77
คูมือการใชโปรแกรม ArcView GIS 3.3 ชยกฤต มาลําพอง ภาควิชาภูมิศาสตร คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม เมษายน 2547

คู่มือการใช้โปรแกรมจัดการระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ ArcView 3.3 โดย อาจารย์ชยกฤต

  • View
    5.079

  • Download
    10

Embed Size (px)

DESCRIPTION

คู่มือการใช้โปรแกรมจัดการระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ ArcView 3.3 โดย อาจารย์ชยกฤต ม้าลำพอง

Citation preview

Page 1: คู่มือการใช้โปรแกรมจัดการระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ ArcView 3.3 โดย อาจารย์ชยกฤต

คูมือการใชโปรแกรม ArcView GIS 3.3

ชยกฤต มาลําพอง

ภาควิชาภูมิศาสตร คณะสังคมศาสตร

มหาวิทยาลัยเชียงใหม

เมษายน 2547

Page 2: คู่มือการใช้โปรแกรมจัดการระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ ArcView 3.3 โดย อาจารย์ชยกฤต

คูมือการใชโปรแกรม ArcView GIS 3.3

ภาควิชาภูมิศาสตร คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม

สารบัญ

สารบัญ ก

ทําความรูจักกับโปรแกรม ARCVIEW เบื้องตน 1

ARCVIEW คืออะไร 1 ARCVIEW ทําอะไรไดบาง 1 GIS คืออะไร 2 GIS ทํางานอยางไร 3 รูจักกับสวนติดตอกับผูใชของ ARCVIEW 4 ARCVIEW DOCUMENTS 5 ARCVIEW PROJECTS 5 แนะนําใหรูจัก VIEWS และ THEMES 6 การใชงาน THEMES เบ้ืองตน 7 รูจักกับตาราง (TABLES) 8 รูจักกับ CHARTS 9 รูจักกับ LAYOUTS 10 รูจักกับ SCRIPT 10 การใชระบบ HELP ของ ARCVIEW 11

การนําขอมูลเขาสูโปรแกรม ARCVIEW 13

การสราง VIEW และ THEMES 13 คาพิกัดทางภูมิศาสตร 21

การจัดการแสดงผลชั้นขอมูล 23

การเปล่ียนสัญลักษณที่ใชในการนําเสนอแผนที่ 23 วิธีจัดชวงชั้นขอมูล 26 การแกไขสวนประกอบตางๆ ของสัญลักษณ 28 การกําหนดการแสดงผล THEME ดวย THEME PROPERTIES 31

Page 3: คู่มือการใช้โปรแกรมจัดการระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ ArcView 3.3 โดย อาจารย์ชยกฤต

คูมือการใชโปรแกรม ArcView GIS 3.3

ชยกฤต มาลําพอง

ตารางขอมูลเชิงบรรยาย 37

การใชงานตารางขอมูลเชิงบรรยาย 37 การสืบคนขอมูล 40 การสืบคนขอมูล 41 การคํานวณคาสถิติจากตารางขอมูลเชิงบรรยาย 42 การสรางความสัมพันธระหวางตารางขอมูลเชิงบรรยาย 43

การนําเสนอขอมูลดวยกราฟ 49

การสรางกราฟ 49 องคประกอบของกราฟ 50 การเปล่ียนรูปแบบของกราฟ 51

การสรางและจัดการโครงรางแผนท่ี 57

แนวคิดการออกแบบแผนที่เบ้ืองตน 57 การควบคุมมุมมองในการทํางานกับโครงรางแผนที่ 58 การสรางโครงรางแผนที่ 58 การสรางโครงรางแผนที่ 59 การกําหนดคุณสมบัติของหนาโครงรางแผนที่ 60 การสรางกรอบองคประกอบแผนที่ 62 การกําหนดคุณสมบัติของกรอบองคประกอบแผนที่ 63 การสรางกราฟฟกประกอบแผนที่ 67 การแกไขกราฟฟก 68 การสรางตนแบบโครงรางแผนท่ี 72 การพิมพโครงรางแผนที่ 73 การแปลงโครงรางแผนที่เปนไฟลภาพ 73

Page 4: คู่มือการใช้โปรแกรมจัดการระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ ArcView 3.3 โดย อาจารย์ชยกฤต

ทําความรูจักกับโปรแกรม ArcView เบ้ืองตน

ภาควิชาภูมิศาสตร คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม

1

ทําความรูจักกับโปรแกรม ArcView เบื้องตน

ArcView คืออะไร ArcView เปนโปรแกรมงานทางดานระบบสารสนเทศภูมิศาสตร (Geographic Information System:

GIS) ที่ใชงานงาย ลักษณะการใชงานเปนแบบ Graphic User Interface ซึ่งสะดวกตอการใชงาน ไมวาจะเปนการเรียกใชขอมูลภาพ ขอมูลตาราง การแสดงผลตาราง การแสดงผลกราฟ ตลอดจนสามารถสืบคนขอมูล วิเคราะหขอมูล และนําเสนอขอมูลไดในรูปแบบแผนที่ที่สวยงาม

ArcView ทําอะไรไดบาง ArcView เปนโปรแกรมที่สามารถทําแผนที่โดยมีอุปกรณสนับสนุนการวิเคราะหเชิงพ้ืนที่ (Spatial

Analysis) การใหคาอางอิงทางภูมิศาสตร (Addresses Geocoding) แลวแสดงผลบนแผนที่ การสรางและการแกไขขอมูลภูมิศาสตรและขอมูลตาราง การทําแผนที่เฉพาะเรื่อง (Thematic Mapping) การนําเสนอในรูปแผนที่ที่มีคุณภาพ

Graphic User Interface

ArcView GUI (Graphic User Interface) จะอํานวยความสะดวกใหผูใชสามารถใชงาน ArcView ไดอยางรวดเร็วและงายดาย โดยสามารถออกคําส่ังตางๆ ไดจากทั้ง Pull-down Menus, ปุม, และเครื่องมือตางๆ บน Tools Bar

Access to External Databasses

โปรแกรม ArcView จะมีสวนที่เรียกวา ArcView’s SQL Connect control ซึ่งจะสามารถเชื่อมโยงเขาใชงานและจัดการกับฐานขอมูลในระบบตางๆ ได เชน ORACLE, SYBASE, INGRES หรือ INFORMIX ได และสามารถใช SQL สืบคนหรือเขาถึงรายละเอียดขอมูลจากแหลงขอมูลดังกลาว

Customization with Avenue

ผูใชงานสามารถเขียนสคริปต (Script) ดวยภาษา Avenue เพ่ือสราง เมนู (Menu) ปุม (Buttons) และเครื่องมือ (Tools) เพ่ือประยุกตใชงานในสวนที่ตองการ

Extensions for advances functionality

ArcView มีสวนขยาย (Extension) เพ่ือเพ่ิมความสามารถของโปรแกรมใหสูงขึ้น โดยมีสวนขยายมาตรฐานที่ใหเมื่อผูใชติดตั้งโปรแกรมดังนี้

CadReader extensions สนับสนุนการเปดขอมูลประเภท CAD Database Themes extension ESRI’s Spatial Database Engine (SDE) เปนผลิตภัณฑที่มีมา

ตางหากจาก ArcView ซึ่งสามารถดึงขอมูลจากฐานขอมูลภายนอกเขามาใชรวมกับฟเจอร (feature) ตางๆ ใน ArcView ได โดยมีอุปกรณ (Tools) อํานวยความสะดวกในการวิเคราะห และตัว

Page 5: คู่มือการใช้โปรแกรมจัดการระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ ArcView 3.3 โดย อาจารย์ชยกฤต

คูมือการใชโปรแกรม ArcView GIS 3.3

ชยกฤต มาลําพอง

2

Database Themes Extension ของ ArcView นี้เองที่จะชวยใหสามารถแสดงผลชั้นขอมูลที่เปนจุด (Point) เสน (Lines) และ วงรอบปด (Polygon) ของ SDE

Digitizer extension สนับสนุนการนําเขาโดย Digitizer IMAGINE Image extension เพ่ือใชงานภาพที่อยูในรูปแบบของโปรแกรม ERDAS IMAGINE JPEG (JFIF) Image extension เพ่ือใชงานภาพที่อยูในรูปแบบของ JFIF หรือในรูปของ JPEG ได

GIS คืออะไร GIS คือ ระบบสารสนเทศที่ใชในการแสดงผลแผนที่ และมีเครื่องมือในการสรางแผนที่ การวิเคราะห การ

จัดการเกี่ยวกับแผนที่อยางเต็มรูปแบบ รวมถึงการหาความสัมพันธระหวางขอมูลหลายๆ ชุด นอกจากนี้ยังมีอุปกรณในการวาดแกไขเพ่ิมเติมแผนที่ และแกขอมูลในตาราง เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงแกไขขอมูลก็จะมีผลตอแผนที่ที่ถูกทําขึ้นไวทันที

ผูใชสามารถทําอะไรกับ GIS ไดบาง

GIS สามารถนําขอมูลตางๆ มาวิเคราะห เพ่ือใหไดขอมูลใหมที่มีประโยชนย่ิงขึ้น ยกตัวอยางเชน

ใชพิจารณาหาตําแหนงของลูกคา และพิจารณาวาหนวยบริการดังกลาวจะสัมพันธกับลูกคา และมีการแขงขันของบริการประเภทเดียวกันบริเวณเดียวกันหรือไมอยางไร

ตัดสินใจเพ่ือสรางสิ่งอํานวยความสะดวก ธุรกิจตาง ศูนยการคา หรือบริการ หรือหาตําแหนงที่อยูอาศัยของสัตวที่อยูในเขตพ้ืนที่สงวน หรือหาพ้ืนที่มีแนวโนมจะเกิดดินถลมหลังเกิดไฟปา

แผนที่ประชากร และ การคาขาย และตัดสินใจวาบริเวณไหนควรทําการคา และ มีลูกคากลุมเปาหมาย

เปนเครื่องมือในการตัดสินใจวาควรจะมีการจัดสรรงบประมาณ ในการสรางถนน การบํารุงรักษาทาง การวางผังเรงดวน การปองกันความสงบ วาควรจะทําที่ไหนเมื่อไหร เปนตน

ปรับและรวบรวมให แผนที่ ตาราง กราฟ และภาพจากแหลงตางขอมูล สามารถใชงานรวมกันได

ปรับปรุงขอมูลแผนที่โดยอัตโนมัติ ทันที่ที่มีการเปลี่ยนแปลงแกไขขอมูล

Page 6: คู่มือการใช้โปรแกรมจัดการระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ ArcView 3.3 โดย อาจารย์ชยกฤต

ทําความรูจักกับโปรแกรม ArcView เบ้ืองตน

ภาควิชาภูมิศาสตร คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม

3

GIS ทํางานอยางไร

GIS ทําการเชื่อมโยงขอมูลเชิงพ้ืนที่ (Spatial Data) บนแผนที่ไปยังขอมูลเชิงบรรยาย (Attribute Data) ตางๆ ของแตละขอมูล ซึ่งเปนความสามารถหลักๆ ของ GIS ทําใหสามารถเขาถึงขอมูลตางๆ ไดอยางรวดเร็ว ทั้งโดยการใชขอมูลเชิงพ้ืนที่หรือขอมูลเชิงบรรยายก็ได

Feature หมายถึงวัตถุตางๆ ที่นําเสนอบนแผนที่ ไมวาจะเปนวัตถุที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติหรือวัตถุที่มนุษยสรางขึ้น ลวนแลวแตเรียกวา map feature ทั้งนั้น แตละ feature มีตําแหนง และสามารถนําเสนอใหเปนรูรางหรือสัญลักษณซึ่งจะทําใหทราบถึงคุณสมบัติที่มากกวาที่จะแสดงใหเห็นในแผนที่ของแตละสัญลักษณ

Attributes หรือขอมูลเชิงบรรยาย ระบบ GIS จัดเก็บขอมูลที่เกี่ยวกับ feature ตางๆ ในแผนที่ในฐานขอมูล (Database) และทําการเชื่อมโดยเขากับ feature เหลานั้น ขอมูลดังกลาวเรียกวาขอมูลเชิงบรรยาย (Attribute) ขอมูลเชิงบรรยายของอาคารอาจจะประกอบไปดวย ชื่ออาคาร เจาของ ประเภทของอาคาร ขนาด หรือเลขที่ เปนตน

GIS Themes การจัดการเชื่อมโยงรวบรวม feature เขากับขอมูลเชิงบรรยาย เมื่อจัดรวมเขาดวยกันแลวเราจะเรียกวา Theme ซึ่งแตละ Theme ก็จะมีขอมูลทางภูมิศาสตรตางๆ เชน ถนน ทางน้ํา การถือครองที่ดิน จุดสองสัตวปา พรอมกับขอมูลเชิงบรรยายของแตละ feature

GIS database ชุดของ theme ตางๆ ในพ้ืนที่ที่สัมพันธกัน

เชื่อมโยงขอมูลเชิงพื้นที่และขอมูลเชิงบรรยายเขาดวยกัน สอบถามขอมูลเชิงพื้นที่ไดจากขอมูลเชิงบรรยาย และสอบถามขอมูลเชิงบรรยายไดจากขอมูลเชิงพื้นที่

จัดการกับขอมูลเชิงบรรยายและขอมูลเชิงพื้นที่ผาน THEME

Page 7: คู่มือการใช้โปรแกรมจัดการระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ ArcView 3.3 โดย อาจารย์ชยกฤต

คูมือการใชโปรแกรม ArcView GIS 3.3

ชยกฤต มาลําพอง

4

รูจักกับสวนติดตอกับผูใชของ ArcView

หนาตาง Application ของ ArcView ประกอบไปดวย Graphical User Interface (GUI) สําหรับทุกหนาตางสามารถที่จะยาย เปล่ียนขนาด ยอหนาตางและขยายใหเต็มจอได โดยมีองคประกอบตางๆ ดังรายละเอียดดังนี้

Project window หนึ่งหนาตาง Application ประกอบไปดวย หนึ่งหนาตาง Project ซึ่งแสดงชื่อของเอกสารตางๆ เชนตารางหรือ database อ่ืนๆ

Document windows เปนสวนที่ใชแสดงผลขอมูลตางๆ ซึ่งขอมูลแตละประเภทกันจะทํางานใน Document window ของตัวเอง

Graphical User Interface (GUI) ประกอบไปดวย เมนู (Menus) ปุม (buttons) และเครื่องมือ (tools) เรียงลงมา 3 แถบดานบนสุดของ Application window สวนของ Menu bar จะใหผูใชสามารถใชคําส่ังไดจาก pulldown เมนู สวน Button bar ใชสําหรับออกคําส่ังตางๆ ที่มีอยางรวดเร็ว และ Tool bar เปนเครื่องมือที่ตองการการนําเขาโดยใชเมาส กลาวคือเมื่อใชเมาสคลิกบน Tool bar เพ่ือออกคําส่ังแลวรูปรางของ cursor จะเปล่ียนไปเพื่อใหเรานําเขาขอมูลหลังจากออกคําส่ังนั้นโดยใชเมาส

Status Bar เมื่อเล่ือนเมาสไปบนเมนู ปุมหรือเครื่องมือตางๆ แถบแสดงสถานะ (status bar) จะแสดงใหเห็นวาปุมหรือคําส่ังตางๆ เหลานั้นใชทําอะไร นอกจากนี้ยังแสดงผลใหเห็นวาขณะนั้น cursor อยู ณ ตําแหนงใดบนหนาจอ และสามารถบอกระยะที่จากจุดหนึ่งไปยังจุดหนึ่งไดอีกดวย

Application windows

Graphic user interface (GUI)

Project windows

Menu bar Button bar Tool bar

Document windows

Status bar

Page 8: คู่มือการใช้โปรแกรมจัดการระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ ArcView 3.3 โดย อาจารย์ชยกฤต

ทําความรูจักกับโปรแกรม ArcView เบ้ืองตน

ภาควิชาภูมิศาสตร คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม

5

ArcView documents ArcView สนับสนุนการทํางานของขอมูลไดอยางหลากหลายประเภท และสามารถแสดงผลขอมูลตางๆ

ไดในแตละหนาตางของมันเอง ซึ่งเรียกวา Document window แตละเอกสาร (document) มีหนาตา (interface) แตกตางกันออกไป ArcView document จะประกอบไปดวย

Views เปนหนาตางแสดงผลของขอมูลเชิงพ้ืนที่แยกเปน theme เชน ขอมูลขอบเขตการ ปกครอง เมือง ทางน้ํา ถนน โรงเรียน กรรมสิทธิ์ที่ดิน ธนาคาร หรือ โรงแรม เปนตน

Table แสดงขอมูลที่ใชแสดงขอมูลเชิงบรรยายตางๆ ที่แสดงอยูใน view เชน ชื่อเมือง ชื่อทางหลวง จํานวนประชากร ความสูงของพ้ืนที่เปน หรือ จํานวนบัญชีที่ธนาคารมี เปนตน

Chart เปนการแสดงผลขอมูลตางๆ จากตารางในรูปแบบของกราฟ Layouts ใชสําหรับการนําเอาขอมูลแตละชนิดมานําเสนอรวมกัน เชนขอมูล

ใน view ขอมูลจากตารางหรือขอมูลที่เปนกราฟ และสามารถที่จะส่ังพิมพเปนแผนที่ที่มีคุณภาพไดอยางสวยงาม

Scripts เปนหนาตางที่ใชในการเขียนโปรแกรมเพิ่มเติมดวยภาษา Avenue ซึ่งเปนภาษาโปรแกรม (Programming language) ของ ArcView เอง ซึ่งภาษา Avenue นี้สามารถสรางฟงกชันขึ้นใชเองหรือนําเอาฟงกชันเดิมที่มีอยูแลวมาประยุกตใชก็ได

ArcView projects

Views

Tables

Charts

Layouts

Scripts

Project Windows

Page 9: คู่มือการใช้โปรแกรมจัดการระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ ArcView 3.3 โดย อาจารย์ชยกฤต

คูมือการใชโปรแกรม ArcView GIS 3.3

ชยกฤต มาลําพอง

6

โปรเจค (Project) เปนหนวยใหญที่สุดในการแสดงผลของ ArcView ดังนั้นในหนึ่งโปรเจคจึงประกอบไปดวย views, tables, charts, layouts, และ scripts ซึ่งหนาตางโปรเจคจะเปนสวนที่ผูใชจะสามารถสั่งใหซอนแสดงผลหนาตางอื่นๆ ตามแตตองการ หรือหากตองการที่จะใหแสดงผลขอมูลใดเพ่ิมเติมก็สามารถเพิ่มเขาไปในหนาตางโปรเจคได และเมื่อมีการบันทึก (save) โปรเจคก็จะทําการบันทึกรูปแบบหนาตางที่ไดเปดไวในขณะบันทึกดวย ทําใหเมื่อเราเปนโปรเจคนั้นขึ้นมาใชอีกครั้งก็สามารถทํางานตอจากของเดิมไดโดยไมตองเปดหนาตางหรือเอกสารที่ตองการใหมอีกครั้ง

โปรเจคแตละโปรเจคจะจัดเก็บในรูปแบบของโปรเจคไฟล (Project file) ซึ่งมีรูปแบบเปน ASCII ไฟลและมีนามสกุลเปน .apr เชน river.apr เปนตน

หนาตางโปรเจค (Project windows) เปนเสมือนประตูในการเขาสูเอกสารหรือหนาตางอื่นตามตองการ โปรแกรม ArcView จึงสามารถเปดโปรเจคไดเพียงโปรเจคเดียวเทานั้น

แนะนําใหรูจกั Views และ Themes

ArcView จะนําเสนอขอมูลเชิงพ้ืนที่และขอมูลเชิงบรรยายในแตละชุดของขอมูลในลักษณะที่เรียกวา Theme โดยที่การจัดการหรือการแสดงผลจะกระทําในสวนของ view ของโปรแกรม ArcView แตละ theme จะมีชื่อของ theme และมีสัญลักษณที่ใชแสดงเปนตัวแทนของวัตถุเหลานั้น

Theme ประกอบดวยขอมูลเชิงพื้นที่และขอมูลเชิงบรรยาย Views สามารถประกอบดวย Themes มากกวา 1 Themes แตละ Themes จะมีชื่อ Themes และสัญลักษณแสดงใน Table of Contents

View GUI

View GUI

Table of Content Map Display

Page 10: คู่มือการใช้โปรแกรมจัดการระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ ArcView 3.3 โดย อาจารย์ชยกฤต

ทําความรูจักกับโปรแกรม ArcView เบ้ืองตน

ภาควิชาภูมิศาสตร คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม

7

ในหนาตาง View สามารถที่จะแสดงผลพรอมกันไดหลาย theme ของพ้ืนที่หนึ่งใน View เดียวกัน ยกตัวอยางเชน theme แสดงทางดวน theme แสดงศูนยการคา theme แสดงธนาคาร และ theme แสดงความหนาแนนของประชากร เปนตน

หนาตาง View จะแบงออกเปนสองสวน ประกอบไปดวย Table of Contents และ Map display ในสวนที่เปน Table of Contents มีรายชื่อของ themes เรียงกันลงมาพรอมกับสัญลักษณ ซึ่งสัญลักษณเหลานี้เราสามารถสั่งใหแสดงผลหรือไมก็ได แผนที่จะแสดงผล feature ในแตละ theme และ GUI ของหนาตาง view จะประกอบไปดวย เมนู (menu) ปุม (buttons) และเครื่องมือ (tools) เพ่ือใหสามารถจัดการกับ theme ในแตละ view ได

การใชงาน Themes เบื้องตน เมื่อมี Theme อยูใน view ผูใชสามารถที่จะส่ังใหแสดงผลหรือซอน theme เหลานั้นหรือส่ังให theme

ใดๆ active เพ่ือการจัดการอยางอื่น และสามารถเปลี่ยนลําดับการแสดงผลของแตละ theme ได

การสั่งใหแสดงผลของแตละ Theme ใน view สามารถทําไดโดยการคลิกบน check box ขางหนาของแตละ theme ในสวนของ Table of contents และคลิกอีกครั้งเพ่ือยกเลิกการแสดงผล ถาปรากฏเครื่องหมาย ใน check box หมายถึงวา theme นั้นจะแสดงผลใน view สวนของการแสดงผล (Map display) และเมื่อคลิกอีกครั้งใหเครื่องหมาย หายไปก็จะเปนการยกเลิกการแสดงผล การสั่งยกเลิกการซอน theme เปนเพียงการยกเลิกการแสดงผลใน view เทานั้นไมไดหมายถึงวา theme นั้นถูกลบทิ้งแตอยางใด อีกทั้งการจัดการใดเกี่ยวกับ theme ก็ไมจะเปนตองส่ังให theme นั้นๆ แสดงผลทุกครั้งไป

ผูใชจะสามารถจัดการอยางอื่นไดอีกมากมาย การทําให theme active สามารถทําไดโดยการไปคลิกบริเวณสวนแสดงชื่อและสัญลักษณของ theme ใน Table of contents เมื่อคลิกแลวบริเวณนั้นจะมีลักษณะนูนขึ้นมา ซึ่งหมายถึงวา theme เหลานี้พรอมที่จะใหจัดการอยางอื่นตอไป และถาหากตองการใหมี theme ที่ active มากกวาหนึ่ง theme ก็สามารถทําไดโดยการกดปุม shift คางไวในขณะที่คลิกเลือก theme อ่ืน

ArcView จะแสดงผล theme ตามลําดับที่เรียงอยูใน Table of contents คือเรียงลําดับจากขางลางขึ้นขางบน ซึ่งหมายถึง theme ที่อยูดานบนจะแสดงผลซอนทับ theme ที่อยูขางลาง ในเปล่ียนลําดับการแสดงผล theme เพียงคลิกเมาสบน theme ที่ตองการลําดับในสวนของ Table of Contents แลว ลาก (drag) เพ่ือเปล่ียนตําแหนงของ theme (ขึ้นหรือลง) ใน Table of Contents

Page 11: คู่มือการใช้โปรแกรมจัดการระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ ArcView 3.3 โดย อาจารย์ชยกฤต

คูมือการใชโปรแกรม ArcView GIS 3.3

ชยกฤต มาลําพอง

8

รูจักกับตาราง (Tables)

โปรแกรม ArcView มี Table เพ่ือใชในการแสดงผลขอมูลที่เปนตาราง Table ประกอบไปดวยขอมูลเชิงบรรยายเกี่ยวกับ feature บนแผนที่ แตละแถว (row) หรือ เรคคอรด (record) ในตารางจะแสดงขอมูลทุกอยางของสมาชิกหนึ่งตัวจากทั้งกลุมที่นําเสนออยู สวนในแตละคอลัมน (column) หรือฟลด (field) จะแสดงคุณสมบัติอยางหนึ่งของสมาชิกทุกตัว เชน ชื่อประเทศ จํานวนประชากร หรือพ้ืนที่ เปนตน

ผูใชสามารถทํางานกับขอมูลจากหลายๆ ตารางได นอกจากนั้นยังสามารถเขาถึงตารางไดหลากหลายรูปแบบ ผูใชสามารถแสดงผล (display) สืบคน (query) และวิเคราะหขอมูลในตารางได และถาในตารางประกอบไปดวยขอมูลที่สามารถระบุถึงตําแหนงของแผนท่ีบนพ้ืนโลกได เชนพิกัดภูมิศาสตร หรือที่อยู ผูใชก็สามารถที่จะแสดงคาพิกัดบน view ได

Theme tables ประกอบไปดวยขอมูลอธิบายเกี่ยวกับ geographic feature ใน theme ผูใชสามารถที่จะเรียกดูขอมูลเชิงบรรยาย (attribute) ไดโดยตรงจาก view ซึ่งโปรแกรม ArcView จะจัดการความสัมพันธระหวาง feature กับตารางขอมูลเชิงบรรยายเองโดยอัตโนมัติ

ใช แสดง รายละ เอี ยด ขอมูลเชิงบรรยาย

แ ส ด ง ข อ มู ล Record (rows) และ field (columns)

แสดงขอมูลเชิงบรรยายของแตละ features ใน Themes น้ันๆ

Page 12: คู่มือการใช้โปรแกรมจัดการระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ ArcView 3.3 โดย อาจารย์ชยกฤต

ทําความรูจักกับโปรแกรม ArcView เบ้ืองตน

ภาควิชาภูมิศาสตร คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม

9

รูจักกับ Charts

เปนการนําเสนอขอมูลจากตารางออกมาในรูปของกราฟ เพ่ืองายตอการเขาใจ โดยขอมูลที่นํามาสราง กราฟจะอางอิงมาจากตาราง และสามารถที่จะเปล่ียนรูปแบบการแสดงผลได ผูใชสามารถใชกราฟในการแสดงผล การเปรียบเทียบ การสืบคน ขอมูลเชิงบรรยาย ตัวอยางเชน ผูใชสามารถชี้ไปยังชิ้นสวนบนกราฟรูป pie เพ่ือแสดงผล เรคคอรด (record) ที่ชิ้นสวนบนกราฟนั้นอางอิงถึง กราฟจะมีลักษณะที่เปน Dynamic นั่นคือหากมีการเปลี่ยนแปลงขอมูลในตารางขอมูล ก็จะมีการเปล่ียนแปลงขนาดของกราฟทันที

ผูใชสามารถเลือกลักษณะ Charts ไดถึง 6 ชนิด ไดแก

Area

Bar

Column

Line

XY scatter

ใชแสดงขอมูลในรูปแบบกราฟ

สามา รถแสด งก ร าฟเปรียบเทียบขอมูลเชิงบรรยาย

Page 13: คู่มือการใช้โปรแกรมจัดการระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ ArcView 3.3 โดย อาจารย์ชยกฤต

คูมือการใชโปรแกรม ArcView GIS 3.3

ชยกฤต มาลําพอง

10

รูจักกับ Layouts

ในสวนของ layout document ผูใชสามารถที่จะรวมเอาหลายๆ document และ สวนประกอบตางๆ ของแผนที่มานําเสนอไวบนสวนนี้ เชน ลูกศรแสดงทิศเหนือ scale bar หรือ กราฟฟก (graphic) เชน neatline (border) และสัญลักษณของหนวยงาน (logo) เพ่ือใหไดแผนที่ที่มีคุณภาพ ตัวอยางเชน ในหนึ่ง layout อาจประกอบไปดวยขอมูลแผนที่จาก 2 view กราฟเพื่อเปรียบเทียบขอมูล ลูกศรแสดงทิศของแผนที่ หัวแผนที่ (map title) เพ่ือบอกวาเปนแผนที่เกี่ยวกับอะไรมีจุดประสงคเพ่ืออะไร เมื่อผูใชสราง layout ผูใชสามารถสงพิมพออก printer หรือ plotter ไดในหลายรูปแบบ และสามารถบันทึกเปน template เพ่ือใชงานภายหลังได

รูจักกับ Script

Script document เปนเหมือนกับ text editor ทั่วไป จะใชเพ่ือเขียน Avenue ซึ่ง Avenue script นี้เปนการเขียนโปรแกรมเพื่อใหผูใชสามารถสั่งให ArcView ทํางานในระดับที่ยากขึ้นได หรือ สราง application ขึ้นเพ่ิมเติมได

สามารถสรางแผนที่แบบที่สามารถนําเสนอได

แสดง document (view, tables, charts) และรูปภาพ (graphic) ได

สามารถแสดงขอมูลทางเครื่อง printer และ plotter

ใชสําหรับเขียนสคริปตภาษา Avenue

สําหรับสรางการทํางานใหมตามที่ตองการ

Page 14: คู่มือการใช้โปรแกรมจัดการระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ ArcView 3.3 โดย อาจารย์ชยกฤต

ทําความรูจักกับโปรแกรม ArcView เบ้ืองตน

ภาควิชาภูมิศาสตร คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม

11

การใชระบบ Help ของ ArcView ระบบ Help ในโปรแกรม ArcView เปนเครื่องมือที่มีประโยชนอยางยิ่งตอผูใช โดยผูใชสามารถเรียกดู

หัวขอตางๆ ไดอยางงายดาย มีเนื้อหาครอบคลุมทั้งในสวนของ ArcView และ GIS Getting help for a button, tool or menu choice เพ่ือแสดง Help Topic ของ ปุม (button) ทูล (tool)

หรือ เมนู (menu) ที่ตองการจะใหแสดง Help Topic Getting help for dialog boxes สําหรับการแสดง Help topic ของ Dialog box ใหกดปุม F1 เมื่อ

Dialog box นั้นๆ ถูกเปดใช Using the Contents tab ในการเรียกดูรายการของ Help ใน ArcView ทั้งหมด ใหเลือก

หัวขอ Help topic จากเมนู Help แลวเลือก Contents tab การทํางานของ contents จะทํางานเหมือนหนังสือ ใชปุมเพ่ือเขาไปสูหัวขอยอยของหัวขอที่เลือก และใชปุม เพ่ือดูเนื้อหาของเรื่องที่ตองการ

Using the Index tab เมื่อตองการเรียกดูดัชนี (Index) ใน Help ใหเลือก Help topic จากเมนู Help แลวคลิกแทบ Index พิมพคําที่ตองการคนดัชนี หรือพิมพเพียงตัวอักษรแรกของคํา ดัชนีก็จะแสดงรายการคําที่พิมพลงไปใหทันที ใหคลิกเลือกหัวขอที่ตองการจากรายการที่แสดง แลวคลิกปุมเพ่ือแสดงคําอธิบายในหัวที่เลือก

Using the Find tab เพ่ือคนหาหัวขอของ Help จากบางสวนของคํา เลือก Help topic จาก เมนู Help แลวคลิก Find tab อันจะทําใหผูใชคนหาคําที่ตองการหรือประโยคที่ตองการใน Help topic ได แทนที่จะคนหาโดย Category

Using hypertext Help ของ ArcView มี hypertext เพ่ือใหผูใชคลิกเพ่ือเขาไปดูรายละเอียดไดระหวางอานขอความใน Help ซึ่งตัวหนังสือสําหรับใหคลิกดังกลาวจะเปนสีเขียว เรียกวา Jumps

Page 15: คู่มือการใช้โปรแกรมจัดการระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ ArcView 3.3 โดย อาจารย์ชยกฤต
Page 16: คู่มือการใช้โปรแกรมจัดการระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ ArcView 3.3 โดย อาจารย์ชยกฤต

การนําขอมูลเขาสูโปรแกรม ArcView

ภาควิชาภูมิศาสตร คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม

13

การนําขอมูลเขาสูโปรแกรม ArcView

การสราง View และ Themes ดังที่ไดกลาวไวแลวในบทแรกวา view เปนลักษณะ Interactive map ที่แสดงผล theme ของขอมูลเชิง

ภูมิศาสตร ในหนึ่งโปรเจค (project) สามารถที่จะมีไดหลาย view และแสดง theme ของขอมูลไดจากหลายแหลง โปรเจคสามารถที่จะรวมเอาทั้ง view ที่แสดงขอมูลภูมิศาสตรในพ้ืนที่เดียวกันหรือตางพ้ืนที่กันก็ได

Themes เปนรูปแบบขอมูลทางภูมิศาสตรที่มีลักษณะแตกตางกัน เชน ประเทศ ถนน อาคาร หรือทางน้ํา พรอมทั้งขอมูลเชิงบรรยายของรูปแบบขอมูลนั้นๆ ในแตละ theme สามารถที่จะสรางขึ้นไดจากแหลงขอมูลหลายแหลง รวมท้ังแผนที่ดิจิตอล (Digital) ที่มีอยูแลว ภาพ (Images) และขอมูลจากตารางตางๆ รูปแบบขอมูลใน theme ประกอบไปดวยขอมูลภูมิศาสตรโดยมีขอมูลอยู 3 รูปแบบไดแก จุด (points) เสน (lines) และวงรอบปด (polygons) ตัวอยางเชน theme อาจจะนําเสนอขอมูลทางหลวงในลักษณะของเสน (lines) แสดงตําแหนงที่ต้ังของธนาคารเปนจุด (point) และแสดงเสนแนวแบงเขตประเทศเปนวงรอบปด (polygon) เปนตน

ประเภทของขอมูลใน Theme

รูปแบบขอมูลใน theme เปนตัวแทนการนําเสนอวัตถุตางๆ บนพ้ืนโลก แตละรูปแบบขอมูล จะมีตําแหนงที่ต้ัง (Location) รูปรางลักษณะวัตถุที่จะนําเสนอ (point, line or polygon) และสัญลักษณที่จะชวยในการบงบอกวา แตละรูปแบบขอมูลคืออะไร

จุด (points) นําเสนอวัตถุที่แสดงตําแหนงวัตถุที่มีขนาดเล็กจนไมสามารถที่จะบอกเปนพ้ืนที่ได เชน เสาหลัก บอน้ํา สถานีรถไฟ และโรงเรียนเปนตน

เสน (lines) นําเสนอวัตถุที่มีความยาวแตมีลักษณะแคบจนไมสามารถนําเสนอแบบพื้นที่ (area)ได เชน ทางดวน ทางน้ํา ทางรถไฟ เปนตน

วงรอบปด (polygons) ใชแสดงวัตถุที่ใหญเกินกวาที่จะนําเสนอเปนเสนหรือเปนจุด เชน ที่ดินทํากิน พ้ืนที่ที่การสํามโนประชากร พ้ืนที่การตลาด ประเทศ และรัฐ เปนตน

การใหสัญลักษณของขอมูลใน Theme (Theme symbology) ซึ่งจะแยกออกเปนสัญลักษณของจุด (points) สัญลักษณของเสน (lines) และสัญลักษณของวงรอบปด (polygon) ตามประเภทของขอมูลซึ่งจะตองมีรูปแบบที่แตกตางกัน เชน

สัญลักษณแสดงจุด มักจะมีลักษณะที่บงบอกวาใชแทนวัตถุใดบนพ้ืนโลก เชน สัญลักษณแสดง โรงเรียนจะมีธงแดงอยูขางบนดวย และสัญลักษณของสนามบินก็จะมีเครื่องบินเล็กๆ อยูดวย

สัญลักษณแสดงเสน จะมีทั้งเสนบางและเสนหนา เสนทึบ หรือเสนประ และอาจจะมีไดหลากหลายสี

สัญลักษณแสดงวงรอบปด หรือโพลีกอน จะประกอบไปดวยสี และลวดลายที่ใชเติมเขาไปในพ้ืนที่นั้นๆ บางสีอาจจะเปนสีที่ตามธรรมชาติของวัตถุที่ตองการนําเสนอ เชนทะเลกับทางน้ําให

Page 17: คู่มือการใช้โปรแกรมจัดการระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ ArcView 3.3 โดย อาจารย์ชยกฤต

คูมือการใชโปรแกรม ArcView GIS 3.3

ชยกฤต มาลําพอง

14

เปนสีน้ําเงิน สวนสาธารณะใหเปนสีเขียว สวนวัตถุอ่ืนที่ไมสามารถนําเสนอตามสีของธรรมชาติไดก็สามารถใชสีอ่ืนๆ ใหวัตถุแตละชนิดดูแตกตางกัน

เมื่อผูใชเพ่ิม theme เขาไปใน view โปรแกรม ArcView สามารถที่จะนําเสนอ รูปแบบขอมูล โดยใชคาสัญลักษณที่ต้ังไวอยูแลว โดยจะสุมคาสีขึ้นมา ซึ่งคาตางๆ เกี่ยวกับการแสดงสัญลักษณนั้นสามารถที่จะเขาไปทําการแกไขได ซึ่งจะไดกลาวถึงตอไป

แหลงขอมูลสําหรับ Theme

โปรแกรม ArcView สามารถที่จะนําขอมูลจากแหลงตางๆ มานําเสนอได โดยไมตองมีการแปลงรูปแบบของขอมูลอยูหลายชนิด โดยมีรายละเอียดดังนี้

Shapefile เปนรูปแบบหนึ่งของ ArcView GIS สําหรับใชจัดเก็บตําแหนงและขอมูลเชิงบรรยายของรูปแบบขอมูลตางๆ Shapefile สามารถที่จะสรางขึ้นในโปรแกรม ArcView จาก spatial data ที่มีอยูแลว หรือจะสราง Shapefiles เปลาๆ ขึ้นมาก็ได แลวจึงเพ่ิมรูปแบบขอมูลที่ตองการเขาไปโดยการวาดขึ้นเอง รูปแบบขอมูลที่อยูใน Shapefiles สามารถแสดงผลไดอยางรวดเร็วและเปล่ียนแปลงแกไขรูปรางและขอมูลเชิงบรรยายได

Coverage จากโปรแกรม Arc/Info เปนรูปแบบ Spatial data แบบหนึ่งซึ่งเปนที่นิยมอยางกวางขวางที่พบในการทําแผนที่ดิจิตอลในระบบ GIS ผูใชสามารถเพิ่ม coverage ของ Arc/Info เขาไปไดเปน theme หนึ่งใน ArcView หากผูใชตองการที่จะเปล่ียนแปลงแกไขขอมูลบน theme ที่นําเขาจากโปรแกรม Arc/Info ผูใชตองทําการ convert ใหเปน Shapefile กอน

ผูใชสามารถเรียกดู Arc/Info Map LIBRARIAN หรือ ฐานขอมูล ArcStorm libraries ใน ArcView ไดโดยการเพิ่มชั้นขอมูลของ library เปน theme ได

ดวย ArcView ‘s CAD reader extension ผูใชสามารถใชไฟลที่มาจากโปรแกรมประเภท Computer Aided Design (CAD) มาเพิ่มเปน theme ในโปรแกรม ArcView โดยโปรแกรม ArcView สามารถที่จะใชไฟลรูปแบบของ Microstation DGN (เฉพาะจาก Windows) และไฟลที่สรางขึ้น จากโปรแกรม AutoCAD ในรูปแบบของ DWG (เฉพาะจาก Windows) และ DXF

ESRI’s Spatial Database Engine (SDE) เปนโปรแกรมที่แยกจาก ArcView สามารถทําใหเขาถึง รูปแบบขอมูล ตางๆ ที่จัดเก็บในตารางฐานขอมูลตางๆ ที่เกี่ยวของได ซึ่งผูใชสามารถที่จะแสดงผลชั้นขอมูลของ SDE นี้เปนหนึ่ง theme

แหลงของขอมูลเชิงพ้ืนที่นอกเหนือจากที่กลาวมาแลว ผูใชสามารถที่จะสราง theme ใน ArcView ไดจากภาพ หรือขอมูลในรูปแบบของตาราง ดังนี้

Image data ขอมูลภาพ (Image) เปนขอมูลที่มีลักษณะเปนจุดภาพ (Pixel) แตละจุดภาพจะมีคาเฉพาะตัวอยู ตัวอยางเชนภาพขอมูลดาวเทียม ภาพถายทางอากาศ และขอมูลที่ทําการสแกน (scan) เขา หรอืขอมูลที่ทําการเปลี่ยน (Convert) จากขอมูลรูปแบบงานพิมพปกติมาเปนดิจิตอล (digital format) เปนตน ผูใชสามารถเพิ่มขอมูลภาพเปนหนึ่ง theme และแสดงผลใน ArcView ไดตามปกติ ภาพเหลานั้นโดยสวนใหญแลว จะใชเปนภาพฉากหลัง (Background) สําหรับแสดงผลหรือตัดภาพขอมูลเชิงพ้ืนที่อ่ืน ๆ เชน ทางหลวง

Page 18: คู่มือการใช้โปรแกรมจัดการระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ ArcView 3.3 โดย อาจารย์ชยกฤต

การนําขอมูลเขาสูโปรแกรม ArcView

ภาควิชาภูมิศาสตร คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม

15

หรืออาคาร เปนตน ซึ่ง รูปแบบของภาพที่โปรแกรม ArcView สนับสนุนใชงานใหเปน theme ไดมีดังนี้

TIFF,TIFF/LZW compressed

ERDAS;IMAGINE(ตองมี ArcView ‘s IMAGINE image extension)

BSQ,BIL and BIP

Sun raster files

BMP

Run-length compressed files

BMP

Run-length compressed files

JPEG (ดวย ArcView ‘s JPEG image extension)

Image catalogs

ARC/INFO GRID Tabular data ขอมูลเชิงตารางนั้นรวมถึงขอมูลเกือบทุกประเภท แตโดยมากแลว

จะเปนขอมูลอธิบายถึงรายละเอียดของรูปแบบขอมูล ตางๆ โดยการรวมเอาขอมูลเหลานี้เขาไปกับ theme โดยใสขอมูลเชิงบรรยายเพ่ือใหพรอมแสดงผลและสืบคนขอมูลของแตละรูปแบบขอมูลในแตละ theme ในบางตารางจะประกอบไปดวยขอมูลที่จะบงบอกถึงตําแหนงของพ้ืนที่ที่แสดงผลโดยตรงบน view เชน ที่อยูของลูกคา จุดจอดรถประจําทางตามแนวถนน หรือหรือพิกัดภูมิศาสตรของจุดดูนก เปนตน

New Project สราง View ใหม ชื่อ View ใหมจะปรากฏใน Project Windows

Page 19: คู่มือการใช้โปรแกรมจัดการระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ ArcView 3.3 โดย อาจารย์ชยกฤต

คูมือการใชโปรแกรม ArcView GIS 3.3

ชยกฤต มาลําพอง

16

การสราง View

ผูใชสามารถสราง view ใหมในโปรเจคได ซึ่งโปรเจคดังกลาวอาจจะเปนโปรเจคใหมหรือเปนโปรเจคเดิมก็ได ในโปรเจคหนึ่งๆ สามารถมีไดหลาย view โปรเจคที่ถูกสรางขึ้นใหมจะไมมี view หรือ document ใดๆ (tables, charts, layouts) อยูเลย ชื่อของโปรเจคใหมที่สรางขึ้นจะเปน untitled.apr ทุกครั้ง ซึ่งผูใชสามารถเปลี่ยนชื่อนี้ไดเมื่อทําการบันทึก (save) โดยการสราง view สามารถทําไดตามขั้นตอนดังนี้

เลือกไอคอน Views ในหนาตางโปรเจค

คลิกปุม New บนหนาตางโปรเจค เพ่ือสราง view ใหม

ArcView จะสรางหนาตาง view ใหมให

เมื่อผูใชสราง view ใหมขึ้นมาในโปรเจค จะไมมี theme ใดๆ อยูเลย กลาวคือจะเปน view วางๆ และหลังจากที่ไดเพ่ิม view เขาไปแลวก็จะมีรายชื่อของ view ปรากฏอยูในหนาตางโปรเจค (project windows) โดยชื่อของ view จะเปน viewX โดย X หมายถึงหมายเลขของ view เชน View1 เปนชื่อของ view แรกที่ถูกเพ่ิมเขาไปในโปรเจค แตอยางไรก็ตามผูใชสามารถที่จะเปล่ียนชื่อของ view ไดใน View Properties dialog box

การนําเขา Theme

การเพิ่ม theme เขาไปใน view เพ่ือแสดงผลขอมูลเชิงพ้ืนที่นั้น โปรแกรม ArcView จะทําการอางอิงถึงไฟลตางๆ ตามที่ระบุ เพ่ือนํามาแสดงผล ไมไดเปนการคัดลอกไฟลมาไวในโปรเจคแตอยางใด ดังนั้นไฟลที่เปนขอมูลจะตองคงอยูเสมอเมื่อเรียกใชโปรเจคที่จะมีการอางถึง

เลือก Add Theme button เลือกขอมูลที่ตองการ

ขอมูลที่เลือกจะปรากฏ Theme ใหมใน View

Page 20: คู่มือการใช้โปรแกรมจัดการระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ ArcView 3.3 โดย อาจารย์ชยกฤต

การนําขอมูลเขาสูโปรแกรม ArcView

ภาควิชาภูมิศาสตร คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม

17

Theme ที่แสดงรูปแบบขอมูล จะอยูบนพ้ืนฐานของขอมูลเชิงพ้ืนที่ เชน shapefile, Arc/Info coverage, CAD drawing และชั้นขอมูลในรูปแบบของ Arc/Info Map Library หรือ ArcStorm database ได ในแหลงขอมูลเชิงพ้ืนที่เหลานี้ ขอมูลแสดงตําแหนงจะเปนในรูปแบบพิกัด x, y ขอมูลจุดจัดเก็บในรูปของพิกัด x, y เพียงคูเดียว เสน และขอบเขตของวงรอบปดจะถูกจัดเก็บพิกัดเปนชุดของพิกัด x, y

ในการเพิ่ม theme เขาไปใน view สามารถทําไดตามขั้นตอนดังนี้

คลิกปุม Add Theme จาก tool bar หรือ เลือกเมนู View -> Add Theme

เมื่อปรากฏ dialog box ขึ้นมา ใหเลือก Feature Data Source จาก Data Source Types list ที่อยูดานลาง

เลือกดูโฟลเดอรตางๆ ไดจาก list ดานขวามือ จะปรากฏชื่อ theme ตางๆ ที่มีอยูดานซายมือ

คลิกปุม OK ขอมูลที่เลือกจะปรากฏใน view

การเลือกขอมูลที่ตองการนั้น ผูใชสามารถเลือกขอมูลเพ่ือจะเอาไปสรางเปน theme โดยการคลิกบนแถบสีที่ปรากฏ ถาตองการเลือกมากกวาหนึ่งพรอมๆ กัน ใหกดปุม Shift ไวขณะท่ีคลิกเลือกขอมูลอื่นที่ตองการ add เปน theme แตละละขอมูลที่เลือกจะเปนแตละ theme ใน view

เมื่อผูใชเพ่ิม theme เขาไปใน view โปรแกรม ArcView จะแสดงผลของ theme ใน view ในสวนของ Table of Contents ตามคาที่ถูกตั้งไว (default) แตอยางไรก็ตาม โปรแกรม ArcView จะยังไมแสดง theme ใหมที่เพ่ิมเขาไปใน view จนกวาผูใชจะคลิกเลือกใน check box ของ theme ที่ตองการใหแสดงผล

กอนที่ผูใชจะสามารถเพิ่ม theme จากไฟลที่มาจากโปรแกรมประเภท CAD ไดตอง ทําการ load CAD Reader extension ไวกอน การ load extension ทําไดโดยการทําใหหนาตางโปรเจคแอคทีฟกอน แลวเลือก Extensions จากเมนู File แลวคลิกบน Check box ของ CadReader Extension

ขอมูลท่ีประกอบดวยรูปแบบขอมูลหลายประเภท

ขอมูลชนิดที่เปน Arc/Info coverage หรือโปรแกรมประเภท CAD สามารถมีรูปแบบขอมูลไดมากกวาหนึ่งชนิด ในขณะที่โปรแกรม ArcView แตละ theme สามารถนําเสนอรูปแบบขอมูลไดเพียงหน่ึงชนิดเทานั้น เมื่อผูใชเพ่ิม Theme ประเภท Arc/Info coverage หรือประเภท CAD เขาไปไปใน view ผูใชสามารถที่จะเลือกไดวาจะเลือกแสดงรูปแบบขอมูลชนิดใด

เมื่อขอมูลที่ตองการจะเพิ่มเขาไปใน theme มีรูปแบบขอมูลมากกวาหนึ่งชนิด จะปรากฏใหเห็นไดในโฟลเดอรที่ปรากฏดานซายของ Add theme dialog box และเมื่อคลิกไปบนโฟลเดอรดังกลาวจะปรากฏชนิดของรูปแบบขอมูลตางๆ ที่มีอยูในขอมูลนั้นๆ เมื่อไมตองการใหแสดงผลรูปแบบขอมูลยอยใหคลิกซ้ําในแตละโฟลเดอรอีกครั้งหนึ่ง

Page 21: คู่มือการใช้โปรแกรมจัดการระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ ArcView 3.3 โดย อาจารย์ชยกฤต

คูมือการใชโปรแกรม ArcView GIS 3.3

ชยกฤต มาลําพอง

18

ตารางแสดงการเปรียบเทียบรูปแบบของขอมูลระหวาง Arc/Info กับ ArcView Arc/INFO

feature types Description

Corresponding ArcView feature types

Point Represent features found at discrete locations Points Arcs Represent linear features Lines Polygons Represent areas enclosed by specific boundaries Polygons Label points Points inside polygons that have the same attributes as the

polygons Point

Nodes The endpoints of arc features Points Routes Polygon features composed of one or more Arcs or parts

of an arc Lines

Regions Polygon features composed of one or more polygons Polygons Annotation Text stored in coverage to label the features it contains Text

การนําเขา Image Theme

Image theme มาจากขอมูลที่เปนภาพ (image data source) เชน ขอมูลภาพถายทางอากาศ หรือขอมูลภาพดาวเทียม ขอมูลภาพเหลานี้จะเก็บคาขอมูลเชิงพ้ืนที่ไวในแตชองหรือในลักษณะชุดของขอมูลที่เปนแถว (row) และคอลัมน (column) ในแตละเซลล (cell) จะมีคาประจําอยูซึ่งบันทึกลงไปโดยอุปกรณที่เปน optical หรือ electron ตัวอยางเชนในแตละจุดภาพ (pixel) ของขอมูลดาวเทียมแทนคาการสะทอนของชวงคล่ืนจากพื้นผิวโลกเปนตน ผูใชสามารถเพิ่ม Arc/Info grid เขาไปเพ่ือเปน theme ที่แสดงผลภาพเปนแบนดเดียว (single band) ใน Arc/Info grid แตละเซลลประกอบไปดวยตัวเลขแทนคาของ รูปแบบขอมูล ทางภูมิศาสตรที่เฉพาะเจาะจง เชน ชนิดดิน การใชที่ดิน คาความสูง ความลาดชัน

ในการเพิ่ม theme ที่เปนภาพเขาไปใน view สามารถทําไดตามขั้นตอนดังนี้

ทําให View ที่ตองการแอคทีฟ

คลิกที่ Add Theme button หรือเลือกเมนู View ->Add Theme

ใน Add Theme dialog box ใหเลือก Data Source Types list เพ่ือเลือก Image Data Source แลวใช Add Theme file browser ในการคนหาวาขอมูลภาพเหลานั้นอยูในโฟลเดอรใด เมื่อพบแลวใหคลิกไปบนขอมูลภาพนั้น แลวตอบ OK

ภาพนั้นก็จะเพิ่มเขาไปใน theme ใน view ที่แอคทีฟอยู

การนําเขา Theme จากชุดขอมูลคาพิกัด x, y

ในกรณีที่ขอมูลที่มีเปนขอมูลที่ประกอบไปดวยคาพิกัด x, y โปรแกรม ArcView สามารถที่จะนําเอาขอมูล x, y นั้นมาสราง เปน theme ได โดยอางอิงขอมูลนั้นเปน event table ซึ่งใหผูใชสามารถเอาขอมูลที่มีพิกัดทางภูมิศาสตรเหลานั้นมาสรางเปนแผนที่ไดถึงแมขอมูลดังกลาวจะไมขอมูลเชิงพ้ืนที่ (spatial data)

ไฟลที่จัดเก็บตําแหนงของ รูปแบบขอมูล เปนพิกัด x, y พิกัดเหลานี้ อาจจะไดมาจากการอานคาจากแผนท่ี การอานคาจาก view การสํารวจภาคสนาม หรือการใช GPS (Global Positioning System) คาพิกัด x, y ดังกลาว สามารถที่จะเปนระบบพิกัด (coordinate) หรือเปนหนวย (unit) ก็ได เชน ลองจิจูด-ละติจูด หรือเมตร เปนตน

Page 22: คู่มือการใช้โปรแกรมจัดการระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ ArcView 3.3 โดย อาจารย์ชยกฤต

การนําขอมูลเขาสูโปรแกรม ArcView

ภาควิชาภูมิศาสตร คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม

19

ผูใชสามารถเพิ่ม INFO, dBASEIII, dBASEIV หรือขอมูลที่เปนตัวหนังสือ (text file) โดยใชคอมมา (,) หรือแท็ปเปนตัวแบงระหวางขอมูลแตละฟลด (field) โปรแกรม ArcView จะอานไฟลทีละบรรทัดและนําขอมูลที่ถูกขั้นดวยเครื่องหมายแท็ปหรือคอมมาแยกไวตามเซลล (cell) โดยที่บรรทัดแรกของไฟลจะเปนชื่อฟลด (field name) ของตาราง

การนําเขา theme จากชุดขอมูลพิกัด x,y สามารถทําไดตามขั้นตอนดังนี้

เพ่ิมตารางขอมูลเขาไปในโปรเจค โดยคลิกไอคอน Tables ในหนาตางโปรเจค จากนั้นคลิกปุม Add บนหนาตางโปรเจค

เลือกไฟลขอมูลที่ตองการ

เลือกเมนู View -> Add Event Theme

ใช Add Event Theme Dialog Box เพ่ือสราง theme จากตาราง

ขอมูลคาพิกัด x,y

เพิ่มขอมูลในสวน Tables

กําหนดคาในไดอะลอกบอก

Page 23: คู่มือการใช้โปรแกรมจัดการระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ ArcView 3.3 โดย อาจารย์ชยกฤต

คูมือการใชโปรแกรม ArcView GIS 3.3

ชยกฤต มาลําพอง

20

ตารางขอมูลเชิงบรรยายของ Theme

ขอมูลบาง theme จะมาจากแหลงขอมูลเชิงพ้ืนที่ เชน Arc/Info coverage และ ArcView shapefiles และ บาง theme มาจากแหลงขอมูลเชิงตารางที่มีตําแหนงทางภูมิศาสตร (event themes) มี theme ของตาราง ประกอบดวยขอมูลคําอธิบายเกี่ยวกับรูปแบบขอมูลเหลานั้น theme ที่มาจากขอมูลภาพจะไมมีตารางมากับ theme นั้น ทุกๆ รูปแบบขอมูล ใน theme จะมีเพียงหน่ึงเรคคอรด (record) ในตารางของ theme ซึ่งเรคคอรดดังกลาวจะอธิบายถึงคุณลักษณะของรูปแบบขอมูลนั้น แตละฟลด (field) ในตารางของ theme ประกอบไปดวยคาของขอมูลเชิงบรรยาย เมื่อผูใชไดเพ่ิม theme ที่แสดงขอมูลเชิงพ้ืนที่ (spatial data) หรือขอมูลเชิงตาราง (tabular data) เขาไปใน view แลว ผูใชสามารถที่จะเขาถึงตารางของแตละ theme ไดโดยการคลิกที่ปุม Open Theme Table โปรแกรม ArcView จะจัดการเชื่อมโยงระหวาง รูปแบบขอมูล ใน theme นั้นๆ กับขอมูลเชิงบรรยายทันที โดยที่ผูใชไมจําเปนตองเรียกตารางของ theme เหลานั้นขึ้นมากอนก็ได

ในแตละ theme ที่สรางขึ้นจากฐานขอมูลเชิงพ้ืนที่ หรือขอมูลเชิงตาราง ที่ประกอบดวยฟลดชื่อ Shape ใชเก็บชนิด (point, line หรือ polygon) ของแตละ รูปแบบขอมูล ใน theme ฟลดเหลานี้จะมองเห็นตารางของ theme จากทุกตารางที่มีอยูในโปรแกรม ArcView

เมื่อ theme ที่สรางขึ้นจากโปรแกรม Arc/Info coverage สวนที่ เปน feature กับ attribute จะมีความสัมพันธโดยใชสวนที่เรียกวา geometry fields ในตาราง ซึ่งฟลดนี้จะแสดงใหเห็นวารูปแบบขอมูลที่แสดงอยูเปนชนิดใด

ในทุกๆ รูปแบบขอมูลที่สรางจากโปรแกรม Arc/Info จะมีตัวเลขสองชุดที่จะประกาศไว ไดแก Coverage# และ Coverage-ID (PC Arc/Info) โดย Coverage หมายถึงชื่อ Coverage นั้นๆ ซึ่งฟลดดังกลาวนี้จะเรียกวา Identification fields

ขอมูลที่มาจากโปรแกรมวาดภาพประเภท CAD จะสัมพันธกับตารางที่เก็บคุณลักษณะตางๆ ของวัตถุ เชน สีของวัตถุ ลายเสน ความหนาของเสน และอ่ืนๆ ซึ่ง ตารางของ theme สําหรับขอมูล CAD แตละ feature ก็จะมีขอมูลอธิบายคุณลักษณะเปนเรคคอรดไปเชนเดียวกัน

แสดงรายละเอียดขอมูลเชิงบรรยายของประเภทขอมูลใน Theme

1 record คือ 1 feature มี Field ชื่อ shape แสดงประเภทขอมูล

Page 24: คู่มือการใช้โปรแกรมจัดการระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ ArcView 3.3 โดย อาจารย์ชยกฤต

การนําขอมูลเขาสูโปรแกรม ArcView

ภาควิชาภูมิศาสตร คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม

21

การจัดเก็บขอมูล Project

เมื่อผูใชทําการบันทึก (save) โปรเจค (project) ทุกๆ เอกสาร (documents) ในโปรเจค (views, tables, charts, layouts และ scripts) จะถูกบันทึกเปนไฟล <project>.apr ซึ่งจะมีการปรับปรุงและจัดเก็บตามลักษณะที่แสดงผลในขณะนั้นทุกประการ เชน หนาตางใดที่เปดอยูก็จะจัดเก็บอยูในลักษณะนั้น หรือสีที่เคยกําหนดไวเชนใดใน view ก็จะยังคงเปนสีนั้น ดังนั้นเมื่อเปดไฟลนี้ขึ้นมาดูหรือเพ่ือทํางานตออีกครั้งก็จะไดเห็นลักษณะเชนเดิมกอนทําการบันทึก นอกจากนี้ผูใชยังสามารถใช Save Project As เพ่ือทําการบันทึกโปรเจคนั้นในที่ใหม หรือเปล่ียนชื่อโปรเจคตามตองการ

คาพิกัดทางภูมิศาสตร ในการทํางานกับระบบสารสนเทศภูมิศาสตรนั้น ตําแหนงของขอมูลตางๆ ในแผนที่ จะตองถูกอางอิงถึง

ตําแหนงจริงของวัตถุที่อยูบนพ้ืนโลกเสมอ

ตําแหนงของวัตถุบนผิวโลกที่มีลักษณะเปนรูปสเฟยรอยดถูกวัดในรูปขององศา (degree) ละติจูด และลองจิจูด หรือเรียกอีกอยางวาพิกัดภูมิศาสตร (geographic coordinate) ละติจูดมีคาเปน 0 องศาที่เสนอีเควเตอร (equator) ไปถึง 90 องศาเหนือที่ขั้วโลก สวนลองจิจูด 0 องศาที่เสนเมอริเดียนหลัก (Prime Meridian) ไปจนถึง 180 องศาตะวันออก และ 180 องศาตะวันตก ณ เสนเวลาสากล (International Date) โดยมีสวนยอยขององศาเปนลิบดาและฟลิบดา ตามลําดับ

สวนการอางอิงบนแผนที่นั้น ตําแหนงของวัตถุตางๆ จะถูกวัดในสองระนาบ ระบบระนาบแสดงพิกัดนี้จะแสดงระยะจากจุดเริ่มตน (origin) ไปยังอีกจุดหนึ่งไดจากสองแกน คือแกน X ในแนวแสดงทิศตะวันออก-ทิศตะวันตก และในแนวตั้งคือแกน Y แสดงทิศเหนือ-ใต

เนื่องจากในความเปนจริงแลว พ้ืนผิวโลกมีลักษณะเปนรูปโคง แตการแสดงขอมูลบนแผนที่เปนแผนราบ ในการแปลงตําแหนงจากผิวโคงไปเปนผิวราบจึงตองมีการใชสูตรคํานวณทางคณิตศาสตรที่เรียกวา Map projection เพ่ือรักษาคุณลักษณะเชิงพ้ืนที่ใหถูกตองตามความเปนจริงใหมากที่สุด

คุณลักษณะทางพื้นท่ี

การทํา Map projection เปนการแปลงตําแหนงของขอมูลบนผิวโคงของโลกไปเปนแผนที่ที่เปนแผนราบ กระบวนการนี้จะทําใหพ้ืนที่เดิมที่เคยเปนสวนโคงเกิดการผิดเพ้ียนทั้งรูปราง พ้ืนที่ ระยะทาง และทิศทาง โปรเจคชั่นที่แตกตางกันแตละชนิดจะเหมาะสมกับสวนตางๆ บนพ้ืนผิวโลกที่ตางกัน และโปรเจคชั่นแตละชนิดก็จะมีคุณสมบัติในการรักษาคุณลักษณะเชิงพ้ืนที่ตางกันดวย คุณลักษณะดังกลาวไดแก ระยะทาง (distance) พ้ืนที่ (area) รูปราง (shape) และทิศทาง (direction)

เมื่อใดท่ีตองการทํา Projection

โปรแกรม ArcView สามารถใหผูใชทํางานกับขอมูลไดโดยที่ไมตองทําโปรเจคชั่น แตอยางไรก็ตามผูใชก็ควรที่จะใชโปรเจคชั่นเพ่ือใหเกิดวามถูกตองในการทํางานเชิงพ้ืนที่

Page 25: คู่มือการใช้โปรแกรมจัดการระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ ArcView 3.3 โดย อาจารย์ชยกฤต

คูมือการใชโปรแกรม ArcView GIS 3.3

ชยกฤต มาลําพอง

22

ถาผูใชตองการที่จะวัดคาอะไรก็ตามเพื่อชวยในการตัดสินใจที่สําคัญ ผูใชตองทําโปรเจคชั่นเพ่ือลดความผิดเพ้ียนของขอมูลที่ตองการวัด ยกตัวอยางเชน ถาตองการรักษาคาของพื้นที่ (Area) จะตองใชโปรเจคชั่น equal area ถาตองการรักษารูปราง (shape) ใหใชโปรเจคชั่น conformal ถาตองการรักษาระยะใชโปรเจคชั่น equidistant และถาตองการรักษาทิศทางใหใชโปรเจคชั่น azimuthal เปนตน

ในกรณีที่ขอมูลเปนขอมูลที่ครอบคลุมพ้ืนที่ทั้งโลกการผิดเพ้ียนจะเห็นไดอยางชัดเจนและมีผลตอการทํางานเชิงพ้ืนที่ ดังนั้นผูใชควรจะทราบคุณลักษณะของโปรเจคชั่นชนิดตางๆ ซึ่งถือเปนเรื่องสําคัญ โดยเฉพาะอยางยิ่งตองดูวางานที่ทําตองการเปรียบเทียบอะไร เชนรูปราง พ้ืนที่ ระยะทางหรือทิศทางของขอมูลตางๆ ในแผนที่ แตถาขอมูลครอบคลุมพ้ืนที่เพียงสวนเล็กๆ คาความผิดเพ้ียนตางๆ ก็จะไมปรากฏชัดเจนและมีผลนอยมากตอแผนที่

Theme ที่มาจาก grid หรือ image ของ Arc/info สามารถที่จะจัดวางเขากับ theme ปกติที่ไมไดทําโปรเจคชั่นได เนื่องจากกริดและภาพดังกลาวจะไมมีผลการการทําโปรเจคชั่นแตอยางใด

การกําหนดระบบพิกัดทางภูมิศาสตรให View

การกําหนดระบบพิกัดทางภูมิศาสตรใหกับ view สามารถทําไดดังนี้

ทําให View ที่ตองการแอคทีฟ

เลือกเมนู View -> Properties…

คลิกปุม Projection บนไดอะลอกบอก View Properties

กําหนดคาตางๆ ตามตองการในไดอะลอกบอก Projection Properties

เลือกเมนู View -> Properties กําหนดคา Map Unit ตามตองการ

กําหนดคา Map Projection ใหถูกตอง

Page 26: คู่มือการใช้โปรแกรมจัดการระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ ArcView 3.3 โดย อาจารย์ชยกฤต

การจัดการแสดงผลชั้นขอมูล

ภาควิชาภูมิศาสตร คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม

23

การจัดการแสดงผลชั้นขอมูล

การเปลี่ยนสญัลักษณที่ใชในการนําเสนอแผนที ่

Legend editor เปนสวนที่ชวยใหผูใชสามารถปรับแตงแผนที่ใหสวยงามและสามารถสื่อถึงขอมูลที่สําคัญใหผูดูเขาใจไดงาย ผูใชสามารถเลือกสัญลักษณไดหลากหลายประเภท สามารถจัดกลุมการแสดงผลใหขอมูล เปล่ียนแปลงแกไขคําอธิบายสัญลักษณ และสามารถเปล่ียนแปลงสัญลักษณแสดง feature ตางๆ นอกจากนี้ผูใชยังสามารถตรวจดูการเปล่ียนแปลงใน Legend editor กอนที่จะส่ังใหมีผลจริงตอการแสดงผลใน view

ผูใชสามารถเขาใชงาน Legend editor ไดจากหลายทาง โดยขั้นแรกใหเลือกกอนวาจะใช Legend editor กับ theme ไหนโดยคลิกเลือก theme นั้นใหแอคทีฟ แลวใหตามขั้นตอนดังตอไปนี้

เลือกเมนู Theme -> Edit Legend หรือ

คลิกปุม Edit Legend บน tool bar หรือ

ดับเบ้ิลคลิกบนสัญลักษณของ theme นั้นในสวนของ Table of Contents

Buble-click เพื่อเปด Legend Editor

Page 27: คู่มือการใช้โปรแกรมจัดการระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ ArcView 3.3 โดย อาจารย์ชยกฤต

คูมือการใชโปรแกรม ArcView GIS 3.3

ชยกฤต มาลําพอง

24

การเลือกประเภทสัญลักษณ

ArcView มีรูปแบบของการใชสัญลักษณอยู 6 ประเภทใหเลือกไดแก Single symbol เปนคาเดิม (default) ที่ต้ังไวของประเภทสัญลักษณ สัญลักษณ

ประเภทนี้จะแสดงผลใหทุกๆ ขอมูลใน theme มีสัญลักษณเดียวกัน สัญลักษณประเภทนี้มีประโยชนในกรณีที่ตองการทราบวา theme ตางๆ อยูสวนไหนของแผนที่มากกวาที่จะสนใจในรายละเอียดอื่นๆ

Unique value สัญลักษณประเภทนี้ใชสําหรับแสดงขอมูลเชิงบรรยายในสัญลักษณดวย สามารถที่แสดงผลขอมูลตางๆ ดวยสัญลักษณตางกัน เปนชนิดของสัญลักษณที่มีประสิทธิภาพที่สุดในการแสดงผลขอมูลที่เปนชุด เชน ขอบเขตการปกครอง ขอบเขตการคา เปนตน

Graduated color สัญลักษณประเภทนี้เหมาะสําหรับแสดงผลของสีแบบชวงชั้น เหมาะที่จะใชในการแสดงผลขอมูลที่เปนตัวเลข ชนิด progression หรือ ของมูลที่เปนชวงชั้น (range) เชน อุณหภูมิ ขอมูลประชากร หรือขอมูลการซื้อขายรายป

Graduated symbol สัญลักษณประเภทนี้ใชแสดงผลแตละขอมูลดวยสัญลักษณเดียวโดยจัดขนาดเปนแบบชวงชั้นใหเพ่ือแสดงขอมูลประเภท progression สัญลักษณประเภทนี้มีประโยชนสําหรับขอมูลแสดงขนาดหรือจํานวน ซึ่งจะใชสัญลักษณประเภทนี้ไดกับขอมูลที่เปนเสนและจุดเทานั้น

Dot density ผูใชสามารถแสดงขอมูลที่เปนวงรอบปดโดยใชจุด (dot) แสดงขอมูลเชิงบรรยาย วิธีนี้เหมาะที่จะแสดงผลประชากร การทําการเกษตร ปริมาณน้ํามันดิบที่กระจายอยูในพ้ืนที่ ยกตัวอยางเชน แผนที่ที่ใช dot density แสดงความหนาแนนของประชากรวามีประชากรกระจายตัวอยูบริเวณใดบาง เชนติดทางน้ํา หรือใกลถนน เปนตน

Chart symbol ผูใชสามารถแสดงผลขอมูลเชิงบรรยายไดอยางหลากหลายโดยใชรูปแบบของกราฟวงกลมหรือกราฟแทง โดยท่ีแตละสวนของกราฟวงกลมหรือกราฟแทงนั้นจะสัมพันธกับขอมูลเชิงบรรยายที่ผูใชไดกําหนด และขนาดของกราฟแตละสวนของจะขึ้นอยูกับคาตัวเลขบอกขนาดในขอมูลเชิงบรรยาย สัญลักษณประเภทนี้มีประโยชนสําหรับการเปรียบเทียบขอมูล ยกตัวอยางเชน การเพิ่มของประชากร หรือจาํนวนประชากรของสัตวแตละชนิดที่พบในปาสงวน เปนตน

Page 28: คู่มือการใช้โปรแกรมจัดการระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ ArcView 3.3 โดย อาจารย์ชยกฤต

การจัดการแสดงผลชั้นขอมูล

ภาควิชาภูมิศาสตร คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม

25

Single Symbol

Unique Value

Graduated Color

Page 29: คู่มือการใช้โปรแกรมจัดการระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ ArcView 3.3 โดย อาจารย์ชยกฤต

คูมือการใชโปรแกรม ArcView GIS 3.3

ชยกฤต มาลําพอง

26

วิธีจัดชวงชั้นขอมูล เมื่อใชสัญลักษณประเภท Graduated symbol หรือ Graduated color ผูใชสามารถที่จะแบงกลุมของ

ขอมูลเองได ขอมูลที่ตางกันจะนําไปสูการแบงกลุมขอมูลที่ตางกันดวย

จากคามาตรฐานเริ่มตนของโปรแกรม ArcView จะใชการแบงกลุมขอมูลชนิด Natural breaks ที่แบงขอมูลออกเปน 5 กลุม ผูใชสามารถที่จะเปล่ียนแปลงแกไขการจัดกลุมดังกลาวได ไมวาจะเปล่ียนแปลงวิธีการจัดกลุม หรือเปล่ียนจํานวนกลุม โดยใชปุม Classify บน Legend Editor

การเปลี่ยนชวงชั้นของขอมูลโดยการใช Classification dialog box สามารถทําไดโดยการคลิกที่ปุม Classify ผูใชสามารถเลือกวิธีการจัดกลุมไดตามตองการ ไดแก จํานวนกลุมที่ตองการจัดแบง และวิธีการปดเศษทศนิยม กอนที่ผูใชจะเลือกวิธีการจัดกลุม ผูใชตองกําหนดวาจะใชขอมูลเชิงบรรยาย (attribute) ชุดไหนในการจัดกลุม โดยที่ โปรแกรม ArcView ไมจํากัดจํานวนกลุม (class) ที่ตองการจัด

วิธีการกําหนดจุดแบงของคาตางๆ เพ่ือสรางกลุมของขอมูลขึ้นมาในโปรแกรม ArcView มีวิธีการอยูหลายแบบ ไดแก

Chart Symbol

Dot Density

Page 30: คู่มือการใช้โปรแกรมจัดการระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ ArcView 3.3 โดย อาจารย์ชยกฤต

การจัดการแสดงผลชั้นขอมูล

ภาควิชาภูมิศาสตร คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม

27

Natural breaks การจัดกลุมประเภทนี้จะทําการกําหนดชวงของขอมูลตามกลุมของขอมูลเชนขอมูลที่มีคาใกลเคียงกันและมีความถี่มากก็จะอยูในชวงของขอมูลเดียวกันเปนตน

Quartile การจัดกลุมขอมูลแบบ quartile นั้น ในแตละกลุมขอมูลจะมีจํานวนขอมูลเทากัน การจัดกลุมโดยวิธี quartile นี้ เปนการจัดกลุมที่ดูเหมือนจะเขาใจไดงายที่สุด แตก็ทําใหเกิดการเขาใจผิดเมื่อพิจารณาขอมูลได เชน จํานวนประชากรอาจจะไมเหมาะสมที่จะใชการจัดกลุมโดยวิธีนี้ เพราะเมืองที่มีประชากรนอยอาจตกอยูในกลุม(class) เดียวกับเมืองที่มีประชากรมากก็ได ตัวอยางแผนที่ประเทศสหรัฐอเมริกา แผนที่ดังกลาวมี 48 รัฐถูกจัดเปน 6 กลุม รัฐมิชิแกนมีซึ่งมีประชากรประมาณ 6 ลานคน ตกอยูในกลุมเดียวกับรัฐแคลิฟลอเนีย ซึ่งมีประชากรโดยประมาณถึง 30 ลานคน ผูใชสามารถหลีกเล่ียงความผิดพลาดนี้ไดโดยการเพ่ิมจํานวนกลุม เชนควรจัดเปน 8 กลุม ไมใช 6 กลุม

Equal interval วิธีการจัดกลุมแบบ Equal interval นี้จะแบงชวงของขอมูลออกเปนออกเทาๆ กันในแตละกลุม

Equal area วิธีการจัดกลุมขอมูลแบบ equal area ใชจัดกลุมขอมูลโดยพิจารณาผลรวมของพ้ืนที่ในแตละคลาสที่ใกลเคียงกันที่สุด โปรแกรม ArcView จะพิจารณาวาขอมูลทั้งหมดที่มีที่ใชไดมีพ้ืนที่โดยรวมอยูเทาใด แลวจึงหารดวยจํานวนกลุม ก็จะไดพ้ืนที่ของแตละกลุมเทาๆ กัน ซึ่งวิธีนี้จะคลายกับวิธี quantile ถาพ้ืนที่ของแตละ ขอมูลใกลเคียงกัน ซึ่งวิธี equal area นี้จะดูแตกตางจากวิธี quantile ก็ตอเมื่อพ้ืนที่ของขอมูลแตละตัวแตกตางกันมากๆ

การทํา Normalizing ขอมูล

การทํา Normalize มีสามารถทําได 2 วิธี คือ

By percent of total วิธีการนี้แทนที่จะนับคาตามปกติของขอมูล (ประชากร, การซื้อขาย) ผูใชสามารถทําการ normalize ขอมูลเหลานี้โดยหารดวยผลรวมของคาทั้งหมด จะไดผลลัพธเปนคาเปอรเซ็นต (percent of total)

By the value of another attribute วิธีที่สองของการทํา normalize คือการหารขอมูลที่ใชในการจัดกลุมดวย ขอมูลอื่น เชนการหาคาความหนาแนนของประชากรตอหนวยพ้ืนที่ โดยการหารขอมูลจํานวนประชากรดวยขอมูลมูลพ้ืนที่ เปนตน

ในบางกรณีขอมูลอาจจะถูกทํา Normalize ไปแลว ดังนั้นผูใชไมควรที่จะNormalize ซ้ําอีกครั้ง ตัวอยางเชน ขอมูลที่มองเห็นเปนคาเปอรเซ็นตแลว (อัตราการหยาราง = .34) หรือคาความหนาแนน (จํานวนประชากรตอหนวยตารางกิโลเมตร = 320) ถาเห็นขอมูลเชนนี้หมายถึงขอมูลดังกลาวไดทําการ normalize เปนที่เรียบรอยแลว

Page 31: คู่มือการใช้โปรแกรมจัดการระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ ArcView 3.3 โดย อาจารย์ชยกฤต

คูมือการใชโปรแกรม ArcView GIS 3.3

ชยกฤต มาลําพอง

28

การจัดการชั้นขอมูล

ArcView จะยอมใหมีการเปลี่ยนแปลงแกไขการจัดกลุมขอมูล โดยการจัดการในสวนของ Legend Editor Dialog Box โดยสามารถเพิ่มหรือลดจํานวนกลุมขอมูลไดตามตองการ และยังสามารถจัดลําดับของกลุมใหม ตัวอยางเชน เมื่อตองการยายกลุมที่ไมมีขอมูลซึ่งอยูดานลางสุดของทุกกลุมมาไวขางบนสุดเปนตน

นอกจากนั้นผูใชสามารถที่จะทําการกําหนดคาชวงของกลุมขึ้นเองได ดวยการแกไข คาที่ตองการใหจัดกลุม (Values) และผูใชสามารถเปลี่ยนคําอธิบายสัญลักษณที่จะปรากฏใน Table of Contents เพียงคลิกไปบน value หรือ label ที่ตองการจะเปล่ียนแปลงแกไขใน legend editor หลังจากลบหรือพิมพขอมูลเพ่ิมเติมเรียบรอยแลวกด <Enter> เมื่อเปล่ียนแปลงจนเปนที่พอใจแลวใหคลิกบนปุม Apply เพ่ือ redraw คาหรือลาเบลใหมใน View

การแกไขสวนประกอบตางๆ ของสัญลักษณ ผูใชสามารถเปลี่ยนแปลงแกไขสัญลักษณตางๆ เพ่ือเปล่ียนแปลงการแสดงผลของแผนที่ไดดังนี้

การเรียงขอมูล Flip Symbol

Ramp Colors Undo change

แกไขคาของขอมูล

แกไขคําอธิบายของขอมูล เพิ่มชั้นขอมูล

ลดชั้นขอมูล

Page 32: คู่มือการใช้โปรแกรมจัดการระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ ArcView 3.3 โดย อาจารย์ชยกฤต

การจัดการแสดงผลชั้นขอมูล

ภาควิชาภูมิศาสตร คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม

29

Sorting values and labels ผูใชสามารถจัดเรียงชุดขอมูลตามคาของขอมูล (value) หรือจากคําอธิบายขอมูล (label) ใน legend editor โดยใชปุม Sort Ascending (จัดเรียงจากนอยไปมาก) หรือปุม Sort Descending (จัดเรียงจากมากไปนอย) เชนเดียวกันผูใชสามารถที่จะจัดเรียงโดยใชฟลด Count ที่ปรากฏเมื่อเลือกใชการใหสัญลักษณดวยวิธี unique value ไดดวย โดยที่การจัดเรียงในฟลด value และ count จะเรียงแบบคาตัวเลข สวนการเรียงในฟลด label จะจัดเรียงแบบตัวอักษร

Flipping symbols ผูใชสามารถที่จะกลับ (reverse) สัญลักษณไดดวยการคลิกที่ปุม Flip Symbol ใน Legend Editor ตัวอยางเชน ถาคลาสทั้งหมดถูกใหสัญลักษณสีไล shade จาก แดงไปขาว เมื่อคลิกที่ปุม Flip Symbol จะทําใหเปล่ียนสีไลโทนใหมจากขาวไปแดงแทน การกลับแบบนี้จะไมเปล่ียนลําดับการแสดงผลของคาของขอมูล (value) หรือคาอธิบายขอมูล (labels) แตอยางใด

Ramping colors ปุม Ramp Colors ใหคุณสามารถสรางการไลโทนสี (Ramp) ในคลาสที่จัดกลุมไวทั้งหมด โดยการเลือกสีสองสีที่ตองการจะไลโทน สีดังกลาวจะเลือกจากภายในสัญลักษณที่ปรากฏอยูกอนแลวหรือจะกําหนดขึ้นใหมหรือจะเลือกจากชุดของ Color Ramp ที่มีอยูแลวก็ได

Using Undo ปุมยกเลิกการกระทําครั้งลาสุด (Undo button) ทําใหผูใชสามารถที่จะยกเลิกการทํางานกอนหนานี้ ซึ่งสามารถ undo ไดมากที่สุด 5 ครั้ง

การทํางานกับ Null values

Null value คือคาที่ผูใชไมตองการนํามาจัดกลุมดวย ซึ่งมีอยู 2 ประเภทไดแกในรูปแบบที่เปน Database file เชน dBase และอีกประเภทหนึ่งคือขอมูลที่นําเขาโดยการปอนคาเขาไป ArcView จะกรองเอาขอมูลที่เปน null value ออกเองโดยอัตโนมัติใหสัมพันธกับรูปแบบของ database

การกําหนดคา Null values

Page 33: คู่มือการใช้โปรแกรมจัดการระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ ArcView 3.3 โดย อาจารย์ชยกฤต

คูมือการใชโปรแกรม ArcView GIS 3.3

ชยกฤต มาลําพอง

30

คาของ Null values เปนขอมูลที่มีการนําเขาแตเปนขอมูลที่ไมสามารถระบุคา หรือขอมูลที่ใชไมได หรือเปนขอมูลที่ไมเหมาะสมกับ feature เหลานั้นก็ได ถาขอมูลในแตละฟลดประกอบไปดวย null value ผูใชจะตองระบุกับ ArcView ดวยเพ่ือที่โปรแกรมจะไดไมรวมขอมูลดังกลาวเขาไปในการจัดคลาส

สวนใหญแลวขอมูล Null value ที่เปนตัวเลขจะเห็นไดอยางชัดเจน เชน –9999 หรือตัวเลข 0 บางครั้งก็เปน Null value ไดเชนกัน สวน Null value ที่เปนตัวอักขระ อาจจะเปนฟลดวางหรือมีขอความ “none” เปนตน

การเปลี่ยนสัญลักษณโดยใช Symbol Window

การเปลี่ยนสัญลักษณโดยใช Symbol Windows เปนการใช Palette ตางๆ (โดยรวมเรียกวาหนาตางสัญลักษณ หรือ Symbol Window) ผูใชสามารถเปลี่ยนสัญลักษณที่เคยแสดงในแตละ theme ได ซึ่ง Palette เปนหนาตางที่รวบรวมเอาสัญลักษณมากมายไวดวยกันทั้งจากไฟลที่ผูใชสามารถเรียกมาใชไดเลยหรือจากไฟลที่ผูใชสรางขึ้นเอง ซึ่งมีทั้ง palette สําหรับเปล่ียนสี ใสสีหรือใสลวดลายใหวงรอบปดเปล่ียนลักษณะเสน เปล่ียนสัญลักษณของจุด และ palette สําหรับเปล่ียนรูปแบบตัวหนังสือ ผูใชสามารถที่จะใสสีใหมเขาไปในวงรอบปดที่ตองการ เปล่ียนขนาดหรือความหนาของเสน เปล่ียนรูปราง เปล่ียนขนาดและเปลี่ยนสีของสัญลักษณที่เปนจุด และเปล่ียนรูปแบบตัวหนังสือที่ตองการจาก Palette ตางๆ เหลานั้น เชนเดียวกันผูใชสามารถที่จะเปล่ียนตัวหนังสือที่ตองการจากฟอนตเดิมใหเปน marker symbol ไดดวย

Palette Manager จะใชเพ่ือ Load, Save, Clear หรือสราง Default Palette หรือ Reload System Palette โปรแกรม ArcView มี Palette เพ่ิมเติมมาใหสําหรับบางงานที่ตองการสัญลักษณเฉพาะทาง ซึ่งสัญลักษณตางๆ นั้นจะจัดเก็บอยูในโฟลเดอร Symbols สําหรับรายชื่อของไฟลเหลานี้สามารถดูไดจาก Help เรื่อง ArcView Palette Files หรือในกรณีที่ผูใชสามารถมีสัญลักษณที่ออกแบบไวใชงานเองก็สามารถใช Palette Manager นําเขา (Import) สูโปรแกรม ArcView เพ่ือใชงานได ซึ่งรูปแบบของไฟลที่สามารถนําเขามีอยูหลายรูปแบบ ไดแก GIFF, MacPaint, Windows Bitmap, SunRaster file, TIFF และ Xbitmap

การกําหนด Scale ใหสัญลักษณ

ในการทํางานบางอยางมีความจําเปนที่เครื่องหมายหรือเสนสัญลักษณจะตองขยายใหญขึ้นเมื่อทําการขยายภาพเขาไปดูใกลๆ (Zoom in) โปรแกรม ArcView สามารถใหผูใชกําหนดมาตราสวนของสัญลักษณไดเมื่อมีการเปล่ียนมาตราสวนของการแสดงผลบน View

คามาตรฐานเริ่มตนของสัญลักษณไมไดถูกกําหนดมาตราสวน ซึ่งหมายความวาขนาดของสัญลักษณจะเหมาะสมกับ View ที่แสดงผลอยู ผูใชสามารถกําหนดใหสัญลักษณเหลานั้นมีมาตราสวนหรือไมมีใน Advanced Option Dialog Box โดยคลิกที่ปุม Advanced Button ใน Legend Editor ผูใชสามารถที่จะกําหนดมาตราสวนของสัญลักษณได

Fill Palette Pen Palette Marker Palette Font Palette Color Palette Palette Manager

Page 34: คู่มือการใช้โปรแกรมจัดการระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ ArcView 3.3 โดย อาจารย์ชยกฤต

การจัดการแสดงผลชั้นขอมูล

ภาควิชาภูมิศาสตร คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม

31

โดยอางอิงจากมาตราสวนของแผนที่ที่แสดงใน View โดยคาที่ต้ังไวจะเปนมาตราสวนเทากับ View ซึ่งเมื่อมีการขยายมาตราสวนของแผนที่สัญลักษณเหลานี้ก็จะขยายตาม

นอกจากการกําหนดมาตราสวนของสัญลักษณแลว โปรแกรม ArcView ยังสามารถกําหนดการหมุน(Rotate) สัญลักษณที่เปน Marker โดยการระบุมุมของสัญลักษณ Marker ใน Marker Palette ผานทาง Advanced Option Dialog Box (จาก Legend Editor) เพ่ือกําหนดมุมโดยเติมคาตัวเลขลงไป นอกจากนั้น ArcView ยังสามารถใชการหมุน Marker Symbol แบบอัตโนมัติไดดวย

การตั้งคา Offset ซึ่งเปนคาของระยะที่กําหนดจากพิกัดเดิมที่สัญลักษณนั้นๆ อยู ออกไปไดตามตองการ โดยใช Advanced Option Dialog Box เพ่ือปอนคา Offset ที่ตองการจะ มีหนวยเปน point (1 point = 1/72 นิ้ว)

การ Save และ Load Legend

โปรแกรม ArcView สามารถบันทึกสัญลักษณ ที่เคยกําหนดไวและเรียกมาใชไดภายหลัง เมื่อผูใชเรียกสัญลักษณที่เคยทําการบันทึกไวขึ้นมาใชอีกครั้ง ซึ่งการเรียกใชสัญลักษณนี้ โปรแกรม ArcView จะใหเลือกรูปแบบตางๆ ตามที่ไดต้ังไว ไดแก การจัดแบงกลุมขอมูล (Classification) และรูปแบบของสัญลักษณ เพ่ือนํามาใชกับขอมูลที่ตองการ

การกําหนดการแสดงผล Theme ดวย Theme Properties

Theme Properties เปนสวนที่ใชควบคุมการแสดงผลของ Theme ซึ่งจะควบคุมการแสดงผลสวนประกอบของแตละ Theme การกําหนดคําอธิบายใหขอมูลดวยคาจากขอมูลเชิงบรรยาย การปรับมาตราสวนของการแสดงผล และการสราง Hot Link เพ่ือใหผูใชงานคลิกไปบนขอมูลเพ่ือดูรายละเอียดเพิ่มเติมตามที่ตองการ นอกจากนั้นยังสามารถกําหนดผูที่จะสามารถแกไข Theme Properties โดยการกําหนดรหัสผานได

การแสดงภาพเฉพาะบริ เวณที่อยู ในเงื่อนไขที่กําหนด

แสดงคําอธิบาย (Label) ใน Theme กําหนด Scale ในการแสดง Theme สราง Link ระหวาง Theme กับขอมูลประเภทตางๆ ที่กําหนด

กําหนด Password ปองกันไมใหคนอื่นมาแกไข Theme Properties ที่กําหนดไว

Page 35: คู่มือการใช้โปรแกรมจัดการระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ ArcView 3.3 โดย อาจารย์ชยกฤต

คูมือการใชโปรแกรม ArcView GIS 3.3

ชยกฤต มาลําพอง

32

การเลือกขอมูลท่ีตองการแสดงผล

การแสดงผล Theme ใน View นั้น โปรแกรม ArcView จะนําขอมูลทุกตัวที่อยูใน Theme มาทําการแสดงผล อยางไรก็ตามผูใชสามารถที่จะเลือกการแสดงผลเฉพาะขอมูลที่ตองการไดโดยการใช Query Builder (ใน Theme Properties Dialog Box) เพ่ือแสดงขอมูลเฉพาะสวนที่ตองการที่อยูใน Theme ยกตัวอยางเชน ผูใชสามารถแสดงผลเฉพาะทางหลวงสายหลักจาก Theme ที่รวมเอาทางหลวงทุกอยางไวดวยกัน และในกรณีที่ผูใชตองการเก็บเอา Theme ที่ใชแสดงผลเฉพาะขอมูลที่ตองการไว สามารถทําไดโดยการคัดลอกจาก Theme ตนฉบับ แลวเปล่ียนชื่อ Theme ที่คัดลอกมาไวเพ่ือบงบอกวา Theme นี้แสดงผลอะไร

การสรางเงื่อนไขเพื่อใชในการเลือกขอมูลที่ตองการนั้น จะใชสวนของ Query โดยการกําหนดเงื่อนไขวาจะเลือกฟลดใด เครื่องหมายที่ใช (Operator) ในการเปรียบเทียบ และคา (Value) อะไร ผูใชสามารถที่จะรวมเอาเงื่อนไขหลายเง่ือนไขเขาดวยกันเพ่ือเลือกดูขอมูลที่ตองการมากกวาหนึ่งฟลด หรือมากกวาหนึ่งกลุมตามคาที่ตองการ ยกตัวอยางเชนผูใชมี Theme ขอมูลของผูบริโภคซึ่งประกอบไปดวย ขอมูลสํามะโนประชากรตางๆ และผูใชตองการเรียกดูเฉพาะคาที่เกี่ยวกับราคาที่อยูอาศัย และรายไดตอครอบครัวที่ตองการ ผูใชสามารถตั้งเง่ือนไขไดดังนี้

(assessment > 150,000) and (income > 60,000)

ในการใหเง่ือนไขหลายเงื่อนไขพรอมๆ กันนั้น จําเปนอยางยิ่งที่จะตองบอกใหชัดเจนไมเชนนั้นโปรแกรมอาจทํางานผิดพลาดได ควรจะมีการใชวงเล็บเปดและปดกลุมเง่ือนไขตางๆ ใหเปนกลุม หากไมมีวงเล็บโปรแกรมจะทําการหาคาจากซายไปขวาเปนหลัก

Theme ตําแหนงเมือง Subset of Theme features เลือกแสดงเฉพาะเมืองที่มีจํานวน Households มากกวา 50,000

การสรางเงื่อนไขเพื่ อระ บุข อ มูลที่ตองการแสดงผล

Page 36: คู่มือการใช้โปรแกรมจัดการระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ ArcView 3.3 โดย อาจารย์ชยกฤต

การจัดการแสดงผลชั้นขอมูล

ภาควิชาภูมิศาสตร คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม

33

การกําหนดคาการแสดงผลตามมาตราสวน

เปนการควบคุมให Theme ใดๆ แสดงผลโดยการกําหนดขอบเขตของมาตราสวนที่จะแสดงผล เพ่ือใหการแสดงผลของแผนที่ชัดเจนและดูงาย การตั้งคา Scale Threshold นั้นจะใชสวนของ Theme Display Property เพ่ือกําหนดคาชวงของมาตราสวนที่เหมาะสมในการแสดงผล ยกตัวอยางเชน ในขณะที่แสดงผลที่ต้ังของตัวเมือง อาจจะไมสามารถแสดงผลของถนนของเมืองนั้นได แตเมื่อขยายภาพเขาไปในมีมาตราสวนที่ใหญขึ้น จะสามารถมองเห็นถนนของเมืองนั้นได เปนตน ในบางครั้งเมื่อ Theme บาง Theme มีมาตราสวนที่ไมเหมาะสมก็จะทําใหไมสามารถที่จะแสดงผลได ถึงแมวา Theme นั้นจะถูกส่ังใหแสดงผลก็ตาม

การกําหนดคําอธิบายใหกับขอมูลใน Theme

ผูใชสามารถเพิ่มตัวอักษรที่เปนคําอธิบายตางๆ เขาไปใน View ได เพ่ือใชอธิบายขอมูลตางๆ ที่อยูใน Theme ซึ่งตัวหนังสือเหลานั้นอาจไดมาโดยการพิมพขึ้นเองใน View หรือใชขอมูลที่มาจากตารางอธิบาย Theme นั้นๆ หรือจะเปน Theme ของตัวหนังสือที่เกิดจากโปรแกรม Arc/Info หรือโปรแกรม AutoCAD ก็ได

ตัวหนังสือแตละตัวถือวาเปนวัตถุหนึ่งชิ้น (Graphic Elements) ซึ่งสามารถที่จะกําหนดตําแหนงที่จะใหตัวอักษรอยูหรือจะเปล่ียนแปลงขนาดโดยขึ้นอยูกับ View ได ตัวหนังสือเหลานี้สามารถที่จะยึดติดกับ Theme นั้นๆ ได หมายความวาเมื่อส่ังให Theme นั้นแสดงผล ตัวหนังสือก็จะปรากฏดวย ซึ่งกระบวนการดังกลาวสามารถทําไดโดยเลือกที่ Attach Graphics จากเมนู Graphic

กําหนด Scale ที่ตองการใหแสดงหรือซอน Theme

Scale denominator = 15,000,000 Scale denominator = 9,000,000

Scale denominator threshold = 10,000,000

Page 37: คู่มือการใช้โปรแกรมจัดการระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ ArcView 3.3 โดย อาจารย์ชยกฤต

คูมือการใชโปรแกรม ArcView GIS 3.3

ชยกฤต มาลําพอง

34

การกําหนดคําอธิบายใหกับขอมูลใน Theme สามารถทําได 2 วิธี ดังนี้

วิธีที่ 1 การใชปุมคําส่ัง Label

เลือก Theme ที่ตองการใสคําอธิบายใหแอคทีฟ

เลือกเมนู Theme -> Properties…

เลือกไอคอน Text Labels ใน Theme Properties Dialog Box

กําหนดฟลดที่ตองการใหนํามาแสดงคําอธิบาย และตําแหนงการวางคําอธิบาย จากนั้นจึงคลิกปุม OK

คลิกปุมคําส่ัง Label แลวคลิกบริเวณขอมูลใน View ที่ตองการแสดงคําอธิบายขอมูล

วิธีที่ 2 การใช Auto-label

เลือก Theme ที่ตองการใสคําอธิบายใหแอคทีฟ

เลือกคําส่ังจากเมนู Theme -> Auto-label…

กําหนดคาตางๆ ตามตองการใน Auto-label Dialog Box โดยมีรายละเอียดดังนี้ Placing Text เปนการจัดรูปแบบของการวางตัวอักษรคําอธิบาย ซึ่งจะมี 2

ตัวเลือก ตัวเลือกแรก (Use Theme’s Text Label Placement Property) เปนการกําหนดใหมีการจัดวางตัวอักษรตามคาที่ถูกตั้งไวในสวนของ Text Labels Theme Property สวนในตัวเลือกถัดมา (Find Best Label Placement) เปนการกําหนดใหโปรแกรม ArcView หาตําแหนงที่เหมาะสมในการวางตัวอักษรใหเองโดยอัตโนมัติ

กําหนด Field ที่ตองการใหเปนคําอธิบาย

Page 38: คู่มือการใช้โปรแกรมจัดการระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ ArcView 3.3 โดย อาจารย์ชยกฤต

การจัดการแสดงผลชั้นขอมูล

ภาควิชาภูมิศาสตร คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม

35

Overlapping and Duplicate Label เปนการกําหนดการแสดงผลของคําอธิบายในกรณีที่คําอธิบายที่จะแสดงมีการซอนทับกัน หรือมีการซ้ําซอนการของขอมูล

คําอธิบายตางๆ ที่แสดงผลอยูใน View นั้น โปรแกรม ArcView จะกําหนดใหคําอธิบายตางๆ ที่ปรากฏขยายใหญขึ้นเมื่อทําการ Zoom In และเล็กลง เมื่อทําการ Zoom Out

การสราง Hot link

การสราง hot link เพ่ือใหผูใชสามารถคลิกไปบน ArcView ที่ตองการ เพ่ือดูขอมูลเพ่ิมเติมที่ถูกเชื่อมตอไวแลวกับขอมูลนั้น ขอมูลดังกลาวสามารถเปนไดทั้งแฟมขอมูลตัวอักษร (text file) หรือเปนดอกคิวเมนตตางๆ ใน ArcView (view, table , chart , layout) หรือโปรเจคอื่นๆ ของ ArcView นอกจากการแสดงผลแลว hot link ยังสามารถที่จะเรียกใช Avenue สคริปต ซึ่งอาจจะเรียกใชฟงกชั่นไดหลากหลายในสคริปตนั้นก็ได

ยกตัวอยางเชนมีจุดแสดงตําแหนงวัดตางๆ อยู เมื่อคลิกไปบนจุดนั้นๆ อาจจะมีการแสดงภาพวัดขึ้นมา หรือมีคําอธิบายประวัติวัดซึ่งเปนไฟลอ่ืนๆ ก็ได หรืออาจจะมีการแสดงภาพเคลื่อนไหวสั้นๆ เพ่ือใหนาสนใจขึ้น

ผูใชสามารถที่จะสราง hot link ไดจากไดอะลอกบอกของ Theme Properties โดยเลือกที่สวนของ Hot link จากนั้นจึงกําหนดฟลดที่ตองการเชื่อมตอ (field) และกําหนดรูปแบบการเชื่อมตอ (predefined action) หรือสคริตที่ตองการสั่งใหทํางาน (script) โดยมีรายละเอียดดังนี้

Field ตารางของแตละ theme จะตองมีฟลดที่เก็บขอมูลของ hot link ซึ่งอาจจะเปนการระบุตําแหนงของไฟลอักษรหรือไฟลภาพ หรือโปรเจคของ ArcView หรือดอกคิวเมนตอ่ืนๆ ในโปรเจคปจจุบันก็ได

Predefined action เปนการกําหนดรูปแบบการเชื่อมโยง Script เปนการเชื่อมโยงหาสคริปต ในกรณีที่มีสคริปตที่สรางจาก Avenue

อยู

หาตําแหนงในการวาตัวอักษรที่เหมาะสม จัดการ Overlap and Duplicate ของตัวอักษร จัดวางคําอธิบายเฉพาะ View ที่กําลังทํางานอยู

Page 39: คู่มือการใช้โปรแกรมจัดการระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ ArcView 3.3 โดย อาจารย์ชยกฤต

คูมือการใชโปรแกรม ArcView GIS 3.3

ชยกฤต มาลําพอง

36

รูปแบบของไฟลภาพที่สามารถแสดงผลโดยใช hot link ไดไดแก

X-Bitmap

MacPaint

Microsoft DIB

Sun raster files

XWD

GIF

TIFF และ TIFF/LZW

สรางฟลดและกําหนดคาในฟลดเพื่อระบุ Hotlink กําหนดรูปแบบการทํา Hotlink ใน Theme Properties ใชปุมคําสั่ง Hotlink เพื่อทํางานใน View

Hotlink Icon

Page 40: คู่มือการใช้โปรแกรมจัดการระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ ArcView 3.3 โดย อาจารย์ชยกฤต

ตารางขอมูลเชิงบรรยาย

ภาควิชาภูมิศาสตร คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม

37

ตารางขอมูลเชิงบรรยาย

การใชงานตารางขอมูลเชิงบรรยาย ตารางขอมูลเชิงบรรยายในโปรแกรม ArcView เปนการแสดงรายละเอียดตางๆ ของขอมูลเชิงพ้ืนที่ใน

รูปแบบของตาราง ซึ่งตารางที่ใชแสดงขอมูลดังกลาวอาจจะมาจากแหลงที่มาตางกัน หรืออาจจะเกิดขึ้นจากโปรแกรม ArcView เองก็ได ซึ่งผูใชสามารถที่จะทําการปรับปรุงเปล่ียนแปลงตารางเหลานั้นไดโดยการใชเครื่องมือของโปรแกรม ArcView เอง ตารางสองตารางสามารถที่จะนํามาตอเชื่อม (joined) หรือทําการเชื่อมโยง (link) เขาดวยกันไดโดยที่ผูใชสามารถเรียกดูรายละเอียดขอมูลที่เพ่ิมเติมจากการเชื่อมตอเหลานั้นไดจากการแสดงผลของแผนที่

ที่มาของขอมูลในตารางของโปรแกรม ArcView อาจจะเปนขอมูลจากโปรแกรม dBASE หรือตาราง info ของโปรแกรม Arc/Info หรืออาจจะเปนไฟลตัวอักษรธรรมดา หรือขอมูลที่เรียกใชจากฐานขอมูล SQL ซึ่งผูใชสามารถที่จะเอาขอมูลจากแหลงตางๆ และหลายรูปแบบเพ่ือสรางเปนตารางขอมูลเชิงบรรยายในโปรแกรม ArcView

การสรางตารางขอมูลเชิงบรรยายจากขอมูลท่ีมีอยู

รูปแบบขอมูลที่โปแกรม ArcView สนับสนุนและสามารถนํามาใชไดทันทีไดแก ขอมูลจากโปรแกรม dBASEIII, dBASEIV, INFO หรือไฟลตัวอักษรที่คั่นขอมูลที่ตองการใหปรากฏในแตละฟลดดวยเครื่องหมายคอมมา (,) หรือแทบ (tab) ซึ่งการเพิ่มตารางเหลานี้เขาไปสามารถทําไดดังนี้

คลิกไอคอน Tables จากหนาตางโปรเจค จากนั้นจึงคลิกปุม Add หรือเลือกคําส่ังจากเมนู Project -> Add Table

เลือกขอมูลจาก Add Table Dialog Box

Page 41: คู่มือการใช้โปรแกรมจัดการระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ ArcView 3.3 โดย อาจารย์ชยกฤต

คูมือการใชโปรแกรม ArcView GIS 3.3

ชยกฤต มาลําพอง

38

การสรางตารางขอมูลเชิงบรรยาย

โปรแกรม ArcView สามารถสรางตารางขอมูลเชิงบรรยายใหมขึ้นมาเพื่อใชงาน โดยการสรางตารางขอมูลเชิงบรรยายขึ้นมาใหมนั้นจะผูใชตองเริ่มตั้งแตการสรางไฟลขอมูล การเพิ่มฟลดเพ่ือใชในการจัดเก็บขอมูล และการเพ่ิมเรคอรดขอมูล รวมถึงการจัดการขอมูลในตารางขอมูลเชิงบรรยายใหม โดยมีรายละเอียดดังจะไดกลาวตอไปนี้

การสรางไฟลตารางขอมูลเชิงบรรยาย

สามารถทําไดดังนี้

คลิกไอคอน Table ในหนาตางโปรเจค

คลิกปุม New

เลือกโฟลเดอรที่ตองการใชจัดเก็บไฟลใหมที่เกิดขึ้น แลวกําหนดชื่อของตารางขอมูลเชิงบรรยายที่จะเกิดขึ้นใหม

คลิกปุม OK

ArcView จะสรางตารางใหโดยที่ยังไมมีฟลด (field) หรือเรคคอรด (record) ใดๆ เกิดขึ้น โดยตารางที่ถูกสรางขึ้นมาใหมนี้จะเปนตารางในรูปแบบของโปรแกรม dBASE (เชน trade.dbf) หลังจากที่สรางตารางขึ้นมาใหมแลวผูใชก็สามารถที่จะเพ่ิมฟลด หรือขอมูลที่ตองการลงไปไดตามตองการ

สรางตารางขอมูลเชิงบรรยายใหม กําหนดโฟลเดอรในการจัดเก็บ

Page 42: คู่มือการใช้โปรแกรมจัดการระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ ArcView 3.3 โดย อาจารย์ชยกฤต

ตารางขอมูลเชิงบรรยาย

ภาควิชาภูมิศาสตร คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม

39

การเพิ่มฟลดใหกับตารางขอมูลเชิงบรรยาย

หลังจากที่ผูใชสรางตารางใหมขึ้นมาแลว จะตองสรางฟลดใหกับตารางขอมูลเชิงบรรยายเพื่อใชสําหรับจัดเก็บขอมูล โดยมีขั้นตอนดังนี้

เลือกตารางขอมูลเชิงบรรยายที่ตองการ

เลือกคําส่ังจากเมนู Edit -> Add Field…

กําหนดคาตามตองการ

โดยการกําหนดคาผูใชตองกําหนดรายละเอียดของฟลดที่ตองการสราง ดังนี้ Name เปนการกําหนดชื่อของฟลด Type เปนการกําหนดคาที่ตองการใหฟลดนั้นๆ จัดเก็บ โดยจะแยกเปน

Number เปนการระบุใหฟลดนั้นๆ เก็บคาที่เปนตัวเลข String เปนการระบุใหฟลดนั้นๆ เก็บคาที่เปนตัวอักษร Boolean เปนการระบุใหฟลดนั้นๆ เก็บคาที่เปนตรรกะ ซึ่งสามารถมีได 2 คา

คือ จริง (True) หรือเท็จ (False) เทานั้น Date เปนการระบุใหฟลดนั้นๆ เก็บคาที่เปนวันที่

Width เปนการกําหนดความกวางของฟลดที่จะสามารถเก็บคาได

การลบฟลดออกจากตารางขอมูลเชิงบรรยาย

เมื่อผูใชไมตองการที่จะใชฟลดใดๆ สามารถที่จะลบฟลดที่ไมตองการทิ้งไปได โดยมีขั้นตอนดันี้

เลือกฟลดที่ตองการ โดยการคลิกเลือกหัวฟลดในตารางขอมูลเชิงบรรยาย

เลือกคําส่ังจากเมนู Edit -> Delete Field

กอนที่จะทําการใดๆ กับตารางอันดับแรกตองทําใหตารางนั้นสามารถแกไขไดกอนโดยเลือกคําส่ังจากเมนู Edit -> Start editing เมื่อตัวอักษรในตารางเปนตัวเอียงก็หมายความวาตารางดังกลาวสามารถที่จะทําการเปล่ียนแปลงแกไขได

เมื่อตองการส้ินสุดการแกไขขอมูลเลือกคําส่ังจากเมนู Theme -> Stop editing

Page 43: คู่มือการใช้โปรแกรมจัดการระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ ArcView 3.3 โดย อาจารย์ชยกฤต

คูมือการใชโปรแกรม ArcView GIS 3.3

ชยกฤต มาลําพอง

40

การเพิ่มขอมูลใหกับตารางขอมูลเชิงบรรยาย

หลังจากที่เพ่ิมฟลดใหกับตารางขอมูลเชิงบรรยาย ผูใชสามารถที่จะเพิ่มเรคคอรด (record) ขอมูลเขาไปในตารางไดจากเมนู Edit -> Add Records โดยที่คาเริ่มตนในแตละเรคคอรดจะเปน 0 กรณีที่ถูกกําหนดใหเปนตัวเลขหรือวันที่ และจะถูกเริ่มตนเปนเรคคอรดเปลาในกรณีที่ถูกกําหนดใหเปนตัวอักษรหรือคาถูกผิด

การลบขอมูลออกจากตารางขอมูลเชิงบรรยาย

ผูใชสามารถที่จะลบเรคคอรดที่ไมตองการทิ้ง โดยคลิกปุมเครื่องมือ Select จากนั้นคลิกเลือกเรคคอรดที่ตองการลบ แลวเลือกคําส่ังจากเมนู Edit -> Delete Records ทุกเรคคอรดที่เลือกไวจะถูกลบทิ้ง

การแกไขขอมูลในตารางขอมูลเชิงบรรยาย

ในกรณีที่ตองการเปล่ียนแปลงแกไขขอมูลในตารางขอมูลเชิงบรรยายใหใชปุมเครื่องมือ Edit จากนั้นคลิกไปบนเซลลที่ตองการแลวพิมพคาใหมลงไป

การแกไขขอมูลในตารางขอมูลเชิงบรรยายโดยการคํานวณ

ในบางกรณีแทนที่จะเพ่ิมคาตางๆ เขาไปในแตละเรคคอรดโดยการพิมพคาเขาไป ผูใชสามารถที่จะทําการคํานวณคาที่ตองการเขาไปในหลายเรคคอรดพรอมๆ กันได โดยใช Fields Calculator โดยมีขั้นตอนดังนี้

คลิกบนฟลดที่ตองการจะคํานวณเพื่อใหแอคทีฟ

เลือกที่ปุม Calculate เพ่ือ หรือเรียกใชคําส่ังจากเมนู Field -> Calculate…

สรางเง่ือนไขในการคํานวณคาตางๆ ใหฟลดใน Field Calculator Dialog Box ตามตองการ

Calculate Icon

Page 44: คู่มือการใช้โปรแกรมจัดการระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ ArcView 3.3 โดย อาจารย์ชยกฤต

ตารางขอมูลเชิงบรรยาย

ภาควิชาภูมิศาสตร คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม

41

การสืบคนขอมูล ในโปรแกรม ArcView ผูใชสามารถที่เลือกขอมูลในแตละเรคคอรดของตารางขอมูลเชิงบรรยายได โดย

การกําหนดหรือเปล่ียนแปลงเงื่อนไขของการเลือกขอมูลจากปุมเครื่องมือ Query Builder ซึ่งจะทําใหผูใชเลือกคนเอาเฉพาะขอมูลที่สนใจได

การกําหนดเงื่อนไขที่ตองการสามารถที่จะใชเง่ือนไขเพียงเง่ือนไขเดียวหรือหลายๆ เง่ือนไขรวมกันไดในฟลดหนึ่งๆ นอกจากนั้นยังสามารถที่จะรวมเอาเงื่อนไขโดยการกําหนดจากหลายฟลดหรือจากกลุมขอมูลหลายๆ กลุมได ยกตัวอยางเชน ถาสนใจที่จะดูขอมูลของลูกคาที่มีกิจการมูลคามากกวา 150,000 บาท และมีรายไดมากกวา 60,000 บาทตอเดือนก็สามารถกําหนดเงื่อนไขไดดังนี้

prop_value > 50000 and income > 60000

ในการกําหนดเงื่อนไขตางๆ การใชเครื่องหมายวงเล็บครอมกลุมเง่ือนไขที่ตองการไวเปนชุดๆ เปนเรื่องสําคัญมาก อันจะทําใหเง่ือนไขที่ต้ังขึ้นไมเกิดขอผิดพลาด ในกรณีที่ไมมีการใชเครื่องหมายวงเล็บกํากับ ระบบจะคิดเง่ือนไขจากซายไปขวาเสมอ ซึ่งในบางกรณีอาจจะทําใหผลการสืบคนขอมูลมีความแตกตางกัน

Prop_value > 200000 or income > 600000 and income < 100000 ไมเทากับ

Prop_value > 200000 or (income > 600000 and income < 100000)

ขอมูลที่ถูกเลือกอยูจะถูกทําแถบสีเหลืองทั้งในตารางขอมูลเชิงบรรยายและขอมูลใน view แตอยางไรก็ตามโปรแกรม ArcView จะยอมใหผูใชสามารถเปลี่ยนไปเปนสีที่ตองการได จํานวนของเรคคอรดที่ถูกเลือกจะแสดงเปนตัวเลขอยูที่ทูลบาร ผูใชสามารถที่จะใชปุม Promote เพ่ือทําใหเรคคอรดที่ถูกเลือกทั้งหมดเลื่อนอยูบนสุดของตาราง

Query Builder Icon

เลือก Query Builder เพื่อเลือกขอมูลที่ตองการ

กําหนดเงื่อนไขตามตองการ ขอมูลที่ถูกเลือกจะแสดงแถบสีเหลือง

Page 45: คู่มือการใช้โปรแกรมจัดการระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ ArcView 3.3 โดย อาจารย์ชยกฤต

คูมือการใชโปรแกรม ArcView GIS 3.3

ชยกฤต มาลําพอง

42

การแกไข/ปรับปรุงการสืบคนขอมูล

ผูใชสามารถเลือกขอมูลตามเงื่อนไขขึ้นมาใหมโดยใช Query Builder Dialog Box กําหนดเงื่อนไขใหมหรือกําหนดเงื่อนไขเพิ่มเติม จากนั้นใชปุมคําส่ังบน Query Builder Dialog Box เพ่ือดําเนินการดังนี้

ปุม New Set ใชสําหรับกําหนดเงื่อนไขการเลือกขอมูลใหม

ปุม Add to Set ใชสําหรับเพ่ิมขอมูลเรคคอรดใหมใหกับชุดขอมูลที่ถูกเลือกไว

ปุม Select From Set ใชสําหรับเลือกขอมูลจากชุดขอมูลที่ถูกเลือกไวโดยใช

นอกจากนั้นยังมีปุมคําส่ังที่เกี่ยวกับการเลือกอีก 3 ปุม ไดแก

ปุม Select All ใชในกรณีที่ตองการเลือกขอมูลทั้งหมด

ปุม Select None ใชสําหรับกรณีที่ตองการยกเลิกการเลือกที่มีอยูทั้งหมด

ปุม Switch Selection ใชในกรณีที่ตองการสลับการเลือก

การคํานวณคาสถิติจากตารางขอมูลเชิงบรรยาย โปรแกรม ArcView สามารถคํานวณและแสดงผลคาทางสถิติของฟลดในตารางขอมูลเชิงบรรยาย ถา

มีเรคคอรดในตารางขอมูลเชิงบรรยายถูกเลือกไว ArcView จะแสดงผลคาทางสถิติที่คํานวณเฉพาะเรคคอรดที่ถูกเลือก แตถาไมมีเรคคอรดใดถูกเลือกไว ArcView จะแสดงผลการคํานวณจากทุกเรคคอรดในฟลดที่เลือกไว โดยคาทางสถิติที่ ArcView สามารถคํานวณได ไดแก

Sum

Count

Mean

Minimum

Maximum

Range

Variance

Standard Deviation

เลือกขอมูลใหม เพิ่มการเลือกจากที่เลือกไวเดิม เลือกขอมูลจากที่ถูกเลือกไวเดิม

Select All Select None Switch Selection

Page 46: คู่มือการใช้โปรแกรมจัดการระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ ArcView 3.3 โดย อาจารย์ชยกฤต

ตารางขอมูลเชิงบรรยาย

ภาควิชาภูมิศาสตร คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม

43

การคํานวณคาสถิติจากตารางขอมูลเชิงบรรยายสามารถทําไดตามขั้นตอนดังนี้

เลือกฟลดที่ตองการจัดกลุมการคํานวณในตาราง โดยการคลิกที่ชื่อฟลดในตารางขอมูลเชิงบรรยาย

คลิกปุมคําส่ัง Summarize หรือเลือกใชคําส่ังจากเมนู Field -> Summarize

กําหนดคาใน Summary Table Definition Dialog Box โดยกําหนดโฟลเดอรและไฟลที่ตองการเก็บผลลัพธจากการคํานวณ จากนั้นเลือกฟลดที่ตองการนํามาคํานวณ และเลือกฟงกชั่นที่ตองการคํานวณ จากนั้นคลิกที่ปุม Add คาที่กําหนดจะปรากฏเปนฟลดหนึ่งที่แสดงผลลัพธในไฟลผลลัพธ ถาตองการฟลดผลลัพธเพ่ิมใหกําหนดฟลดที่ตองการคํานวณ เลือกฟงกชั่นการคํานวณ และคลิกปุม Add ไดตามตองการ ในกรณีที่ตองการลบฟลดผลลัพธที่กําหนดไว ใหเลือกฟลดที่ตองการ จากนั้นใชปุม Delete เพ่ือลบฟลดผลลัพธออกไปจากรายการการคํานวณ

เมื่อผูใชทําการคํานวณสรุปผลตาราง ArcView จะสรางไฟลในรูปแบบของโปรแกรม dBASE ซึ่งเปนไฟลผลลัพธที่เกิดจากการคํานวณขึ้นมา ซึ่งตารางดังกลาวสามารถที่จะทําการเชื่อมโยงเขากับตารางในแตละ theme เพ่ือที่ผูใชจะไดสามารถสืบคนขอมูลเพ่ือแสดงผลคาตางๆ จากตารางสรุปผลการคํานวณได

การสรางความสัมพันธระหวางตารางขอมูลเชิงบรรยาย ในบางครั้งเมื่อตองการเขาถึงขอมูลจากหลายตารางพรอมๆ กัน ตัวอยางเชน ขอมูลการเปนเจาของที่อยู

อาศัยอาจจะตองการขอมูลภาษีของแตละครัวเรือน หรือขอมูลอื่นๆ ที่สัมพันธกันดวยจากตารางอื่นๆ โปรแกรม ArcView สามารถที่จะสรางความสัมพันธกันระหวางตารางขอมูลเชิงบรรยายสองตารางไดเพ่ือที่จะไดเรียกดูขอมูลเพ่ิมเติมที่เกี่ยวของกับขอมูลเชิงพ้ืนที่ตางๆ ใน theme นั้นๆ ได เมื่อเกิดตารางที่ไดสรางใหเกิดการสัมพันธกันแลว ผูใชสามารถใชที่จะเอาขอมูลเหลานั้นมาสรางเปนกราฟ วิเคราะหหรือแสดงผลขอมูลที่ตองการได

Summarize

เลือกฟลดที่ตองการจัดกลุมการคํานวณ กําหนดรูปแบบการคํานวณตองการ ไดตารางแสดงผล

Page 47: คู่มือการใช้โปรแกรมจัดการระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ ArcView 3.3 โดย อาจารย์ชยกฤต

คูมือการใชโปรแกรม ArcView GIS 3.3

ชยกฤต มาลําพอง

44

ตารางขอมูลเชิงบรรยายหลายๆ ตารางที่มีความสัมพันธกัน จะสามารถทําการตอเชื่อม (Join) หรือ เชื่อมโยง (Link) เขาหากันได ซึ่งจะใชวิธีการใดก็ขึ้นอยูกับความสัมพันธของขอมูลระหวางตารางเหลานั้น ซึ่งความสัมพันธของขอมูลระหวางตารางดังกลาวมีอยู 3 รูปแบบ คือ

One-to-one เปน

Many-to-one เปน

One-to-many เปน

Page 48: คู่มือการใช้โปรแกรมจัดการระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ ArcView 3.3 โดย อาจารย์ชยกฤต

ตารางขอมูลเชิงบรรยาย

ภาควิชาภูมิศาสตร คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม

45

การเชื่อมความสัมพันธระหวางตารางขอมูลเชิงบรรยายจะตองใชฟลดที่มีขอมูลที่ตรงกันจากตารางที่ตางกันเปนตัวตอเชื่อม โดยฟลดที่ใชในการเชื่อมความสัมพันธดังกลาวจะมีอยู 2 ชนิด คือ

Primary Key จะเปนฟลดในตารางขอมูลเชิงบรรยายที่จะตองมีคาที่จัดเก็บอยูในฟลดไมซ้ํากัน ซึ่งจะใชเปนตัวชี้คาของขอมูลในเรคคอรดในตารางขอมูล

Foreign Key จะเปนฟลดที่เก็บคาในอีกตารางขอมูลที่มีขอมูลตรงกันกับ Primary Key แตขอมูลในฟลด Foreign Key จะสามารถมีขอมูลที่ซ้ํากันได

การตอเชื่อมตารางขอมูลเชิงบรรยาย (Joining tables)

การสรางการเชื่อมตอ

การตอเชื่อม (Join) ตารางขอมูลเชิงบรรยาย สามารถทําไดตามขั้นตอนดังนี้

เลือกฟลดที่ตองการใชเปนฟลด Primary Key และ Foreign Key ในตารางตนทาง (Source table) และตารางเปาหมาย (Destination table)

คลิกเลือกตารางตนทางใหแอคทีฟ

คลิกปุมคําส่ัง Join หรือเลือกคําส่ังจากเมนู Table -> Join

ขอมูลจากตารางตนทางจะปรากฏที่ตารางเปาหมาย

การทําการตอเชื่อมตารางขอมูลเชิงบรรยายตั้งแตสองตารางขึ้นไป ใหทําการตอเชื่อมสองตารางแรกกอนแลวจึงตอเชื่อมตารางที่เกิดจากการตอเชื่อมเดิมเขากับตารางอื่นๆ ตอไปทีละตารางจนครบตามความตองการ

การแสดงผลตารางขอมูลเชิงบรรยายที่ไดทําการตอเชื่อมจะแสดงผลขอมูลของทั้งสองตารางที่ทําการตอเชื่อมเขาดวยกันทั้งหมด แตในความเปนจริงตารางขอมูลเชิงบรรยายทั้งสองตารางนั้นไมไดตอเชื่อมกันจริงๆ เปนเพียงการแสดงผลที่เกิดจากการตอเชื่อมเทานั้น ขอมูลจริงยังคงแยกอยูเปนสองตารางดังเดิม และถาเรคคอรดใดในฟลดที่ใชตอเชื่อมมีคาไมตรงกันจะแสดงเปนฟลดที่วางเปลา

ตารางแสดงขอมูลเชิงบรรยายของ Theme จะเปนตารารางเปาหมายเสมอ สวนตารางขอมูลเชิงบรรยายอื่นๆ ที่มาตอเชื่อมจะตองเปนตารางตนทาง

ทั้งหมด

Primary Key Foreign Key

Page 49: คู่มือการใช้โปรแกรมจัดการระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ ArcView 3.3 โดย อาจารย์ชยกฤต

คูมือการใชโปรแกรม ArcView GIS 3.3

ชยกฤต มาลําพอง

46

การยกเลิกการเชื่อมตอ

เมื่อตองการยกเลิกการเชื่อมตอตารางขอมูลเชิงบรรยายที่ทําไว สามารถทําไดดังนี้

คลิกเลือกตารางที่ไดทําการเชื่อมตอไว

เลือกคําส่ังจากเมนู Table -> Remove all Joins

Common field

เลือกฟลดที่ใชในการเชื่อมตอ ทําใหตารางเปาหมายแอคทีพ เลือกปุม Join

Destination table

Source table

Join

Result table

Page 50: คู่มือการใช้โปรแกรมจัดการระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ ArcView 3.3 โดย อาจารย์ชยกฤต

ตารางขอมูลเชิงบรรยาย

ภาควิชาภูมิศาสตร คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม

47

การเชื่อมโยงตารางขอมูลเชิงบรรยาย (Linking tables)

การเชื่อมโยงแตกตางกับการเชื่อมตอตรงที่ผลจากการทํางาน ผลที่ไดจากการเชื่อมตอจะถูกนํามานําเสนอในตารางเปาหมายทั้งหมด สวนผลจากการเชื่อมโยงนั้นขอมูลจะไมนํามาแสดงรวมกัน แตจะแสดงผลเมื่อ ขอมูลใดๆ ในตารางเปาหมายถูกเลือกแลวขอมูลในตารางตนทางที่เชื่อมโยงกันจะถูกเลือกดวย

การสรางการเชื่อมโยง

การสรางการเชื่อมโยงตารางขอมูลเชิงบรรยายสามารถทําไดดังนี้

เลือกฟลดที่ตองการใชเปนฟลด Primary Key และ Foreign Key ในตารางตนทางและตารางเปาหมาย

คลิกเลือกตารางตนทางใหแอคทีฟ

เลือกคําส่ังจากเมนู Table -> Link

การยกเลิกการเชื่อมโยง

เมื่อตองการยกเลิกการเชื่อมโยงตารางขอมูลเชิงบรรยายที่ทําไว สามารถทําไดดังนี้

คลิกเลือกตารางที่ไดทําการเชื่อมโยงไว

เลือกคําส่ังจากเมนู Table -> Remove all Links

Common field

เลือกฟลดที่ใชในการเชื่อมโยง ทําใหตารางเปาหมายแอคทีพ เลือกเมนู Table -> Link

Destination table

Source table

Page 51: คู่มือการใช้โปรแกรมจัดการระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ ArcView 3.3 โดย อาจารย์ชยกฤต
Page 52: คู่มือการใช้โปรแกรมจัดการระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ ArcView 3.3 โดย อาจารย์ชยกฤต

การนําเสนอขอมูลดวยกราฟ

ภาควิชาภูมิศาสตร คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม

49

การนําเสนอขอมูลดวยกราฟ

กราฟเปนเครื่องมือที่ใชสําหรับแสดงขอมูลโดยสรุปของตารางขอมูลเชิงบรรยาย ซึ่งจะทําใหการนําเสนอขอมูลสามารถทําไดอยางมีประสิทธิภาพมากขึ้น กราฟในโปรแกรม ArcView มีลักษณะเปนกราฟแบบไดนามิก (Dynamic) นั้นคือ กราฟที่สรางขึ้นจะมีความสัมพันธกับขอมูลในตารางขอมูลเชิงบรรยายที่ใชในการสรางกราฟ ถาขอมูลในตารางขอมูลเชิงบรรยายมีการเปล่ียนแปลงกราฟก็จะเปล่ียนแปลงตามดวย

การสรางกราฟ การสรางกราฟสามารถสรางไดจากทุกตารางขอมูลเชิงบรรยาย โดยมีขั้นตอนการสรางกราฟดังนี้

เปดตารางขอมูลเชิงบรรยายที่ตองการสรางกราฟ หรือเลือกตารางขอมูลเชิงบรรยายที่ตองการสรางกราฟใหแอคทีฟ

คลิกปุมคําส่ัง Create Chart หรือเลือกคําส่ังจากเมนู Table -> Chart

กําหนดคาใน Chart Properties Dialog Box โดยมีรายละเอียดดังนี้ Name เปนสวนที่ใชกําหนดชื่อของกราฟที่จะสราง Table เปนสวนที่แสดงชื่อตารางขอมูลเชิงบรรยายที่กําลังนํามาสรางกราฟ Field เปนการระบุกลุมของขอมูลที่ตองการนํามาสรางกราฟ โดยการ

เลือกฟลดที่ตองการ ซึ่งอาจจะเพียงฟลดเดียวหรือหลายฟลด จากนั้นคลิกที่ปุม Add เพ่ือใหกลุมของขอมูลที่เลือกปรากฏอยูในชอง Groups ในกรณีที่ตองการลบกลุมขอมูลที่กําหนดออกจากการสรางกราฟ สามารถทําไดโดยการเลือกฟลดที่ตองการจากชอง Group จากนั้นคลิกที่ปุม Delete

Label series using เปนสวนที่ใชกําหนดฟลดที่ตองการแสดงผลในกรอบสัญลักษณของกราฟ ถาใชคาเดิมที่ต้ังไวจะเปน None จะเปนการแสดงหมายเลขประจําแตละเรคคอรดในกรอบสัญลักษณ

ในกรณีที่มีขอมูลที่ถูกเลือกไว กราฟที่ไดจะแสดงผลเฉพาะขอมูลที่ถูกเลือก แตถาไมมีขอมูลใดถูกเลือกไว กราฟที่ไดจะแสดงผลของทุกขอมูลในตาราง

Page 53: คู่มือการใช้โปรแกรมจัดการระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ ArcView 3.3 โดย อาจารย์ชยกฤต

คูมือการใชโปรแกรม ArcView GIS 3.3

ชยกฤต มาลําพอง

50

องคประกอบของกราฟ กราฟที่ไดจากการสรางโดยโปรแกรม ArcView จะมีองคประกอบตางๆ ดังนี้

กําหนดตารางที่ตองการนําขอมูลมาสรางกราฟ คลิกปุมคําสั่ง Create Chart หรือเมนู Table -> Chart กําหนดคาใน Chart Properties Dialog Box

Create Chart

Title

Y-axis

X-axis Group

Legend

Data markers

Page 54: คู่มือการใช้โปรแกรมจัดการระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ ArcView 3.3 โดย อาจารย์ชยกฤต

การนําเสนอขอมูลดวยกราฟ

ภาควิชาภูมิศาสตร คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม

51

Title เปนสวนแสดงหัวเรื่องของกราฟที่สรางขึ้น Data markers เปนสวนที่แสดงขอมูล ซึ่งสามารถแสดงไดในรูปแบบแทง วงกลม

เสน หรือจุด ตามที่กําหนด โดยขอมูลจะนํามาจากตารางขอมูลเชิงบรรยายที่นํามาสรางกราฟ

Y-axis แสดงคาแกน Y X-axis แสดงคาแกน X Group แสดงกลุมของขอมูลตามฟลดที่กําหนดใหเปนกลุมของขอมูลจาก

กระบวนการสรางกราฟ Legend แสดงสัญลักษณการจําแนกขอมูลของแตละขอมูลในกลุมขอมูล

องคประกอบตางๆ ของกราฟ สามารถที่จะเปล่ียนแปลงแกไขไดตามความตองการ ซึ่งจะไดกลาวถึงตอไป

การเปลี่ยนรปูแบบของกราฟ

การเปลี่ยนประเภทของกราฟ

โปรแกรม ArcView มีประเภทของกราฟเตรียมไวใหใชงาน 6 แบบ ซึ่งกราฟแตละแบบจะมีวัตถุประสงคในการนําเสนอที่แตกตางกันดังนี้

Line and area charts กราฟเสน (Line chart) เหมาะสําหรับการนําเสนอขอมูลที่ตองการแสดงใหเห็นความตอเนื่องของขอมูลในแตละชวงเวลา อยางไรก็ตามกราฟเสนจะแสดงใหเห็นถึงอัตราการเปลี่ยนแปลงมากกวาที่จะแสดงใหเห็นถึงผลรวมของการเปลี่ยนแปลง ซึ่งในกรณีที่ตองการแสดงใหเห็นถึงผลรวมของการเปลี่ยนแปลงจะสามารถใชกราฟพ้ืนที่ (Area chart) มาใชแทน เนื่องจากกราฟพื้นที่จะใหภาพของขอมูลเชิงปริมาณไดดีกวา

Bar and column charts กราฟแทงแนวนอน (Bar chart) และกราฟแทงแนวตั้ง (Column chart) เหมาะสําหรับการนําเสนอขอมูลที่ตองการการเปรียบเทียบขอมูลระหวางชวงเวลาที่ไมมีความตอเนื่อง ในขณะที่กราฟแทงแนวนอนนิยมใชเพ่ือแสดงขอมูลที่เกี่ยวของกับระยะเวลาหรือตารางการดําเนินงาน

Pie charts กราฟวงกลม (Pie chart) มักจะใชในการนําเสนอขอมูลที่มีความสัมพันธกัน หรือนําเสนอขอมูลที่ตองการเปรียบเทียบขอมูลใหเห็นในลักษณะของรอยละเมื่อเปรียบเทียบกับขอมูลทั้งหมด

XY scatter charts กราฟแสดงการกระจาย (XY scatter chart) จะใชแสดงแนวโนมหรือรูปแบบของขอมูล เพ่ือดูความสัมพันธกันของขอมูล หรือแสดงการกระจายของขอมูล

Page 55: คู่มือการใช้โปรแกรมจัดการระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ ArcView 3.3 โดย อาจารย์ชยกฤต

คูมือการใชโปรแกรม ArcView GIS 3.3

ชยกฤต มาลําพอง

52

การเปล่ียนประเภทของกราฟสามารถทําไดตามขั้นตอนดังนี้

เลือกหนาตางกราฟที่ตองการเปลี่ยนแปลงประเภทของกราฟ

คลิกเลือกปุมคําส่ังประเภทของกราฟที่ตองการจะเปลี่ยน หรือเลือกคําส่ังจากเมนู Gallery -> ประเภทของกราฟที่ตองการ

เลือกรูปแบบของกราฟจาก Chart Gallery ตามตองการ คลิกปุม OK

Area chart Bar chart Column chart Line chart Pie chart XY scatter chart

Page 56: คู่มือการใช้โปรแกรมจัดการระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ ArcView 3.3 โดย อาจารย์ชยกฤต

การนําเสนอขอมูลดวยกราฟ

ภาควิชาภูมิศาสตร คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม

53

การเปลี่ยนองคประกอบตางๆ ของกราฟ

องคประกอบตางๆ ของกราฟ สามารถที่จะเปล่ียนแปลงไดตามความตองการเพื่อใหกราฟที่นําเสนอมีความสมบูรณมากขึ้น โดยการเปลี่ยนแปลงดังกลาวสามารถสั่งใหแสดงหรือซอนองคประกอบตางๆ หรือจะเปนการเปล่ียนคุณสมบัติขององคประกอบนั้นๆ ของกราฟ โดยมีรายละเอียดดังนี้

การซอนหรือแสดงองคประกอบของกราฟ

การซอนหรือแสดงองคประกอบตางๆ ของกราฟสามารถทําไดดังนี้

เลือกหนาตางกราฟที่ตองการ

เลือกคําส่ังจากเมนู Chart -> เลือกคําส่ังสําหรับหารซอนหรือแสดงองคประกอบตามตองการ

การเปลี่ยนหัวเร่ืองของกราฟ

การเปลี่ยนหัวเรื่องของกราฟสามารถเปลี่ยนไดทั้งในสวนของคําบรรยายที่จะบรรยายกราฟ รวมถึงการจัดตําแหนงการวางตัวอักษร โดยสามารถทําไดดังนี้

เลือกหนาตางกราฟที่ตองการ

เลือกปุมคําส่ัง Chart Element Properties

คลิกบริเวณหัวเรื่องของกราฟในหนาตางกราฟที่ตองการ

กําหนดคาใน Chart Title Properties Dialog Box

เลือกคําส่ังสําหรับหารซอนหรือแสดงองคประกอบตามตองการ

กําหนดหัวเร่ืองของกราฟ Chart Element Properties

คลิกเลือกบริเวณที่ตําแหนงที่ตองการวางหัวเร่ือง

Page 57: คู่มือการใช้โปรแกรมจัดการระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ ArcView 3.3 โดย อาจารย์ชยกฤต

คูมือการใชโปรแกรม ArcView GIS 3.3

ชยกฤต มาลําพอง

54

การเปลี่ยนสัญลักษณของกราฟ

การเปล่ียนแปลงสัญลักษณของกราฟ สามารถเปลี่ยนคําอธิบายสัญลักษณและตําแหนงการวางสัญลักษณได ดังนี้

เลือกหนาตางกราฟที่ตองการ

เลือกปุมคําส่ัง Chart Element Properties

คลิกบริเวณสัญลักษณของกราฟในหนาตางกราฟที่ตองการ

กําหนดคาใน Chart Legend Properties Dialog Box

การเปลี่ยนคาแกนของกราฟ

การเปลี่ยนคาแกนของกราฟจะแตกตางกันไปในแตละแกน ซึ่งจะขึ้นอยูกับรูปแบบของกราฟที่แสดงอยู อยางไรก็ตามโดยหลักๆ จะสามารถเปลี่ยนรูปแบบตําแหนงการแสดงผลและคําอธิบาตางๆ รวมถึงการกําหนดคาการแสดงตัวเลขในแกนได โดยมีรายละเอียดดังนี้

เลือกหนาตางกราฟที่ตองการ

เลือกปุมคําส่ัง Chart Element Properties

คลิกบริเวณแกนของกราฟในหนาตางกราฟที่ตองการ

กําหนดคาใน Chart Axis Properties Dialog Box

กําหนดคําอธิบายสัญลักษณ

Chart Element Properties

คลิกเลือกบริเวณที่ตําแหนงที่ตองการวางสัญลักษณ

กําหนดคําอธิบายกลุมขอมูล

Chart Element Properties

กําหนดการแสดง รายละเอียดแกน

กําหนดตําแหนงแกน

กําหนดคําอธิบายแกน

Page 58: คู่มือการใช้โปรแกรมจัดการระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ ArcView 3.3 โดย อาจารย์ชยกฤต

การนําเสนอขอมูลดวยกราฟ

ภาควิชาภูมิศาสตร คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม

55

การเปลี่ยนสีของสวนแสดงขอมูล

สวนการแสดงขอมูลของกราฟในเบื้องตนโปรแกรม ArcView จะกําหนดสีใหโดยอัตโนมัติซึ่งจะสอดคลองระหวางสวนแสดงขอมูลและสัญลักษณของกราฟ อยางไรก็ตามสีตางๆ ในสวนการแสดงขอมูลสามารถเปลี่ยนแปลงไดตามความตองการ ซึ่งสีที่ถูกเปล่ียนไปจากสวนแสดงขอมูลนั้น โปรแกรม ArcView จะปรับเปล่ียนสีที่แสดงในสัญลักษณของกราฟใหทันที่ โดยมีขั้นตอนดังนี้

เลือกหนาตางกราฟที่ตองการ

เลือกปุมคําส่ัง Chart Color

เลือกรูปแบบการระบายและสีที่ตองการจากหนาตางสัญลักษณที่ปรากฏขึ้น

คลิกเลือกสวนแสดงขอมูลที่ตองการเปลี่ยนแปลง

Chart Color

เลือกปุมคําสั่ง Chart Color เลือกสีและรูปแบบการระบาย คลิกเลือกกราฟที่ตองการเปลี่ยนสี

Page 59: คู่มือการใช้โปรแกรมจัดการระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ ArcView 3.3 โดย อาจารย์ชยกฤต
Page 60: คู่มือการใช้โปรแกรมจัดการระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ ArcView 3.3 โดย อาจารย์ชยกฤต

การนําเสนอขอมูลดวยกราฟ

ภาควิชาภูมิศาสตร คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม

57

การสรางและจัดการโครงรางแผนที ่

โครงรางแผนที่ (Layout) เปนองคประกอบหนึ่งของโปรแกรม ArcView ที่ใชเพ่ือนําเสนอแผนที่ที่มีคุณภาพและมีความสวยงาม ซึ่งสามารถจัดเตรียมเปนแผนที่ที่อยูในรูปของการพิมพออกทางกระดาษ หรือการสงออกในรูปแบบไฟลอ่ืนๆ โครงรางแผนที่จะประกอบไปดวยองคประกอบหลายๆ องคประกอบที่สรางขึ้นจากโปรแกรม ArcView เชน ภาพแผนที่ ตารางขอมูลเชิงบรรยาย และกราฟ รวมถึงองคประกอบจากไฟลขอมูลภายนอก ไดแก รูปภาพ หรือตัวอักษร ที่นํามาประกอบอยูบนโครงรางแผนที่เดียวกัน ประกอบกับเคร่ืองมือในการจัดทําองคประกอบของแผนที่อ่ืนๆ ที่โปรแกรม ArcView จัดเตรียมไวให เชน มาตราสวน เครื่องหมายแสดงทิศ เครื่องมือการวาดภาพ และเครื่องมือที่เกี่ยวกับการสรางเสนพิกัด เปนตน

แนวคิดการออกแบบแผนที่เบื้องตน กอนที่จะสรางโครงรางแผนที่ของแผนที่ใดแผนที่หนึ่งขึ้นมานั้น จะตองพิจารณาถึงวัตถุประสงคในการ

นําเสนอแผนที่ และเปาหมายเพื่อที่จะใหแผนที่ส่ือถึงขอมูลที่ตองการนําเสนอ ซึ่งจะมีปจจัยตางๆ ที่จะสงผลตอการออกแบบโครงรางแผนที่ที่แตกตางกัน ไดแก

วัตถุประสงคในการนําเสนอแผนที่ เพ่ือกําหนดขอมูลที่แผนที่ตองการมุงเนนในการนําเสนอ บางแผนที่ใชเพ่ือการอางอิง เชน แผนที่แสดงพืชพรรณ บางแผนที่มีจุดมุงหมายที่จะแสดงแนวโนมการเปลี่ยนแปลง เชน แผนที่แสดงการเปล่ียนแปลงการใชที่ดิน หรือบางแผนที่ตองการใชเสนอผลสรุปจากการวิเคราะห เชน ตําแหนงที่เหมาะสมในการฝงกลบขยะอันตราย เปนตน

กลุมผูใชเปาหมาย ผูจัดทําแผนที่ควรที่จะรูวาผูใชแผนที่เปาหมายมีระดับความรูมากเพียงใด มีพ้ืนฐานในการตีความแผนที่ระดับไหน เพ่ือใหการออกแบบแผนที่สามารถทําไดตรงกับระดับของผูใชงาน เชน การออกแบบแผนที่สําหรับการสํารวจภาคสนามก็ควรจะแตกตางกับแผนที่ที่ใชในการนําเสนองาน

องคประกอบของแผนที่ ซึ่งจะเปนสวนที่ใหรายละเอียดเกี่ยวกับแผนที่ที่นําเสนอ โดยตองพิจารณาถึงจุดประสงคของการผลิตแผนที่และผูใชแผนที่ เพ่ือที่จะไดเลือกองคประกอบตางๆ นําไปวางบนโครงรางแผนที่ไดถูกตอง การวางองคประกอบของแผนที่นั้น ผูจัดทําแผนที่สามารถจัดวางไดตามความเหมาะสม ขึ้นอยูกับความสวยงาม องคประกอบบนโครงรางแผนที่โดยหลักมีดังนี้

เนื้อหาแผนที่ คือสวนของแผนที่ที่ประกอบไปดวยขอมูลตางๆ ที่ตองการนําเสนอ ซึ่งในโปรแกรม ArcView จะเปนสวนที่แสดงอยูใน View ทั้งหมด

สัญลักษณ เปนสวนที่ใชแสดงคําอธิบายของเครื่องหมายตางๆ ที่ปรากฏอยูบนแผนที่

Page 61: คู่มือการใช้โปรแกรมจัดการระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ ArcView 3.3 โดย อาจารย์ชยกฤต

คูมือการใชโปรแกรม ArcView GIS 3.3

ชยกฤต มาลําพอง

58

รายละเอียดแผนที่ เปนสวนที่อธิบายรายละเอียดที่จําเปนของแผนที่ โดยการระบุหัวขอของแผนที่ ส่ิงที่แผนที่ตองการนําเสนอ ความเกี่ยวของกับส่ิงตางๆ ผูผลิตแผนที่ วันที่ผลิตแผนที่ แหลงที่มาของขอมูล และอ่ืนๆ

มาตราสวน เพ่ือที่จะแสดงมาตราสวนของแผนที่นั้นๆ เครื่องหมายแสดงทิศ เพ่ือระบุทิศทางของแผนที่

การควบคุมมุมมองในการทํางานกับโครงรางแผนที่ ขณะทํางานกับสวนของโครงรางแผนท่ี ผูใชสามารถควบคุมมุมมองในการทํางานไดโดยการการขยาย

หรือยอสวนการแสดงผลได โดยที่โปรแกรม ArcView เตรียมเครื่องมือไวสําหรับการทํางานดังกลาวทั้งในสวนของคําส่ังจากเมนู Layout และปุมคําส่ัง ไดแก

Zoom to Page เปนการสั่งใหแสดงผลทั้งหมดของหนาโครงรางแผนที่ที่ทํางานอยู ใหอยูในขนาดของหนาตางขณะน้ัน

Zoom Actual Size เปนการแสดงผลโครงรางแผนท่ีขนาดเทาจริงที่จะไดจากการพิมพออกทางเครื่องพิมพ

Zoom to Selected เปนการขยายใหองคประกอบที่เลือกไวมีขนาดเทากับขนาดของหนาตางโครงรางแผนที่

Zoom In เปนการขยายโดยยึดจากจุดกึ่งกลางของหนาตางโครงรางแผนที่ขึ้น 2 เทา

Zoom Out เปนการยอโดยยึดจากจุดกึ่งกลางของหนาตางโครงรางแผนที่ลง 2 เทา

Zoom to Page Zoom to Actual Size Zoom to Selected Zoom In Zoom Out

คําสั่งในเมนูควบคุมมุมมองการทํางาน

Page 62: คู่มือการใช้โปรแกรมจัดการระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ ArcView 3.3 โดย อาจารย์ชยกฤต

การนําเสนอขอมูลดวยกราฟ

ภาควิชาภูมิศาสตร คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม

59

การสรางโครงรางแผนที ่กระบวนการในการสรางโครงรางแผนที่ เริ่มจากการกําหนดขนาดและการวางแนวของหนากระดาษของ

โครงรางแผนที่ (Layout Page) จากนั้นจึงจัดวางองคประกอบตางๆ ลงในโครงรางแผนที่ตามตองการ เพ่ิมเติมตัวหนังสือหรือรูปภาพเพื่อตกแตงใหแผนที่ดูสวยงามขึ้น เชน หัวแผนที่ สัญลักษณประจําหนวยงาน เสนกรอบแผนที่ หรือรูปรางที่ตองการแสดงบริเวณท่ีสําคัญของแผนที่ ยกตัวอยางเชน อาจมีแผนที่เล็กๆ อีกกรอบหนึ่งเพ่ือที่จะแสดงตําแหนงอางอิงของพ้ืนที่ที่นําเสนอในแผนที่ จากนั้นจึงเปนสวนของการนําเสนอซึ่งอาจจะนําเสนอโดยพิมพแผนที่ออกทางเครื่องพิมพ หรือแปลงใหเปนไฟลรูปภาพเพ่ือนําเสนอผานทางหนาจอคอมพิวเตอร และท่ีสุดอาจจะบันทึกโครงรางแผนที่ที่ทําไวเปนตนแบบสําหรับใชในการสรางแผนที่ในโอกาสตอไปได

การสรางโครงรางแผนท่ีโดยใชตนแบบ

โปรแกรม ArcView จัดเตรียมตนแบบโครงรางแผนที่ไวสําหรับการสรางโครงรางแผนที่ ทําใหการสรางโครงรางแผนที่สามารถทําไดอยางงายๆ และรวดเร็ว โดยสามารถทําไดตามขั้นตอนดังนี้

เลือกหนาตางแผนที่ที่ตองการสรางโครงรางแผนที่

เลือกคําส่ังจากเมนู View -> Layout…

เลือกรูปแบบแผนที่ที่ตองการจากหนาตาง Template Manager

คลิกปุม OK

Page 63: คู่มือการใช้โปรแกรมจัดการระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ ArcView 3.3 โดย อาจารย์ชยกฤต

คูมือการใชโปรแกรม ArcView GIS 3.3

ชยกฤต มาลําพอง

60

การสรางโครงรางแผนท่ีโดยการกําหนดเอง

การสรางโครงรางแผนท่ีโดยใชตนแบบเปนการสรางโครงรางแผนที่อยางงายและรวดเร็ว โครงรางแผนท่ีที่ไดสามารถปรับเปล่ียนแกไของคประกอบตางๆ ไดตามความตองการ อยางไรก็ตามการสรางโครงรางแผนที่สามารถเริ่มตนการสรางจากหนากระดาษเปลาๆ โดยการจัดองคประกอบตางๆ ของแผนที่สามารถกําหนดรูปแบบไดตามความตองการมากกวาการใชตนแบบ ซึ่งสามารถทําไดดังนี้

ที่หนาตางโปรเจค คลิกเลือกไอคอน Layout

คลิกปุมคําส่ัง New ที่หนาตางโปรเจค

โปรแกรม ArcView จะสรางหนาตางวางขึ้นมาใหเพ่ือรอการกําหนดคาตางๆ และการใสองคประกอบของแผนที่ตอไป

การกําหนดคุณสมบัติของหนาโครงรางแผนที ่หนาโครงรางแผนที่เปนสวนที่มีขนาดเทากระดาษจริงกับขนาดที่จะทําการพิมพออกทางเครื่องพิมพ ซึ่ง

หนาโครงรางแผนที่ที่สรางขึ้นสามารถที่จะเปล่ียนแปลงแกไขคุณสมบัติตางๆ ไดดังนี้

Page 64: คู่มือการใช้โปรแกรมจัดการระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ ArcView 3.3 โดย อาจารย์ชยกฤต

การนําเสนอขอมูลดวยกราฟ

ภาควิชาภูมิศาสตร คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม

61

การกําหนดคุณสมบัติท่ัวไป

เลือกหนาตางหนาโครงรางแผนที่ที่ตองการ

เลือกคําส่ังจากเมนู Layout -> Properties…

กําหนดคาในหนาตาง Layout Properties

โดยมีรายละเอียดดังนี้ Name เปนการตั้งชื่อใหกับโครงรางแผนที่ Grid Spacing หนาโครงรางแผนที่จะมีจุดกริดเปนเครื่องหมายคอยแสดงตําแหนง

บนหนาโครงรางแผนที่ เพ่ืออํานวยความสะดวกในการจัดวางองคประกอบตางๆ ซึ่งสามารถกําหนดระยะของกริดที่แสดงไดตามตองการ

Horizontal เปนการกําหนดระยะกริดตามแนวนอน Vertical เปนการกําหนดระยะกริดตามแนวตั้ง

Snap to Grid เปนการกําหนดใหการวางตําแหนงของวัตถุตางๆ สามารถวางลงตรงจุดกริดไดพอดีเมื่อมีการเปล่ียนตําแหนงหรือจัดวางวัตถุเหลานั้นเพ่ืองายตอการจัดใหตรงกัน

การกําหนดขนาดและกรอบการทํางาน

เลือกหนาตางหนาโครงรางแผนที่ที่ตองการ

เลือกคําส่ังจากเมนู Layout -> Page Setup…

กําหนดคาในหนาตาง Page Setup

Page 65: คู่มือการใช้โปรแกรมจัดการระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ ArcView 3.3 โดย อาจารย์ชยกฤต

คูมือการใชโปรแกรม ArcView GIS 3.3

ชยกฤต มาลําพอง

62

โดยมีรายะละเอียดดังนี้ Page Size เปนสวนที่ใชในการกําหนดขนาดของกระดาษที่จะใชในการทําโครง

รางแผนที่ สามารถเลือกไดจากขนาดกระดาษมาตรฐานซึ่งจะสัมพันธกับเครื่องพิมพที่ติดตั้งอยูกับระบบ หรือกําหนดไดเองในกรณีที่ไมมีขนาดกระดาษมาตรฐานตามตองการ

Units กําหนดหนวยการวัดที่ตองการในการกําหนดขนาดกระดาษ Width กําหนดความกวางของกระดาษ Height กําหนดความสูงของกระดาษ

Orientation ระบุรูปแบบการวางแนวของหนากระดาษสามารถที่จะส่ังใหอยูในแนวนอน (Landscape) หรือในแนวตั้ง (Portrait)

Margins เปนการกําหนดขอบเขตการพิมพบนกระดาษ ในกรณีที่ตองการใหขอบเขตการพิมพขึ้นอยูกับคาที่ต้ังไวโดยเครื่องพิมพใหเลือก Use printer border

Output Resolution เปนการกําหนดความละเอียดของงานเมื่อส่ังใหพิมพของทางเครื่องพิมพ

การสรางกรอบองคประกอบแผนที ่กรอบ (Frames) เปนวัตถุที่ใชแสดงผลองคประกอบตางๆ ภายในโครงรางแผนที่ ประกอบไปดวย

องคประกอบประกอบที่แสดงขอมูลตางๆ ไดแก กรอบแผนที่ (View Frame) กรอบสัญลักษณ (Legend frame) กรอบมาตราสวน (Scale Frame) กรอบทิศ (North arrow Frame) กรอบกราฟ (Chart Frame) กรอบตารางขอมูลเชิงบรรยาย (Table Frame) และกรอบรูปภาพ (Picture Frame)

View Frame

Legend Frame

Scale Bar Frame

North Arrow Frame

Chart Frame

Table Frame

Picture Frame

Page 66: คู่มือการใช้โปรแกรมจัดการระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ ArcView 3.3 โดย อาจารย์ชยกฤต

การนําเสนอขอมูลดวยกราฟ

ภาควิชาภูมิศาสตร คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม

63

การสรางกรอบองคประกอบแผนที่ทุกชนิดมีขั้นตอนทั่วไปเหมือนกัน ดังนี้

เลือกปุมคําส่ังสรางองคประกอบแผนที่ที่ตองการ

สรางกรอบสี่เหล่ียมบริเวณที่ตองการวางองคประกอบแผนที่ในโครงรางแผนที่ที่ตองการ

กําหนดคุณสมบัติขององคประกอบแผนที่ในหนาตางการกําหนดคุณสมบัติ

การแกไขคุณสมบัติขององคประกอบแผนที่ตางๆ ที่สรางไวสามารถทําไดดังนี้

คลิกเลือกปุมคําส่ัง Pointer

ดับเบ้ิลคลิกบริเวณกรอบองคประกอบแผนที่ที่ตองการ

เปล่ียนแปลงคาในหนาตางกําหนดคุณสมบัติตามตองการ

การกําหนดคุณสมบัติของกรอบองคประกอบแผนที่ คุณสมบัติของกรอบองคประกอบแผนที่จะแตกตางกันไปตามประเภทของกรอบองคประกอบแผนที่แบบ

ตางๆ ผูใชสามารถกําหนดคุณสมบัติเพ่ือควบคุมการสรางโครงรางแผนที่ใหเปนไปตามความตองการ

การกําหนดคุณสมบัติกรอบแผนที่

Start

End

Page 67: คู่มือการใช้โปรแกรมจัดการระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ ArcView 3.3 โดย อาจารย์ชยกฤต

คูมือการใชโปรแกรม ArcView GIS 3.3

ชยกฤต มาลําพอง

64

กรอบแผนที่เปนสวนที่ใชแสดงขอมูลแผนที่ที่อยูในหนาตางแผนที่ มีรายละเอียดคุณสมบัติตางๆ ดังนี้ View จะเปนสวนที่ใหเลือกหนาตางแผนที่ที่ตองการนํามาแสดง โดยจะมี

รายการแสดงรายชื่อหนาตางแผนที่ที่มีอยูในโครงการ ซึ่งจะตองเลือกรายการหนาตางแผนที่ที่ตองการแสดงผลในโครงรางแผนที่

Live link เปนตัวเลือกที่จะกําหนดกรอบแผนที่มีการเปล่ียนแปลงตามการเปล่ียนแปลงของหนาตางแสดงแผนที่ เชน การขยายหรือยอแผนที่ หรือเปด-ปดชั้นขอมูลตางๆ ในหนาตางแสดงแผนที่ เปนตน

Scale เปนสวนการกําหนดมาตราสวนของการแสดงแผนที่ในโครงรางแผนที่ โดยมีตัวเลือกดังนี้

Automatic เปนการกําหนดใหภาพแผนที่แสดงผลใหพอดีกับกรอบแผนที่โดยโปรแกรม ArcView จําคํานวณมาตราสวนใหโดยอัตโนมัติ

Preserve View Scale เปนการกําหนดใหภาพแผนที่ในกรอบแผนที่มีมาตราสวนเทากับมาตราสวนที่แสดงในหนาตางแผนที่ ซึ่งอาจจะทําใหภาพแผนที่บางสวนตกออกนอกกรอบไปหรือเล็กมากจนไมเหมาะสมกับเฟรมที่สรางขึ้น

User specified scale เปนการกําหนดมาตราสวนตามที่ตองการ โดยการใสคาตัวเลขมาตราสวนของแผนที่ในชองมาตราสวน ซึ่งการกําหนดมาตราสวนที่กรอบแผนที่จะไมมีผลใดๆ ตอการแสดงผลในหนาตางแผนที่

Extent เปนการกําหนดการแสดงภาพแผนที่ในกรอบแผนที่ โดยมีตัวเลือกดังนี้

Fill View Frame กําหนดการแสดงภาพแผนที่ใหเต็มกรอบแผนที่ ซึ่งแผนที่ในหนาตางแผนที่อาจจะแสดงไวไดไมหมด

Clip to View กําหนดใหแสดงภาพแผนที่ที่แสดงอยูในหนาตางแผนที่เทานั้น Display เปนการกําหนดเงื่อนไขการแสดงผลของกรอบแผนที่ โดยมีตัวเลือก

คือ When Active เมื่อมีการเปล่ียนแปลงในหนาตางแผนที่ กรอบแผนที่จะมีการ

แสดงผลเมื่อหนาตางโครงรางแผนที่ถูกเลือกใหทํางาน Always กรอบแผนที่จะแสดงผลตามการเปลี่ยนแปลงของหนาตางแผนท่ี

ตลอดเวลา Quality เปนการกําหนดคุณภาพในการแสดงผลของกรอบแผนที่ โดยมี

ตัวเลือกดังนี้ Presentation การแสดงผลของกรอบแผนที่จะแสดงผลไดภาพเหมือนจริง ซึ่ง

อาจจะทําใหการประมวลผลใชเวลานาน Draft กรอบแผนที่จะแสดงเปนเพียงกรอบสีเทาใหเห็นวากรอบแผนที่อยู

ตําแหนงใดบนโครงรางแผนที่ ซึ่งจะทําใหการแสดงผลขอมูลรวดเร็วมากขึ้น

Page 68: คู่มือการใช้โปรแกรมจัดการระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ ArcView 3.3 โดย อาจารย์ชยกฤต

การนําเสนอขอมูลดวยกราฟ

ภาควิชาภูมิศาสตร คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม

65

การกําหนดคุณสมบัติกรอบสัญลักษณ

กรอบสัญลักษณจะเปนสวนที่ใหรายละเอียดคําอธิบายสัญลักษณกับผูอานแผนที่ การแสดงผลสัญลักษณจะแสดงเฉพาะชั้นขอมูลที่ถูกส่ังใหแสดงผลในหนาตางแผนที่เทานั้น ซึ่งการแสดงผลในกรอบสัญลักษณนั้นจะอางอิงมาจากสวนแสดงสัญลักษณในหนาตางแผนที่ โดยมีรายละเอียดการกําหนดคุณสมบัติของกรอบสัญลักษณดังนี้

View Frame เปนการเลือกกรอบแผนที่ที่ตองการใชอางอิงในการสรางกรอบสัญลักษณ

การกําหนดคุณสมบัติกรอบมาตราสวน

กรอบมาตราสวนใชสําหรับแสดงมาตราสวนของแผนที่ที่แสดงอยูในกรอบแผนที่บนโครงรางแผนที่นั้นๆ การสรางกรอบมาตราสวนจะเปนการเชื่อมโยงเขากับกรอบแผนที่ นั้นคือเมื่อกรอบแผนที่มีมาตราสวนเทาใด มาตราสวนที่สรางขึ้นก็จะมีมาตราสวนเทานั้น โดยมีรายละเอียดคุณสมบัติตางๆ ดังนี้

View Frame กําหนดการเชื่อมโยงกับกรอบแผนที่ที่ตองการ Preserve Interval เปนการเลือกใหกรอบมาตราสวนมีการเปล่ียนแปลงมาตราสวน

ตามการแสดงผลของกรอบแผนที่ในกรณีที่เลือกไว แตถาไมไดเลือกมาตราสวนจะไมมีการเปลี่ยนแปลงถึงแมวามาตราสวนในกรอบแผนที่จะถูกเปล่ียนแปลงไปแลวก็ตาม

Style เปนการเลือกรูปแบบของมาตราสวนที่ตองการแสดง Units เลือกหนวยการวัดที่ตองการแสดงผล Interval กําหนดระยะที่ตองการในหนึ่งชองของการแสดงผล Intervals กําหนดจํานวนชองที่ตองการแสดง Left Divisions กําหนดจํานวนชองยอยที่ตองการแสดงผล

Page 69: คู่มือการใช้โปรแกรมจัดการระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ ArcView 3.3 โดย อาจารย์ชยกฤต

คูมือการใชโปรแกรม ArcView GIS 3.3

ชยกฤต มาลําพอง

66

การกําหนดคุณสมบัติกรอบทิศ

กรอบทิศเปนสวนที่ใชแสดงสัญลักษณบอกทิศของแผนที่ ซึ่งสามารถเลือกรูปแบบสัญลักษณไดตามตองการ โดยปกติแผนท่ีสวนใหญมักจะแสดงทิศเหนือไวดานบนของแผนที่ แตในกรณีที่แผนที่ที่นําเสนอมีทิศทางของทิศเหนือเบ่ียงเบนออกไปก็สามารถกําหนดการหมุนของสัญลักษณไดตามตองการ

การกําหนดคุณสมบัติกรอบกราฟ

กรอบกราฟใชสําหรับแสดงขอมูลกราฟที่สรางขึ้นในโครงงานที่กําลังดําเนินงานอยู กราฟที่จะนํามาแสดงในโครงรางแผนที่จะตองเปดใหแสดงผลอยูในโครงงานเสมอ

Charts เลือกชื่อกราฟที่ตองการแสดงในโครงรางแผนที่

การกําหนดคุณสมบัติกรอบตารางขอมูลเชิงบรรยาย

กรอบตารางขอมูลเชิงบรรยายใชสําหรับแสดงขอมูลตารางเชิงบรรยายที่มีอยูในโครงงานที่กําลังดําเนินงานอยู ตารางขอมูลเชิงบรรยายที่จะนํามาแสดงในโครงรางแผนที่จะตองเปดใหแสดงผลอยูในโครงงาน เชนเดียวกับกรอบกราฟ

Tables เลือกชื่อตารางขอมูลเชิงบรรยายที่ตองการแสดงในโครงรางแผนที่

Page 70: คู่มือการใช้โปรแกรมจัดการระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ ArcView 3.3 โดย อาจารย์ชยกฤต

การนําเสนอขอมูลดวยกราฟ

ภาควิชาภูมิศาสตร คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม

67

การกําหนดคุณสมบัติกรอบรูปภาพ

กรอบรูปภาพใชสําหรับแสดงรูปภาพ ซึ่งอาจจะเปนภาพประกอบแผนที่ หรือตราสัญลักษณตางๆ รูปภาพที่จะนํามาใชกับกรอบรูปภาพจะเปนไฟลรูปภาพที่ตองมีการจัดเตรียมไว ซึ่งโปรแกรม ArcView สามารถรองรับรูปแบบไฟลรูปภาพไดดังนี้

Band Interleaved by Line (*.bil) Band Interleaved by Pixel (*.bip) Band Sequential (*.bsq) CompuServe GIF (*.gif) Encapsulated PostScript (*.eps) ERDAS GIS (*.gis) ERDAS LAN (*.lan) IMPELL Bitmap (*.rlc) MacPaint (*.mcp) Nexpert Object Image (*.nbi) Postscript (*.ps) Sun Raster (*.rs) TIFF Bitmap (*.tif) Windows Bitmap (*.bmp) X-Bitmap (*.xbm) Windows Metafile (*.wmf)

การสรางกราฟฟกประกอบแผนที ่โปรแกรม ArcView เตรียมเครื่องมือสําหรับสรางกราฟฟกประกอบแผนที่ไวใหใชงาน ซึ่งในบางกรณีการ

สรางแผนที่จําเปนตองมีการสรางกราฟฟกประกอบเพื่อใหแผนที่มีความสมบูรณมากยิ่งขึ้น ไดแก การวาดกรอบแผนที่ การเพิ่มชื่อแผนที่รวมถึงตัวอักษรเพื่ออธิบายรายละเอียดอางอิงตางๆ และการวดภาพประกอบอื่นๆ ที่จําเปน

เครื่องมือสําหรับสรางกราฟฟกที่โปรแกรม ArcView เตรียมไวใหใชงานแยกออกเปน 2 กลุมใหญๆ ไดแก

กลุมเครื่องมือวาดภาพ (Draw tool) ใชสําหรับวาดจุด เสน ส่ีเหล่ียม วงกลม และวงรอบปดอื่นๆ

กลุมเครื่องมือสรางตัวอักษร (Text tool) ใชสําหรับสรางตัวอักษรขอความ

Draw Point

Draw Straight Line

Draw Line

Draw Rectangle

Draw Circle

Draw Polygon

Text

Callout Text

Bullet Leader Text

Banner Text

Drop-Shadow Text

Spline Text

Draw Tools Text Tools

Page 71: คู่มือการใช้โปรแกรมจัดการระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ ArcView 3.3 โดย อาจารย์ชยกฤต

คูมือการใชโปรแกรม ArcView GIS 3.3

ชยกฤต มาลําพอง

68

การใชกลุมเคร่ืองมือวาดภาพ

การสรางกราฟฟกโดยใชกลุมเครื่องมือวาดภาพสามารถทําไดดังนี้

เลือกเครื่องมือวาดภาพที่ตองการ

เล่ือนเคอรเซอรไปบริเวณที่ตองการสรางกราฟฟก คลิกและลากเมาสตามตองการ เครื่องมือบางตัวจะตองดับเบ้ิลคลิกเพ่ือส้ินสุดการวาด

เลือกคําส่ังจากเมนู Window -> Show Symbol Window เพ่ือกําหนดลักษณะของเสน และการระบายสีตามตองการ

ขณะที่ใชเครื่องมือวาดภาพ ที่แถบสถานะจะแสดงขนาดของภาพที่กําลังวาด โดยใชหนวยการวัดตามที่ต้ังไวในสวนของการกําหนดขนาดและกรอบการทํางาน

การใชกลุมเคร่ืองมือสรางตัวอักษร

การสรางตัวอักษรขอความเพื่ออธิบายรายละเอียดตางๆ ของแผนที่ โดยการใชกลุมเคร่ืองมือสรางตัวอักษรสามารถทําไดดังนี้

เลือกเครื่องมือสรางตัวอักษรที่ตองการ

สําหรับ Text, Banner Text, Drop-Shadow Text ใหคลิกเมาสบริเวณท่ีตองการสรางขอความ

สําหรับ Callout Text, Bullet Leader Text ใหคลิกเมาสเพ่ือกําหนดจุดที่ตองการชี้และลากเมาสไปปลอยบริเวณท่ีตองการสรางขอความ

สําหรับ Spline Text ใหคลิกเมาสบริเวณที่ตองการสรางขอความ และคลิกเมาสเพ่ือกําหนดเสนที่ตองการวางขอความสิ้นสุดดวยการดับเบ้ิลคลิก

พิมพขอความและกําหนดคาตามตองการในหนาตาง Text Properties

เลือกคําส่ังจากเมนู Window -> Show Symbol Window เพ่ือกําหนดรูปแบบอักษรตามตองการ

การแกไขกราฟฟก กราฟฟกที่สรางขึ้นแลว ไมวาจะเปนการวาดภาพหรือการสรางขอความ สามารถเปลี่ยนแปลงแกไขได

เชน การเปล่ียนรูปราง การเปล่ียนขนาด การเปลี่ยนตําแหนง การจัดตําแหนง การจัดกลุม และการจัดลําดับการแสดงผล

การเปลี่ยนรูปรางของกราฟฟก

การเปล่ียนรูปรางของภาพกราฟฟกที่สรางขึ้นสามารถทําไดดังนี้

เลือกปุมคําส่ัง Pointer

เลือกกราฟฟกที่ตองการ

เลือกปุมคําส่ัง Vertex Edit

เล่ือนเคอรเซอรไปบริเวณเสนเพ่ือเพ่ิมหรือเล่ือนไปยังจุดตางๆ บนเสนเพ่ือเคล่ือนยายจุดตางๆ ตามตองการ

Page 72: คู่มือการใช้โปรแกรมจัดการระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ ArcView 3.3 โดย อาจารย์ชยกฤต

การนําเสนอขอมูลดวยกราฟ

ภาควิชาภูมิศาสตร คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม

69

การเปลี่ยนขนาดกราฟฟก

การเปลี่ยนขนาดของกราฟฟกสามารถทําใหขนาดของกราฟฟกใหญขึ้นหรือเล็ก หรือกําหนดขนากใหมตามความตองการดังนี้

เลือกปุมคําส่ัง Pointer

เลือกกราฟฟกที่ตองการ

เล่ือนเคอรเซอรไปยังบริเวณจุดสีดําที่ลอมรอยกราฟฟกที่ถูกเลือก

คลิกและลากเมาสเพ่ือเปล่ียนแปลงขนาดตามตองการ หรือ

เลือกคําส่ังจากเมนู Graphics -> Size and Position และกําหนดคาในหนาตาง Graphic Size and Position ตามตองการ

Original Add Vertex

Move Vertex

Vertex Edit

Page 73: คู่มือการใช้โปรแกรมจัดการระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ ArcView 3.3 โดย อาจารย์ชยกฤต

คูมือการใชโปรแกรม ArcView GIS 3.3

ชยกฤต มาลําพอง

70

การเปลี่ยนตําแหนงกราฟฟก

กราฟฟกที่ถูกสรางขึ้นสามารถที่จะยายตําแหนงการวางได ดังนี้

เลือกปุมคําส่ัง Pointer

เลือกกราฟฟกที่ตองการ

เล่ือนเคอรเซอรไปยังบริเวณท่ีถูกเลือก

คลิกและลากเมาสเพ่ือยายตําแหนงตามตองการ หรือ

เลือกคําส่ังจากเมนู Graphics -> Size and Position และกําหนดคาในหนาตาง Graphic Size and Position ตามตองการ

การจัดตําแหนงของกราฟฟก

ในกรณีที่ตองการจัดตําแหนงของกราฟฟกหลายๆ ชิ้นใหตรงกัน หรือตองการจัดการเวนระยะของกราฟฟกใหมีความพอดี สามารถทําไดโดย

เลือกปุมคําส่ัง Pointer

เลือกกลุมของกราฟฟกที่ตองการ

เลือกคําส่ังจากเมนู Graphics -> Align

กําหนดคาการจัดวางและระยะหางในหนาตาง Align ตามตองการ

กําหนดการจัดวาง

กําหนดระยะหางการจัดวาง

Selected Align

Page 74: คู่มือการใช้โปรแกรมจัดการระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ ArcView 3.3 โดย อาจารย์ชยกฤต

การนําเสนอขอมูลดวยกราฟ

ภาควิชาภูมิศาสตร คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม

71

การจัดกลุมกราฟฟก

การจัดกลุมกราฟฟกเปนการทําใหกราฟฟกหลายๆ ชิ้นรวมกันเปนชิ้นเดียว เพ่ือความสะดวกในการจัดการ เชน การยายตําแหนง โดยสามารถทําไดดังนี้

เลือกปุมคําส่ัง Pointer

เลือกกลุมของกราฟฟกที่ตองการ

เลือกคําส่ังจากเมนู Graphics -> Group

การยกเลิกการจัดกลุมสามารถทําไดโดย

เลือกปุมคําส่ัง Pointer

เลือกกราฟฟกที่ตองการ

เลือกคําส่ังจากเมนู Graphics -> Ungroup

การจัดลําดับการวาดกราฟฟก

ในกรณีที่ตองมีการสรางภาพหรือเครื่องหมายพิเศษประกอบแผนที่มีความจําเปนตองใชเครื่องมือการสรางกราฟฟกหลายๆ ชนิดประกอบกัน ภาพกราฟฟกที่สรางจะมีลําดับการแสดงผลกอนหลัง โดยที่กราฟฟกที่ถูกสรางขึ้นกอนจะมีลําดับกอนกราฟฟกที่สรางขึ้นทีหลัง ซึ่งจะทําใหกราฟฟกที่มีลําดับนอยกวาถูกวาดซอนอยูดานหลังกราฟฟกที่มีลําดับมากกวา

อยางไรก็ตามลําดับของกราฟฟกดังกลาวสามารถควบคุมหรือเปล่ียนลําดับของกราฟฟกตางๆ ได ดังนี้

คลิกปุมคําส่ัง Pointer

เลือกกราฟฟกที่ตองการ

เลือกคําส่ังจากเมนู Graphics -> Bring to Front ในกรณืที่ตองการเปล่ียนลําดับของกราฟฟกใหอยูดานหนา หรือเลือกคําส่ัง Graphics -> Send to Back ในกรณืที่ตองการเปล่ียนลําดับของกราฟฟกใหอยูดานหลัง

Selected Group

Page 75: คู่มือการใช้โปรแกรมจัดการระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ ArcView 3.3 โดย อาจารย์ชยกฤต

คูมือการใชโปรแกรม ArcView GIS 3.3

ชยกฤต มาลําพอง

72

การสรางตนแบบโครงรางแผนที ่จากที่ไดกลาวตอนตนแลววาโปรแกรม ArcView จัดเตรียมตนแบบในการสรางโครงรางแผนที่ไวใชงาน

ในเบ้ืองตน อยางไรก็ตามในกรณีที่การจัดทําโครงรางแผนที่มีความจําเปนตองใชโครงรางแผนที่ที่มีความเฉพาะตัว และรูปแบบดังกลาวจะตองใชงานเพื่อสรางโครงรางแผนที่หลายๆ อันก็สามารถทําการสรางตนแบบโครงรางแผนที่ขึ้นมาไดเพ่ือนําไปเปนตนแบบในการทําโครงรางแผนที่ในโอกาสตอไปได โดยมีขั้นตอนดังนี้

สรางโครงรางแผนที่พรอมจัดองคประกอบแผนที่ตางๆ ใหสมบูรณ

เลือกเมนูคําส่ัง Layout -> Store As Template

กําหนดชื่อของตนแบบและเลือกรูปแบบไอคอนที่ตองการในหนาตาง Template Properties

คลิกปุม OK

โปรแกรม ArcView จะทําการจัดเก็บโครงรางแผนที่ที่เลือกใหเปนตนแบบเพ่ือใชงานตอไป ซึ่งการเลือกใชตนแบบที่สรางไวเพ่ือสรางโครงสรางแผนที่นั้นสามารถทําไดตามขั้นตอนการสรางโครงรางแผนที่จากตนแบบ

Bring to Front Send to Back

Page 76: คู่มือการใช้โปรแกรมจัดการระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ ArcView 3.3 โดย อาจารย์ชยกฤต

การนําเสนอขอมูลดวยกราฟ

ภาควิชาภูมิศาสตร คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม

73

การพิมพโครงรางแผนที ่หลังจากที่สรางโครงรางแผนที่เปนที่เรียบรอยแลวและตองการพิมพโครงรางแผนที่ออกทางเครื่องพิมพ

เพ่ือนําเสนอ สามารถทําไดดังนี้

เลือกโครงรางแผนที่ที่ตองการ

เลือกคําส่ังจากเมนู File -> Print

กําหนดคาในหนาตาง Print

คลิกปุม OK

การแปลงโครงรางแผนทีเ่ปนไฟลภาพ ในกรณีที่ตองการแปลงโครงรางแผนที่ใหเปนไฟลภาพเพ่ือนําไปใชงานกับโปรแกรมอื่นๆ สามารถทําได

ดังนี้

เลือกโครงรางแผนที่ที่ตองการ

เลือกคําส่ังจากเมนู File -> Export

กําหนดคาในหนาตาง Export

คลิกปุม OK

Page 77: คู่มือการใช้โปรแกรมจัดการระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ ArcView 3.3 โดย อาจารย์ชยกฤต

คูมือการใชโปรแกรม ArcView GIS 3.3

ชยกฤต มาลําพอง

74

โดยการแปลงโครงรางแผนที่ใหเปนไฟลภาพนั้น โปรแกรม ArcView สามารถแปลงเปนไฟลภาพรูปแบบตางๆ ได ดังนี้

PostScript New (EPS) (*.eps)

PostScript (EPS) (*.eps)

Adobe Illustrator (*.ai)

CGM Binary, CGM Clear Text, CGM Character (*.cgm).

JPEG (*.jpg)

Placeable WMF, Windows Metafile (*.wmf)

Windows Bitmap (*.bmp)