49
กกกกกกกกกกกกก ( Deformation ) นนนนนนนนนนนนนนนน นนนนนน นนนนนนนนนนนน 5310110034 นนนนนนนนนนนนนน นนนนนน นนนน นนนนนนนน 5310110036 นนนนนนนนนน นนนนน นนนนนนนนนนนน 5310110038 นนนนนนนนนนนนนนนนนนน

การเปลี่ยนรูป ( Deformation )

  • Upload
    vienna

  • View
    91

  • Download
    0

Embed Size (px)

DESCRIPTION

การเปลี่ยนรูป ( Deformation ). นางสาวกัลยาทิพย์ บัวทอง รหัสนักศึกษา 5310110034 นางสาวกานต์ชนก สาเหลา รหัสนักศึกษา 5310110036 นายการัณย์ บิลละ รหัสนักศึกษา 5310110038 ภาควิชาวิศวกรรมโยธา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. การเปลี่ยนรูป ( DEFORMATION). - PowerPoint PPT Presentation

Citation preview

Page 1: การเปลี่ยนรูป  ( Deformation )

การเปลี่ยนรูป ( Deformation )นางสาวกัลยาทิพย ์บวัทอง รหสันักศึกษา 5310110034นางสาวกานต์ชนก สาเหลา รหสันักศึกษา 5310110036นายการณัย ์ บลิละ รหสันักศึกษา 5310110038

ภาควชิาวศิวกรรมโยธามหาวทิยาลัยสงขลานครนิทร์

Page 2: การเปลี่ยนรูป  ( Deformation )

คอนกรตีในสภาพใชง้านอาจมกีารเปล่ียนรูป (DEFORMATION) โดยสาเหตท่ีุสำาคัญ 2 ประการคือ

1. การเปล่ียนรูปท่ีขึน้อยูกั่บนำ้าหนักบรรทกุ (Load Dependent deformation) ได้แก่ Elastic Strain และ Creep

2. การเปล่ียนรูปท่ีไมข่ึน้กับนำ้าหนัก (Load Independent Deformation) ได้แก่ Shrinkage และ Thermal Expansion

การเปล่ียนรูป (DEFORMATION)

Page 3: การเปลี่ยนรูป  ( Deformation )

1.ความเครยีดยดืหยุน่ (Elastic Strains)

เมื่อใสแ่รงลงในคอนกรตีจะเกิดหน่วยการหดตัวหรอืความเครยีด (STRAIN) ซึง่จะพบวา่คอนกรตีไมใ่ชว่สัดท่ีุมคีวามยดืหยุน่ท่ีแท้จรงิ หน่วยแรง (STRESS) ไมไ่ด้แปรผันโดยตรงกับความเครยีด ในคอนกรตี

Page 4: การเปลี่ยนรูป  ( Deformation )

กราฟ STRESS-STRAIN ของคอนกรตี

Page 5: การเปลี่ยนรูป  ( Deformation )

โมดลัูสยดืหยุน่ของคอนกรตี

โมดลูัสยดืหยุน่ของคอนกรตี (MODULUS OF ELASTICITY), Ec เป็นตัวแสดงถึงความต้านทานต่อการเสยีรูป (DEFORMATION) ของคอนกรตีเมื่อมแีรงกดอัดมากระทำา จากการทดสอบจะพบวา่

โมดลูัสยดืหยุน่ของคอนกรตีมค่ีาแปรเปล่ียนตามกำาลังของคอนกรตี หน่วยนำ้าหนักของคอนกรตี ตลอดจนขนาด และระยะเวลาท่ีรบั

นำ้าหนักบรรทกุ เมื่อคอนกรตีรบันำ้าหนักบรรทกุอยูใ่นชว่งใชง้าน และกระทำาในชว่งเวลาสัน้ ๆ

Page 6: การเปลี่ยนรูป  ( Deformation )

ซึง่อาจจะสมมติให้คอนกรตีเป็นวสัดยุดืหยุน่ (ELASTIC MATERIALS) ได้ โดยมคีวามเครยีด (ELASTIC STRAIN) เป็นสดัสว่นโดยตรงกับหน่วยแรงอัดท่ีกระทำา แต่เมื่อคอนกรตีรบันำ้าหนักบรรทกุคงค้างเป็นเวลานาน ๆ (LONG-TERM LOADING) ต้องพจิารณารวมความเครยีดแบบพลาสติก (PLASTIC STRAIN) ด้วย เพราะโมดลูัสยดืหยุน่ของคอนกรตีจะลดลงทำาให้คอนกรตีเกิดการเสยีรูปมากขึน้

โมดลูัสยดืหยุน่ของคอนกรตี (ต่อ)

Page 7: การเปลี่ยนรูป  ( Deformation )

รูปแสดงวธิกีารหาค่าโมดลูัสยดืหยุน่ของคอนกรตี (CHU-KIA WANG, 1992)

Page 8: การเปลี่ยนรูป  ( Deformation )

การคำานวณหาค่าโมดลัูสยดืหยุน่

โมดลูัสยดืหยุน่ของคอนกรตี หาได้จากอัตราสว่นของ หน่วยแรงอัดต่อความเครยีด หากำาลังต้านทานแรงอัดของคอนกรตี โดยทั่วไปความสมัพนัธน์ี้มลีักษณะเป็นรูปโค้งพาราโบลาซึง่การหาค่าโมดูลัสยดืหยุน่ของคอนกรตีนัน้ มาตรฐาน ACI และ ว.ส.ท. ใชว้ธิ ีSECANT MODULUS ซึง่คำานวณจากความลาดเอียงของเสน้ท่ีลากจากจุดเริม่ต้นกับจุดใด ๆ ท่ีต้องการหา ซึง่มกัพจิารณาท่ีจุดซึง่มีหน่วยแรงอัดเท่ากับ 45% ของหน่วยแรงอัดสงูสดุ ( 0.45 fc′ ) บนเสน้สมัพนัธร์ะหวา่ง หน่วยแรงอัดกับความเครยีด

Page 9: การเปลี่ยนรูป  ( Deformation )

โดยถือวา่ค่าโมดลูัสยดืหยุน่ท่ีหาโดยวธิกีารน้ีเป็นค่าโมดลูัสยดืหยุน่ท่ีแท้จรงิของคอนกรตีในชว่งใชง้าน เนื่องจากได้พจิารณารวมถึงความเครยีดแบบพลาสติกเขา้ไปด้วยมาตรฐาน ACI และ ว.ส.ท. กำาหนดสตูรสำาหรบัหาค่าโมดลูัสยดืหยุน่ของคอนกรตี โดยให้ขึน้กับกำาลังต้านทานแรงอัดสงูสดุและหน่วยนำ้าหนักของคอนกรตี ดังสมการ

Ec= 4,270 w1.5 kg/cm2

หรอื Ec= 0.043 w1.5 MPa …….สมการท่ี 1

'cf

'cf

Page 10: การเปลี่ยนรูป  ( Deformation )

เมื่อEc คือ โมดลูัสยดืหยุน่ของคอนกรตี (kg/cm2)W คือ หน่วยนำ้าหนักของคอนกรตี (ton/m3)fc′ คือ กำาลังอัดสงูสดุของคอนกรตีรูปทรงกระบอกเมื่ออายุ

28วนั (kg/cm2)

ดังนัน้ สำาหรบัคอนกรตีธรรมดา ท่ีมหีน่วยนำ้าหนัก W = 2,323 kg/m3 จะได้ตามสมการท่ี 2

Ec = 15,100 kg/cm2

Ec = 4,700 MPa ………..สมการท่ี 2

'cf

'cf

Page 11: การเปลี่ยนรูป  ( Deformation )

สำาหรบัการทดสอบกำาลังรบัแรงกดอัดของคอนกรตี สามารถหาค่าโมดลัูสยดืหยุน่ของคอนกรตีได้จาก อัตราสว่นระหวา่งหน่วยแรงกดอัดกับความเครยีดกดอัด บนกราฟความสมัพนัธร์ะหวา่งหน่วยแรงกดอัดและความเครยีดกดอัดของคอนกรตี ในชว่งท่ีคอนกรตีมีพฤติกรรมแบบยดืหยุน่เชงิเสน้ (LINEAR ELASTIC) ซึง่มาตรฐานASTM C469-94 ได้กำาหนดสมการในการคำานวณหาค่าโมดลูัสยดืหยุน่ของคอนกรตี ดังสมการท่ี 3 Ec = (S2 − S 1 ) /( -0.000050) ………..สมการท่ี 3

เมื่อ S1 คือ หน่วยแรงท่ีตัวอยา่งทดสอบเกิดความเครยีดกดอัดเท่ากับ 50× 10-6

mm/mm

S2 คือ หน่วยแรงท่ีมค่ีาประมาณ 40 เปอรเ์ซน็ต์ของหน่วยแรงกดอัดสงูสดุ

Ε2 คือ ความเครยีดกดอัดท่ีเกิดจากหน่วยแรง S2

2

Page 12: การเปลี่ยนรูป  ( Deformation )

ค่าโมดลัูสยดืหยุน่ (MODULUS OF ELASTICITY) ชนิดต่างๆ ของคอนกรตีมดัีงน้ี 1. โมดลัูสสมัผัสเบื้องต้น (Initial Tangent Modulus) คือ ค่าความลาดเอียงของเสน้สมัผัสกับโค้งตรงจุดเริม่ ซึง่เป็นค่าโมดลัูสท่ีใกล้เคียงโมดลัูสยดืหยุน่ท่ีสดุ2. โมดลัูสเสน้เชื่อมจุดเริม่กับจุดบนสว่นโค้ง (Secant Modulus ) นับเป็นค่าโมดลัูส ท่ีทำางานได้ดีในทางปฏิบติั 3. โมดลัูสสมัผัส (Tangent Modulus)

คือ ความลาดเอียงของเสน้สมัผัสกับจุดใดๆ บนเสน้สมัพนัธ์ระหวา่งหน่วยแรง และหน่วยการหดตัว

การวดัค่าโมดลัูสยดืหยุน่

Page 13: การเปลี่ยนรูป  ( Deformation )

ปัจจยัท่ีมผีลต่อโมดลัูสยดืหยุน่ (Ec )• อัตราการให้นำ้าหนัก- การให้นำ้าหนักท่ีเรว็ จะสง่ผลให้ ค่าโมดลูัสสงูขึน้• ระดับของหน่วยแรง- SECANT MODULUS ลดลง เมื่อหน่วยแรง

เพิม่ขึน้• กำาลังของคอนกรตี- SECANT MODULUS มค่ีามากขึน้ เมื่อกำาลัง

อัดสงูขึน้

Page 14: การเปลี่ยนรูป  ( Deformation )

• สภาพของก้อนตัวอยา่ง- ก้อนตัวอยา่งท่ีอยูใ่นสภาพเปียก จะให้ค่าโมดลัูสท่ี

สงูกวา่ตัวอยา่งท่ีอยูใ่นสภาพแห้ง

• คณุสมบติัของมวลรวม- มวลรวมท่ีมค่ีาโมดลัูสสงู จะสง่ผลให้ค่าโมดลัูสของ

คอนกรตีณ ระดับกำาลังอัดท่ีเท่ากับโมดลัูสยดืหยุน่ของคอนกรตีเบา จะมค่ีาเพยีง 40-50% ของคอนกรตีปกติ

ปัจจยัท่ีมผีลต่อโมดลัูสยดืหยุน่ (Ec )

Page 15: การเปลี่ยนรูป  ( Deformation )

Poisson’s Ratio (µ)

POISSON’S คือ อัตราสว่นของ หน่วยการหดตัวด้านขา้ง (LATERAL STRAIN) ต่อหน่วยการหดตัวในแนวแกนท่ีรบันำ้าหนัก (AXIAL STRAIN)เมื่อมกีารให้นำ้าหนัก คอนกรตีปกติจะมีค่า 0.15-0.20 คอนกรตีท่ีมค่ีาความแขง็แรงสงูจะมค่ีา POISSON’S RAITO ตำ่า

Page 16: การเปลี่ยนรูป  ( Deformation )

2. การคืบ (Creep)

การคืบของคอนกรตี คือ การเปล่ียนรูปของคอนกรตีภายใต้นำ้าหนักหรอืแรงกดท่ีบรรทกุค้างไวเ้ป็นเวลานาน โดยมขีอ้สนันิษฐานวา่ การคืบของคอนกรตีเกิดจาก การหดตัวของชอ่งวา่งภายในเน้ือคอนกรตี การไหลของซเีมนต์เพสต์ (VISCOUS FLOW) การไหลของผลึก (CRYSTALLINE FLOW) ในวสัดผุสม และจากการซมึของนำ้าจาก Gel เมื่อมนีำ้าหนักภายนอกกระทำาต่อคอนกรตี

Page 17: การเปลี่ยนรูป  ( Deformation )

รูปแสดงการคืบของคอนกรตี

ภายใต้แรงกด P

พจิารณาก้อนตัวอยา่งคอนกรตีรูปทรงกระบอกรบัแรงกด P แท่งคอนกรตีจะหดตัวทันที โดยระยะหดตัวเริม่แรก (Elastic Deformation) เป็น เมื่อปล่อยให้แรงกด P ค้างเป็นเวลานานจะพบวา่แท่งคอนกรตีจะหดตัวเพิม่อีกเป็นระยะ

ซึง่เป็นผลเน่ืองจากการคืบของคอนกรตี (Creep)

e

p

Page 18: การเปลี่ยนรูป  ( Deformation )

ความสมัพนัธร์ะหวา่งระยะหดตัวกับเวลา

Page 19: การเปลี่ยนรูป  ( Deformation )

1 .ชนิดของปูนซเีมนต์- การคืบจะเพิม่ขึน้เมื่อใชปู้นซเีมนต์ท่ีพฒันากำาลังอัดชา้

2. นำ้ายาผสมคอนกรตี - นำ้ายาลดนำ้าและลดนำ้าจำานวนมาก การคืบจะ

ใกล้เคียงกับคอนกรตีทั่วๆไป3. วสัดทุดแทนปูนซเีมนต์ - PFA และ GGBS จะชว่ยลดการคืบ

ปัจจยัท่ีมผีลต่อการคืบ

Page 20: การเปลี่ยนรูป  ( Deformation )

PFA หรอื Fly Ash ใชใ้นการผสมคอนกรตีเพื่อเพิม่คณุสมบติัของคอนกรตีให้ดีขึน้ PFA เป็นของแขง็เมด็กลมละเอียด ลอยขึน้มาพรอ้มกับอากาศรอ้นท่ีเกิดจากการเผาถ่านหินบดละเอียด (PULVERIZED COAL) ในโรงไฟฟา้

GGBS หรอื ตะกรนัเหล็ก (Ground Granular Blast Furnace Slag)ตะกรนัเหล็กเป็นของเหลือ (BY-PRODUCT) ของกระบวนการผลิตเหล็กโดยใชเ้ตาหลอม ตะกรนัท่ีเกิดขึน้เป็นผลจากการหลอมตัวของแคลเซยีมออกไซด์จากหินปูนกับซลิิกอนและ อะลมูนิาจากแท่งเหล็กและถ่านโค้ก (COKE)

•เพิม่เติม

Page 21: การเปลี่ยนรูป  ( Deformation )

4. ชนิดของมวลรวม - การคืบเกิดเนื่องจากซเีมนต์เพสต์ ดังนัน้ชนิดของ

มวลรวมมผีลต่อการคืบน้อย - หนิท่ีมคีวามแขง็มาก จะก่อให้เกิดการคืบน้อย5.ปรมิาณของมวลรวม - ยิง่ให้ปรมิาณมวลรวมมาก การคืบจะยิง่น้อย6.อัตราสว่นของหน่วยแรงต่อกำาลัง - การคืบจะผันแปรโดยตรงต่ออัตราสว่นนี้ในทกุๆ อายุ

ของคอนกรตี7.อัตราสว่นนำ้าต่อซเีมนต์ - สำาหรบัซเีมนต์เพสต์ท่ีคงท่ี อัตราสว่นนำ้าต่อซเีมนต์ท่ี

ตำ่าลงจะสง่ผลให้ การคืบลดลง

ปัจจยัท่ีมผีลต่อการคืบ(ต่อ)

Page 22: การเปลี่ยนรูป  ( Deformation )

8. อายุ ณ เวลารบันำ้าหนัก - สำาหรบัคอนกรตีท่ีกำาหนดให้ การคืบจะลดลง เมื่ออายุคอนกรตี ณ เวลารบันำ้าหนักท่ีเพิม่ขึน้9. ขนาดตัวอยา่ง- การเพิม่ขนาดจะก่อให้เกิดการลดลงของการคืบ ณ จุดท่ีอัตราสว่นของหน่วยแรงต่อกำาลังคงท่ี10. ความชื้น - ความชื้นสมัพทัธท่ี์สงู จะก่อให้เกิดการคืบลดลง11. อุณหภมูิ- อุณหภมูท่ีิสงูขึน้ จะก่อให้เกิดการคืบมากขึน้

ปัจจยัท่ีมผีลต่อการคืบ(ต่อ)

Page 23: การเปลี่ยนรูป  ( Deformation )

คือ การเปลี่ยนแปลงปรมิาตรของคอนกรตีเมื่อเกิดการสญูเสยีนำ้าหรอืเกิดปฏิกิรยิาเคมขีองสว่นผสม

3. การหดตัว (SHRINKAGE)

Page 24: การเปลี่ยนรูป  ( Deformation )

แบง่ออกเป็น 4 ประเภท

Plastic Shrinkage

Autogenous Shrinkage

Carbonation Shrinkage

Drying Shrinkage

Page 25: การเปลี่ยนรูป  ( Deformation )

• สาเหตุเกิดจากการจมตัวลงของสว่นท่ีเป็นของแขง็ในสว่นผสมและ

การสญูเสยีนำ้าจากคอนกรตีสด • ลักษณะ

จะเกิดก่อนซเีมนต์เพสต์แขง็ตัว โดยมลีักษณะแตกท่ีผิวหน้า

และจะลึกลงไปในเน้ือคอนกรตี จะเกิดในคอนกรตีท่ีเทเป็นบรเิวณกวา้ง

เชน่ ถนนคอนกรตี พื้น

Plastic Shrinkage

Page 26: การเปลี่ยนรูป  ( Deformation )

• เวลาการเกิดก่อนซเีมนต์เพสต์แขง็ตัว

• การป้องกัน1. ลดการสญูเสยีนำ้า2. เปลี่ยนสดัสว่นผสมเพื่อให้เกิดการยดึเกาะกันดี3. ไมค่วรทำาการเขยา่ซำ้า (REVIBRATION)

Plastic Shrinkage(ต่อ)

Page 27: การเปลี่ยนรูป  ( Deformation )

อ้างอิง http://www.donan.com/june-2011-newsletter

อ้างอิงhttp://buildingresearch.com.np/services/srr/srr2.php

Plastic Shrinkage

Page 28: การเปลี่ยนรูป  ( Deformation )

อ้างอิง http://www.cement.org/tech/faq_cracking.asp

อ้างอิงhttp://civil-engg-world.blogspot.com/2011/04/plastic- shrinkage-cracking-in-concrete.html

Plastic Shrinkage

Page 29: การเปลี่ยนรูป  ( Deformation )

• สาเหตุปฏิกิรยิาระหวา่งนำ้ากับปูนซเีมนต์ ก่อให้เกิดการลดลงของปรมิาตร คือ ปรมิาตรของสิง่ท่ีได้จากปฏิกิรยิาไฮเดรชัน่น้อยกวา่ปรมิาตรของนำ้ากับซเีมนต์ท่ีผสมกัน

Autogenous Shrinkage

Page 30: การเปลี่ยนรูป  ( Deformation )

• เวลาการเกิดในคอนกรตีท่ีก่อตัวแล้ว

• การป้องกันเปล่ียนสดัสว่นผสม โดยคอนกรตียิง่เหลวมากจะเกิดการหดตัว

ประเภทน้ีมาก

Autogenous Shrinkage(ต่อ)

Page 31: การเปลี่ยนรูป  ( Deformation )

Figure 1 – Chemical shrinkage and autogenous shrinkage volume changes of fresh concrete. Not to scale.

อ้างอิงhttp://www.cement.org/tech/cct_cracking.asp

Page 32: การเปลี่ยนรูป  ( Deformation )

• สาเหตุเกิดจากแคลเซยีมไฮดรอกไซด์ทำาปฏิกิรยิา กับ ก๊าซคารบ์อนไดออกไซด์ในอากาศ ดังสมการ

จากปฏิกิรยิานี้ก่อให้เกิดการลดลงของปรมิาตรของเพสต์และเกิดการหดตัวเกิดในคอนกรตีท่ีแขง็ตัวแล้ว

Carbonation Shrinkage

Page 33: การเปลี่ยนรูป  ( Deformation )

• การเกิดเกิดในคอนกรตีท่ีแขง็ตัวแล้ว

• ปัจจยัท่ีมผีล1 .ความเขม้ขน้ของก๊าซคารบ์อนไดออกไซด์2 .ความพรุนของเพสต์3 .ปรมิาณความชื้น จุดท่ีเหมาะสมท่ีสดุคือ เมื่อ

ความชื้นสมัพทัธ ์ 50-60%

Carbonation Shrinkage(ต่อ)

Page 34: การเปลี่ยนรูป  ( Deformation )

• การป้องกัน1 .ใชค้อนกรตีท่ีมเีน้ือแน่นมาก2. เลือกสดัสว่นท่ีอัตราสว่นนำ้าต่อซเีมนต์ตำ่า

(W/C ตำ่า)3. ทำาการบม่คอนกรตีท่ีดี

Carbonation Shrinkage(ต่อ)

Page 35: การเปลี่ยนรูป  ( Deformation )

Carbonation Shrinkage

อ้างอิงhttp://www.fhwa.dot.gov/publications/research/infrastructure/pavements/pccp/01165/03.cfm

Page 36: การเปลี่ยนรูป  ( Deformation )

• สาเหตุการสญูเสยีนำ้าทั้งจาก CAPILLARY และจาก GEL PORE

• การเกิดเกิดในคอนกรตีท่ีแขง็ตัวแล้ว อัตราการหดตัวชว่งแรกจะสงูและไมส่ามารถคืนกลับได้ (IRREVERSIBLE) แต่อัตราในชว่งหลังจะเกิดน้อยลง และเป็นประเภทที่กลับคืนได้ (REVERSIBLE)

Drying Shrinkage

Page 37: การเปลี่ยนรูป  ( Deformation )

• การลดความเสีย่งของการแตกรา้วเน่ืองจากการหดตัวทำาได้โดย1. ลดปรมิาณซเีมนต์ในสว่นผสม2. ทำาการบม่ให้เหมาะสมทั้งวธิกีารและชว่งเวลา3. ทำาแนวต่อให้เหมาะสม4. เลือกใชปู้นซเีมนต์ประเภท SHRINKAGE COMPENSATE

Drying Shrinkage (ต่อ)

Page 38: การเปลี่ยนรูป  ( Deformation )

Drying Shrinkage

อ้างอิง http://www.cement.org/tech/faq_cracking.asp อ้างอิง

http://leadstates.transportation.org/asr/library/C315/c315c.stm

Page 39: การเปลี่ยนรูป  ( Deformation )

การวดัความกวา้งของรอยแตกคอนกรตี

“ รอยแตกรา้วบนกำาแพงคอนกรตีลดความงดงามทาง

สถาปัตยกรรมของอาคารไปและยงัเป็นสาเหตใุห้เกิดการรัว่

ซมึของนำ้าฝนหรอืนำ้าใต้ดิน ยิง่ไปกวา่นัน้รอยแตกยงัเป็น

สญัญาณบอกเหตกุารณ์วบิติัซึง่อาจเกิดตามมา ดังนัน้เมื่อเกิด

รอยแตกควรจะทำาการตรวจสอบ ”

Page 40: การเปลี่ยนรูป  ( Deformation )

การตรวจสอบรอยรา้วนัน้ ควรจะเก็บขอ้มูลต่อไปน้ี• ตำาแหน่งของรอยรา้วในโครงสรา้ง• รูปแบบรอยแตก (แนวราบ, แนวด่ิง, แนวเฉียงทแยง

มุม,กระจายทั่ว)• ความยาว• ความกวา้ง (ลึกถึงผิวสทีา, ถึงผิวปูนฉาบ,ทะลท้ัุงกำาแพง)• อายุ• รอยรา้วยงัไมห่ยุดหรอืเคลื่อนตัว (ACTIVE,

MOVING) หรอื รอยรา้วหยุด (DORMANT)

Page 41: การเปลี่ยนรูป  ( Deformation )

เครื่องมอืท่ีใชใ้นการวดัรอยแตก

บรรทัดเปรยีบเทียบ (CRACK

COMPARATOR)

กล้องขยายวดัรอยแตก (GRADUATED

MAGNIFYING DEVICE)อ้างอิง http://www.civilclub.net/webboard/index.php?topic=6309.0

Page 42: การเปลี่ยนรูป  ( Deformation )
Page 43: การเปลี่ยนรูป  ( Deformation )

ปัจจยัท่ีมผีลต่อการหดตัว

Page 44: การเปลี่ยนรูป  ( Deformation )

4. การเปลี่ยนรูปเน่ืองจากความรอ้น

(Thermal Movement)คณุสมบติันี้ นำาไปใชป้ระโยชน์สำาหรบัการออกแบบงานฐานรากแผ่นขนาดใหญ่เชน่ เขื่อน หรอืคอนกรตีท่ีต้องสมัผัสกับอุณหภมูสิงูมากหรอืตำ่ามาก คณุสมบติัท่ีสำาคัญมดัีงนี้ 1. THERMAL CONDUCTIVITY คือ ความสามารถของคอนกรตี ท่ีจะนำาความรอ้น หน่วย : J/s/m2

ปัจจยัท่ีมผีลกระทบ:– ความหนาแน่นของคอนกรตี– อัตราสว่นนำ้าต่อซเีมนต์

ยิง่มชีอ่งวา่ง (AIR VOID) มาก คอนกรตีจะนำาความรอ้นตำ่า เชน่ คอนกรตีเบาท่ีมชีอ่งวา่งสงู จะมกีารนำาความรอ้นตำ่า เชน่ เหมาะสำาหรบังานฉนวนความรอ้น

Page 45: การเปลี่ยนรูป  ( Deformation )

Air Void

อ้างอิงhttp://www.fhwa.dot.gov/publications/research/infrastructure/pavements/pccp/01165/03.cfm

Page 46: การเปลี่ยนรูป  ( Deformation )

2. COEFFICIENT OF THERMAL EXPANSIONคือการเปลี่ยนแปลงปรมิาตรของคอนกรตีท่ีอุณหภมูเิปลี่ยนไป

ปัจจยัท่ีมผีลกระทบ :1) สดัสว่นผสม2) ปรมิาณความชื้นคอนกรตี ณ ท่ีความชื้น

60 % จะมกีารขยายตัวสงูสดุ3) คณุภาพและคณุสมบติัของมวลรวม

4. การเปล่ียนรูปเน่ืองจากความรอ้น(ต่อ)

(Thermal Movement)

Page 47: การเปลี่ยนรูป  ( Deformation )

5. สรุปปัจจยัท่ีมอิีทธพิลต่อคณุสมบติัของคอนกรตี

เราได้กล่าวมาทั้งคณุสมบติัของคอนกรตีเหลวและคอนกรตีแขง็ตัวแล้ว ในหัวขอ้น้ีจะสรุปปัจจยัท่ีมอิีทธพิลต่อคณุสมบติัของคอนกรตี ซึง่แสดงได้ดังตาราง

Page 48: การเปลี่ยนรูป  ( Deformation )
Page 49: การเปลี่ยนรูป  ( Deformation )

THE END