6
การดูแลสัตวปวยในตู ICU รวมกับเครื่องผลิตออกซิเจน ควรตองทําอยางไรบาง

การดูแลสัตว์ป่วยในตู้ ICU ต้องทำอย่า�

Embed Size (px)

DESCRIPTION

การดูแลสัตวปวยในตู ICU รวมกับเครื่องผลิตออกซิเจน ควรตองทําอยางไรบาง ภาพที่ 2: การนํา collar และแผนพลาสติกมาคลุมปดโดยใหสอดทอออกซิเจนเขาไป เพื่อเพิ่มความเขมขนของออกซิเจนในพื้นที่จํากัด หรือ เพื่อใชทดแทนที่ครอบ ปาก จมูก ขอสงสัย และคําถาม จากผูใชงานตูดูแลสัตวปวย Pet pavilion น.สพ.สมพล ศิริอุดมเศรษฐ ผูเรียบเรียงขอมูล

Citation preview

Page 1: การดูแลสัตว์ป่วยในตู้ ICU ต้องทำอย่า�

การดูแลสัตวปวยในตู ICU รวมกับเคร่ืองผลติออกซิเจน ควรตองทําอยางไรบาง

Page 2: การดูแลสัตว์ป่วยในตู้ ICU ต้องทำอย่า�

คุณสมบัติของตูดูแลสัตวปวย Pet pavilion คือ

1. ตูสามารถต้ังอุณหภูมิความอบอุนไดตั้งแต อุณหภูมิหองขณะนั้น ขึ้นไปจนถึง 38 องศาเซลเซียส เพื่อชวยทําใหลูกสัตว และ สัตวปวย ไดรับความอบอุน หรือ ไมเกิดอาการช็อกเน่ืองมาจากการหนาวสั่นได (หากต้ังต่ํากวาอุณหภูมิหอง เครื่องจะไมปรับอุณหภูมิลงตามท่ีตั้ง เพราะไมมีเครื่องทําความเย็น)

2. สามารถต้ังความช้ืนไดตั้งแต ความช้ืนหองขณะน้ัน จนถึง 60 เปอรเซ็นต และโดยเติมนํ้าเขาไปในชองบรรจุนํ้า

3. มีชองระบายอากาศ และ ทําใหอากาศในตูมีการหมุนเวียน ดวยพัดลม 4. มีชองสําหรับ ตอ ออกซิเจน เพื่อเพิ่ม ออกซิเจน โดยใชเครื่องผลิตออกซิเจน

หรือทอออกซิเจนอัดความดันใหกับสัตวท่ีตองการโดยเฉพาะ สามารถพนนํ้ายาเปนละอองควันนํ้าละเอียดเพื่อการรักษาทางระบบหายใจรวมดวย

5. ภายในตูพื้นเรียบ โคงมนทําใหทําความสะอาดไดงาย หมดจดไมมีซอกมุม เก็บกล่ินตกคางของอุจจาระหรือปสสาวะของสัตวปวย

จากขอมูลและคุณสมบัติของตูดังกลาวน้ี ผูใชจะตองพิจารณา ปรับอุณหภูมิ

ความช้ืน และการพนละอองนํ้ายา ใหเหมาะกับสภาพของสัตวปวยแตละตัว และเปนกรณี ๆ ไป

การหมั่นมาดูแลเอาใจใสอาการของสัตวปวยหนักบอย ๆ เชน ทุกครึ่งช่ัวโมง และมีการใหยาหรือ ใหการรักษาอื่น ๆ ประกอบดวย เปนสิ่งจําเปน ซึ่งไมสามารถทดแทนไดดวย การปรับอุณหภูมิหรือ การใหออกซิเจนเพียงอยางเดียว ภายในตู เปนเพียงการปรับสภาพสิ่งแวดลอมใหสัตวปวยไดอยูสบายมากขึ้นเทาน้ัน ไมสามารถทดแทนการรักษา และการเอาใจใสดูแลประกอบรวมกันได

ท้ังน้ีการปรับอุณหภูมิใหเหมาะสม ขึ้นอยูกับดุลยพิจารณาของสัตวแพทย และอาการของสัตวท่ีตอบสนอง จึงจะไดผลดี

หามปลอยใหสัตวอยูตามลําพังในตูนานๆ โดยเด็ดขาด ตองมาสังเกตอาการอยางใกล ชิด เพราะวาสัตวป วยวิกฤต อาจจะตองการการปรับอุณหภูมิ และสภาพแวดลอมเปล่ียนไปบอย ๆ ขึ้นอยูกับอาการท่ีสัตวตอบสนองดวย เชน แรก ๆ สัตวท่ีหนาวสั่นอาจจะตองการอุณหภูมิอบอุนสูง และเมื่อมีอาการดีขึ้น อาจตองการอุณหภูมิท่ีอบอุนสูงนอยลง เปนตน

Page 3: การดูแลสัตว์ป่วยในตู้ ICU ต้องทำอย่า�

แมวา ตูจะสามารถ ปรับอุณหภูมิ ได จากอุณหภูมิหองขณะน้ัน ขึ้นไปถึง 38 องศาเซลเซียสตามคุณสมบัติ ก็จริง แตในการใชงานจริง สตวแตละตัวท่ีปวย และมีไขสูงซึ่งอาจไมเหมือนกัน หรือ มีสภาพรางกาย ท่ีแข็งแรงออนแอไมเทากัน อาจมีความตองการอุณหภูมิท่ีเหมาะสมแตกตางกัน ดังน้ัน ในการใชงานตู ICU จึงตองอยูภายใตการดูแลของสัตวแพทย ซึ่งจะตองคอย ๆ ปรับอุณหภูมิภายในตูจากอุณหภูมิหองขณะน้ัน ขึ้นทีละนอย ๆ เชน เพิ่มขึ้นทีละ 1 – 2 องศาเซลเซียส แลวรอดูอาการ สังเกตการตอบสนองของสัตวดวย เชน หากสัตวยังมีไข และ มีอาการหนาวสั่นอยู พอนําเขาตูก็ลองปรับอุณหภูมิขึ้นจากอุณหภูมิหองครั้งละ 1 องศาเซลเซียส รอดูอาการอยางใกลชิด จนเห็นวา สัตวสบายดีในอุณหภูมิใดก็ใหหยุดคงอุณหภูมิ น้ันไว สิ่งสําคัญคือ ตองอยูในการดูแลของสัตวแพทยอยางใกลชิดดวยตลอดเวลา เพราะเวลาท่ีเปล่ียนไป อาจตองมีการปรับเพิ่มหรือลดอุณหภูมิเพิ่มหรือลดอีกตามความเหมาะสมของอาการของสัตว

การต้ังอุณหภูมิน้ัน หามต้ังอุณหภูมิสูงสุดทีเดียว หรือ จุดเดียว เชน ตั้งท่ี 37

องศาเซลเซียสใหสูงเลย โดยคิดเอาวาสัตวมีไข ก็ปรับอุณหภูมิสูงมากไปท่ี 37 องศาเซลเซียส เลย แลวปลอยใหสัตวอยูลําพัง โดยไมรอดูอาการหรือเวียนมาดูอาการบอย ๆ เปนการไมถูกตอง สัตวอาจจะไมไดรับอุณหภูมิท่ีถูกตองเหมาะสม ซึ่งจะมีผลตออาการตอบสนอง ตอการรักษา หรือ การรอดชีวิตของสัตวได ผูใชตองรูจักหลักการทํางานของตูน้ี และตองอยูในความดูแลอาการท่ีเปล่ียนไปของสัตวแพทยประกอบดวยเสมอ

สวนใหญแลวสัตวท่ีมีอาการปวยหนัก เรามักนิยมนํามาใสไวในตูน้ี เพื่อใหไดรับออกซิเจน และความอบอุน (หรือยาพน เปนละอองไอนํ้ารวมดวย)เพื่อไดรับสภาพอากาศแวดลอมรอบตัวท่ีเหมาะสม

ดังน้ัน ในการใชตู ICU จึงขอใหพิจารณาการใชตู ICU ใหถูกตอง เหมาะสม และอธิบายใหเจาของไขฟงวา การนําสัตวปวยวิกฤติเขาในตู น้ี เปนการชวยปรับสภาพแวดลอม ท่ีปกติไมเหมาะสม ท้ังอุณหภูมิและปริมาณออกซิเจนในอากาศ ใหมีความเหมาะสมมากขึ้น

Page 4: การดูแลสัตว์ป่วยในตู้ ICU ต้องทำอย่า�

การใหออกซิเจนท่ีมีความเขมขน หรือ ยาพน (Nebulizer) ก็เชนกัน เราตองเริ่มใหท่ี อัตราไหลของกาซ ท่ี 5 ลิตรตอนาทีหรือทีละนอยกอน และหากสัตวยังมีผิวเยื่อบุซีด เน่ืองจากการขาดออกซิเจน ก็คอยๆ ปรับ เพิ่มขึ้น (หากวัดดวย Pulse Oximeter จะรูเปอรเซ็นตออกซิเจนในกระแสโลหิตท่ีแนนอน และเพื่อรับทราบวาสัตวไดรับออกซิเจนเพียงพอแลวหรือไม)

การเลือกวิธีการใหออกซิเจนท่ีเหมาะสม 1. การใหออกซิเจนแกสัตวปวยโดยใชเครื่องกําเนิดออกซิเจน (อัตรา Flow

rate สูงสุด 5 ลิตร ตอ นาที เปนการกรองออกซิเจนจากอากาศ ไดออกซิเจนบริสุทธ์ิประมาณ 90-95% เปนวิธีการใหท่ีประหยัดคาใชจายกวาใชออกซิเจนจากทออัดอากาศ) เพื่อเพิ่มปริมาณออกซิเจนในเลือดใหกลับสูงขึ้น การใหออกซิเจนตองพิจารณาอาการของสัตว โดยสังเกตวาสัตวอาจมีผิวหนังซีด ล้ินซีด หรืออาจใชเครื่อง Pulse oximeter ในการตรวจวัดเปอรเซ็นตออกซิเจนอิ่มตัวในกระแสเลือด ถาพบวา % ออกซิเจนในกระแสเลือด ขึ้นจากเดิมท่ีต่ํากวาปกติอยูแลว เชน ต่ํากวา 90 % มาอยูสภาวะปกติได (คือ 95% ขึ้นไป) ก็ถือวานาจะใชไดแลว เปนตน

ในกรณีท่ี สัตวท่ีปวยหนัก และ ตองการออกซิเจนเขมขน แลวนํามาไวในตู pet

pavilion ปริมาณออกซิเจนเขมขนท่ีเจือจางกับอากาศในตู น้ัน บางครั้งอาจไมเพียงพอ (ใหดูอาการสัตวประกอบ) ดังน้ันกรณีน้ี ควรท่ีจะใชวิธีตอสายสอดทอออกซิเจนเขาไปในชองจมูกโดยตรงแกสัตวเลย หรือ นํา collar มาคลุมและปดทึบดานหนา แลวใหตอสายออกซิเจนเขาไปดานในใหสัตวหายใจไดรับ ออกซิเจน% ท่ีสูงขึ้นโดยตรง

ภาพที่ 1 : การสอดทอเขาไปในโพรงจมูก

ภาพที่ 2: การนํา collar และแผนพลาสติกมาคลุมปดโดยใหสอดทอออกซิเจนเขาไป เพื่อเพิ่มความเขมขนของออกซิเจนในพื้นท่ีจํากัด หรือ เพื่อใชทดแทนท่ีครอบ ปาก จมกู

จากน้ันทําการวัดคา % ออกซิเจนในกระแสเลือด ดวยเครื่อง Pulse oximeter กับตัวสัตวอีกครั้ง ถาหากพบวา % ออกซิเจนในกระแสเลือด วัดไดต่ํากวา 90% และไมสามารถกลับขึ้นมาถึงอยูในสภาวะปกติได (คือ 95% ขึ้นไป) ก็ถือวายังดีไมพอ (แตแนนอนดีกวาไมมีการใหออกซิเจนเลย) ดังน้ัน ควรเปลี่ยนวิธีการใหออกซิเจนโดยอาจ

Page 5: การดูแลสัตว์ป่วยในตู้ ICU ต้องทำอย่า�

ใชออกซิเจนบริสุทธจากถังออกซิเจนอัดความดัน ซึ่งมีความบริสุทธ์ิ และเขมขนมากกวา (ปกติทอออกซิเจนอัดจากออกซิเจนเหลวมีความบริสุทธมากกวา 97 % ขึ้นไป แตการใหระยะนานเปนช่ัวโมงจะสิ้นเปลืองมาก จึงตองเลือกใชตามความเหมาะสม)

2. การใหออกซิเจนแกสัตวปวยโดยใชออกซิเจนบริสุทธจากถังออกซิเจน จาก

ทออัดความดัน ของโรงงาน (ออกซิเจนบริสุทธ์ิประมาณ 97% ขึ้นไป มีคาใชจายท่ีสูง) หลังใหแลว จากน้ันทําการทดสอบวัดคา % ออกซิเจนในกระแสเลือด ดวยเครื่อง pulse oximeter กับตัวสัตว หรือสังเกตอาการ สีท่ีเหงือก ดูอีกครั้งหน่ึง หากพบวา % ออกซิเจนในกระแสเลือด ขึ้นจากเดิมท่ีต่ํากวาปกติเชน ต่ํากวา 90% และหลังใหออกซิเจนแลวสามารถกลับขึ้นมาถึงอยูในสภาวะปกติได (คือ 95% ขึ้นไป) ก็ถือวานาจะใชได และเปนทางเลือกท่ีดีกวา ขอสงสัย และคําถาม จากผูใชงานตูดูแลสัตวปวย Pet pavilion

1. การนํ าสั ตว ป วย เข า ไปในตู เ ม่ื อสั ตว หายใจออกมาจะนํ าก าซคารบอนไดออกไซดออกมา ในตู ผูใชงานจะม่ันใจไดอยางไร วาตูจะสามารถระบายกาซคารบอนไดออกไซดออกมาไดดี

ตอบ การนําสัตวปวยเขาไปในตู ซึ่งเมื่อสัตวหายใจออกมา การระบายอากาศจะระบายไดดีหรือไม ขึ้นอยูกับปริมาณ กาซ คารบอนไดออกไซด ท่ีสัตวหายใจออกมา วามีมากนอยเพียงใด หากมีมากวา ปริมาณออกซิเจนท่ีเติมเขาไปในตู สัตวก็อาจจะรูสึกไมสบาย ระบบตูมีพัดลมทําใหอากาศหมุนเวียนโดยนําอากาศจากภายนอก และหากมีการตอออกซิเจนเขาไปทดแทนอากาศภายในตัวตูดวย และเวลาสัตวหายใจออกมาสวนหน่ึงก็จะถูกขับออกมาขางนอก (ตามชอง) การใชตูในกรณีสัตวปวย หรือมีไขสูง ควรใหออกซิเจนดวย

การตอออกซิเจนเขาในตู ซึ่งใหในอัตราไหลท่ี 5 ลิตร ตอนาที แลวลองนําเครื่องวัดปริมาณออกซิเจนไปวัดในตูดูวา จะพบวามี % ออกซิเจนภายในสูงกวา 21 % (ปกติในอากาศจะมี % ออกซิเจน ประมาณ 21%)

ปกติขนาดปอดของสัตว พอท่ีจะวัด และคาดคะเนจากขนาดของสัตว ไดคราวๆ เชน สุนัขเล็ก หนัก 5 กิโลกรัม ดูจากชองอก ขนาดปอดใหญประมาณ ไมเกิน 0.15 ลิตร นับการหายใจ ประมาณ 12 ครั้งตอนาที หรือ สมมติวาอากาศท้ังหมดท่ี สัตวหายใจออกมาเปนคารบอนไดออกไซดท้ังหมด ไดอยางมากเต็มท่ีเทากับ 0.15x12 = 1.8 ลิตร ตอนาทีเทาน้ัน แตเครื่องผลิตออกซิเจน สามารถตั้งใหปลอยกาชออกซิเจนไหลเขาไปในตูไดถึง 5 ลิตร ตอนาที มากกวากาชคารบอนไดออกไซดท่ีหายใจออกมา สัตวนาจะหายใจไดพอสบาย หากสุนัขตัวไมใหญ จนคับตูเกินไป อยางไรก็ตาม ขณะใหออกซิเจน การสังเกตอาการของสัตวประกอบดวย

2. ความชื้นกับอุณหภูมิทํางานควบคูกันใชหรอืไม

ตอบ ไมใช เพราะ ความช้ืน และอุณหภูมิในตูสามารถแยกตั้งไดเอง ตามคูมือ เชน

ขณะอุณหภูมิหองอยูท่ี 28 องศา เมื่อทดลองตั้งอุณหภูมิท่ี 35 องศาเซลเซียส และต้ังความช้ืนท่ี 50 % เมื่ออุณหภูมิคอย ๆ เพิ่มสูงถึง 35 องศาเซลเซียสอุณหภูมิก็จะหยุดอยูแคน้ัน แตถาหากเราตั้งอุณหภูมิลงมาที่ 20 องศา ขณะอุณหภูมิหองอยูท่ี 28 องศา จอภาพจะไมแสดงแสดงอุณหภูมิ 20 องศาตามท่ีตั้ง แตจะแสดง 28 องศา เทากับอุณหภูมิหอง เพราะเราไมสามารถบังคับต้ังอุณหภูมิในตูไดต่ํากวาอุณหภูมิจริงของหอง เพราะภายในตูไมมีระบบทําความเย็น ความช้ืนก็เชนเดียวกัน หากเราตั้งท่ีต่ํากวา %

Page 6: การดูแลสัตว์ป่วยในตู้ ICU ต้องทำอย่า�

ความช้ืนจริงของหอง จอภาพก็จะแสดงความช้ืนท่ีแทจริงขณะน้ันของหอง ไมใชแสดงตามท่ีเราต้ังไวต่ํากวา % ความช้ืนของหอง

สรุปคือ เราสามารถต้ังความชื้น และอุณหภูมิใหอยูคงท่ี ไดตั้งแตอุณหภูมิ และความช้ืนของหอง ขณะน้ันเพิ่มขึ้นไป (ไมสามารถตั้งลดลงต่ํากวาอุณหภูมิ และความช้ืนภายในหอง) เน่ืองจากความช้ืนในบานเรามีความช้ืนสูงมากอาจถึง 70 % แมเราต้ังความช้ืนไดสูงสุดได 60 % จอภาพก็จะไมแสดงความช้ืนท่ี 60 % แตแสดงคาความช้ืนตามความเปนจริง

3. ทําไมตูทําความเย็นไมได ถาตูทําความเย็นได สตัวนาจะสบายกวาไหม ตอบ “สัตวท่ีตองการมาอยูในตูน้ีปกติแลวตองการความเย็นจริงหรือ” เพราะ สัตวท่ีมีอาการปวย เปนไข ไมสบาย หนาวสั่น มักตองการความอบอุนของรางกายเพิ่มขึ้น จากสภาพแวดลอมในหอง ไมใชเย็นลง อยางท่ีเราคิด แตหากตองการใหอากาศในตูเย็นลง เพื่อสัตวปกติท่ีไมปวยไดอยูเย็นสบายเหมือนเราอยูในหองแอรก็ตองนําตูน้ีไปไวในหองแอรเชนกัน

4. ผูใชงานจะทราบไดอยางไรวาสัตวไดรับออกซิเจนที่ใหอยูเพียงพอหรือไม

ตอบ 1. สังเกตจากอาการของสัตวเปนอันดับแรกโดยดูจากเหงือก ล้ิน ท่ีเดิมซีดวามี

สีชมพูเพิ่มขึน้หรือไม 2. หลังจากสัตวไดรับออกซิเจนแลว สังเกตวาสัตวมีอาการสดช่ืนขึ้นไหม 3. ใชเครื่อง Pulse oximeter วัด % ออกซิเจนในกระแสโลหิตดูวาเพิ่มขึ้นถึง

ปกติหรือยัง (95-100 %) 4. ตองเลือกวิธีการใหออกซิเจนในสัตวปวยอยางเหมาะสม เชน ถาหากสัตว

ตองการออกซิเจนไมมาก เชน สัตวปวยซึม มีไข หรือ พึ่งฟนจากการผาตัด หรือพึ่งคลอดออกมาใหม การใหออกซิเจนแกสัตวในตูท่ี 5 ลิตร/นาทีอาจเพียงพอแลว แตตองสังเกตอาการ และการตอบสนองประกอบดวย ซึ่งสามารถตรวจสอบไดจาก 3 ขอดานบนท่ีกลาวมา บางกรณีแมเราใหออกซิเจนแกสัตวในตูท่ี 5 ลิตร/นาที แลวแตก็อาจจะยังไมเพียงพอ โดยสังเกตจากอาการของสัตว เชน ล้ิน และเหงือกยังซีดอยูไมดีขึ้น หรือ % ออกซิเจนในกระแสโลหิต ท่ีวัดไดของเครื่อง Pulse oximeter ยังต่ํา กวาปกติมาก ก็ตองเปล่ียนวิธีการใหมาเปนใชท่ีครอบจมูก หรือตอทอโดยตรงเขาสูชองจมูก จากน้ันก็ทําการวัดดวยเครื่อง Pulse oximeter ดังวิธีท่ีกลาวมาดานบน เพื่อเปนการทดสอบอีกครั้งหน่ึง ทุกอยางตองขึ้นอยูกับดุลยพิจารณาของสัตวแพทย

น.สพ.สมพล ศิริอุดมเศรษฐ ผูเรียบเรียงขอมูล