาสาระทางวิชาการ รศ.น.ท.ดร.วัฒนชัย หมั่นยิ่ง แนะนำ

ให้อ่านวรรณกรรมเยาวชนเรื่อง “เด็กชายในชุดนอนลายทาง” ซึ่งเป็น

หนังสือที่ติดอันดับหนึ่งในชาร์ตหนังสือไอร์แลนด์นานถึง 57 สัปดาห์

ได้รับรางวัลหนังสือยอดเยี่ยมแห่งปี และยังได้รับการสร้างเป็นภาพยนตร์

ในปี ค.ศ. 2008

เก็บมาฝาก นำเสนอผลงานบทดอกสร้อย สักวา และกลอนสุภาพ

ของทีมนิสิตภาควิชาภาษาและคติชนวิทยา ที่ได้รับรางวัลจากการแข่งขัน

กลอนสดระดับประเทศ นับเป็นอีกหนึ่งในความภาคภูมิใจของพวกเรา

ชาวดอกแก้ว

วิจัยชวนคิด ฉบับนี้ส่งตรงมาจากกัลยาณมิตรทางวิชาการ

คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ผศ.นัทธนัย ประสานนาม

นำเสนอประเด็น “งานวิจัยต่างสาขากับแรงบันดาลใจของนักวิจัยวรรณคดี”

อีกวิทยวิธีที่แสดงให้เห็นว่าการวิจัยวรรณคดียังไม่พบทางตันโดยง่าย

ปิดท้ายด้วย กระดานศิษย์เก่า กับกิจกรรมดีๆ ของศิษย์เก่า

และศิษย์ปัจจุบันของคณะมนุษยศาสตร์ ภายใต้โครงการสานสัมพันธ์

สุวรรณภิงคารสัญจร ปี 2555 นอกจากจะเป็นการพบปะสังสรรค์กัน

ระหว่างพี่ๆ น้องๆ แล้ว ยังได้บำเพ็ญประโยชน์ให้แก่สังคมอีกด้วย

อนึ่ง สำหรับผู้อ่านที่เสนอเข้ามาว่าอยากให้กองบรรณาธิการ

“สุวรรณภิงคาร” จัดทำคอลัมน์ที่มีสองภาษาอีกนั้น กองบรรณาธิการ

ขอน้อมรับไว้ และขอให้ติดตามผลงานของเราต่อไป รับรองว่าไม่นานเกินรอ

ท่านจะได้พบกับบทความสองภาษาอีกอย่างแน่นอน

จากวิสัยทัศน์ของคณะที่ว่า “คณะมนุษย-

ศาสตร์ พร้อมอยู ่ร ่วมในประชาคมอาเซียนและ

ประชาคมโลก ด้วยการสร้างความสมบูรณ์และ

Page 3: จดหมายข่าวสุวรรณภิงคาร ฉบับ ก.พ.-มี.ค.55

จดหมายข่าวเพื่อการประชาสัมพันธ์ : กุมภาพันธ์ - มีนาคม 2555 3

นาน

าทรร

ศน

ะอ.

สถิตย

์ ล

ีลาถา

วรชัย

ส ังคมมักม ีทรรศนะสองด ้านต่อว ิชาวรรณกรรม

ส่วนหนึ่งมองวรรณกรรมเป็นสิ่งควรค่าแก่การสถาปนา เป็นวิชา

การศึกษา ส่วนใหญ่มองวรรณกรรมเป็นเพียงสิ่งบันเทิงอันไม่มี

คุณูปการในเชิงวิชาการ ในสังคมตะวันตก การตอบโต้ระหว่าง

ทรรศนะท ั ้ งสองด ้านปรากฏเร ื ่อยมาต ั ้ งแต ่สม ัยโบราณ

บทความนี้มุ่งสืบค้นวิวัฒนาการของการอ่านวรรณกรรมในโลก

ตะวันตกและทรรศนะต่อกิจกรรมทางวรรณกรรมในแต่ละ

ยุคสมัย

จ ุดเร ิ ่มต ้นของการผลิตงานวรรณกรรมในสังคม

ตะวันตก ผูกเข้าหาวัฒนธรรมมุขปาฐะ (oral tradition) ในโลก

กรีกโบราณ รูปแบบของวัฒนธรรมมุขปาฐะยังคงแทรกซึมอยู่

ในวรรณกรรมในวัฒนธรรมลายลักษณ์อักษร (written tradi-

tion) ซึ่งอุบัติขึ้นในเวลาต่อมา Milman Parry ตั้งข้อสังเกตว่า

งานเขียนของกวีเอกอย่างโฮเมอร์ (Homer) มีร่องรอยของภาษา

ในวัฒนธรรมมุขปาฐะ ในขณะที่ Eric A. Havelock กล่าวถึง

การเสพวรรณกรรมในโลกกรีกที ่แม้ตัวบทจะถูกเขียนด้วย

ลายลักษณ์ฯ แต่การถ่ายทอดก็ยังผูกติดกับการแสดงขับร้อง

การแทรกซึมของรูปแบบวัฒนธรรมมุขปาฐะในวรรณกรรม

ลายลักษณ์ฯ สะท้อนภาพการเสพวรรณกรรมในฐานะกิจกรรม

ร่วมเพื่อความบันเทิงของมวลชนทุกลำดับชั้น บทกวีลายลักษณ์ฯ

ของโฮเมอร์หรือฮีเสียด (Hesiod) คงได้รับการอ่านและขับร้อง

อย่างแพร่หลายต่อสาธารณะในฐานะนวัตกรรมเพื ่อความ

บันเทิงของมวลชน บทบาทของวรรณกรรมต่อมวลชนปรากฏ

อย่างเด่นชัดในวัฒนธรรมการละคร พื้นที่ของโรงละครกรีก

โบราณคือพื้นที่ที่นักปกครอง ประชาชนใต้ปกครองและทาสใช้

เก็บสอยความบันเทิงจากละครร่วมกัน

กิจกรรมการเสพวรรณกรรมในโลกกรีกถูกผูกเข้ากับ

ความบันเทิงของมวลชน ปัญญาชนบางส่วนผลักวรรณกรรม

ไปสู่พื้นที่แห่งความบันเทิงตรงข้ามกับพื้นที่ทางปรัชญา ซึ่งเป็น

พื้นที่อันจำกัดในวงแคบแต่มีอภิสิทธิ์เหนือข้อเขียนประเภทอื่นๆ

ในบรรพที่ 10 ของหนังสือ The Republic เพลโต (Plato)

มองวรรณกรรมเป็นภาพจำลองอันบิดเบือนของสัจธรรมที่มี

พิษภัยต่อมวลชนโดยเฉพาะเยาวชน ในบรรพที่ 3 ของหนังสือ

เล่มเดียวกัน เพลโตเหยียดหยามบรรยากาศในโรงละครว่าเป็น

ภาวะที่อยู่ใต้การชี้นำของมวลชนอันยุ่งเหยิง อาจกล่าวได้ว่า

แนวคิดของเพลโตมีลักษณะลดทอนค่อนข้างสุดขั้ว ต่างจาก

แนวคิดในหนังสือ Poetics ของอาริสโตเติล (Aristotle) ซึ่ง

สำรวจพลังอันซับซ้อนของวรรณกรรมต่อจิตวิทยามนุษย์ อย่างไร

ก็ตามการศึกษาของอาริสโตเติล แท้จริงเป็นเพียงการผ่า

ชำแหละโครงสร้างงานวรรณกรรมที่ประกอบเคลือบไปด้วย

มายา พร้อมกันนั้น อาริสโตเติลก็ยังแสดงนัยยะการตัดสิน

คุณค่างานวรรณกรรมที่ความสามารถสะเทือนอารมณ์ความ

รู้สึกของมวลชนเป็นหลัก ศิลปินผู้ผลิตงานวรรณกรรมจึงเป็น

ปัญญาชนที่ผูกอยู่กับมวลชนและมุ่งผลิตผลงานเพื่อการเสพของ

มวลชน หากวรรณกรรมคือแหล่งภูมิปัญญา ภูมิปัญญาเหล่านั้น

ก็คงเป็นเพียงภูม ิป ัญญาชั ้นรองที ่ไม ่สามารถเทียบได้ก ับ

ภูมิปัญญาเชิงปรัชญาอันเป็นสัจธรรม

ทรรศนะด้านลบต่อวรรณกรรมดังเช่นของเพลโตอาจ

วนเวียนอยู่ในหมู่นักปราชญ์อันเป็นชนกลุ่มเล็กๆ ผู้มีอภิสิทธิ์

แต่การผลิตวรรณกรรมก็ยังคงดำเนินต่อเนื่องและได้รับความ

นิยมอย่างกว้างขวาง ในขณะเดียวกันกวีและนักการละคร

ก็ยังคงเป็นที ่ยกย่องของสังคม ในสมัยจักรวรรดิโรมัน

(ราวคริสตศตวรรษที่ 1-5) งานเขียนประเภทนวนิยาย ได้ถูก

คิดค้นและไหลเวียนอย่างแพร่หลายในหมู่ประชาชนชาวโรม

และกรีซ (ซึ่งเวลานั้นถูกลดสถานะเป็นเพียงจังหวัดหนึ่งของ

จักรวรรดิโรม) กระนั้น นวนิยายโรมันและกรีกก็ยังคงเป็น

ผลิตภัณฑ์เพื ่อความบันเทิงที ่ไม่ต้องอาศัยปัญญาในการเสพ

เนื้อหาของงานประเภทนี้วนเวียนอยู่กับเรื่องราวอันสนุกสนาน

ซึ่งรวมถึงเรื่องเพศและเรื่องตลกอันหยาบคาย

ในสมัยกลาง (ราวคริสต์ศตวรรษที่ 5 – 15) ทรรศนะ

ด้านลบต่อวรรณกรรมปรากฎอยู่ในงานเขียนเชิงปรัชญาศาสนา

ของ เซนต์ ออกัสติน (Augustine of Hippo) ในหนังสือ Confes-

sions ออกัสตินโจมตีพลังปลุกเร้าอารมณ์ในงานวรรณกรรม

ซึ่งเชื่อว่านำความเสื่อมมาสู่จิตวิญญาณมนุษย์ แม้ออกัสติน จะ

สะท้อนมุมมองอันลึกซึ้งต่อบทกวีและความงามในงานเขียนอื่นๆ

แต่ความงามทางวรรณกรรมในทรรศนะของออกัสตินก็ยังเป็น

ความงามที่ต่ำชั้นกว่ารูปแบบในธรรมชาติซึ่งอยู่ใกล้ความจริง

ของพระเจ้า ในขณะที่แนวคิดของออกัสตินกำลังแผ่อิทธิพล

ไปทั่วศาสนจักร แต่การผลิตวรรณกรรมในยุโรปก็ไม่ได้หยุด

ชะงักแต่อย่างใด ท่ามกลางความนิยมภาษาละตินในกลุ่ม

พระสงฆ์และชนชั้นปกครอง วรรณกรรมลายลักษณ์ฯ ในภาษา

ท้องถิ่นยุโรปก็เริ่มถือกำเนิดขึ้น แต่วรรณกรรมภาษาท้องถิ่น

เหล่านี ้ยังคงสะท้อนความผูกพันกับวัฒนธรรมมวลชนอย่าง

ชัดเจน วรรณกรรมเรื่องสำคัญอย่าง Das Hildebranslied (ภาษา

เยอรมันโบราณ) Beowulf (ภาษาอังกฤษโบราณ) La Chanson

de Roland (ภาษาฝรั่งเศสโบราณ) และบทกวีขนาดสั้นยาวอื่นๆ

ต่างมีร่องรอยทางภาษาที ่สามารถเชื ่อมโยงเข้ากับรูปแบบ

วัฒนธรรมมุขปาฐะ วรรณกรรมกับการแสดงขับร้อง ความ

บันเทิงของมวลชน ภูมิปัญญาระดับปฏิบัติ รวมถึงภาพพิษภัย

ต่อศีลธรรมทางจิตวิญญาณ ถูกผูกเข้าหากันอย่างน้อยก็ใน

ทรรศนะของฝ่ายสงฆ์ส่วนหนึ่งในสมัยกลาง (แม้สถาบันสงฆ์เอง

จะมีบทบาทในการคัดลอกหรือแต่งวรรณกรรมขึ้นใหม่ก็ตาม)

การผลิตและเสพงานวรรณกรรมเติบโตขึ ้นเรื ่อยๆ

ในปลายสมัยกลางโดยเฉพาะในแหลมอิตาลี อังกฤษและฝรั่งเศส

ทรรศนะเชิงบวกต่อวรรณกรรมและความงามของนักคิดในสมัย

ดังกล่าวเริ ่มกลับมาอาศัยกระบวนวิธีคิดอันซับซ้อนดังเช่น

วิธีการของอาริสโตเติลที่ปรากฏในหนังสือ Poetics ข้อเขียน

เชิงปรัชญาศาสนาของ ธอมัส อไควนัส (Thomas Aquinas)

ซึ ่งบางส่วนได้เสนอและวิเคราะห์ทฤษฎีความงามทางศิลปะ

อย่างลึกซึ้ง อาจเป็นความพยายามแรกๆ ในการต่อรองพื้นที่

ทางสุนทรียศาสตร์ในโลกทางจิตวิญญาณคริสเตียน ใน

ศตวรรษที่ 14 การกลับมาเฟื่องฟูของภูมิปัญญากรีกและละติน

(ที่ถูกแปรรูปเป็นวัฒนธรรมชั้นสูงในช่วงสหัสวรรษก่อนหน้า)

กระตุ้นการผลิตข้อเขียนเชิงปรัชญาและวิทยาการในกลุ่มสงฆ์

และปัญญาชนชั้นนำ ในขณะที่ผลงานเชิงปรัชญาและวิทยาการ

ของปัญญาชนชั้นนำยุโรปเหล่านั้นเขียนด้วยภาษาละตินเป็น

หลัก งานวรรณกรรมลายลักษณ์ฯ เพื่อความบันเทิงทางโลกย์

ในภาษาท้องถิ ่นยุโรปก็ถูกผลิตเพิ ่มขึ ้นใหม่เป็นจำนวนมาก

เนื่องจากผู้ที่มีความสามารถอ่านเขียนภาษาท้องถิ่นยุโรปมักเป็น

ชนชั้นนำที่มีความคุ้นเคยกับภาษาคลาสสิค อิทธิพลของ

โวหารกรีก และละตินจึงเริ่มแทรกซึมและนำความเปลี่ยนแปลง

มาสู่รูปแบบกวีและความเรียงในภาษาท้องถิ่นยุโรป การอ้างอิง

ฉากตอนในวรรณกรรมกรีกกลายเป็นเครื่องบ่งชี้รสนิยมอันเลิศ

ของกวี ในช่วงต้นสมัยใหม่ (ราวศตวรรษที่ 14 – 17)

วรรณกรรมลายลักษณ์ฯ เพื่อความบันเทิงในภาษาท้องถิ่น

ยุโรปต่างๆ เริ่มถูกเขียนเพื่อการอ่านในใจมากขึ้น วรรณกรรม

ภาษาท้องถิ่นยุโรปบางส่วนได้รับการสถาปนาเป็นศิลปะชั้นสูง

และเริ ่มแบ่งแยกตัวออกจากวัฒนธรรมพื ้นบ้านของมวลชน

นอกระบบการศึกษา นักเขียน (ทั้งมืออาชีพและทั้งที่เขียนงาน

ในยามว่างจากภารกิจหลัก) เริ่มศึกษาวรรณศิลป์อย่างจริงจัง

เพื่อพัฒนาผลงานทางวรรณกรรมภาษาถิ่นของตน การเขียน

อ่านวรรณกรรมทั้งในภาษาละตินและภาษาท้องถิ่นยุโรปเริ่มถูก

ผันไปสู่กิจกรรมทางปัญญาในกลุ่มชนชั้นนำ

การเต ิบโตของชนช ั ้นกระฎ ุมภ ีและชนช ั ้นกลาง

ในช่วงต้นสมัยใหม่ ทำให้วัฒนธรรมการอ่านเขียนกลับมา

แพร่หลายมากขึ้น แต่ความสามารถอ่านเขียนของผู้คนในชนชั้น

ใหม่ที่ตั ้งตัวได้จากการทำมาหากินย่อมมุ่งไปที่ภาษาท้องถิ่น

ยุโรปที่ตนถนัด การอ่านเขียนภาษาท้องถิ่นยุโรปขยายตัว

จนกลบกระแสความนิยมภาษาละตินในสังคมกระแสหลัก

ช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 17-18 การเติบโตของวัฒนธรรมการอ่าน

ในหมู่ชนชั้นกระฎุมพีและชนชั้นกลางนำไปสู่การอุบัติขึ ้นของ

วัฒนธรรมวรรณกรรมวิจารณ์ Jürgen Habermas พบว่า

วัฒนธรรมการวิจารณ์เริ่มต้นตามพื้นที่สาธารณะ เช่นร้านกาแฟ

ในประเทศอังกฤษ ซาลงในประเทศฝรั่งเศส (salon พื้นที่

สมาคมแบบลำลองตามห้องนั่งเล่นในบ้านผู้มีอันจะกิน) และ

สโมสรต่างๆ ที่ผุดขึ้นทั่วยุโรปเพื่อรองรับการเติบโตทางการเงิน

ของชนชั้นใหม่ บรรดากระฎุมภีและชนชั้นกลางที่เข้าไปใช้

บริการในพื้นที่เหล่านี้มักตั้งต้นวิจารณ์ประเด็นทางเศรษฐกิจ

และการเมืองอย่างตรงไปตรงมา พร้อมกันนั้น ผลงานทางศิลปะ

ดนตรีและวรรณกรรมของศิลปินที่มีชื่อเสียงก็ถูกหยิบยกขึ้นมา

วิจารณ์ถกเถียงอย่างกว้างขวาง วัฒนธรรมวรรณกรรมวิจารณ์

พัฒนาอย่างโดดเด่นในประเทศฝรั่งเศส ข้อเขียนวิจารณ์

วรรณกรรม ของนักเขียนสมัครเล่นได้รับการตีพิมพ์ตามวารสาร

ที่วางขายตามท้องตลาด นักเขียนหรือศิลปินอาชีพที่ไขว่คว้า

ความเจริญก้าวหน้ามักไปปรากฏตัวตามซาลงเพื ่อแนะนำ

ผลงานของตนแก่วงสังคม ในประเทศอังกฤษและเยอรมนี

นักเขียนหลายคนเริ ่มเขียนบทวิเคราะห์ทางวรรณกรรมไป

พร้อมๆ กับการผลิตผลงานวรรณกรรม นักเขียนอย่าง ไดรเดน

(John Dryden) เลสซิง (Gotthold Ephraim Lessing) ชิลเลอร์

(Friedrich Schiller) ต่างมีงานเขียนบทวิเคราะห์ทางวรรณกรรม

ที่ซับซ้อน กิจกรรมทางวรรณกรรม ไม่ว่าจะเป็นการอ่าน หรือ

การวิจารณ์ ได้รับการยอมรับเข้าสู่พื้นที่ทางปัญญาอันสูงส่ง

ในช่วงเวลานี้

แม้การอ่านเขียนวรรณกรรมในภาษาท้องถิ ่นยุโรป

ถูกผันไปสู่วัฒนธรรมทางปัญญา มหาวิทยาลัยต่างๆ ในยุโรป

ยังคงปฏิเสธการรับวรรณกรรมภาษาท้องถิ่นเหล่านั้นเข้าสู่วง

วิชาการ เนื่องจากมหาวิทยาลัยมองการอ่านและวิจารณ์

วรรณกรรมภาษาท้องถิ ่นเป็นกิจกรรมอัตวิสัยที ่ไม่สามารถ

นำเข้าสู่วิธีการทางวิชาการได้ การศึกษาภาษาและวรรณกรรม

ในมหาวิทยาลัยทั ่วยุโรปจำกัดอยู ่เฉพาะภาษาคลาสสิคและ

ภาษาโบราณต่างๆ กระทั่งต้นคริสตศตวรรษที่ 19 กลุ่ม

นักวิชาการด้านภาษาและคติชนเยอรมันอย่างพี่น้องJacob และ

Wilhelm Grimm และ Georg Friedrich Benecke

จึงสามารถผลักดันวิชาเยอรมันศึกษาเข้าสู ่มหาวิทยาลัยใน

เยอรมนีได้สำเร็จ ในอังกฤษและสหรัฐอเมริกา กิจกรรมทาง

วรรณกรรมยังคงพัฒนาอย่างต่อเนื ่องในสังคมปัญญาชน

แต่ก็ไม่ได้รับการบรรจุเข้าสู่หลักสูตรในมหาวิทยาลัยกระทั่งล่วง

มาถึงปลายศตวรรษที่ 19 จากการศึกษาของ Terry Eagleton

พบว่าการสถาปนาวรรณกรรมภาษาอังกฤษเป็นวิชาการศึกษา

เกิดขึ ้นพร้อมความกังวลของชนชั ้นสูงต่อความถดถอยทาง

ศีลธรรมในหมู่ชนชั้นกลางและชนชั้นแรงงาน ซึ่งถูกมองว่า

เต็มไปด้วยความละโมภในวัตถุ (เนื่องจากต้องทำงานหาเลี้ยง

ชีพ) วิชาวรรณกรรมภาษาอังกฤษถูกสอนครั้งแรกในโรงเรียน

ฝึกหัดช่างเพื่อขัดเกลาศีลธรรมของแรงงานซึ่งไม่มีปัญญาอ่าน

วรรณกรรมภาษาละติน ในอินเดีย Thomas Macaulay

ผู้สำเร็จราชการของอังกฤษ เรียกร้องให้บรรจุวรรณกรรมอังกฤษ

ในหลักสูตร การศึกษาของชาวพื้นเมืองเพื่อลบล้างอิทธิพลของ

วรรณกรรมสันสกฤตซึ ่งเต็มไปด้วยความเสื ่อมทางศีลธรรม

(ในความคิดของเขา)

ในสหรัฐอเมริกาก็เช่นกัน James Berlin ศึกษาพบว่า

วิชาวรรณกรรมภาษาอังกฤษถูกนำเข้าสู่มหาวิทยาลัยท่ามกลาง

ความว ิตกต ่อป ัญหาทางศ ีลธรรมเม ื ่ อระบบท ุนบ ีบให ้

มหาวิทยาลัยเปิดสอนวิชาในเชิงทักษะการอาชีพมากขึ้น (ก่อน

หน้านั ้นมหาวิทยาลัยเน้นการสอนวิชาการบริหารจัดการ)

นอกจากนี้ การสอนวรรณกรรมอังกฤษยังมีเป้าหมายในการ

หลอมรวมผู้อพยพเชื้อสายต่างๆ เข้าสู่อุดมคติแบบอเมริกันซึ่ง

สืบทอดมาจากอังกฤษ การศึกษาของ Eagleton และ Berlin

ยังพบด้วยว่า การเปิดรับนักศึกษาหญิงเข้าสู ่มหาวิทยาลัย

ครั้งแรกในปลายศตวรรษที่ 19 มีส่วนทำให้มหาวิทยาลัย

ทั้งในอังกฤษและอเมริกายินยอมเปิดสอนวิชาวรรณกรรมภาษา

อังกฤษ ในยุคที่สตรีได้รับการทนุถนอมในฐานะแก่นสารทาง

ศีลธรรม วิชาที่เหมาะสมกับที่ทางดังกล่าวก็คือวิชาการอ่าน

หนังสือจรรโลงโลกในภาษาที่ใครๆก็สามารถอ่านได้

ทุกวันนี้ แม้การศึกษาวรรณกรรมจะดำเนินไปอย่าง

จริงจังและเต็มไปด้วยการแข่งขัน แต่ไม่ว่าจะเป็นวิชาวรรณกรรม

ภาษาโบราณหรือภาษาปัจจุบัน ทรรศนะเชิงลดทอนจากสังคม

ทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัยก็ยังคงดำรงอยู่ คงมีเพียง

ผู้คนในวงการเท่านั้นที่เข้าใจถึงพลังและคุณค่าของศาสตร์ใน

สาขานี้

ของการอ่านวรรณกรรม

1

2

3

1 บทความ “Studies in the Epic Technique of Oral-Verse Making II: The Homeric Language as the Language of an Oral Poetry”

วารสาร Harvard Studies in Classical Philology ฉบับที ่ 43 ปี 19322 ดูบทที ่ 3 Preface to Plato ตีพิมพ์ครั ้งแรกปี 1963 3 ดูบทนำ Theatricality as Medium โดย Samuel Weber ตีพิมพ์ครั ้งที ่ 4 ปี 2004

วิวัฒนาการ

Page 4: จดหมายข่าวสุวรรณภิงคาร ฉบับ ก.พ.-มี.ค.55

จดหมายข่าวเพื่อการประชาสัมพันธ์ : กุมภาพันธ์ - มีนาคม 25554

ส ังคมมักม ีทรรศนะสองด ้านต่อว ิชาวรรณกรรม

ส่วนหนึ่งมองวรรณกรรมเป็นสิ่งควรค่าแก่การสถาปนา เป็นวิชา

การศึกษา ส่วนใหญ่มองวรรณกรรมเป็นเพียงสิ่งบันเทิงอันไม่มี

คุณูปการในเชิงวิชาการ ในสังคมตะวันตก การตอบโต้ระหว่าง

ทรรศนะท ั ้ งสองด ้านปรากฏเร ื ่อยมาต ั ้ งแต ่สม ัยโบราณ

บทความนี้มุ่งสืบค้นวิวัฒนาการของการอ่านวรรณกรรมในโลก

ตะวันตกและทรรศนะต่อกิจกรรมทางวรรณกรรมในแต่ละ

ยุคสมัย

จ ุดเร ิ ่มต ้นของการผลิตงานวรรณกรรมในสังคม

ตะวันตก ผูกเข้าหาวัฒนธรรมมุขปาฐะ (oral tradition) ในโลก

กรีกโบราณ รูปแบบของวัฒนธรรมมุขปาฐะยังคงแทรกซึมอยู่

ในวรรณกรรมในวัฒนธรรมลายลักษณ์อักษร (written tradi-

tion) ซึ่งอุบัติขึ้นในเวลาต่อมา Milman Parry ตั้งข้อสังเกตว่า

งานเขียนของกวีเอกอย่างโฮเมอร์ (Homer) มีร่องรอยของภาษา

ในวัฒนธรรมมุขปาฐะ ในขณะที่ Eric A. Havelock กล่าวถึง

การเสพวรรณกรรมในโลกกรีกที ่แม้ตัวบทจะถูกเขียนด้วย

ลายลักษณ์ฯ แต่การถ่ายทอดก็ยังผูกติดกับการแสดงขับร้อง

การแทรกซึมของรูปแบบวัฒนธรรมมุขปาฐะในวรรณกรรม

ลายลักษณ์ฯ สะท้อนภาพการเสพวรรณกรรมในฐานะกิจกรรม

ร่วมเพื่อความบันเทิงของมวลชนทุกลำดับชั้น บทกวีลายลักษณ์ฯ

ของโฮเมอร์หรือฮีเสียด (Hesiod) คงได้รับการอ่านและขับร้อง

อย่างแพร่หลายต่อสาธารณะในฐานะนวัตกรรมเพื ่อความ

บันเทิงของมวลชน บทบาทของวรรณกรรมต่อมวลชนปรากฏ

อย่างเด่นชัดในวัฒนธรรมการละคร พื้นที่ของโรงละครกรีก

โบราณคือพื้นที่ที่นักปกครอง ประชาชนใต้ปกครองและทาสใช้

เก็บสอยความบันเทิงจากละครร่วมกัน

กิจกรรมการเสพวรรณกรรมในโลกกรีกถูกผูกเข้ากับ

ความบันเทิงของมวลชน ปัญญาชนบางส่วนผลักวรรณกรรม

ไปสู่พื้นที่แห่งความบันเทิงตรงข้ามกับพื้นที่ทางปรัชญา ซึ่งเป็น

พื้นที่อันจำกัดในวงแคบแต่มีอภิสิทธิ์เหนือข้อเขียนประเภทอื่นๆ

ในบรรพที่ 10 ของหนังสือ The Republic เพลโต (Plato)

มองวรรณกรรมเป็นภาพจำลองอันบิดเบือนของสัจธรรมที่มี

พิษภัยต่อมวลชนโดยเฉพาะเยาวชน ในบรรพที่ 3 ของหนังสือ

เล่มเดียวกัน เพลโตเหยียดหยามบรรยากาศในโรงละครว่าเป็น

ภาวะที่อยู่ใต้การชี้นำของมวลชนอันยุ่งเหยิง อาจกล่าวได้ว่า

แนวคิดของเพลโตมีลักษณะลดทอนค่อนข้างสุดขั้ว ต่างจาก

แนวคิดในหนังสือ Poetics ของอาริสโตเติล (Aristotle) ซึ่ง

สำรวจพลังอันซับซ้อนของวรรณกรรมต่อจิตวิทยามนุษย์ อย่างไร

ก็ตามการศึกษาของอาริสโตเติล แท้จริงเป็นเพียงการผ่า

ชำแหละโครงสร้างงานวรรณกรรมที่ประกอบเคลือบไปด้วย

มายา พร้อมกันนั้น อาริสโตเติลก็ยังแสดงนัยยะการตัดสิน

คุณค่างานวรรณกรรมที่ความสามารถสะเทือนอารมณ์ความ

รู้สึกของมวลชนเป็นหลัก ศิลปินผู้ผลิตงานวรรณกรรมจึงเป็น

ปัญญาชนที่ผูกอยู่กับมวลชนและมุ่งผลิตผลงานเพื่อการเสพของ

มวลชน หากวรรณกรรมคือแหล่งภูมิปัญญา ภูมิปัญญาเหล่านั้น

ก็คงเป็นเพียงภูม ิป ัญญาชั ้นรองที ่ไม ่สามารถเทียบได้ก ับ

ภูมิปัญญาเชิงปรัชญาอันเป็นสัจธรรม

ทรรศนะด้านลบต่อวรรณกรรมดังเช่นของเพลโตอาจ

วนเวียนอยู่ในหมู่นักปราชญ์อันเป็นชนกลุ่มเล็กๆ ผู้มีอภิสิทธิ์

แต่การผลิตวรรณกรรมก็ยังคงดำเนินต่อเนื่องและได้รับความ

นิยมอย่างกว้างขวาง ในขณะเดียวกันกวีและนักการละคร

ก็ยังคงเป็นที ่ยกย่องของสังคม ในสมัยจักรวรรดิโรมัน

(ราวคริสตศตวรรษที่ 1-5) งานเขียนประเภทนวนิยาย ได้ถูก

คิดค้นและไหลเวียนอย่างแพร่หลายในหมู่ประชาชนชาวโรม

และกรีซ (ซึ่งเวลานั้นถูกลดสถานะเป็นเพียงจังหวัดหนึ่งของ

จักรวรรดิโรม) กระนั้น นวนิยายโรมันและกรีกก็ยังคงเป็น

ผลิตภัณฑ์เพื ่อความบันเทิงที ่ไม่ต้องอาศัยปัญญาในการเสพ

เนื้อหาของงานประเภทนี้วนเวียนอยู่กับเรื่องราวอันสนุกสนาน

ซึ่งรวมถึงเรื่องเพศและเรื่องตลกอันหยาบคาย

ในสมัยกลาง (ราวคริสต์ศตวรรษที่ 5 – 15) ทรรศนะ

ด้านลบต่อวรรณกรรมปรากฎอยู่ในงานเขียนเชิงปรัชญาศาสนา

ของ เซนต์ ออกัสติน (Augustine of Hippo) ในหนังสือ Confes-

sions ออกัสตินโจมตีพลังปลุกเร้าอารมณ์ในงานวรรณกรรม

ซึ่งเชื่อว่านำความเสื่อมมาสู่จิตวิญญาณมนุษย์ แม้ออกัสติน จะ

สะท้อนมุมมองอันลึกซึ้งต่อบทกวีและความงามในงานเขียนอื่นๆ

แต่ความงามทางวรรณกรรมในทรรศนะของออกัสตินก็ยังเป็น

ความงามที่ต่ำชั้นกว่ารูปแบบในธรรมชาติซึ่งอยู่ใกล้ความจริง

ของพระเจ้า ในขณะที่แนวคิดของออกัสตินกำลังแผ่อิทธิพล

ไปทั่วศาสนจักร แต่การผลิตวรรณกรรมในยุโรปก็ไม่ได้หยุด

ชะงักแต่อย่างใด ท่ามกลางความนิยมภาษาละตินในกลุ่ม

พระสงฆ์และชนชั้นปกครอง วรรณกรรมลายลักษณ์ฯ ในภาษา

ท้องถิ่นยุโรปก็เริ่มถือกำเนิดขึ้น แต่วรรณกรรมภาษาท้องถิ่น

เหล่านี ้ยังคงสะท้อนความผูกพันกับวัฒนธรรมมวลชนอย่าง

ชัดเจน วรรณกรรมเรื่องสำคัญอย่าง Das Hildebranslied (ภาษา

เยอรมันโบราณ) Beowulf (ภาษาอังกฤษโบราณ) La Chanson

de Roland (ภาษาฝรั่งเศสโบราณ) และบทกวีขนาดสั้นยาวอื่นๆ

ต่างมีร่องรอยทางภาษาที ่สามารถเชื ่อมโยงเข้ากับรูปแบบ

วัฒนธรรมมุขปาฐะ วรรณกรรมกับการแสดงขับร้อง ความ

บันเทิงของมวลชน ภูมิปัญญาระดับปฏิบัติ รวมถึงภาพพิษภัย

ต่อศีลธรรมทางจิตวิญญาณ ถูกผูกเข้าหากันอย่างน้อยก็ใน

ทรรศนะของฝ่ายสงฆ์ส่วนหนึ่งในสมัยกลาง (แม้สถาบันสงฆ์เอง

จะมีบทบาทในการคัดลอกหรือแต่งวรรณกรรมขึ้นใหม่ก็ตาม)

การผลิตและเสพงานวรรณกรรมเติบโตขึ ้นเรื ่อยๆ

ในปลายสมัยกลางโดยเฉพาะในแหลมอิตาลี อังกฤษและฝรั่งเศส

ทรรศนะเชิงบวกต่อวรรณกรรมและความงามของนักคิดในสมัย

ดังกล่าวเริ ่มกลับมาอาศัยกระบวนวิธีคิดอันซับซ้อนดังเช่น

วิธีการของอาริสโตเติลที่ปรากฏในหนังสือ Poetics ข้อเขียน

เชิงปรัชญาศาสนาของ ธอมัส อไควนัส (Thomas Aquinas)

ซึ ่งบางส่วนได้เสนอและวิเคราะห์ทฤษฎีความงามทางศิลปะ

อย่างลึกซึ้ง อาจเป็นความพยายามแรกๆ ในการต่อรองพื้นที่

ทางสุนทรียศาสตร์ในโลกทางจิตวิญญาณคริสเตียน ใน

ศตวรรษที่ 14 การกลับมาเฟื่องฟูของภูมิปัญญากรีกและละติน

(ที่ถูกแปรรูปเป็นวัฒนธรรมชั้นสูงในช่วงสหัสวรรษก่อนหน้า)

กระตุ้นการผลิตข้อเขียนเชิงปรัชญาและวิทยาการในกลุ่มสงฆ์

และปัญญาชนชั้นนำ ในขณะที่ผลงานเชิงปรัชญาและวิทยาการ

ของปัญญาชนชั้นนำยุโรปเหล่านั้นเขียนด้วยภาษาละตินเป็น

หลัก งานวรรณกรรมลายลักษณ์ฯ เพื่อความบันเทิงทางโลกย์

ในภาษาท้องถิ ่นยุโรปก็ถูกผลิตเพิ ่มขึ ้นใหม่เป็นจำนวนมาก

เนื่องจากผู้ที่มีความสามารถอ่านเขียนภาษาท้องถิ่นยุโรปมักเป็น

ชนชั้นนำที่มีความคุ้นเคยกับภาษาคลาสสิค อิทธิพลของ

โวหารกรีก และละตินจึงเริ่มแทรกซึมและนำความเปลี่ยนแปลง

มาสู่รูปแบบกวีและความเรียงในภาษาท้องถิ่นยุโรป การอ้างอิง

ฉากตอนในวรรณกรรมกรีกกลายเป็นเครื่องบ่งชี้รสนิยมอันเลิศ

ของกวี ในช่วงต้นสมัยใหม่ (ราวศตวรรษที่ 14 – 17)

วรรณกรรมลายลักษณ์ฯ เพื่อความบันเทิงในภาษาท้องถิ่น

ยุโรปต่างๆ เริ่มถูกเขียนเพื่อการอ่านในใจมากขึ้น วรรณกรรม

ภาษาท้องถิ่นยุโรปบางส่วนได้รับการสถาปนาเป็นศิลปะชั้นสูง

และเริ ่มแบ่งแยกตัวออกจากวัฒนธรรมพื ้นบ้านของมวลชน

นอกระบบการศึกษา นักเขียน (ทั้งมืออาชีพและทั้งที่เขียนงาน

ในยามว่างจากภารกิจหลัก) เริ่มศึกษาวรรณศิลป์อย่างจริงจัง

เพื่อพัฒนาผลงานทางวรรณกรรมภาษาถิ่นของตน การเขียน

อ่านวรรณกรรมทั้งในภาษาละตินและภาษาท้องถิ่นยุโรปเริ่มถูก

ผันไปสู่กิจกรรมทางปัญญาในกลุ่มชนชั้นนำ

การเต ิบโตของชนช ั ้นกระฎ ุมภ ีและชนช ั ้นกลาง

ในช่วงต้นสมัยใหม่ ทำให้วัฒนธรรมการอ่านเขียนกลับมา

แพร่หลายมากขึ้น แต่ความสามารถอ่านเขียนของผู้คนในชนชั้น

ใหม่ที่ตั ้งตัวได้จากการทำมาหากินย่อมมุ่งไปที่ภาษาท้องถิ่น

ยุโรปที่ตนถนัด การอ่านเขียนภาษาท้องถิ่นยุโรปขยายตัว

จนกลบกระแสความนิยมภาษาละตินในสังคมกระแสหลัก

ช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 17-18 การเติบโตของวัฒนธรรมการอ่าน

ในหมู่ชนชั้นกระฎุมพีและชนชั้นกลางนำไปสู่การอุบัติขึ ้นของ

วัฒนธรรมวรรณกรรมวิจารณ์ Jürgen Habermas พบว่า

วัฒนธรรมการวิจารณ์เริ่มต้นตามพื้นที่สาธารณะ เช่นร้านกาแฟ

ในประเทศอังกฤษ ซาลงในประเทศฝรั่งเศส (salon พื้นที่

สมาคมแบบลำลองตามห้องนั่งเล่นในบ้านผู้มีอันจะกิน) และ

สโมสรต่างๆ ที่ผุดขึ้นทั่วยุโรปเพื่อรองรับการเติบโตทางการเงิน

ของชนชั้นใหม่ บรรดากระฎุมภีและชนชั้นกลางที่เข้าไปใช้

บริการในพื้นที่เหล่านี้มักตั้งต้นวิจารณ์ประเด็นทางเศรษฐกิจ

และการเมืองอย่างตรงไปตรงมา พร้อมกันนั้น ผลงานทางศิลปะ

ดนตรีและวรรณกรรมของศิลปินที่มีชื่อเสียงก็ถูกหยิบยกขึ้นมา

วิจารณ์ถกเถียงอย่างกว้างขวาง วัฒนธรรมวรรณกรรมวิจารณ์

พัฒนาอย่างโดดเด่นในประเทศฝรั่งเศส ข้อเขียนวิจารณ์

วรรณกรรม ของนักเขียนสมัครเล่นได้รับการตีพิมพ์ตามวารสาร

ที่วางขายตามท้องตลาด นักเขียนหรือศิลปินอาชีพที่ไขว่คว้า

ความเจริญก้าวหน้ามักไปปรากฏตัวตามซาลงเพื ่อแนะนำ

ผลงานของตนแก่วงสังคม ในประเทศอังกฤษและเยอรมนี

นักเขียนหลายคนเริ ่มเขียนบทวิเคราะห์ทางวรรณกรรมไป

พร้อมๆ กับการผลิตผลงานวรรณกรรม นักเขียนอย่าง ไดรเดน

(John Dryden) เลสซิง (Gotthold Ephraim Lessing) ชิลเลอร์

(Friedrich Schiller) ต่างมีงานเขียนบทวิเคราะห์ทางวรรณกรรม

ที่ซับซ้อน กิจกรรมทางวรรณกรรม ไม่ว่าจะเป็นการอ่าน หรือ

การวิจารณ์ ได้รับการยอมรับเข้าสู่พื้นที่ทางปัญญาอันสูงส่ง

ในช่วงเวลานี้

แม้การอ่านเขียนวรรณกรรมในภาษาท้องถิ ่นยุโรป

ถูกผันไปสู่วัฒนธรรมทางปัญญา มหาวิทยาลัยต่างๆ ในยุโรป

ยังคงปฏิเสธการรับวรรณกรรมภาษาท้องถิ่นเหล่านั้นเข้าสู่วง

วิชาการ เนื่องจากมหาวิทยาลัยมองการอ่านและวิจารณ์

วรรณกรรมภาษาท้องถิ ่นเป็นกิจกรรมอัตวิสัยที ่ไม่สามารถ

นำเข้าสู่วิธีการทางวิชาการได้ การศึกษาภาษาและวรรณกรรม

ในมหาวิทยาลัยทั ่วยุโรปจำกัดอยู ่เฉพาะภาษาคลาสสิคและ

ภาษาโบราณต่างๆ กระทั่งต้นคริสตศตวรรษที่ 19 กลุ่ม

นักวิชาการด้านภาษาและคติชนเยอรมันอย่างพี่น้องJacob และ

Wilhelm Grimm และ Georg Friedrich Benecke

จึงสามารถผลักดันวิชาเยอรมันศึกษาเข้าสู ่มหาวิทยาลัยใน

เยอรมนีได้สำเร็จ ในอังกฤษและสหรัฐอเมริกา กิจกรรมทาง

วรรณกรรมยังคงพัฒนาอย่างต่อเนื ่องในสังคมปัญญาชน

แต่ก็ไม่ได้รับการบรรจุเข้าสู่หลักสูตรในมหาวิทยาลัยกระทั่งล่วง

มาถึงปลายศตวรรษที่ 19 จากการศึกษาของ Terry Eagleton

พบว่าการสถาปนาวรรณกรรมภาษาอังกฤษเป็นวิชาการศึกษา

เกิดขึ ้นพร้อมความกังวลของชนชั ้นสูงต่อความถดถอยทาง

ศีลธรรมในหมู่ชนชั้นกลางและชนชั้นแรงงาน ซึ่งถูกมองว่า

เต็มไปด้วยความละโมภในวัตถุ (เนื่องจากต้องทำงานหาเลี้ยง

ชีพ) วิชาวรรณกรรมภาษาอังกฤษถูกสอนครั้งแรกในโรงเรียน

ฝึกหัดช่างเพื่อขัดเกลาศีลธรรมของแรงงานซึ่งไม่มีปัญญาอ่าน

วรรณกรรมภาษาละติน ในอินเดีย Thomas Macaulay

ผู้สำเร็จราชการของอังกฤษ เรียกร้องให้บรรจุวรรณกรรมอังกฤษ

ในหลักสูตร การศึกษาของชาวพื้นเมืองเพื่อลบล้างอิทธิพลของ

วรรณกรรมสันสกฤตซึ ่งเต็มไปด้วยความเสื ่อมทางศีลธรรม

(ในความคิดของเขา)

ในสหรัฐอเมริกาก็เช่นกัน James Berlin ศึกษาพบว่า

วิชาวรรณกรรมภาษาอังกฤษถูกนำเข้าสู่มหาวิทยาลัยท่ามกลาง

ความว ิตกต ่อป ัญหาทางศ ีลธรรมเม ื ่ อระบบท ุนบ ีบให ้

มหาวิทยาลัยเปิดสอนวิชาในเชิงทักษะการอาชีพมากขึ้น (ก่อน

หน้านั ้นมหาวิทยาลัยเน้นการสอนวิชาการบริหารจัดการ)

นอกจากนี้ การสอนวรรณกรรมอังกฤษยังมีเป้าหมายในการ

หลอมรวมผู้อพยพเชื้อสายต่างๆ เข้าสู่อุดมคติแบบอเมริกันซึ่ง

สืบทอดมาจากอังกฤษ การศึกษาของ Eagleton และ Berlin

ยังพบด้วยว่า การเปิดรับนักศึกษาหญิงเข้าสู ่มหาวิทยาลัย

ครั้งแรกในปลายศตวรรษที่ 19 มีส่วนทำให้มหาวิทยาลัย

ทั้งในอังกฤษและอเมริกายินยอมเปิดสอนวิชาวรรณกรรมภาษา

อังกฤษ ในยุคที่สตรีได้รับการทนุถนอมในฐานะแก่นสารทาง

ศีลธรรม วิชาที่เหมาะสมกับที่ทางดังกล่าวก็คือวิชาการอ่าน

หนังสือจรรโลงโลกในภาษาที่ใครๆก็สามารถอ่านได้

ทุกวันนี้ แม้การศึกษาวรรณกรรมจะดำเนินไปอย่าง

จริงจังและเต็มไปด้วยการแข่งขัน แต่ไม่ว่าจะเป็นวิชาวรรณกรรม

ภาษาโบราณหรือภาษาปัจจุบัน ทรรศนะเชิงลดทอนจากสังคม

ทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัยก็ยังคงดำรงอยู่ คงมีเพียง

ผู้คนในวงการเท่านั้นที่เข้าใจถึงพลังและคุณค่าของศาสตร์ใน

สาขานี้

นาน

าทรร

ศน

ะอ.

สถิตย

์ ล

ีลาถา

วรชัย

Page 5: จดหมายข่าวสุวรรณภิงคาร ฉบับ ก.พ.-มี.ค.55

จดหมายข่าวเพื่อการประชาสัมพันธ์ : กุมภาพันธ์ - มีนาคม 2555 5

ส ังคมมักม ีทรรศนะสองด ้านต่อว ิชาวรรณกรรม

ส่วนหนึ่งมองวรรณกรรมเป็นสิ่งควรค่าแก่การสถาปนา เป็นวิชา

การศึกษา ส่วนใหญ่มองวรรณกรรมเป็นเพียงสิ่งบันเทิงอันไม่มี

คุณูปการในเชิงวิชาการ ในสังคมตะวันตก การตอบโต้ระหว่าง

ทรรศนะท ั ้ งสองด ้านปรากฏเร ื ่อยมาต ั ้ งแต ่สม ัยโบราณ

บทความนี้มุ่งสืบค้นวิวัฒนาการของการอ่านวรรณกรรมในโลก

ตะวันตกและทรรศนะต่อกิจกรรมทางวรรณกรรมในแต่ละ

ยุคสมัย

จ ุดเร ิ ่มต ้นของการผลิตงานวรรณกรรมในสังคม

ตะวันตก ผูกเข้าหาวัฒนธรรมมุขปาฐะ (oral tradition) ในโลก

กรีกโบราณ รูปแบบของวัฒนธรรมมุขปาฐะยังคงแทรกซึมอยู่

ในวรรณกรรมในวัฒนธรรมลายลักษณ์อักษร (written tradi-

tion) ซึ่งอุบัติขึ้นในเวลาต่อมา Milman Parry ตั้งข้อสังเกตว่า

งานเขียนของกวีเอกอย่างโฮเมอร์ (Homer) มีร่องรอยของภาษา

ในวัฒนธรรมมุขปาฐะ ในขณะที่ Eric A. Havelock กล่าวถึง

การเสพวรรณกรรมในโลกกรีกที ่แม้ตัวบทจะถูกเขียนด้วย

ลายลักษณ์ฯ แต่การถ่ายทอดก็ยังผูกติดกับการแสดงขับร้อง

การแทรกซึมของรูปแบบวัฒนธรรมมุขปาฐะในวรรณกรรม

ลายลักษณ์ฯ สะท้อนภาพการเสพวรรณกรรมในฐานะกิจกรรม

ร่วมเพื่อความบันเทิงของมวลชนทุกลำดับชั้น บทกวีลายลักษณ์ฯ

ของโฮเมอร์หรือฮีเสียด (Hesiod) คงได้รับการอ่านและขับร้อง

อย่างแพร่หลายต่อสาธารณะในฐานะนวัตกรรมเพื ่อความ

บันเทิงของมวลชน บทบาทของวรรณกรรมต่อมวลชนปรากฏ

อย่างเด่นชัดในวัฒนธรรมการละคร พื้นที่ของโรงละครกรีก

โบราณคือพื้นที่ที่นักปกครอง ประชาชนใต้ปกครองและทาสใช้

เก็บสอยความบันเทิงจากละครร่วมกัน

กิจกรรมการเสพวรรณกรรมในโลกกรีกถูกผูกเข้ากับ

ความบันเทิงของมวลชน ปัญญาชนบางส่วนผลักวรรณกรรม

ไปสู่พื้นที่แห่งความบันเทิงตรงข้ามกับพื้นที่ทางปรัชญา ซึ่งเป็น

พื้นที่อันจำกัดในวงแคบแต่มีอภิสิทธิ์เหนือข้อเขียนประเภทอื่นๆ

ในบรรพที่ 10 ของหนังสือ The Republic เพลโต (Plato)

มองวรรณกรรมเป็นภาพจำลองอันบิดเบือนของสัจธรรมที่มี

พิษภัยต่อมวลชนโดยเฉพาะเยาวชน ในบรรพที่ 3 ของหนังสือ

เล่มเดียวกัน เพลโตเหยียดหยามบรรยากาศในโรงละครว่าเป็น

ภาวะที่อยู่ใต้การชี้นำของมวลชนอันยุ่งเหยิง อาจกล่าวได้ว่า

แนวคิดของเพลโตมีลักษณะลดทอนค่อนข้างสุดขั้ว ต่างจาก

แนวคิดในหนังสือ Poetics ของอาริสโตเติล (Aristotle) ซึ่ง

สำรวจพลังอันซับซ้อนของวรรณกรรมต่อจิตวิทยามนุษย์ อย่างไร

ก็ตามการศึกษาของอาริสโตเติล แท้จริงเป็นเพียงการผ่า

ชำแหละโครงสร้างงานวรรณกรรมที่ประกอบเคลือบไปด้วย

มายา พร้อมกันนั้น อาริสโตเติลก็ยังแสดงนัยยะการตัดสิน

คุณค่างานวรรณกรรมที่ความสามารถสะเทือนอารมณ์ความ

รู้สึกของมวลชนเป็นหลัก ศิลปินผู้ผลิตงานวรรณกรรมจึงเป็น

ปัญญาชนที่ผูกอยู่กับมวลชนและมุ่งผลิตผลงานเพื่อการเสพของ

มวลชน หากวรรณกรรมคือแหล่งภูมิปัญญา ภูมิปัญญาเหล่านั้น

ก็คงเป็นเพียงภูม ิป ัญญาชั ้นรองที ่ไม ่สามารถเทียบได้ก ับ

ภูมิปัญญาเชิงปรัชญาอันเป็นสัจธรรม

ทรรศนะด้านลบต่อวรรณกรรมดังเช่นของเพลโตอาจ

วนเวียนอยู่ในหมู่นักปราชญ์อันเป็นชนกลุ่มเล็กๆ ผู้มีอภิสิทธิ์

แต่การผลิตวรรณกรรมก็ยังคงดำเนินต่อเนื่องและได้รับความ

นิยมอย่างกว้างขวาง ในขณะเดียวกันกวีและนักการละคร

ก็ยังคงเป็นที ่ยกย่องของสังคม ในสมัยจักรวรรดิโรมัน

(ราวคริสตศตวรรษที่ 1-5) งานเขียนประเภทนวนิยาย ได้ถูก

คิดค้นและไหลเวียนอย่างแพร่หลายในหมู่ประชาชนชาวโรม

และกรีซ (ซึ่งเวลานั้นถูกลดสถานะเป็นเพียงจังหวัดหนึ่งของ

จักรวรรดิโรม) กระนั้น นวนิยายโรมันและกรีกก็ยังคงเป็น

ผลิตภัณฑ์เพื ่อความบันเทิงที ่ไม่ต้องอาศัยปัญญาในการเสพ

เนื้อหาของงานประเภทนี้วนเวียนอยู่กับเรื่องราวอันสนุกสนาน

ซึ่งรวมถึงเรื่องเพศและเรื่องตลกอันหยาบคาย

ในสมัยกลาง (ราวคริสต์ศตวรรษที่ 5 – 15) ทรรศนะ

ด้านลบต่อวรรณกรรมปรากฎอยู่ในงานเขียนเชิงปรัชญาศาสนา

ของ เซนต์ ออกัสติน (Augustine of Hippo) ในหนังสือ Confes-

sions ออกัสตินโจมตีพลังปลุกเร้าอารมณ์ในงานวรรณกรรม

ซึ่งเชื่อว่านำความเสื่อมมาสู่จิตวิญญาณมนุษย์ แม้ออกัสติน จะ

สะท้อนมุมมองอันลึกซึ้งต่อบทกวีและความงามในงานเขียนอื่นๆ

แต่ความงามทางวรรณกรรมในทรรศนะของออกัสตินก็ยังเป็น

ความงามที่ต่ำชั้นกว่ารูปแบบในธรรมชาติซึ่งอยู่ใกล้ความจริง

ของพระเจ้า ในขณะที่แนวคิดของออกัสตินกำลังแผ่อิทธิพล

ไปทั่วศาสนจักร แต่การผลิตวรรณกรรมในยุโรปก็ไม่ได้หยุด

ชะงักแต่อย่างใด ท่ามกลางความนิยมภาษาละตินในกลุ่ม

พระสงฆ์และชนชั้นปกครอง วรรณกรรมลายลักษณ์ฯ ในภาษา

ท้องถิ่นยุโรปก็เริ่มถือกำเนิดขึ้น แต่วรรณกรรมภาษาท้องถิ่น

เหล่านี ้ยังคงสะท้อนความผูกพันกับวัฒนธรรมมวลชนอย่าง

ชัดเจน วรรณกรรมเรื่องสำคัญอย่าง Das Hildebranslied (ภาษา

เยอรมันโบราณ) Beowulf (ภาษาอังกฤษโบราณ) La Chanson

de Roland (ภาษาฝรั่งเศสโบราณ) และบทกวีขนาดสั้นยาวอื่นๆ

ต่างมีร่องรอยทางภาษาที ่สามารถเชื ่อมโยงเข้ากับรูปแบบ

วัฒนธรรมมุขปาฐะ วรรณกรรมกับการแสดงขับร้อง ความ

บันเทิงของมวลชน ภูมิปัญญาระดับปฏิบัติ รวมถึงภาพพิษภัย

ต่อศีลธรรมทางจิตวิญญาณ ถูกผูกเข้าหากันอย่างน้อยก็ใน

ทรรศนะของฝ่ายสงฆ์ส่วนหนึ่งในสมัยกลาง (แม้สถาบันสงฆ์เอง

จะมีบทบาทในการคัดลอกหรือแต่งวรรณกรรมขึ้นใหม่ก็ตาม)

การผลิตและเสพงานวรรณกรรมเติบโตขึ ้นเรื ่อยๆ

ในปลายสมัยกลางโดยเฉพาะในแหลมอิตาลี อังกฤษและฝรั่งเศส

ทรรศนะเชิงบวกต่อวรรณกรรมและความงามของนักคิดในสมัย

ดังกล่าวเริ ่มกลับมาอาศัยกระบวนวิธีคิดอันซับซ้อนดังเช่น

วิธีการของอาริสโตเติลที่ปรากฏในหนังสือ Poetics ข้อเขียน

เชิงปรัชญาศาสนาของ ธอมัส อไควนัส (Thomas Aquinas)

ซึ ่งบางส่วนได้เสนอและวิเคราะห์ทฤษฎีความงามทางศิลปะ

อย่างลึกซึ้ง อาจเป็นความพยายามแรกๆ ในการต่อรองพื้นที่

ทางสุนทรียศาสตร์ในโลกทางจิตวิญญาณคริสเตียน ใน

ศตวรรษที่ 14 การกลับมาเฟื่องฟูของภูมิปัญญากรีกและละติน

(ที่ถูกแปรรูปเป็นวัฒนธรรมชั้นสูงในช่วงสหัสวรรษก่อนหน้า)

กระตุ้นการผลิตข้อเขียนเชิงปรัชญาและวิทยาการในกลุ่มสงฆ์

และปัญญาชนชั้นนำ ในขณะที่ผลงานเชิงปรัชญาและวิทยาการ

ของปัญญาชนชั้นนำยุโรปเหล่านั้นเขียนด้วยภาษาละตินเป็น

หลัก งานวรรณกรรมลายลักษณ์ฯ เพื่อความบันเทิงทางโลกย์

ในภาษาท้องถิ ่นยุโรปก็ถูกผลิตเพิ ่มขึ ้นใหม่เป็นจำนวนมาก

เนื่องจากผู้ที่มีความสามารถอ่านเขียนภาษาท้องถิ่นยุโรปมักเป็น

ชนชั้นนำที่มีความคุ้นเคยกับภาษาคลาสสิค อิทธิพลของ

โวหารกรีก และละตินจึงเริ่มแทรกซึมและนำความเปลี่ยนแปลง

มาสู่รูปแบบกวีและความเรียงในภาษาท้องถิ่นยุโรป การอ้างอิง

ฉากตอนในวรรณกรรมกรีกกลายเป็นเครื่องบ่งชี้รสนิยมอันเลิศ

ของกวี ในช่วงต้นสมัยใหม่ (ราวศตวรรษที่ 14 – 17)

วรรณกรรมลายลักษณ์ฯ เพื่อความบันเทิงในภาษาท้องถิ่น

ยุโรปต่างๆ เริ่มถูกเขียนเพื่อการอ่านในใจมากขึ้น วรรณกรรม

ภาษาท้องถิ่นยุโรปบางส่วนได้รับการสถาปนาเป็นศิลปะชั้นสูง

และเริ ่มแบ่งแยกตัวออกจากวัฒนธรรมพื ้นบ้านของมวลชน

นอกระบบการศึกษา นักเขียน (ทั้งมืออาชีพและทั้งที่เขียนงาน

ในยามว่างจากภารกิจหลัก) เริ่มศึกษาวรรณศิลป์อย่างจริงจัง

เพื่อพัฒนาผลงานทางวรรณกรรมภาษาถิ่นของตน การเขียน

อ่านวรรณกรรมทั้งในภาษาละตินและภาษาท้องถิ่นยุโรปเริ่มถูก

ผันไปสู่กิจกรรมทางปัญญาในกลุ่มชนชั้นนำ

การเต ิบโตของชนช ั ้นกระฎ ุมภ ีและชนช ั ้นกลาง

ในช่วงต้นสมัยใหม่ ทำให้วัฒนธรรมการอ่านเขียนกลับมา

แพร่หลายมากขึ้น แต่ความสามารถอ่านเขียนของผู้คนในชนชั้น

ใหม่ที่ตั ้งตัวได้จากการทำมาหากินย่อมมุ่งไปที่ภาษาท้องถิ่น

ยุโรปที่ตนถนัด การอ่านเขียนภาษาท้องถิ่นยุโรปขยายตัว

จนกลบกระแสความนิยมภาษาละตินในสังคมกระแสหลัก

ช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 17-18 การเติบโตของวัฒนธรรมการอ่าน

ในหมู่ชนชั้นกระฎุมพีและชนชั้นกลางนำไปสู่การอุบัติขึ ้นของ

วัฒนธรรมวรรณกรรมวิจารณ์ Jürgen Habermas พบว่า

วัฒนธรรมการวิจารณ์เริ่มต้นตามพื้นที่สาธารณะ เช่นร้านกาแฟ

ในประเทศอังกฤษ ซาลงในประเทศฝรั่งเศส (salon พื้นที่

สมาคมแบบลำลองตามห้องนั่งเล่นในบ้านผู้มีอันจะกิน) และ

สโมสรต่างๆ ที่ผุดขึ้นทั่วยุโรปเพื่อรองรับการเติบโตทางการเงิน

ของชนชั้นใหม่ บรรดากระฎุมภีและชนชั้นกลางที่เข้าไปใช้

บริการในพื้นที่เหล่านี้มักตั้งต้นวิจารณ์ประเด็นทางเศรษฐกิจ

และการเมืองอย่างตรงไปตรงมา พร้อมกันนั้น ผลงานทางศิลปะ

ดนตรีและวรรณกรรมของศิลปินที่มีชื่อเสียงก็ถูกหยิบยกขึ้นมา

วิจารณ์ถกเถียงอย่างกว้างขวาง วัฒนธรรมวรรณกรรมวิจารณ์

พัฒนาอย่างโดดเด่นในประเทศฝรั่งเศส ข้อเขียนวิจารณ์

วรรณกรรม ของนักเขียนสมัครเล่นได้รับการตีพิมพ์ตามวารสาร

ที่วางขายตามท้องตลาด นักเขียนหรือศิลปินอาชีพที่ไขว่คว้า

ความเจริญก้าวหน้ามักไปปรากฏตัวตามซาลงเพื ่อแนะนำ

ผลงานของตนแก่วงสังคม ในประเทศอังกฤษและเยอรมนี

นักเขียนหลายคนเริ ่มเขียนบทวิเคราะห์ทางวรรณกรรมไป

พร้อมๆ กับการผลิตผลงานวรรณกรรม นักเขียนอย่าง ไดรเดน

(John Dryden) เลสซิง (Gotthold Ephraim Lessing) ชิลเลอร์

(Friedrich Schiller) ต่างมีงานเขียนบทวิเคราะห์ทางวรรณกรรม

ที่ซับซ้อน กิจกรรมทางวรรณกรรม ไม่ว่าจะเป็นการอ่าน หรือ

การวิจารณ์ ได้รับการยอมรับเข้าสู่พื้นที่ทางปัญญาอันสูงส่ง

ในช่วงเวลานี้

แม้การอ่านเขียนวรรณกรรมในภาษาท้องถิ ่นยุโรป

ถูกผันไปสู่วัฒนธรรมทางปัญญา มหาวิทยาลัยต่างๆ ในยุโรป

ยังคงปฏิเสธการรับวรรณกรรมภาษาท้องถิ่นเหล่านั้นเข้าสู่วง

วิชาการ เนื่องจากมหาวิทยาลัยมองการอ่านและวิจารณ์

วรรณกรรมภาษาท้องถิ ่นเป็นกิจกรรมอัตวิสัยที ่ไม่สามารถ

นำเข้าสู่วิธีการทางวิชาการได้ การศึกษาภาษาและวรรณกรรม

ในมหาวิทยาลัยทั ่วยุโรปจำกัดอยู ่เฉพาะภาษาคลาสสิคและ

ภาษาโบราณต่างๆ กระทั่งต้นคริสตศตวรรษที่ 19 กลุ่ม

นักวิชาการด้านภาษาและคติชนเยอรมันอย่างพี่น้องJacob และ

Wilhelm Grimm และ Georg Friedrich Benecke

จึงสามารถผลักดันวิชาเยอรมันศึกษาเข้าสู ่มหาวิทยาลัยใน

เยอรมนีได้สำเร็จ ในอังกฤษและสหรัฐอเมริกา กิจกรรมทาง

วรรณกรรมยังคงพัฒนาอย่างต่อเนื ่องในสังคมปัญญาชน

แต่ก็ไม่ได้รับการบรรจุเข้าสู่หลักสูตรในมหาวิทยาลัยกระทั่งล่วง

มาถึงปลายศตวรรษที่ 19 จากการศึกษาของ Terry Eagleton

พบว่าการสถาปนาวรรณกรรมภาษาอังกฤษเป็นวิชาการศึกษา

เกิดขึ ้นพร้อมความกังวลของชนชั ้นสูงต่อความถดถอยทาง

ศีลธรรมในหมู่ชนชั้นกลางและชนชั้นแรงงาน ซึ่งถูกมองว่า

เต็มไปด้วยความละโมภในวัตถุ (เนื่องจากต้องทำงานหาเลี้ยง

ชีพ) วิชาวรรณกรรมภาษาอังกฤษถูกสอนครั้งแรกในโรงเรียน

ฝึกหัดช่างเพื่อขัดเกลาศีลธรรมของแรงงานซึ่งไม่มีปัญญาอ่าน

วรรณกรรมภาษาละติน ในอินเดีย Thomas Macaulay

ผู้สำเร็จราชการของอังกฤษ เรียกร้องให้บรรจุวรรณกรรมอังกฤษ

ในหลักสูตร การศึกษาของชาวพื้นเมืองเพื่อลบล้างอิทธิพลของ

วรรณกรรมสันสกฤตซึ ่งเต็มไปด้วยความเสื ่อมทางศีลธรรม

(ในความคิดของเขา)

ในสหรัฐอเมริกาก็เช่นกัน James Berlin ศึกษาพบว่า

วิชาวรรณกรรมภาษาอังกฤษถูกนำเข้าสู่มหาวิทยาลัยท่ามกลาง

ความว ิตกต ่อป ัญหาทางศ ีลธรรมเม ื ่ อระบบท ุนบ ีบให ้

มหาวิทยาลัยเปิดสอนวิชาในเชิงทักษะการอาชีพมากขึ้น (ก่อน

หน้านั ้นมหาวิทยาลัยเน้นการสอนวิชาการบริหารจัดการ)

นอกจากนี้ การสอนวรรณกรรมอังกฤษยังมีเป้าหมายในการ

หลอมรวมผู้อพยพเชื้อสายต่างๆ เข้าสู่อุดมคติแบบอเมริกันซึ่ง

สืบทอดมาจากอังกฤษ การศึกษาของ Eagleton และ Berlin

ยังพบด้วยว่า การเปิดรับนักศึกษาหญิงเข้าสู ่มหาวิทยาลัย

ครั้งแรกในปลายศตวรรษที่ 19 มีส่วนทำให้มหาวิทยาลัย

ทั้งในอังกฤษและอเมริกายินยอมเปิดสอนวิชาวรรณกรรมภาษา

อังกฤษ ในยุคที่สตรีได้รับการทนุถนอมในฐานะแก่นสารทาง

ศีลธรรม วิชาที่เหมาะสมกับที่ทางดังกล่าวก็คือวิชาการอ่าน

หนังสือจรรโลงโลกในภาษาที่ใครๆก็สามารถอ่านได้

ทุกวันนี้ แม้การศึกษาวรรณกรรมจะดำเนินไปอย่าง

จริงจังและเต็มไปด้วยการแข่งขัน แต่ไม่ว่าจะเป็นวิชาวรรณกรรม

ภาษาโบราณหรือภาษาปัจจุบัน ทรรศนะเชิงลดทอนจากสังคม

ทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัยก็ยังคงดำรงอยู่ คงมีเพียง

ผู้คนในวงการเท่านั้นที่เข้าใจถึงพลังและคุณค่าของศาสตร์ใน

สาขานี้น

านาท

รรศ

นะ

อ.สถ

ิตย์

ลีลา

ถาวร

ชัย

4 ดูบทที ่ 1-2 The Structural Transformation of the Public Sphere ตีพิมพ์ครั ้งที ่ 11 ปี 20005 ดูบทที ่ 1 Literary Theory: An Introduction ตีพิมพ์ครั ้งที ่ 2 ปี 19876 Minute by the Honorable T.B. Macaulay, dated the 2nd February 18357 ดูบทที ่ 2 Rhetorics, Poetics, and Cultures: Refiguring College English Studies ตีพิมพ์ครั ้งแรกปี 1996

4

5

6

7

Page 6: จดหมายข่าวสุวรรณภิงคาร ฉบับ ก.พ.-มี.ค.55

จดหมายข่าวเพื่อการประชาสัมพันธ์ : กุมภาพันธ์ - มีนาคม 25556

นอนลายทาง บรูโนอยากเป็นนักสำรวจ วันหนึ่งเมื่อบรูโน

แอบหนีออกจากบ้านเพื ่อสำรวจสิ ่งต่างๆ จนมาถึงรั ้ว

ลวดหนามกว้างใหญ่ที่เขาเคยมองเห็นไกลๆ จากหน้าต่าง

ห้องนอน ที่ใดที่หนึ่งในรั้วนั้นบรูโนพบกับชมูเอลเด็กชาย

ชาวยิวอายุเท่ากันกับเขา แต่ตัวเล็ก ผ่ายผอม ทั้งสองคน

ได้เป็นเพื่อนกัน บรูโนเบื่อการอยู่คนเดียวจึงหาทางแอบ

ออกมาเล่นกับชมูเอลเสมอ บางครั้งก็นำขนมติดมือมาฝาก

ชมูเอลด้วย โดยรั้วลวดหนามที่กั ้นระหว่างเด็กทั้งสองคน

ไม่เป็นอุปสรรคใดๆ ต่อมิตรภาพ

หลังจากที่แม่ของบรูโนรู้ว่าค่ายนี้เป็นค่ายกักกันและ

ลงโทษชาวยิวด้วยการรมควันพิษแล้วเผาศพทิ้ง แม้ทั้งหมดนี้

จะเป็นหน้าที่สำคัญของพ่อบรูโน แต่เธอไม่สามารถทนต่อสิ่งที่

เธอรับรู้นี้ได้ ในที่สุดพ่อของบรูโนก็ตัดสินใจส่งครอบครัว

ของเขากลับบ้านเดิมที่เบอร์ลิน บรูโนมาหาเพื่อบอกลาชมูเอล

พร้อมกันนั้นเขาก็รู้ว่าพ่อของชมูเอลหายไปจากที่พัก

ก่อนวันเดินทางกลับเบอร์ลิน บรูโนตัดสินใจเข้าไป

สำรวจในค่ายของชมูเอลด้วยการสวมชุดนอนลายทางที่ชมูเอล

นาน

าสาร

ะทาง

วิชาก

าร

หนังสือขนาดพอกเกตบุค ความหนา 202 หน้า ที่

ประพันธ์โดย จอห์น บอยน์ และแปลเป็นภาษาไทยโดย วารี

ตัณฑุลากร เป็นวรรณกรรมเยาวชนลำดับที่ 107 ที่จัดพิมพ์

โดยสำนักพิมพ์แพรวเยาวชนเรื่องนี้ บรรจุเรื ่องราวของ

ครอบครัวชาวเยอรมันครอบครัวหนึ่ง ประกอบด้วย พ่อ แม่

ลูกสาววัย 13 และลูกชาย วัย 9 ขวบ เหตุการณ์ที่เกิดขึ้น

ในเรื่องเป็นเหตุการณ์เบื้องหลังประวัติศาสตร์สมัยฮิตเลอร์

ปกครองประเทศเยอรมนี คือหลังจากแพ้สงครามโลกครั้งที่ 1

แล้ว ฮิตเลอร์และกลุ่มประเทศที่ก่อสงครามโลกครั้งที่ 2 ได้

ยึดครองยุโรปเกือบทั้งทวีป โดยเข้าบุกรุกโปแลนด์ เมื่อ ปี ค.ศ.

1939 เขาใช้นโยบายด้านเชื้อชาติสั่งฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ชาวยิว

และเชื้อชาติอื่นๆไปถึง 11 ล้านคน

บรูโน ลูกชายอายุ 9 ขวบของครอบครัวนี้ ต้องย้าย

ตามพ่อซึ่งเป็นนายทหารคนสำคัญคนหนึ่งของกองทัพฮิตเลอร์

ไปอยู่ที่ค่ายเอาช์วิตช์ (Auschwitz) ทางตอนใต้ของประเทศ

โปแลนด์ ค่ายนี้เป็นค่ายกักกันและใช้แรงงานมนุษย์ที่ใหญ่

ที่สุดของนาซี ทุกคนในค่ายแต่งกายด้วยชุด (ที่เหมือนชุด) รศ.น

.ท.ด

ร.วัฒ

นชัย

หมั่น

ยิ่ง

หามาให้เพื่อให้กลมกลืนกับคนในค่าย เขาพยายามมุดลอดรั้ว

เข้าไปเพื่อช่วยชมูเอลตามหาพ่อ แต่ทั้งสองคนไม่รู้ว่านั่นเป็น

การได้สำรวจครั้งสุดท้ายในชีวิต

นอกจาก “เด็กชายในชุดนอนลายทาง” จะเป็น

หนังสือที่ติดอันดับหนึ่งในชาร์ตหนังสือไอร์แลนด์นานถึง 57

สัปดาห์แล้ว ยังได้รับรางวัลชนะเลิศหนังสือยอดเยี่ยมแห่งปี

* Irish Book Award Children’s Book of the Year*

* Irish Book Award Listener’s Choice Book of the Year*

* Bisto Children’s Book of the Year*

นอกจากนี้ยังได้รับการสร้างเป็นภาพยนตร์โดยค่าย

มิราแมกซ์ (Miramax) ในชื่อเรื่องเดียวกัน ออกฉายเมื่อปี ค.ศ.

2008 เรื ่องราวจากหนังสือเล่มนี ้ได้ถูกถ่ายทอดลงใน

ภาพยนตร์อย่างไม่ดัดแปลงให้ผู้อ่านต้องเสียอรรถรสที่ได้รับ

จากหนังสือ (ไม่เหมือนอย่างละครทางโทรทัศน์ของไทย เช่น

เรื่อง ทวิภพ เวอร์ชั่นล่าสุด เป็นต้น) และยังงดงามด้วยฉาก

เมืองเบอร์ลินในตอนต้นเรื่อง ทำให้ผู้ชมเห็นภาพความโอ่อ่า

รุ่งเรือง ความงดงามของอาคารบ้านเรือนที่สร้างอย่างเป็น

ระเบียบ ความสนุกสนานของเด็กๆ ที่วิ่งเล่นกัน ซึ่งตรงกันข้าม

กับฉากความเงียบเหงาหดหู่ของค่ายเอาช์วิตช์ ความแห้งแล้ง

กองซากอุปกรณ์ก่อสร้างต่างๆ ยิ่งเมื่อภาพถูกถ่ายจากมุมสูง

มองลงมาจะเห็นว่าบริเวณที่ชมูเอลนั่งคุยอยู่กับที่บรูโนนั้น

ต่างกันโดยสิ้นเชิง เพราะบริเวณที่บรูโนนั่งอยู่จะเต็มไปด้วย

ดอกไม้หลากสี สายน้ำไหลเรื่อยๆ งดงามร่มรื่น

หลายฉากที่ภาพยนตร์เรื่องนี้สามารถสร้างอารมณ์

ที่แสนหดหู่ น่าสงสารให้เกิดกับผู้ชมได้เป็นอย่างดี เช่นในตอน

ที่นักโทษชายสูงอายุชาวยิวที่เป็นหมอรักษาบาดแผลให้บรูโน

บอกกับบรูโนว่าเขาเคยเป็นนายแพทย์มาก่อนที่จะมานั่งปอก

มันฝรั่งและรับใช้อยู่ในครัว เมื่อกล้องจับไปที่สีหน้าและดวงตา

ของเขา ผู้ชมจะเห็นขอบตาเขาแดงขึ้น ในตามีน้ำตา ริ้วรอย

ยับย่นบนใบหน้าช่วยย้ำให้เห็นความทุกข์อันใหญ่หลวงที่กดทับ

เขาอยู่ ในที่สุดเมื่อเขาถูกลากตัวไปซ้อมเพราะรินเหล้าหก

รดนายทหารคนหนึ่ง ผู ้ชมกลับรู้สึกโล่งใจและยินดีกับ

ความตายของเขามากกว่าจะทนเห็นเขามีชีวิตอยู ่ต่อไปใน

ฐานะนักโทษ

ไคลแมกซ์ของวรรณกรรมเรื ่องนี้ทั ้งในหนังสือและ

ในภาพยนตร์อยู่ในตอนจบ ไม่น่าแปลกที่ผู้รับสารจะรู้สึกว่า

แม้วรรณกรรมเรื่องนี้ไม่ใช่เป็นเรื่องของชาวพุทธ แต่คำว่า

“กรรมสนองกรรม” เป็นคำที่ตรงกับแก่นของเรื่องมากที่สุด

หากได้อ ่านหนังส ือเร ื ่องน ี ้ผ ู ้อ ่านจะอิ ่มเอมกับ

จินตนาการที่เกิดขึ้นในความรู้สึก และหากได้ชมภาพยนตร์

เรื่องนี้ผู้ชมจะถูกตรึงไว้กับภาพและเหตุการณ์ที่เคลื่อนไหวไป

อย่างต่อเนื่อง ดังนั้นจึงขอแนะนำว่าเพื่อให้การรับรสต่างๆ จาก

วรรณกรรมเรื่องนี้มีความสมบูรณ์แล้ว ควรอ่านหนังสือแปล

เรื่อง เด็กชายในชุดนอนลายทาง และชมภาพยนตร์เรื่อง The

Boy in the Striped Pyjamas ด้วย

YJAMASTRIPED

OYS

BTHE

JOHN BOYNE

THEIN

P

เด็กชายในชุดนอนลายทาง

Page 7: จดหมายข่าวสุวรรณภิงคาร ฉบับ ก.พ.-มี.ค.55

นอนลายทาง บรูโนอยากเป็นนักสำรวจ วันหนึ่งเมื่อบรูโน

แอบหนีออกจากบ้านเพื ่อสำรวจสิ ่งต่างๆ จนมาถึงรั ้ว

ลวดหนามกว้างใหญ่ที่เขาเคยมองเห็นไกลๆ จากหน้าต่าง

ห้องนอน ที่ใดที่หนึ่งในรั้วนั้นบรูโนพบกับชมูเอลเด็กชาย

ชาวยิวอายุเท่ากันกับเขา แต่ตัวเล็ก ผ่ายผอม ทั้งสองคน

ได้เป็นเพื่อนกัน บรูโนเบื่อการอยู่คนเดียวจึงหาทางแอบ

ออกมาเล่นกับชมูเอลเสมอ บางครั้งก็นำขนมติดมือมาฝาก

ชมูเอลด้วย โดยรั้วลวดหนามที่กั ้นระหว่างเด็กทั้งสองคน

ไม่เป็นอุปสรรคใดๆ ต่อมิตรภาพ

หลังจากที่แม่ของบรูโนรู้ว่าค่ายนี้เป็นค่ายกักกันและ

ลงโทษชาวยิวด้วยการรมควันพิษแล้วเผาศพทิ้ง แม้ทั้งหมดนี้

จะเป็นหน้าที่สำคัญของพ่อบรูโน แต่เธอไม่สามารถทนต่อสิ่งที่

เธอรับรู้นี้ได้ ในที่สุดพ่อของบรูโนก็ตัดสินใจส่งครอบครัว

ของเขากลับบ้านเดิมที่เบอร์ลิน บรูโนมาหาเพื่อบอกลาชมูเอล

พร้อมกันนั้นเขาก็รู้ว่าพ่อของชมูเอลหายไปจากที่พัก

ก่อนวันเดินทางกลับเบอร์ลิน บรูโนตัดสินใจเข้าไป

สำรวจในค่ายของชมูเอลด้วยการสวมชุดนอนลายทางที่ชมูเอล

นาน

าสาร

ะทาง

วิชาก

ารรศ

.น.ท

.ดร.

วัฒน

ชัย ห

มั่นยิ่ง

จดหมายข่าวเพื่อการประชาสัมพันธ์ : กุมภาพันธ์ - มีนาคม 2555 7

หนังสือขนาดพอกเกตบุค ความหนา 202 หน้า ที่

ประพันธ์โดย จอห์น บอยน์ และแปลเป็นภาษาไทยโดย วารี

ตัณฑุลากร เป็นวรรณกรรมเยาวชนลำดับที่ 107 ที่จัดพิมพ์

โดยสำนักพิมพ์แพรวเยาวชนเรื่องนี้ บรรจุเรื ่องราวของ

ครอบครัวชาวเยอรมันครอบครัวหนึ่ง ประกอบด้วย พ่อ แม่

ลูกสาววัย 13 และลูกชาย วัย 9 ขวบ เหตุการณ์ที่เกิดขึ้น

ในเรื่องเป็นเหตุการณ์เบื้องหลังประวัติศาสตร์สมัยฮิตเลอร์

ปกครองประเทศเยอรมนี คือหลังจากแพ้สงครามโลกครั้งที่ 1

แล้ว ฮิตเลอร์และกลุ่มประเทศที่ก่อสงครามโลกครั้งที่ 2 ได้

ยึดครองยุโรปเกือบทั้งทวีป โดยเข้าบุกรุกโปแลนด์ เมื่อ ปี ค.ศ.

1939 เขาใช้นโยบายด้านเชื้อชาติสั่งฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ชาวยิว

และเชื้อชาติอื่นๆไปถึง 11 ล้านคน

บรูโน ลูกชายอายุ 9 ขวบของครอบครัวนี้ ต้องย้าย

ตามพ่อซึ่งเป็นนายทหารคนสำคัญคนหนึ่งของกองทัพฮิตเลอร์

ไปอยู่ที่ค่ายเอาช์วิตช์ (Auschwitz) ทางตอนใต้ของประเทศ

โปแลนด์ ค่ายนี้เป็นค่ายกักกันและใช้แรงงานมนุษย์ที่ใหญ่

ที่สุดของนาซี ทุกคนในค่ายแต่งกายด้วยชุด (ที่เหมือนชุด)

หามาให้เพื่อให้กลมกลืนกับคนในค่าย เขาพยายามมุดลอดรั้ว

เข้าไปเพื่อช่วยชมูเอลตามหาพ่อ แต่ทั้งสองคนไม่รู้ว่านั่นเป็น

การได้สำรวจครั้งสุดท้ายในชีวิต

นอกจาก “เด็กชายในชุดนอนลายทาง” จะเป็น

หนังสือที่ติดอันดับหนึ่งในชาร์ตหนังสือไอร์แลนด์นานถึง 57

สัปดาห์แล้ว ยังได้รับรางวัลชนะเลิศหนังสือยอดเยี่ยมแห่งปี

* Irish Book Award Children’s Book of the Year*

* Irish Book Award Listener’s Choice Book of the Year*

* Bisto Children’s Book of the Year*

นอกจากนี้ยังได้รับการสร้างเป็นภาพยนตร์โดยค่าย

มิราแมกซ์ (Miramax) ในชื่อเรื่องเดียวกัน ออกฉายเมื่อปี ค.ศ.

2008 เรื ่องราวจากหนังสือเล่มนี ้ได้ถูกถ่ายทอดลงใน

ภาพยนตร์อย่างไม่ดัดแปลงให้ผู้อ่านต้องเสียอรรถรสที่ได้รับ

จากหนังสือ (ไม่เหมือนอย่างละครทางโทรทัศน์ของไทย เช่น

เรื่อง ทวิภพ เวอร์ชั่นล่าสุด เป็นต้น) และยังงดงามด้วยฉาก

เมืองเบอร์ลินในตอนต้นเรื่อง ทำให้ผู้ชมเห็นภาพความโอ่อ่า

รุ่งเรือง ความงดงามของอาคารบ้านเรือนที่สร้างอย่างเป็น

ระเบียบ ความสนุกสนานของเด็กๆ ที่วิ่งเล่นกัน ซึ่งตรงกันข้าม

กับฉากความเงียบเหงาหดหู่ของค่ายเอาช์วิตช์ ความแห้งแล้ง

กองซากอุปกรณ์ก่อสร้างต่างๆ ยิ่งเมื่อภาพถูกถ่ายจากมุมสูง

มองลงมาจะเห็นว่าบริเวณที่ชมูเอลนั่งคุยอยู่กับที่บรูโนนั้น

ต่างกันโดยสิ้นเชิง เพราะบริเวณที่บรูโนนั่งอยู่จะเต็มไปด้วย

ดอกไม้หลากสี สายน้ำไหลเรื่อยๆ งดงามร่มรื่น

หลายฉากที่ภาพยนตร์เรื่องนี้สามารถสร้างอารมณ์

ที่แสนหดหู่ น่าสงสารให้เกิดกับผู้ชมได้เป็นอย่างดี เช่นในตอน

ที่นักโทษชายสูงอายุชาวยิวที่เป็นหมอรักษาบาดแผลให้บรูโน

บอกกับบรูโนว่าเขาเคยเป็นนายแพทย์มาก่อนที่จะมานั่งปอก

มันฝรั่งและรับใช้อยู่ในครัว เมื่อกล้องจับไปที่สีหน้าและดวงตา

ของเขา ผู้ชมจะเห็นขอบตาเขาแดงขึ้น ในตามีน้ำตา ริ้วรอย

ยับย่นบนใบหน้าช่วยย้ำให้เห็นความทุกข์อันใหญ่หลวงที่กดทับ

เขาอยู่ ในที่สุดเมื่อเขาถูกลากตัวไปซ้อมเพราะรินเหล้าหก

รดนายทหารคนหนึ่ง ผู ้ชมกลับรู้สึกโล่งใจและยินดีกับ

ความตายของเขามากกว่าจะทนเห็นเขามีชีวิตอยู ่ต่อไปใน

ฐานะนักโทษ

ไคลแมกซ์ของวรรณกรรมเรื ่องนี้ทั ้งในหนังสือและ

ในภาพยนตร์อยู่ในตอนจบ ไม่น่าแปลกที่ผู้รับสารจะรู้สึกว่า

แม้วรรณกรรมเรื่องนี้ไม่ใช่เป็นเรื่องของชาวพุทธ แต่คำว่า

“กรรมสนองกรรม” เป็นคำที่ตรงกับแก่นของเรื่องมากที่สุด

หากได้อ ่านหนังส ือเร ื ่องน ี ้ผ ู ้อ ่านจะอิ ่มเอมกับ

จินตนาการที่เกิดขึ้นในความรู้สึก และหากได้ชมภาพยนตร์

เรื่องนี้ผู้ชมจะถูกตรึงไว้กับภาพและเหตุการณ์ที่เคลื่อนไหวไป

อย่างต่อเนื่อง ดังนั้นจึงขอแนะนำว่าเพื่อให้การรับรสต่างๆ จาก

วรรณกรรมเรื่องนี้มีความสมบูรณ์แล้ว ควรอ่านหนังสือแปล

เรื่อง เด็กชายในชุดนอนลายทาง และชมภาพยนตร์เรื่อง The

Boy in the Striped Pyjamas ด้วย

Page 8: จดหมายข่าวสุวรรณภิงคาร ฉบับ ก.พ.-มี.ค.55

เก็บ

มาฝ

ากสุร

ีย์พร

ชุมแ

สง

จดหมายข่าวเพื่อการประชาสัมพันธ์ : กุมภาพันธ์ - มีนาคม 25558

เมื่อวันที่ 7-8 กุมภาพันธ์ 2555 คณะมนุษยศาสตร์

ได้ส่งนิสิตสาขาวิชาภาษาไทย ภาควิชาภาษาและคติชนวิทยา

ไปเข้าร่วมแข่งขันกลอนสด ที่มหาวิทยาลัยราชมงคลตะวันออก

วิทยาเขตจันทบุรี ซึ่งการแข่งขันกลอนสดรายการนี้ ได้จัดติดต่อ

กันมาเป็นเวลา 11 ปีแล้ว นิสิตคณะมนุษยศาสตร์ที ่เข้าร่วม

การแข่งขันครั้งนี ้ ประกอบด้วย นายธนบัตร ใจอินทร์,

นายอรรถพร ดีที่สุด, นายอภิชาต (ไม่มีนามสกุล)

นายอรรถกร สังข์สุด, นายชานนท์ ถาวร ในนามทีม

คณะมนุษยศาสตร์ และทีมองค์การนิสิตมหาวิทยาลัยนเรศวร

โดยมี รองศาสตราจารย์ น.ท. ดร.วัฒนชัย หมั ่นยิ ่ง

เป็นอาจารย์ผู้ควบคุมทีม

เมื่อถึงช่วงเวลาการแข่งขัน ผู้แข่งขันทุกทีมได้รับโจทย์

คือ ดอกสร้อย 2 บท สักวา 2 บท กลอนสุภาพ 2 บท ดอกสร้อย

นั้นกรรมการตั้งโจทย์ขึ้นต้นมาให้ ว่า “ดอกเอ๋ย ดอกเบี้ย” สักวา

ตั้งโจทย์ขึ้นต้นมาให้ว่า “สักวาโลกกว้างแต่ทางแคบ” และกลอน

สุภาพนั้นโจทย์คือ “สายล่อฟ้า” โดยแต่ละบทกลอน ให้ใช้เวลา

แต่งทีมละ 10 นาทีเท่านั้น ซึ่งปรากฏผลงานอันน่าภาคภูมิใจ

ของนิสิตคณะฯ เรา ดังนี้

ดอกเอ๋ยดอกเบี้ย

ดอกเอ๋ยดอกเบี้ย

อันต้องเสียทุกวันนั่นเรื่องใหญ่

เป็นเจ้าหนี้เบิกบานสำราญใจ

ส่วนคนใช้เงินมาโศกอาดูร

เมื่อเบี้ยเงยเบี้ยงอกผลิดอกผล

ยิ่งยากจนเงินทองจำต้องสูญ

มีมานะสติบริบูรณ์

จงเพิ่มพูนแรงอย่าเพลียสู้เบี้ยเอย

สักวาโลกกว้างแต่ทางแคบ

สักวาโลกกว้างแต่ทางแคบ

ดุจดาวแอบหลังเมฆาคืนฟ้าหม่น

อุปสรรคหลายหลากยากผจญ

จงดั้นด้นฝ่าฟันด้วยปัญญา

เมื่อเข้าสู่เส้นทางแม้กว้างน้อย

จงค่อยค่อยเหยียดเท้าก้าวเดินหน้า

ให้กล้าแกร่งแรงเข้มเต็มอัตรา

เอื้อมมือคว้ากอดดาวพร่างพราวเอย

สายล่อฟ้า

เหมือนทองแดงเปลือยกายล่อสายฟ้า

คือคนกล้าทำชั่วไม่กลัวผล

บาปและกรรมไหลลู่มาสู่ตน

กายใจหมองไหม้หม่นดั่งลนไฟ

มีธรรมะส่องสว่างทางชีวิต

ดุจเข็มทิศชี้ทางสว่างไสว

สวมสติจะอยู่รอดอย่างปลอดภัย

อย่าตายใจเป็นต่อล่อฟ้าเลย

โดยสรุปผลการแข่งขัน ทีมของคณะมนุษยศาสตร์ ได้

รองชนะเลิศอันดับ 2 นับว่าประสบความสำเร็จอย่างมากกับการ

ไปแข่งขันครั้งแรก ซึ่งสร้างความดีใจให้กับผู้เข้าร่วมการแข่ง และ

มีความตั้งใจจะเข้าร่วมการแข่งขันอีกในปีถัดไป คณะมนุษย-

ศาสตร์ จึงขอแสดงความยินดีกับนิสิตทุกท่านมา ณ ที่นี้

ไปแข่ง

กลอนสด

Page 9: จดหมายข่าวสุวรรณภิงคาร ฉบับ ก.พ.-มี.ค.55

วิจัยช

วนค

ิด

จดหมายข่าวเพื่อการประชาสัมพันธ์ : กุมภาพันธ์ - มีนาคม 2555 9

ในวิชาระเบียบวิธีวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา สิ่งหนึ่งที่

ผู้สอนมักย้ำกับผู้เรียนเสมอคือ ความสำคัญของการทบทวน

วรรณกรรม (literature review) จุดประสงค์สำคัญของการ

ทบทวนวรรณกรรมคือ เพื่อทำให้กรอบของการศึกษาคมชัดขึ้น

และเพื่อให้ผู้วิจัยยืนยันกับตัวเองว่าการศึกษาของตนไม่ซ้ำซ้อน

กับงานที่มีมาก่อนหน้า ทั้งนี้ ในกรณีที่ยังไม่มีหัวข้อวิจัย ผู้สอน

มักจะแนะให้ผู้เรียน “หาหัวข้อ” จากบททบทวนวรรณกรรม

ร่วมกับข้อเสนอแนะในบทสุดท้ายของงานวิจัย ที่น่าเสียดายคือ

หลายกรณีพบว่า งานวิจัยต่างสาขาที่ใช้ข้อมูลวรรณคดีมิได้

ถูกทบทวนอย่างเหมาะสม ทั้งที่งานกลุ่มดังกล่าวจะเป็น

แรงบันดาลใจให้แก่นักวิจัยวรรณคดีได้อย่างมหาศาล

ความสนใจของนักวิจัยต่างสาขาที่มีต่อข้อมูลวรรณคดี

เริ่มปรากฏในทศวรรษ 2520 นับตั้งแต่ ชัยอนันต์ สมุทวณิช

ศึกษางานของเทียนวรรณ และ ก.ศ.ร.กุหลาบ สมบัติจันทรวงศ์

นักวิจัยในสาขารัฐศาสตร์ศึกษาโลกทัศน์ของสุนทรภู่ และ

วรรณกรรมไทยผ่านมุมมองทางการเมืองและสังคม ต่อมามี

หนังสือเล่มสำคัญคือ ปากไก่และใบเรือ ผลงานของ นิธิ

เอียวศรีวงศ์ ที่เป็นนักประวัติศาสตร์ งานวิจัยต่างสาขาเหล่านี้

เข้ามามีความสำคัญต่อการจัดการเรียนการสอนวรรณคดีไทย

ในระดับอุดมศึกษาในฐานะหนังสืออ่านประกอบในรายวิชา

ต่างๆ จึงอาจกล่าวได้ว่า ความรู้ของนักเรียนวรรณคดี สมบูรณ์

ขึ้นได้ด้วยงานเหล่านี้ ซึ่งอาจจำแนกคุณประโยชน์ที่ได้รับจาก

การศึกษางานวิจัยต่างสาขาที่นำข้อมูลวรรณคดีไปใช้ ได้เป็น

สามสถานคือ 1. การขยายขอบเขตข้อมูล 2. การตีความข้อมูล

ในแนวทางที่ต่างไป และ 3. การศึกษาวรรณคดีเชิงประวัติให้

รอบด้าน

การขยายขอบเขตข้อมูลในที่นี้หมายถึง การเลือกใช้

ข้อมูลที่นักวิจัยในสาขาไม่ใคร่จะนิยมใช้หรือไม่ได้ใช้ เช่น

วรรณกรรมการ์ตูน หนังสือภาพ และวรรณกรรมที่ไม่ได้รับการ

ยกย่องต่างๆ ที่อาจเรียกรวมว่า “ปริวรรณคดี” (paralitera-

ture) ตัวอย่างคืองานวิจัยทางสื่อสารมวลชนและสารสนเทศ-

ศาสตร์ เช่น การศึกษาเปรียบเทียบคุณค่าของบล็อกกับ

เว็บไซต์ และไดอารี่ออนไลน์ (2550) ของ พรพรรณ

ชินพงสานนท์ หนังสือภาพ : โครงสร้างการเล่าเรื่องกับการ

สื่อสารความหมายสำหรับเด็ก (2551) ของ วิมลิน มีศิริ และ

การวิเคราะห์หนังสืออนุสรณ์งานศพที่จัดพิมพ์ในปี พ.ศ. 2521

-2530 (2542) ของ นวลวรรณ ชั้นไพศาลศิลป์

การตีความข้อมูลในแนวทางที่ต่างออกไป ในที่นี้

ขอยกตัวอย่างจากแนวคิดเรื่องวาทกรรม (discourse) อันเป็น

ทฤษฎีทางสังคมศาสตร์ท ี ่ได ้ร ับความนิยมมากขึ ้นในวง

วรรณคดี ยกตัวอย่างเช่นการศึกษานวนิยายของทมยันตี

(คุณหญิงวิมล ศิริไพบูลย์) นักวิจัยในสาขามักสรุปตรงกันว่า

งานของทมยันตีสื่อสารมโนทัศน์สตรีนิยม (feminism) ทั้งนี้

เมื่ออ่านงานวิจัยในสาขาปรัชญาเรื่อง วาทกรรมของ มิเชล

ฟูโกต์ ต่อสถานภาพและบทบาทสตรีไทย ตามที่นำเสนอใน

นวนิยายของคุณหญิงวิมล ศิริไพบูลย์ (2552) ของ วศินี

สุทธิวิภากร จะพบข้อสรุปที่ต่างออกไป “คุณหญิงวิมลไม่ได้

ประกอบสร้างวาทกรรมหลักคือ วาทกรรมสตรีนิยม ที่สตรี

มีสิทธิเท่าเทียมบุรุษอย่างที่เราเข้าใจ แต่คุณหญิงได้ตอกย้ำ

ข้อจำกัด และข้อขัดแย้งในความเป็นหญิงผ่านตัวบทนวนิยาย

ที่ย้อนแย้งในตัวเอง คุณหญิงวิมลได้ผลิตซ้ำกรอบความรู้ความ

เข้าใจสตรีในบริบทสังคมที่ชายเป็นใหญ่อยู่นั่นเอง”

ประเด็นสุดท้ายสำหรับผู ้สนใจศึกษาวรรณคดีเชิง

ประวัติ ดังที่นักวรรณคดีได้ประโยชน์จากหนังสือ ปากไก่และ

ใบเรือ งานวิจัยในสาขาอื่นๆ เอื้อต่อความเข้าใจบบริบทในการ

สร้างและการรับวรรณคดีในยุคสมัยต่างๆ งานวิจัยต่างสาขา

ที่มีประโยชน์มากคือ สาขาประวัติศาสตร์ เช่น หนังสือวัดเกาะ:

การสืบทอดและปรับเปลี่ยนทัศนคติและค่านิยมในสังคมไทย

พ.ศ. 2465-2475 (2547) ของ สุรพงษ์ จันทร์เกษมพงษ์

ที่ชี้ว่าการปรับประเทศให้ทันสมัยส่งผลต่อรสนิยมการอ่านของ

คน และทำให้โลกแบบจักรๆ วงศ์ๆ ในเรื่องเล่ายุคก่อนเสื่อม

ความสำคัญลงไป

นอกจากนี้ยังมีข้อค้นพบใหม่ๆ จากงานวิจัยต่างสาขา

ที่ทำให้ประวัติวรรณคดีสมบูรณ์ขึ้น เช่นวิทยานิพนธ์สาขาการ

แปลเรื่อง พัฒนาการการแปลอาชญนิยายชุดเชอร์ล็อกโฮมส์

ตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 5 จนถึงปัจจุบัน (2548) ของ พนิดา

หล่อเลิศรัตน์ ที่เสนอว่าอาชญนิยายชุดแรกของไทยคือ “สืบ

สรรพการ” ที่อาศัยเรื่องเชอร์ล็อก โฮมส์เป็นต้นเค้า ซึ่งต่างกับ

ความเห็นของนักวิชาการทั่วไปที่สรุปว่า “นิทานทองอิน” เป็น

อาชญนิยายชุดแรก

จากที่กล่าวมาทั้งหมด น่าจะพอชวนเชื่อได้ว่าการวิจัย

วรรณคดียังไม่พบทางตันโดยง่าย เพราะว่ายังมีวิธีวิทยา

อีกมากที่จะใช้ในการศึกษา สหวิทยาการที่เป็นคำติดหูติดปาก

นักวิจัยวรรณคดีในปัจจุบัน จึงมิใช่การศึกษาศาสตร์สาขาอื่น

เพื่อให้เข้าใจวรรณคดีมากขึ้นเท่านั้น แต่หมายรวมถึงการ

ติดตามความเคลื่อนไหวของนักวิจัยสาขาอื่น ที่นำวรรณคดี

ไปศึกษาด้วย จึงขอสรุปว่า การวิจัยวรรณคดีเป็นงานหนัก

มิใช่งานที่เหมาะสำหรับคนเกียจคร้านหรือจะทำอย่าง “สุกเอา

เผากิน” ได้ แต่เหมาะสำหรับนักวิจัยที่มีความตื่นตัวและพร้อม

จะเรียนรู้อยู่เสมอ

ผศ.น

ัทธน

ัย ป

ระสา

นน

าม

งานวิจัยตางสาขากับแรงบันดาลใจ่ของนักวิจัยวรรณคดี

Page 10: จดหมายข่าวสุวรรณภิงคาร ฉบับ ก.พ.-มี.ค.55

กระด

านศ

ิษย์เ

ก่าสุร

ีย์พร

ชุมแ

สง

จดหมายข่าวเพื่อการประชาสัมพันธ์ : กุมภาพันธ์ - มีนาคม 255510

“จิตสาธารณะ” เป็นอีกคำที่ถูกนำมาอยู่ในกระแส

สังคมตลอดเวลา อาจเป็นเพราะว่าสังคมกำลังถามหา “น้ำใจ

???” จิตสาธารณะ ไม่ใช่คำทันสมัยอะไรนัก เพราะแนวคิด

เรื่องนี้ได้รับการปลูกฝังมาอย่างต่อเนื่อง ทุกยุค ทุคสมัย

โดยผ่านคำที่ให้ความหมายและสื่อความรู้สึกในทำนองเดียว

กัน เช่น จิตอาสา จิตสำนึกเพื่อสังคม เป็นต้น

พระบาทสม เด ็ จพระมงก ุ ฎ เกล ้ า เ จ ้ า อย ู ่ ห ั ว

ทรงพระราชนิพนธ์บทกวีไว้ในเรื่อง เวนิสวานิช ความว่า

“อันความกรุณาปรานี จะมีใครบังคับก็หาไม่ หลั่งมาเอง

เหมือนฝนอันชื่นใจ จากฟากฟ้าสุราลัยสู่แดนดิน” ข้อความ

หนึ ่งในพระราชนิพนธ์เรื ่องเวนิสวานิชสะท้อนความคิดว่า

ความกรุณาปรานีที่บุคคลหนึ่งจะมอบให้กับอีกบุคคลหนึ่งนั้น

เป็นเรื่องของความตั้งใจที่กลั่นออกมาจากความรู้สึกเฉพาะตน

ไม่สามารถบังคับให้กระทำสิ่งนั้นให้กับผู้ใดได้

ไม่นานมานี้ งานกิจการนิสิตและศิษย์เก่าสัมพันธ์

ได้รวมตัวศิษย์เก่าและศิษย์ปัจจุบัน เดินทางไปโรงเรียน

บ้านหนองใหญ่ ตำบลพุคำจาน อำเภอพระพุทธบาท

จังหวัดสระบุรี เพื ่อแสดงน้ำใจต่อเพื ่อนมนุษย์ ด้วยการ

สรรสร้างกิจกรรมน้อยๆ แต่มากด้วยคุณค่าต่อสังคม ภายใต้

โครงการสานสัมพันธ์สุวรรณภิงคารสัญจร ปี 2555

คุณกอบชัย ธนสุการณ์ ศิษย์เก่าสาขาวิชาภาษา

อังกฤษ กล่าวว่า “เราควรจะมีกิจกรรมอะไรสักอย่างที่เป็น

การทำประโยชน์ให้กับสังคมในฐานะที่เราถูกปลูกฝังจากคณะ

จากมหาวิทยาลัยของเราให้คิดถึงประโยชน์เพื่อส่วนร่วม งานนี้

จะมีแต่ความเป็นพี่เป็นน้องเท่านั้น พวกเราตระหนักถึงความ

สำคัญของสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่งเด็กๆ ในชนบท ซึ่งไม่ค่อย

ได้รับโอกาสเท่าเด็กในเมือง เราจึงรวบรวมสมัครพรรคพวก

ทำกิจกรรมให้กับเด็กๆ อาทิ กิจกรรมนันทนาการ แจกของ

รางวัลอุปกรณ์การเรียน และมอบเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อใช้ใน

การเรียนแก่น้องๆ อีกด้วย นอกจากจะได้มีความสุขกับการ

เป็นผู้ให้แล้ว เรายังถือโอกาสนี้พบปะสังสรรค์กับบรรดาพี่ ๆ

เพื่อน ๆ น้อง ๆ ที่ออกค่ายด้วยกัน”

โดยเฉพาะอย่างยิ่ง สิ่งสำคัญที่สุดในการจัดกิจกรรม

ครั้งนี้ ได้มีแนวคิดถึงการทำดีเพื่อสังคม “มหาวิทยาลัยของเรา

คณะของเรา สร้างให้เราเป็น “มนุษย์” ที่ไม่เห็นแก่ประโยชน์

ส่วนตัวป็นที่ตั้ง อย่างน้อยๆ หากมีโอกาสเราจะช่วยสร้าง

ประโยชน์ให้เกิดขึ้นกับสังคมไม่ทางใดก็ทางหนึ่ง เราจะไม่นิ่ง

ดูดายที่จะยื่นมือเข้าไปช่วยเหลือ และมันจะเป็นจุดเริ่มต้นของ

แรงบันดาลใจในการเป็นตัวอย่างที่ดีแก่บุคคลอื่นได้สานต่อ

ความมีน้ำใจแก่สังคมต่อไป”

“มนุษย์” ที่มีอยู่ในความเป็น “เด็กมนุษย์” แม้วันคืน

จะผันผ่านไปนานแค่ใด แต่ความมีน้ำใจของเพื่อนมนุษย์

ด้วยกัน มันไม่มีวันจะเลือนหาย หากแต่มันจะเพิ่มจิตวิญญาณ

แห่งความเป็น “มนุษย์” อย่างต่อเนื่อง ด้วยเหตุผลเดียว..

เพราะ “เราเป็น ‘มนุษย์’ ที่ไม่เห็นแก่ประโยชน์ส่วนตัว”

น้ำใจ “มนุษย์”...¹éÓã¨äÁ‹ÊØ´ÊÔé¹

Page 11: จดหมายข่าวสุวรรณภิงคาร ฉบับ ก.พ.-มี.ค.55

จดหมายข่าวเพื่อการประชาสัมพันธ์ : กุมภาพันธ์ - มีนาคม 2555 11

ข่าวก

ิจกรร

มสุร

ีย์พร

ชุมแ

สง

วันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2555 สาขาวิชาภาษาฝรั่งเศส

ภาควิชาภาษาตะวันตก ร่วมกับสถานเอกอัครราชทูตฝรั่งเศส

ประจำประเทศไทย จัดโครงการบริการวิชาการ ในหัวข้อ

“การอบรมเกี่ยวกับกลยุทธ์การสอนอ่าน” วิทยากรโดย Odile

Ledru-Menot ผู้เชี่ยวชาญชาวฝรั่งเศส โดยมีผู้เข้ารับการอบรม

จำนวน 21 คน จากมหาวิทยาลัยพะเยา มหาวิทยาลัยราชภัฏ

พิบูลสงคราม โรงเรียนมัธยมศึกษาในเขตภาคเหนือตอนล่าง

และศิษย์เก่าสาขาวิชาภาษาฝรั ่งเศส ณ อาคารคณะ-

มนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

วันที่ 19 มีนาคม 2555 รองศาสตราจารย์

ดร.กาญจนา วิชญาปกรณ์ คณบดีคณะมนุษยศาสตร์

ให้เกียรติเป็นประธานในพิธีเปิดโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ

ภาษาญี่ปุ่น จัดโดย สาขาวิชาภาษาญี่ปุ่น ภาควิชาภาษา

ตะวันออก คณะมนุษยศาสตร์ ในหัวข้อ “การสอนภาษาญี่ปุ่น

กับวัฒนธรรม” และ ”การอ่านภาษาญี่ปุ่นอย่างไรให้สนุก” เพื่อ

เป็นการแลกเปลี่ยนความรู้เกี ่ยวกับการเรียนการสอนภาษา

ญี่ปุ่น เทคนิคการเรียนการสอนภาษาญี่ปุ่นแก่คณาจารย์ผู้สอน

ภาษาญี่ปุ่นในเขตภาคเหนือตอนล่าง โดยได้รับเกียรติจาก

อ.สรัญญา คงจิตต์ จากมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และ Ms. Sanae

Ueda เป็นวิทยากรให้ความรู้ ณ ห้องประชุม 210 อาคาร

เอกาทศรถ มหาวิทยาลัยนเรศวร

วันที่ 12 มีนาคม 2555 ศาสตราจารย์ ดร.สุจินต์ จินายน อธิการบดีมหาวิทยาลัยนเรศวร ให้เกียรติเป็นประธาน ในพิธีเปิดโครงการอบรมล่ามภาษาไทย – เมียนมาร์ ระดับ ทั่วไป จัดโดยศูนย์พม่าศึกษา คณะมนุษยศาสตร์ ร่วมกับ กองเอเชียตะวันออก 2 กรมเอเชียตะวันออก กระทรวง การต่างประเทศ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มขีดความสามารถ และพัฒนาทักษะในการทำหน้าที่ล่ามภาษาไทย-พม่า ให้แก่ บุคลากรภาครัฐ ทั้งจากส่วนกลางและส่วนท้องถิ่น ตลอดจน นักศึกษามหาวิทยาลัย จำนวน 22 คน ให้มีความพร้อมสำหรับ การประชุม หรือการหารือทวิภาคีสำคัญๆ ระดับประเทศและ ระหว่างประเทศ ณ ห้องประชุมเสลา 5 สำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยนเรศวร

วันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2555 รองศาสตราจารย์

ดร.กาญจนา วิชญาปกรณ์ คณบดีคณะมนุษยศาสตร์ พร้อมด้วย

ผศ.วิรัช นิยมธรรม รองคณบดีฝ่ายวิจัยและวิเทศสัมพันธ์ และ

ดร.ฐิติรัตน์ สุวรรณสม รองคณบดีฝ่ายบริหาร ร่วมให้การ

ต้อนรับอาจารย์จาก Universitas Hindu Indonesia ที่เดินทาง

มาให้เกียรติเป็นวิทยากรอบรมในโครงการ อบรมเชิงปฏิบัติการ

นาฏศิลป์อาเซียน จัดโดย ภาควิชาศิลปกรรมศาสตร์

คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

Page 12: จดหมายข่าวสุวรรณภิงคาร ฉบับ ก.พ.-มี.ค.55

มหาว ิทยาลัยนเรศวร

คณ

ะมนุษยศาสตร์ สุวรรณภิงคารจดหมายข่าวเพื่อการประชาสัมพันธ์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

ท่านที ่สนใจจดหมายข่าวนี ้ กรุณาส่งชื ่อที ่อยู ่ของท่านมายังงานประชาสัมพันธ์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

อ.เมือง จ.พิษณุโลก 65000 โทรศัพท์ 0-5596-2035 โทรสาร 0-5596-2000 ไม่เส ียค่าใช ้จ ่ายใดๆ ทั ้งสิ ้น

สุวรรณภิงคาร หรือ “กลศ” หมายถึง หม้อดินสำหรับใส่น้ำ ดินและน้ำเป็นแม่บทของสิ ่งทั ้งปวง

อันเปรียบได้กับคณะมนุษยศาสตร์ ที ่เป็นรากฐานแห่งศาสตร์ทั ้งปวง

ชำระค่าฝากส่งเป็นรายเดือน

ใบอนุญาตเลขที ่ 85/2521

พิษณุโลก

วิสัยทัศน์ :

คณะมนุษยศาสตร์มีความเป็นเลิศทางวิชาการด้านภาษา วรรณคดี คติชน ดนตรี

และนาฏศิลป์ เป็นสังคมที่มีคุณธรรม ภูมิปัญญา และการเรียนรู้แบบต่อเนื่องยั่งยืน รวมทั้ง

เป็นหน่วยงานที่อนุรักษ์และสืบสานศิลปวัฒนธรรม เพื่อส่งเสริมให้มหาวิทยาลัยนเรศวร

เป็นมหาวิทยาลัย สมบูรณ์แบบ

พันธกิจ :

1. ผลิตบัณฑิตที่มีความเป็นเลิศทางวิชาการ ถึงพร้อมด้วยคุณธรรม และจริยธรรม

2. ศึกษาค้นคว้าองค์ความรู้ใหม่ด้านภาษา วรรณคดี คติชน ดนตรี และนาฏศิลป์

เพื่อประโยชน์ทางวิชาการ

3. บริการทางวิชาการเพื่อประโยชน์ในการพัฒนาสังคม

4. อนุรักษ์ ฟื้นฟู สร้างสรรค์และเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมทั้งในระดับท้องถิ่น และระดับชาติ

5. ส่งเสริมการเรียนรู้ และเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมนานาชาติ

6. สร้างความร่วมมือทางวิชาการระหว่างสถาบัน ทั้งภายในประเทศ และต่างประเทศ

ประเด็นยุทธศาสตร์ :

1. สร้างบัณฑิตที่มีคุณภาพและมาตรฐาน เป็นคนดี คนเก่ง มีคุณธรรม จริยธรรม และ

สอดคล้องกับความต้องการของสังคมและประเทศ

2. มุ่งสร้างงานวิจัยและพัฒนาเพื่อสร้างองค์ความรู้ทางด้านภาษาและดำเนินการสู่การเป็น

ศูนย์กลางของการศึกษาคติชนวิทยา

3. ส่งเสริมการบริการวิชาการแก่ชุมชนและสังคมในภูมิภาคภาคเหนือตอนล่าง

4. ส่งเสริมสนับสนุนการสร้างงานด้านศิลปวัฒนธรรม และความเข้าใจวัฒนธรรมต่างชาติ

5. จัดระบบบริหารจัดการด้วยความโปร่งใส คล่องตัว ยุติธรรม เอื้อต่อการดำเนินงาน

ที่รวดเร็วและบุคลากรมีส่วนร่วม ตลอดจนบริหารงานด้วยหลักธรรมาภิบาล มุ่งนำการ

จัดการความรู้มาเป็นเครื่องมือในการพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กร

นเรศวรสังคีตครั้งที่ ๒๑

ภาควิชาศิลปะการแสดง คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ขอเชิญเข้าร่วม โครงการนเรศวรสังคีต ครั้งที่ ๒๑ วันที่ ๑๙-๒๐ กรกฎาคม ๒๕๕๕ ณ โรงละครอาคาร เฉลิมพระเกียรติ มหาวิทยาลัยนเรศวร สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ โทรศัพท์ ๐-๕๕๙๖-๒๐๒๑, ๐๘-๒๑๖๐-๑๘๓๓