30
«‘∑¬æ—≤πè μ—«Õ¬ã“ß¿“¬„π‡≈ã¡

µ «Õ¬ã ß¿ ¬ ã¡ « ¬æ è - images-se-ed.com · เฉลยบทความที่ 20 เรื่อง ไข้ซิกา…ภัยใหม่จากยุงลายตัวเก่า

  • Upload
    others

  • View
    1

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

«‘∑¬æ—≤πè

μ—«Õ¬ã“ß¿“

¬„π‡≈ã¡

«‘∑¬æ—≤πè

μ—«Õ¬ã“ß¿“

¬„π‡≈ã¡

������� GAT ������� (���) D4 (1-240).indd 1 26/9/2559 16:13:43

«‘∑¬æ—≤πè

μ—«Õ¬ã“ß¿“

¬„π‡≈ã¡

ตีแตก GAT ภาษาไทย กลยุทธ์พิชิตข้อสอบอย่างมั่นใจ!

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. วัชรพล วิบูลยศริน

ฉบับพิมพ์ที่ 1 พิมพ์ครั้งแรก ตุลาคม 2559

สงวนสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537

ห้ามท�าซ�้า ดัดแปลง คัดลอก ลอกเลียน หรือน�าไปเผยแพร่ในส่ือทุกประเภท ไม่ว่าส่วนใดส่วนหนึ่ง

ของหนังสือเล่มนี้ ตลอดจนห้ามมิให้สแกนหนังสือหรือคัดลอกส่วนใดส่วนหนึ่งเพื่อสร้างฐานข้อมูล

อิเล็กทรอนิกส์ นอกจากจะได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากบริษัทวิทยพัฒน์ จ�ากัด

จัดท�ารูปเล่ม จัดพิมพ์ และจ�าหน่ายโดย

บริษัทวิทยพัฒน์ จ�ากัด

52/103-104 ซอยรามค�าแหง 60/5 ถนนรามค�าแหง เขตบางกะปิ กรุงเทพฯ 10240

โทรศัพท์ 02 374 9915 โทรสาร 02 374 6495

E-mail: [email protected] Website: www.wphat.com

ส�านักพิมพ์ วิทยพัฒน์ (www.facebook.com/wphat.edu)

ID: wphat.com

ราคา 140 บาท

ข้อมูลทางบรรณานุกรมของหอสมุดแห่งชาติ

วัชรพล วิบูลยศริน.

ตีแตก GAT ภาษาไทย กลยุทธ์พิชิตข้อสอบอย่างมั่นใจ!.--กรุงเทพฯ: วิทยพัฒน์, 2559.

240 หน้า.

1. ภาษาไทย--การศึกษาและการสอน. I. ชื่อเรื่อง.

495.9107

ISBN 978-616-424-001-8

หากท่านมีข้อติชม หรือค�าแนะน�าเกี่ยวกับหนังสือหรือบริการของบริษัทฯ กรุณาส่งจดหมายถึงผู้จัดการฝ่ายลูกค้าสัมพันธ์ตามที่อยู่ด้านบน หรือส่งอีเมลที่ [email protected] จักเป็นพระคุณยิ่ง

������� GAT ������� (���) D4 (1-240).indd 2 26/9/2559 16:13:45

«‘∑¬æ—≤πè

μ—«Õ¬ã“ß¿“

¬„π‡≈ã¡

ค�าน�า

หนังสือ ตีแตก GAT ภาษาไทย กลยุทธ์พิชิตข้อสอบอย่างมั่นใจ! เป็นผลงานการเขียน

เล่มที่ 2 ของผู้เขียน ต่อจากหนังสือ เตรียมสอบ O-NET ภาษาไทย ม. ปลาย ฉบับสมบูรณ์

ของส�านักพิมพ์วิทยพัฒน์ จัดท�าขึ้นอย่างตั้งใจเพื่อให้นักเรียนได้อ่านหนังสือที่มีคุณภาพเพื่อน�าไปใช้ใน

การเตรียมตวัสอบเข้าศกึษาต่อในระดบัอดุมศกึษาอย่างมัน่ใจ ตลอดจนเข้าใจถงึธรรมชาตแิละลกัษณะ

ท่ัวไปของการสอบ GAT โดยเสรมิเนือ้หาความรูท้ีเ่กีย่วข้อง ฝึกฝนการท�าข้อสอบทลีะขัน้ตอนประกอบ

การอธิบายอย่างละเอียด และมีตัวอย่างแนวข้อสอบที่มีรูปแบบใกล้เคียงกับข้อสอบจริงของสถาบัน

ทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) พร้อมค�าอธิบายเฉลยทุกบทอย่างละเอียดและ

ชัดเจนครบทุกข้ออีกด้วย

เนื้อหาที่ปรากฏในหนังสือจะแบ่งเป็นบทใหญ่ ๆ 4 บท ดังนี้

มาท�าความรู้จักและเข้าใจ GAT ภาษาไทยกันก่อน เป็นการอธิบายภาพรวมของการสอบ

ในระบบ Admission เนื้อหาการสอบ รูปแบบ และตัวอย่างข้อสอบ GAT ส่วนที่ 1 ตลอดจนวิธีการ

ตอบข้อสอบ การใช้สัญลักษณ์ และการปฏิบัติตามข้อก�าหนดต่าง ๆ ที่ระบุไว้ในข้อสอบ

ความรู้เสริมเพิ่มความมั่นใจ พิชิตข้อสอบ GAT ภาษาไทย เป็นการอ่านทบทวนเนื้อหา

ส�าคัญและจ�าเป็นต่อการท�าข้อสอบ GAT ให้ได้คะแนนเต็ม ซึ่งจะช่วยให้นักเรียนเข้าใจเทคนิคและ

แนวทางในการท�าข้อสอบ

กลยุทธ์พิชิตข้อสอบ GAT ภาษาไทย ให้ได้คะแนนเต็ม 150 เป็นการฝึกฝนวิธีการตอบ

ข้อสอบ โดยปูพื้นฐานของการตอบทีละขั้นตอน เพื่อให้นักเรียนเกิดความเข้าใจเป็นล�าดับจนสามารถ

น�าไปใช้ในการท�าข้อสอบจริง

แนวข้อสอบ GAT ภาษาไทย เตรียมฝึกก่อนลงสนามสอบจริง เป็นการตรวจสอบความรู้

ความเข้าใจจากการอ่านทบทวนบทเสริม และวัดความสามารถจากการฝึกฝนบทฝึก เพื่อประเมิน

ตนเองให้ได้ทราบว่านกัเรยีนมคีวามพร้อมในการเข้ารบัการทดสอบวชิาความถนดัทัว่ไปหรอื GAT มาก

น้อยเพียงใด

อย่างไรก็ดี ผู้เขียนเชื่อมั่นเป็นอย่างยิ่งว่าถ้านักเรียนศึกษาหนังสือ ตีแตก GAT ภาษาไทย

กลยุทธ์พิชิตข้อสอบอย่างมั่นใจ! เล่มนี้อย่างจริงจัง มุ่งมั่น ทุ่มเท และฝึกฝนการท�าข้อสอบอย่าง

ต่อเนื่องและเต็มที่แล้ว นักเรียนย่อมจะมีความพร้อมและได้รับคะแนนเต็มจากการสอบอย่างแน่นอน

เป็นก�าลังใจให้นักเรียนของครูทุกคน

(ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. วัชรพล วิบูลยศริน)

������� GAT ������� (���) D4 (1-240).indd 3 26/9/2559 16:13:45

«‘∑¬æ—≤πè

μ—«Õ¬ã“ß¿“

¬„π‡≈ã¡

สารบัญ

บทที่ 1 มาท�าความรู้จักและเข้าใจ GAT ภาษาไทยกันก่อน 7

• วิธีการท�าข้อสอบ GAT ภาษาไทย 8

บทที่ 2 ความรู้เสริมเพิ่มความมั่นใจ พิชิตข้อสอบ GAT ภาษาไทย 19

• ค�าเชื่อม 19

• การอ่านจับใจความ 21

• ผังมโนภาพ 26

บทที่ 3 กลยุทธ์พิชิตข้อสอบ GAT ภาษาไทย ให้ได้คะแนนเต็ม 150 29

• กลยุทธ์การเชื่อมโยงความสัมพันธ์ของข้อความแบบ A 30

• กลยุทธ์การเชื่อมโยงความสัมพันธ์ของข้อความแบบ D 35

• กลยุทธ์การเชื่อมโยงความสัมพันธ์ของข้อความแบบ F 41

• กลยุทธ์การถอดรหัสค�าตอบจากแผนภูมิ 47

• เฉลยแบบฝึกการเชื่อมโยงความสัมพันธ์ของข้อความ 60

บทที่ 4 แนวข้อสอบ GAT ภาษาไทย เตรียมฝึกก่อนลงสนามสอบจริง 69

• แนวข้อสอบ GAT ภาษาไทย 70

บทความที่ 1 เรื่อง ทฤษฎีใหม่และเศรษฐกิจพอเพียง 70

บทความที่ 2 เรื่อง พุทธศาสนากับการสร้างสรรค์ทางปัญญา 72

บทความที่ 3 เรื่อง วิธีเก็บรักษา ‘อาหารแช่แข็ง’ ท�าอย่างไรให้ “ใหม่และสด” 75

บทความที่ 4 เรื่อง เช็กอินชิบะ แหล่งลงทุนที่น่าปักหมุด 77

������� GAT ������� (���) D4 (1-240).indd 4 26/9/2559 16:13:45

«‘∑¬æ—≤πè

μ—«Õ¬ã“ß¿“

¬„π‡≈ã¡

บทความที่ 5 เรื่อง คนไทยอ่านหนังสือ 66 นาที/วัน 80

บทความที่ 6 เรื่อง ป่าชายหาด...ปราการที่หดหาย 83

บทความที่ 7 เรื่อง การตัดป่าอเมซอนท�าให้เกิดความแห้งแล้งในบราซิล 86

บทความที่ 8 เรื่อง ความเครียดของวัยรุ่นที่ควรมอง 89

บทความที่ 9 เรื่อง แนะเลือกบริโภค ‘ไส้กรอก’ 93

บทความที่ 10 เรื่อง 10 วิธีลดเครียด สร้างสุขวัยท�างาน 96

บทความที่ 11 เรื่อง ท�าไมเบลเยียมจึงเป็นเป้าหมายการก่อการร้าย 99

บทความที่ 12 เรื่อง โมเดลขับเคลื่อนเศรษฐกิจดิจิทัลไทย...ภาคเอกชน หรือภาครัฐควรเป็นแกนหลัก? 102

บทความที่ 13 เรื่อง สังคมก้มหน้า 105

บทความที่ 14 เรื่อง แผ่นดินไหว 108

บทความที่ 15 เรื่อง สุขภาพ: ภัยเสี่ยงที่มาพร้อมกับโรงไฟฟ้าถ่านหิน 111

บทความที่ 16 เรื่อง เมื่อมนุษย์เป็นซูเปอร์แมน 114

บทความที่ 17 เรื่อง ลูกก้าวร้าว ควรรับมืออย่างไร 117

บทความที่ 18 เรื่อง โอกาสทางธุรกิจของ SMEs ในธุรกิจรีไซเคิล 120

บทความที่ 19 เรื่อง มารู้จักกับสะเต็มศึกษา (STEM Education) 124

บทความที่ 20 เรื่อง ไข้ซิกา…ภัยใหม่จากยุงลายตัวเก่า 127

• เฉลยแนวข้อสอบ GAT ภาษาไทย 130

เฉลยบทความที่ 1 เรื่อง ทฤษฎีใหม่และเศรษฐกิจพอเพียง 130

เฉลยบทความที่ 2 เรื่อง พุทธศาสนากับการสร้างสรรค์ทางปัญญา 134

เฉลยบทความที่ 3 เรื่อง วิธีเก็บรักษา ‘อาหารแช่แข็ง’ ท�าอย่างไรให้ “ใหม่และสด” 139

เฉลยบทความที่ 4 เรื่อง เช็กอินชิบะ แหล่งลงทุนที่น่าปักหมุด 144

เฉลยบทความที่ 5 เรื่อง คนไทยอ่านหนังสือ 66 นาที/วัน 151

เฉลยบทความที่ 6 เรื่อง ป่าชายหาด...ปราการที่หดหาย 156

เฉลยบทความที่ 7 เรื่อง การตัดป่าอเมซอนท�าให้เกิดความแห้งแล้งในบราซิล 162

เฉลยบทความที่ 8 เรื่อง ความเครียดของวัยรุ่นที่ควรมอง 167

������� GAT ������� (���) D4 (1-240).indd 5 26/9/2559 16:13:45

«‘∑¬æ—≤πè

μ—«Õ¬ã“ß¿“

¬„π‡≈ã¡

บทที่ 1 มาท�าความรู้จักและเข้าใจ GAT ภาษาไทยกันก่อน

GAT หรือ General Aptitude Test เป็นการทดสอบวิชาความถนัดทั่วไป ที่มีสัดส่วนของ

การค�านวณค่าน�า้หนกัเท่ากบัร้อยละ 10-50 ซึง่ค่าน�า้หนกัจะมากหรอืน้อยขึน้อยูก่บัสดัส่วนค่าน�า้หนกั

ของ PAT หรือ Professional and Academic Aptitude Test ที่มีสัดส่วนของการค�านวณค่าน�้าหนัก

เท่ากับร้อยละ 0-40 เมื่อรวมค่าน�้าหนักจาก GAT และ PAT แล้วจะไม่เกินร้อยละ 50 ของคะแนน

สอบทั้งหมด

การทดสอบระบบ Admission ในปัจจุบัน จะแบ่งคะแนนต่าง ๆ ออกเป็น 4 ส่วนหลัก ดังนี้

คะแนนเฉลี่ยสะสม รวม 6 ภาคการศึกษา (ม. 4-6) ร้อยละ 20

คะแนน O-NET ร้อยละ 30

GAT ร้อยละ 10-50

PAT ร้อยละ 0-40

หมายเหตุ: PAT เป็นการทดสอบวิชาความถนัดทางวิชาการและวิชาชีพ รวม 7 ด้าน ได้แก่ 1) ความถนัด

ทางคณิตศาสตร์ 2) ความถนัดทางวิทยาศาสตร์ 3) ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์ 4) ความถนัดทาง

สถาปัตยกรรมศาสตร์ 5) ความถนัดทางวิชาชีพครู 6) ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร์ และ 7) ความ

ถนัดทางภาษาต่างประเทศ

GAT เป็นการสอบเพื่อพิจารณาความพร้อมเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัย แบ่งออกเป็น

2 ส่วนด้วยกัน ได้แก่

ส่วนที่ 1 นักเรียนส่วนใหญ่มักเรียกกันว่า “GAT ภาษาไทย หรือ GAT เชื่อมโยง” ซึ่ง

เป็นการวัดความสามารถในการอ่านเชิงวิเคราะห์ การเขียนเชิงวิเคราะห์ การคิดเชิงวิเคราะห์ และ

การแก้ปัญหา (คะแนนเต็ม 150 คะแนน เวลาที่ใช้สอบ 90 นาที)

ส่วนที่ 2 มักเรียกกันว่า “GAT ภาษาอังกฤษ” ซึ่งเป็นการวัดความสามารถในการสื่อสาร

ด้วยภาษาอังกฤษ ประกอบด้วย การพูดและการสนทนา (speaking and conversation) ค�าศัพท์

(vocabulary) โครงสร้างและการเขียน (structure and writing) และการอ่านเพื่อท�าความเข้าใจ

(reading comprehensive) (คะแนนเต็ม 150 คะแนน เวลาที่ใช้สอบ 90 นาที) ดังสรุปเป็น

แผนภูมิต่อไปนี้ี้

เฉลยบทความที่ 9 เรื่อง แนะเลือกบริโภค ‘ไส้กรอก’ 172

เฉลยบทความที่ 10 เรื่อง 10 วิธีลดเครียด สร้างสุขวัยท�างาน 178

เฉลยบทความที่ 11 เรื่อง ท�าไมเบลเยียมจึงเป็นเป้าหมายการก่อการร้าย 184

เฉลยบทความที่ 12 เรื่อง โมเดลขับเคลื่อนเศรษฐกิจดิจิทัลไทย...ภาคเอกชน หรือภาครัฐควรเป็นแกนหลัก? 188

เฉลยบทความที่ 13 เรื่อง สังคมก้มหน้า 194

เฉลยบทความที่ 14 เรื่อง แผ่นดินไหว 198

เฉลยบทความที่ 15 เรื่อง สุขภาพ: ภัยเสี่ยงที่มาพร้อมกับโรงไฟฟ้าถ่านหิน 204

เฉลยบทความที่ 16 เรื่อง เมื่อมนุษย์เป็นซูเปอร์แมน 209

เฉลยบทความที่ 17 เรื่อง ลูกก้าวร้าว ควรรับมืออย่างไร 214

เฉลยบทความที่ 18 เรื่อง โอกาสทางธุรกิจของ SMEs ในธุรกิจรีไซเคิล 219

เฉลยบทความที่ 19 เรื่อง มารู้จักกับสะเต็มศึกษา (STEM Education) 226

เฉลยบทความที่ 20 เรื่อง ไข้ซิกา…ภัยใหม่จากยุงลายตัวเก่า 230

ตัวอย่างกระดาษค�าตอบส�าหรับฝึกท�าข้อสอบ GAT ภาษาไทย 236

������� GAT ������� (���) D4 (1-240).indd 6 26/9/2559 16:13:46

«‘∑¬æ—≤πè

μ—«Õ¬ã“ß¿“

¬„π‡≈ã¡

บทที่ 1 มาท�าความรู้จักและเข้าใจ GAT ภาษาไทยกันก่อน

GAT หรือ General Aptitude Test เป็นการทดสอบวิชาความถนัดทั่วไป ที่มีสัดส่วนของ

การค�านวณค่าน�า้หนกัเท่ากบัร้อยละ 10-50 ซึง่ค่าน�า้หนกัจะมากหรอืน้อยขึน้อยูก่บัสดัส่วนค่าน�า้หนกั

ของ PAT หรือ Professional and Academic Aptitude Test ที่มีสัดส่วนของการค�านวณค่าน�้าหนัก

เท่ากับร้อยละ 0-40 เมื่อรวมค่าน�า้หนักจาก GAT และ PAT แล้วจะไม่เกินร้อยละ 50 ของคะแนน

สอบทั้งหมด

การทดสอบระบบ Admission ในปัจจุบัน จะแบ่งคะแนนต่าง ๆ ออกเป็น 4 ส่วนหลัก ดังนี้

คะแนนเฉลี่ยสะสม รวม 6 ภาคการศึกษา (ม. 4-6) ร้อยละ 20

คะแนน O-NET ร้อยละ 30

GAT ร้อยละ 10-50

PAT ร้อยละ 0-40

หมายเหตุ: PAT เป็นการทดสอบวิชาความถนัดทางวิชาการและวิชาชีพ รวม 7 ด้าน ได้แก่ 1) ความถนัด

ทางคณิตศาสตร์ 2) ความถนัดทางวิทยาศาสตร์ 3) ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์ 4) ความถนัดทาง

สถาปัตยกรรมศาสตร์ 5) ความถนัดทางวิชาชีพครู 6) ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร์ และ 7) ความ

ถนัดทางภาษาต่างประเทศ

GAT เป็นการสอบเพื่อพิจารณาความพร้อมเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัย แบ่งออกเป็น

2 ส่วนด้วยกัน ได้แก่

ส่วนที่ 1 นักเรียนส่วนใหญ่มักเรียกกันว่า “GAT ภาษาไทย หรือ GAT เชื่อมโยง” ซึ่ง

เป็นการวัดความสามารถในการอ่านเชิงวิเคราะห์ การเขียนเชิงวิเคราะห์ การคิดเชิงวิเคราะห์ และ

การแก้ปัญหา (คะแนนเต็ม 150 คะแนน เวลาที่ใช้สอบ 90 นาที)

ส่วนที่ 2 มักเรียกกันว่า “GAT ภาษาอังกฤษ” ซึ่งเป็นการวัดความสามารถในการสื่อสาร

ด้วยภาษาอังกฤษ ประกอบด้วย การพูดและการสนทนา (speaking and conversation) ค�าศัพท์

(vocabulary) โครงสร้างและการเขียน (structure and writing) และการอ่านเพื่อท�าความเข้าใจ

(reading comprehensive) (คะแนนเต็ม 150 คะแนน เวลาที่ใช้สอบ 90 นาที) ดังสรุปเป็น

แผนภูมิต่อไปนี้ี้

������� GAT ������� (���) D4 (1-240).indd 7 26/9/2559 16:13:46

«‘∑¬æ—≤πè

μ—«Õ¬ã“ß¿“

¬„π‡≈ã¡

8 ���������������������������������������������������

วิธีการทำาข้อสอบ GAT ภาษาไทย

GAT ส่วนที่ 1 หรือ GAT ภาษาไทย จะเป็นข้อสอบที่ให้นักเรียนอ่านบทความ มีความยาว

1-2 หน้า จ�านวน 2 เรื่อง ในแต่ละบทความจะมีข้อความที่พิมพ์ด้วยอักษรตัวหนา 10 ข้อความ

ตอนท้ายของบทความจะมีตารางสรุปข้อความที่ก�าหนด ในแต่ละข้อความจะมีตัวเลขก�ากับต้ังแต่เลข

01 ถึง 10 ส�าหรับบทความที่ 1 และเลข 11 ถึง 20 ส�าหรับบทความที่ 2 ดังตัวอย่างตาราง

ต่อไปนี้

ตารางแสดงข้อความที่ก�าหนดและเลขก�ากับบทความ

การอานเชิงวิเคราะห

การคิดเชิงวิเคราะห

การแกปญหา

การสื่อสารดวยภาษาอังกฤษ

การเขียนเชิงวิเคราะห

การพูดและการสนทนา

(speaking &conversation)

โครงสรางและการเขียน

(structure &writing)

การอานเพื่อทำความเขาใจ

(readingcomprehensive)

คำศัพท(vocabulary)

สวนที่ 1GAT ภาษาไทย

(20 ขอ)สวนที่ 2

GAT ภาษาอังกฤษ(60 ขอ)

GAT

เลขกำกับ01 .....................ขอความ..........................02 .....................ขอความ..........................03 .....................ขอความ..........................04 .....................ขอความ..........................05 .....................ขอความ..........................06 .....................ขอความ..........................07 .....................ขอความ..........................ขอที่ คำตอบที่ 1

ขอความที่กำหนด ที่วางสำหรับรางรหัสคำตอบ

คำตอบที่ 2 คำตอบที่ 3 คำตอบที่ 4

������� GAT ������� (���) D4 (1-240).indd 8 26/9/2559 16:13:47

«‘∑¬æ—≤πè

μ—«Õ¬ã“ß¿“

¬„π‡≈ã¡

9���������������������������������������������������

เลขกำกับ08 .....................ขอความ..........................09 .....................ขอความ..........................

10 .....................ขอความ..........................

ขอความที่กำหนด ที่วางสำหรับรางรหัสคำตอบ

ขอที่ คำตอบที่ 1 คำตอบที่ 2 คำตอบที่ 3 คำตอบที่ 4

นักเรียนต้องสรุปความเชื่อมโยงของข้อความที่ก�าหนดแต่ละข้อความกับข้อความอื่น ๆ ให้

สอดคล้องกับเนื้อหาของบทความ (ในแต่ละข้ออาจมีมากกว่า 1 รหัสค�าตอบ) และให้เป็นไปตาม

เกณฑ์ที่ก�าหนด ซึ่งประกอบด้วย 4 เกณฑ์ ดังนี้

เกณฑ์ที่ 1 ถ้าข้อความที่ก�าหนด มีข้อความอื่นเป็น “ผลโดยตรง” หรือ “เกิดขึ้นในล�าดับ

ถัดมา” ให้ระบายตัวเลข 2 หลัก ได้แก่ 01, 02, 03, ..., 18, 19, 20 ที่อยู่ในข้อความที่เป็น

ผลโดยตรงหรือเกิดขึ้นในล�าดับถัดมา แล้วตามด้วยตัวอักษร A A

เกณฑ์ที่ 2 ถ้าข้อความที่ก�าหนด มีข้อความอื่นเป็น “ส่วนประกอบ องค์ประกอบ หรือ

ความหมาย” ให้ระบายตัวเลข 2 หลัก ได้แก่ 01, 02, 03, ..., 18, 19, 20 ที่อยู่ในข้อความที่

เป็นส่วนประกอบ องค์ประกอบ หรือความหมาย แล้วตามด้วยตัวอักษร D D

เกณฑ์ที่ 3 ถ้าข้อความที่ก�าหนด มีผลท�าให้ข้อความอื่นถูก “ลด ยับยั้ง ป้องกัน ห้าม

หรือ ขัดขวาง” ให้ระบายตัวเลข 2 หลัก ได้แก่ 01, 02, 03, ..., 18, 19, 20 ที่อยู่ในข้อความ

ที่ลด ยับยั้ง ป้องกัน ห้าม หรือขัดขวาง แล้วตามด้วยตัวอักษร F F

เกณฑ์ที่ 4 ถ้าข้อความที่ก�าหนด “ไม่มีข้อความอื่น” ที่เป็นผลโดยตรงหรือที่เกิดข้ึนใน

ล�าดับถัดมา หรือเป็นส่วนประกอบ องค์ประกอบ หรือความหมาย หรือถูกลด ยับยั้ง ป้องกัน ห้าม

หรือขัดขวาง ให้ระบายค�าตอบเป็นตัวเลข 99 แล้วตามด้วยตัวอักษร H H

������� GAT ������� (���) D4 (1-240).indd 9 26/9/2559 16:13:47

«‘∑¬æ—≤πè

μ—«Õ¬ã“ß¿“

¬„π‡≈ã¡

10 ���������������������������������������������������

ทั้งนี้ ขอให้นักเรียนพิจารณาตารางสรุปข้อความที่ก�าหนดต่อไปนี้

จากรหัสค�าตอบที่เขียนไว้ในตารางข้างต้น ให้นักเรียนน�าไประบายค�าตอบในกระดาษค�าตอบ

โดยการระบายค�าตอบที่เป็นตัวเลขและตัวอักษรในกระดาษค�าตอบต้องใช้ดินสอด�า 2B ขึ้นไป ระบาย

ค�าตอบในตัวเลือกให้เข้มเต็มวงกลมเท่านั้น ( ) หากระบายผิดหรือต้องการแก้ไขให้ลบด้วยยางลบ

ดินสอให้สะอาดที่สุด แล้วระบายค�าตอบใหม่

ทั้งนี้ นักเรียนจะเห็นว่าตารางสรุปข้อความและค�าตอบข้างต้นแต่ละข้อจะเป็นแนวนอน แต่

ในกระดาษค�าตอบจริงจะเป็นแนวตั้ง ส�าหรับวิธีระบายค�าตอบมีดังนี้

1) ข้อใดมีค�าตอบเพียง 1 ค�าตอบ ให้ระบายในช่องค�าตอบที่ 1 เท่านั้น ที่เหลือเว้นไว้

2) ข้อใดมีค�าตอบ 2 ค�าตอบ ให้ระบายในช่องค�าตอบที่ 1 และช่องค�าตอบที่ 2 ที่เหลือ

เว้นไว้

3) ข้อใดมีค�าตอบ 3 ค�าตอบ ให้ระบายในช่องค�าตอบที่ 1, 2, และ 3 ที่เหลือเว้นไว้

และ

4) ข้อใดมีค�าตอบ 4 ค�าตอบ ให้ระบายในช่องค�าตอบทั้ง 4 ช่อง (ดูหน้า 11)

H ข้อที่มีค�าตอบมากกว่า 1 ค�าตอบ นักเรียนควรเขียนรหัสค�าตอบเรียงล�าดับตามเลข

ก�ากับจากน้อยไปมาก เพื่อให้เป็นระบบและง่ายต่อความเข้าใจ ทั้งนี้ เท่าที่ผ่านมาทาง สทศ. ไม่ได้

ระบใุห้เขยีนเรยีงล�าดบัแต่อย่างใด อย่างไรกต็าม นกัเรยีนจะต้องอ่านค�าแนะน�าในการท�าข้อสอบอย่าง

ละเอียดก่อนลงมือท�าข้อสอบทุกครั้ง

เลขกำกับ01 06A 07A 09A

99H

05A

10A

01A

99H

99H

99H

06A

02A 03A

07A 09A

06F 07F 08F 09F

การกักตุนอาหาร02 ตนทุนการผลิตสินคาสูงขึ้น03 ปลูกพืชทดแทนน้ำมัน

04 ปญหาหนี้เสียของธุรกิจอสังหาริมทรัพยในสหรัฐฯ

05 พื้นที่การเกษตรและผลผลิตอาหารลดลง

06 ราคาขาวโพดสูงขึ้น07 ราคาขาวสูงขึ้น08 ราคาน้ำมันพุงสูงขึ้น09 ราคามันสำปะหลังสูงขึ้น

10 เศรษฐกิจโลกถดถอย

ขอความที่กำหนด ที่วางสำหรับรางรหัสคำตอบ

เลขกำกับขอที่ 01-10 หมายถึงขอ 1-10 คำตอบที่ 1 คำตอบที่ 2 คำตอบที่ 3 คำตอบที่ 4

������� GAT ������� (���) D8 (1-240).indd 10 30/9/2559 16:15:38 dummy 8

«‘∑¬æ—≤πè

μ—«Õ¬ã“ß¿“

¬„π‡≈ã¡

11���������������������������������������������������

ตัวอย่างกระดาษค�าตอบและการระบายค�าตอบ GAT ภาษาไทย

คำตอบที่ 1

ขอที่ 10

คำตอบที่ 106F

คำตอบที่ 207F

คำตอบที่ 308F

คำตอบที่ 409F

ขอที่ 2ตอบ 99H

ขอที่1-10

คำตอบที่ 2

คำตอบที่ 3

คำตอบที่ 4

ส�ำหรบัแบบฟอร์มกระดำษค�ำตอบเปล่ำนกัเรยีนสำมำรถถ่ำยเอกสำรจำกท้ำยหนงัสอื

เล่มนี้เพื่อใช้ในกำรฝึกระบำยค�ำตอบ

������� GAT ������� (���) D8 (1-240).indd 11 30/9/2559 16:15:38 dummy 8

«‘∑¬æ—≤πè

μ—«Õ¬ã“ß¿“

¬„π‡≈ã¡

12 ���������������������������������������������������

เมื่อระบายค�าตอบเสร็จเรียบร้อยแล้ว ให้น�าข้อความพร้อมหมายเลขก�ากับที่สรุปไว้ในตาราง

ข้างต้นมาร่างเป็นแผนภูมิเพื่อแสดงความเชื่อมโยงสัมพันธ์ตามบทความ โดยใช้สัญลักษณ์ 3 แบบ

ดังนี้

เส้นที่มีหัวลูกศร (เส้น A) หัวลูกศรจะชี้ไปหาข้อความที่เป็นผล ส่วนปลายของเส้นจะชี้ไป

หาข้อความที่เป็นเหตุ

ให้จำ�ว�่เส้น A ม�จ�กคำ�ว่� Achieve ที่แปลว�่ บรรลุผล สัมฤทธิผล ประสบผล

ตัวอย่างประโยคแบบที่ 1

ประโยคที่ 1 เด็กชอบวิ่งกลางแดดจึงท�าให้ไม่สบาย (ผลโดยตรง)

ประโยคที่ 2 คุณพ่อไม่ว่างไปกับคุณแม่ ดังนั้นคุณแม่ต้องไปคนเดียว (ผลโดยตรง)

เด็กชอบวิ่งกลางแดดจึงทำให ไมสบาย

เหตุ

เด็กชอบวิ่งกลางแดด ทำใหไมสบายจึง

คำเช�อม ผล

คุณพอไมวางไปกับคุณแม ดังนั้นคุณแมตองไปคนเดียว

เหตุ

คุณพอไมวางไปกับคุณแม คุณแมตองไปคนเดียวดังนั้น

คำเช�อม ผล

������� GAT ������� (���) D5 (1-240).indd 12 30/9/2559 14:30:38 dummy 7

«‘∑¬æ—≤πè

μ—«Õ¬ã“ß¿“

¬„π‡≈ã¡

13���������������������������������������������������

ประโยคที่ 3 เธอท�างานเก่งส่งผลให้เงินเดือนของเธอสูงมาก (ผลโดยตรง)

ประโยคที่ 4 รถติดเพราะฝนตก (เกิดขึ้นในล�าดับถัดมา)

ประโยคที่ 5 เขาไม่มีเพื่อนเพราะว่าเขาเห็นแก่ตัวมากเกินไป (เกิดขึ้นในล�าดับถัดมา)

ประโยคที่ 6 ความสูญเสียเป็นผลมาจากความประมาท (เกิดขึ้นในล�าดับถัดมา)

ก�รเขียนเส้น A หัวลูกศรจะชี้ไปห� “ผล” เสมอ

เธอทำงานเกงสงผลใหเงินเดือนของเธอสูงมาก

เหตุ

เธอทำงานเกง เงินเดือนของเธอสูงมากสงผลให

คำเช�อม ผล

รถติดเพราะฝนตก

ผล

รถติด ฝนตกเพราะ

คำเช�อม เหตุ

เขาไมมีเพ�อนเพราะวาเขาเห็นแกตัวมากเกินไป

ผล

เขาไมมีเพ�อน เขาเห็นแกตัวมากเกินไปเพราะวา

คำเช�อม เหตุ

ความสูญเสียเปนผลมาจากความประมาท

ผล

ความสูญเสีย ความประมาทเปนผลมาจาก

คำเชอม เหตุ

������� GAT ������� (���) D5 (1-240).indd 13 30/9/2559 14:30:39 dummy 7

«‘∑¬æ—≤πè

μ—«Õ¬ã“ß¿“

¬„π‡≈ã¡

14 ���������������������������������������������������

แบบที่ 2 เสนที่ไมมีหัวลูกศร ( ) ชี้จากขอความที่กำหนดไปยังขอความที่เปน “สวนประกอบ องคประกอบ หรือความหมาย”

เส้นที่ไม่มีหัวลูกศร (เส้น D) จะโยงไปหาข้อความที่เป็นส่วนประกอบ/องค์ประกอบ ตัวอย่าง

หรือความหมายของข้อความ

ให้จ�าว่าเส้น D มาจากค�าว่า Discriminate ที่แปลว่า จ�าแนก แยกแยะ แบ่งแยก

ตัวอย่างประโยคแบบที่ 2

ข้อความที่เป็นส่วนประกอบ/องค์ประกอบ เช่น รัฐ ประกอบด้วยองค์ประกอบส�าคัญ

4 ประการ คือ ประชากร ดินแดน อ�านาจอธิปไตย และรัฐบาล

ข้อความที่เป็นส่วนประกอบ/องค์ประกอบ เช่น เมตตา กรุณา มุทิตา และอุเบกขา

เป็นหลักปฏิบัติ 4 ประการของพรหมวิหาร 4

ประชากร

รัฐ อำนาจอธิปไตยดินแดน

รัฐบาล

เมตตา

พรหมวิหาร 4 กรุณาอุเบกขา

มุทิตา

������� GAT ������� (���) D4 (1-240).indd 14 26/9/2559 16:13:50

«‘∑¬æ—≤πè

μ—«Õ¬ã“ß¿“

¬„π‡≈ã¡

15���������������������������������������������������

ข้อความที่เป็นตัวอย่าง เช่น ในประเทศไทยเราสามารถแบ่งประเภทของป่าออกได้เป็น

2 ประเภทด้วยกัน ได้แก่ ป่าไม่ผลัดใบ (evergreen forest) และป่าผลัดใบ (deciduous forest)

ข้อความที่เป็นตัวอย่าง เช่น บริษัทมหาชนจ�ากัดด้านสถาบันการเงินที่ส�าคัญ เช่น

ธนาคารกรุงเทพ ธนาคารไทยพาณิชย์ ธนาคารกสิกรไทย

ข้อความที่เป็นความหมาย เช่น ทะเล เป็นแหล่งน�้าเค็มขนาดใหญ่ที่ล้อมรอบด้วย

พื้นดินทั้งหมดหรือบางส่วน เมื่อกล่าวถึงกว้าง ๆ ทะเล คือ ระบบที่เชื่อมกันระหว่างผืนน�้ามหาสมุทร

น�้าเค็มบนโลก ถือเป็นมหาสมุทรโลก

ข้อความที่เป็นความหมาย เช่น ครูคือผู้สร้างโลก เป็นผู้จุดดวงประทีปทางปัญญา

และเป็นผู้เติมเต็มความรู้แก่ศิษย์

ปาในประเทศไทยปาไมผลัดใบ(evergreen forest)

ปาผลัดใบ(deciduous forest)

บริษัทมหาชนจำกัด

ธนาคารไทยพาณิชย

ธนาคารกสิกรไทยธนาคารกรุงเทพ

ทะเล

ระบบที่เช�อมกันระหวางผืนน้ำมหาสมุทร

น้ำเค็มบนโลก

แหลงน้ำเค็มขนาดใหญที่ลอมรอบดวยพื้นดิน

ครู ผูเติมเต็มความรูแกศิษย

ผูจุดดวงประทีปทางปญญา

ผูสรางโลก

������� GAT ������� (���) D5 (1-240).indd 15 28/9/2559 15:41:13 dummy 5

«‘∑¬æ—≤πè

μ—«Õ¬ã“ß¿“

¬„π‡≈ã¡

16 ���������������������������������������������������

เส้นที่มีหัวลูกศรและกากบาท (เส้น F) หัวลูกศรจะชี้ไปหาข้อความที่เป็นผล ส่วนปลาย

ของเส้นจะชี้ไปหาข้อความที่เป็นเหตุ แต่ผลของข้อความถูกยับยั้ง ป้องกัน บรรเทา ขัดขวาง ลด

ห้าม ด้วยเหตุของข้อความ

ให้จ�าว่าเส้น F มาจากค�าว่า Forbid ที่แปลว่า ห้าม ขัดขวาง ป้องกัน ยับยั้ง

ตัวอย่างประโยคแบบที่ 3

ประโยคที่ 1 การออกก�าลังกายตอนเช้าช่วยบรรเทาอาการปวดหัวของฉันได้

ประโยคที่ 2 การทาครีมที่มีสาร SPF จะปกป้องผิวคล�้าเสียจากแสงแดด

ประโยคที่ 3 ความทุกข์ใจจากการพลัดพรากบั่นทอนความสุขจนหมดสิ้น

การออกกำลังกายตอนเชาชวยบรรเทาอาการปวดหัวของฉันได

เหตุ

การออกกำลังกายตอนเชา อาการปวดหัวของฉันไดชวยบรรเทา

การยับยั้ง ปองกัน บรรเทา ฯลฯ ผล

X

การทาครีมที่มีสาร SPF จะปกปองผิวคล้ำเสียจากแสงแดด

เหตุ

การทาครีมที่มีสาร SPF ผิวคล้ำเสียจากแสงแดดจะปกปอง

การยับยั้ง ปองกัน บรรเทา ฯลฯ ผล

X

ความทุกข ใจจากการพลัดพรากบั่นทอนความสุขจนหมดสิ้น

เหตุ

ความทุกขใจจากการพลัดพราก

ความสุขจนหมดสิ้นบั่นทอน

การยับยั้ง ปองกัน บรรเทา ฯลฯ ผล

X

������� GAT ������� (���) D4 (1-240).indd 16 26/9/2559 16:13:52

«‘∑¬æ—≤πè

μ—«Õ¬ã“ß¿“

¬„π‡≈ã¡

17���������������������������������������������������

ประโยคที่ 4 ไวรัสคอมพิวเตอร์ถูกยับยั้งไม่ให้แฝงตัวมากับการดาวน์โหลดข้อมูลด้วย

ซอฟต์แวร์แอนติไวรัส

ประโยคที่ 5 ความอ้วนลดได้ด้วยการรับประทานผักและผลไม้

ประโยคที่ 6 ทัศนียภาพยามเช้าถูกบดบังด้วยหมอกหนาทึบ

การเขียนเส้น F หัวลูกศรจะชี้ไปหา “ผล” เสมอ (เหมือนเส้น A) และต้องมี เครื่องหมายกากบาท (X) ทับบนเส้นของลูกศรด้วย

ส�าหรับเนื้อหาของบทความในการสอบ GAT ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2552 เป็นต้นมา โดยมากเป็น

บทความท่ีมีเนื้อหาเกี่ยวกับพระราชด�ารัส เทคโนโลยี พลังงาน การคมนาคม การศึกษา การ

ท่องเที่ยว สิ่งแวดล้อม ภัยธรรมชาติ การต่างประเทศ การเกษตร สัตว์โลก เศรษฐกิจ กฎหมาย

สังคม สุขภาพ อาหาร และจิตวิทยา

ไวรัสคอมพิวเตอรถูกยับยั้งไมใหแฝงตัวมากับการดาวน โหลดขอมูลดวยซอฟตแวรแอนติไวรัส

ผล

ไวรัสคอมพิวเตอร ซอฟตแวรแอนติไวรัสถูกยับยั้ง...ดวย

การยับยั้ง ปองกัน บรรเทา ฯลฯ เหตุ

X

ความอวนลดไดดวยการรับประทานผักและผลไม

ผล

ความอวน การรับประทานผักและผลไมลดไดดวย

การยับยั้ง ปองกัน บรรเทา ฯลฯ เหตุ

X

ทัศนียภาพยามเชาถูกบดบังดวยหมอกหนาทึบ

ผล

ทัศนียภาพยามเชา หมอกหนาทึบถูกบดบังดวย

การยับยั้ง ปองกัน บรรเทา ฯลฯ เหตุ

X

������� GAT ������� (���) D4 (1-240).indd 17 26/9/2559 16:13:52

«‘∑¬æ—≤πè

μ—«Õ¬ã“ß¿“

¬„π‡≈ã¡

18 ���������������������������������������������������

ตัวอย่างแผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงสัมพันธ์

ทั้งนี้ สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) ก�าหนดคุณสมบัติส�าหรับ

ผู้สมัครสอบไว้ว่าต้องเป็นผู้ที่ก�าลังศึกษาอยู่ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 หรือเทียบเท่าระดับชั้น

มัธยมศึกษาปีที่ 6 หรือผู้ที่จบการศึกษาระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 หรือเทียบเท่าขึ้นไป ในแต่ละปี

จะรับสมัครสอบเพียง 2 ครั้ง โดยครั้งที่ 1 จะอยู่ในช่วงเดือนสิงหาคม และครั้งที่ 2 จะอยู่ในช่วง

เดือนธันวาคม ซึ่งจะมีค่าสมัครสอบ 140 บาท (ไม่รวมค่าธรรมเนียม 10 บาทของผู้รับบริการช�าระ

เงิน ได้แก่ เคาน์เตอร์ธนาคารกรุงไทย และเคาน์เตอร์เซอร์วิสทุกสาขา) ทั้งนี้ นักเรียนสามารถ

ติดตามข่าวประกาศการรับสมัครเพิ่มเติมได้จากเว็บไซต์ของสถาบันฯ โดยตรง (www.niets.or.th)

หรือในกรณีที่มีปัญหาในการด�าเนินการใด ๆ สามารถติดต่อได้ทางหมายเลขโทรศัพท์ 0 2217 3800

กด 0 ทุกวันท�าการ ตั้งแต่เวลา 08.30-18.00 น. และวันหยุดท�าการ ตั้งแต่เวลา 08.30-16.00 น.

(เปิดให้บริการเฉพาะช่วงเวลาการรบัสมคัรสอบเท่านัน้) หรอืตดิต่อด้วยตนเอง ณ อาคารพญาไทพลาซ่า

ชั้น 36 ในวันและเวลาเดียวกัน

XX X X

ปญหาหนี้เสียของธุรกิจอสังหาริมทรัพย ในสหรัฐฯ

เศรษฐกิจโลกถดถอย

ราคาขาวโพดสูงขึ้น ราคาขาวสูงขึ้น ราคาน้ำมันพุงสูงขึ้น ราคามันสำปะหลังสูงขึ้น

ตนทุนการผลิตสินคาสูงขึ้น

ปลูกพืชทดแทนน้ำมัน

พื้นที่การเกษตรและผลผลิตอาหารลดลง

การกักตุนอาหาร

A

F

A A A A

A

A

A

F F F

04

10

06 07 08

02 03

05

01

09

บทที่ 2 ความรู้เสริมเพิ่มความมั่นใจ พิชิตข้อสอบ GAT ภาษาไทย

นักเรียนคงทราบกันเป็นอย่างดีแล้วว่าการทดสอบวิชาความถนัดทั่วไปในส่วนที่ 1 หรือ GAT

ภาษาไทย มีวัตถุประสงค์เพื่อวัดความสามารถในการอ่านเชิงวิเคราะห์ การเขียนเชิงวิเคราะห์ การ

คิดวิเคราะห์ และการแก้ปัญหา โดยสรุปเป็นแผนภูมิเชื่อมโยงสัมพันธ์กันอย่างเป็นระบบ ดังนั้น

นักเรียนจึงควรท�าความเข้าใจเนื้อหาพื้นฐานส�าคัญ 3 ประการให้ถ่องแท้เสียก่อนเพื่อน�าไปใช้เป็น

ความรู้เสริมเพื่อพิชิตข้อสอบ GAT ภาษาไทยให้ได้คะแนนเต็ม 150 คะแนน

1) ค�าเชื่อม

2) การอ่านจับใจความ

3) ผังมโนภาพ

รายละเอียดของแต่ละเนื้อหามีดังนี้

คำาเชื่อม

ค�าเชือ่มเป็นค�าทีใ่ช้เชือ่มค�า วล ีหรอืประโยคเข้าด้วยกนั โดยทัว่ไปมกัหมายถงึเฉพาะค�าบพุบท

และค�าสันธาน

ค�าบุพบท เป็นค�าที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างค�าหรือประโยค เพื่อให้ทราบว่าค�าหรือประโยค

ที่อยู่หลังบุพบทนั้นมีหน้าที่เกี่ยวข้องกับค�าหรือประโยคที่อยู่ก่อนหน้าอย่างไร ค�าบุพบทจะท�าหน้าทีส่�าคัญ

5 ประการ ดังนี้

ประการที่ 1 นำหนาคำนาม เชน รถยนตของพี่ชายสวยมาก เธออยูในบาน

ประการที่ 2 นำหนาคำสรรพนาม เชน ฉันคิดถึงคุณมาก ผมจะอยูกับทาน

ประการที่ 4 นำหนาคำวิเศษณ เชน กรุณาเดินมาโดยเร็ว เธอควรพูดทุกอยางตามจริง

ประการที่ 3

ประการที่ 5 นำหนาประโยค เชน ฉันตื่นตั้งแตแมทำอาหาร เจานายมอบรางวัลเฉพาะคนทำงานดี

นำหนาคำกริยา เชน นองพยายามจนกระท่ังทำสำเร็จ คุณพอชงกาแฟสำหรับด่ืมตอนบาย

������� GAT ������� (���) D4 (1-240).indd 18 26/9/2559 16:13:53

«‘∑¬æ—≤πè

μ—«Õ¬ã“ß¿“

¬„π‡≈ã¡

บทที่ 2 ความรู้เสริมเพิ่มความมั่นใจ พิชิตข้อสอบ GAT ภาษาไทย

นักเรียนคงทราบกันเป็นอย่างดีแล้วว่าการทดสอบวิชาความถนัดทั่วไปในส่วนที่ 1 หรือ GAT

ภาษาไทย มีวัตถุประสงค์เพื่อวัดความสามารถในการอ่านเชิงวิเคราะห์ การเขียนเชิงวิเคราะห์ การ

คิดวิเคราะห์ และการแก้ปัญหา โดยสรุปเป็นแผนภูมิเชื่อมโยงสัมพันธ์กันอย่างเป็นระบบ ดังนั้น

นักเรียนจึงควรท�าความเข้าใจเนื้อหาพื้นฐานส�าคัญ 3 ประการให้ถ่องแท้เสียก่อนเพื่อน�าไปใช้เป็น

ความรู้เสริมเพื่อพิชิตข้อสอบ GAT ภาษาไทยให้ได้คะแนนเต็ม 150 คะแนน

1) ค�าเชื่อม

2) การอ่านจับใจความ

3) ผังมโนภาพ

รายละเอียดของแต่ละเนื้อหามีดังนี้

คำาเชื่อม

ค�าเชือ่มเป็นค�าท่ีใช้เชือ่มค�า วล ีหรอืประโยคเข้าด้วยกนั โดยทัว่ไปมกัหมายถงึเฉพาะค�าบพุบท

และค�าสันธาน

ค�าบุพบท เป็นค�าที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างค�าหรือประโยค เพื่อให้ทราบว่าค�าหรือประโยค

ที่อยู่หลังบุพบทนั้นมีหน้าที่เกี่ยวข้องกับค�าหรือประโยคที่อยู่ก่อนหน้าอย่างไร ค�าบุพบทจะท�าหน้าทีส่�าคัญ

5 ประการ ดังนี้

ประการที่ 1 นำหนาคำนาม เชน รถยนตของพี่ชายสวยมาก เธออยูในบาน

ประการที่ 2 นำหนาคำสรรพนาม เชน ฉันคิดถึงคุณมาก ผมจะอยูกับทาน

ประการที่ 4 นำหนาคำวิเศษณ เชน กรุณาเดินมาโดยเร็ว เธอควรพูดทุกอยางตามจริง

ประการที่ 3

ประการที่ 5 นำหนาประโยค เชน ฉันตื่นตั้งแตแมทำอาหาร เจานายมอบรางวัลเฉพาะคนทำงานดี

นำหนาคำกริยา เชน นองพยายามจนกระท่ังทำสำเร็จ คุณพอชงกาแฟสำหรับด่ืมตอนบาย

������� GAT ������� (���) D4 (1-240).indd 19 26/9/2559 16:13:53

«‘∑¬æ—≤πè

μ—«Õ¬ã“ß¿“

¬„π‡≈ã¡

20 ������2���������ส�ิ��พิ�������������พิชิต���ส��������������

ข้อสังเกตอย่างหนึ่งคือ ค�าบุพบทบางค�ามีรูปเดียวกับค�าวิเศษณ์ แต่วิธีการใช้ต่างกันตรงที่

ค�าบุพบทต้องมีค�าตามอยู่ข้างหลัง จะใช้ตามล�าพังเหมือนค�าวิเศษณ์ไม่ได้ เช่น

• แมวนอนอยู่บนเตียง (บุพบท)

• แมวนอนอยู่บน (วิเศษณ์)

• เขาเดินมาใกลฉ้ัน (บุพบท)

• เขาเดินมาใกล ้ (วิเศษณ์)

ค�าสันธาน เป็นค�าที่ใช้เชื่อมค�ากับค�า ประโยคกับประโยค ข้อความกับข้อความ หรือเชื่อม

ความให้สละสลวย ตัวอย่างเช่น

• พ่อ แม่ และฉันไปเที่ยวต่างประเทศ (เชื่อมค�ากับค�า)

• พี่ชอบอ่านหนังสือ แต่น้องชอบดูทีวี (เชื่อมประโยคกับประโยค)

• การเรียนภาษาต่างประเทศก็มีความส�าคัญอย่างยิ่ง ผู้ที่ใช้ภาษาได้ดีย่อมท�าให้การ

สื่อสารประสบความส�าเร็จ ดังนั้นการเตรียมความพร้อมให้ผู้เรียนมีทักษะการใช้

ภาษาไทยและภาษาอังกฤษควบคู่กันอย่างมีประสิทธิภาพเป็นสิ่งส�าคัญและจ�าเป็น

อย่างยิ่ง (เชื่อมข้อความกับข้อความ)

• อย่างไรกต็าม นกัเรยีนควรมคีวามรูท้ัว่ไปและวฒันธรรมของประเทศในกลุม่สมาชกิ

อาเซียน (เชื่อมความให้สละสลวย)

ค�าสันธานจะท�าหน้าที่ส�าคัญ 3 ประการ ดังนี้

ประการที่ 1 เชื่อมให้เป็นประโยคความรวม ได้แก่

• เนื้อความคล้อยตามกัน เช่น เขากวาดบ้านและถูพื้น ถ้าเขามา ฉันก็จะไป

• เนื้อความขัดแย้งกัน เช่น ผมตั้งใจท�างานแต่ไม่รวย ถึงคุณเป็นเจ้านาย เธอก็ไม่สนใจ

• เนื้อความเป็นเหตุเป็นผลกัน เช่น เพราะเขาหมดแรง เขาจึงเดินไปไม่ถึง

• เนื้อความเลือกเอาอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น น้องจะนอนหรือน้องจะกิน เธอต้อง

ท�าตัวดี ๆ มิฉะนั้นจะไม่ได้รถคันใหม่

เนื้อความในประโยคความรวม คำสันธานที่ควรรูจักเนื้อความคลอยตามกัน ก็ ก็คือ ก็ดี ก็ได กับ ครั้น...ก็ ครั้น...จึง คือ จึง เชน

ทั้ง ทั้ง...ก็ ทั้ง...กับ ทั้ง...และ เทากับ พอ...ก็ เมื่อ...ก็ และ วา ให

เนื้อความเปนเหตุเปนผลกัน คาที่ จึง ฉะนั้น ฉะนั้น...จึง ฉะนี้ ดวย ดวยวา ดวยเหตุนี้ ดังนั้น เพราะ เพราะฉะนั้น เพราะวา เหตุฉะนี้ เหตุเพราะ เหตุวา

เนื้อความขัดแยงกัน กวา...ก็ แต แตทวา ถึง...ก็

เนื้อความเลือกเอาอยางใดอยางหนึ่ง มิฉะนั้น ไมก็ ไมเชนนั้น หรือ หรือมิฉะนั้น

������� GAT ������� (���) D4 (1-240).indd 20 26/9/2559 16:13:54

«‘∑¬æ—≤πè

μ—«Õ¬ã“ß¿“

¬„π‡≈ã¡

21������2���������ส�ิ��พิ�������������พิชิต���ส��������������

ค�าสันธานที่ใช้ในเนื้อความเป็นเหตุเป็นผลกันจะใช้กับเส้น A เป็นส่วนใหญ่

ประการที่ 2 เชื่อมให้เป็นประโยคความซ้อน ได้แก่

• เนื้อความแสดงลักษณะอาการ เช่น แม่พูดว่าน้องเรียนเก่งมาก เขาบอกให้ฉัน

อยู่เฉย ๆ

• เนื้อความแสดงประมาณ เช่น เขาพูดมากจนลิงหลับ ชาวบ้านเดินทางมาตลอดจน

เจ้าหน้าที่ก็เดินทางมาด้วย

• เนื้อความแสดงเวลา เช่น คุณพ่อเก็บอาหารแช่แข็งจนหลายวันผ่านไป เขาตื่นเมื่อ

นาฬิกาตี 5 ที

• เนื้อความแสดงเหตุ เช่น รถติดเพราะฝนตก เธอท�าของหายเพราะว่าเธอไม่ใส่ใจ

• เนื้อความแสดงผล เช่น ครูดุจนนักเรียนกลัว อากาศหนาวจนมือแข็ง

• เนื้อความแสดงการเปรียบเทียบ เช่น เธอเดินงดงามราวกับพญาหงส์เหิน พี่สูงกว่าน้อง

ประการที่ 3 เชื่อมให้เนื้อความเด่นชัด ได้แก่

• เนื้อความคนละตอนเชื่อมประสานกัน เช่น การกระท�าของเขาน่ายกย่องเป็นอย่าง

ยิ่ง อนึ่ง การกระท�าของเธอก็น่ายกย่องเช่นกัน

• เนื้อความเชื่อมกันอย่างสละสลวย เช่น อย่างไรก็ดี ฉันไม่เห็นด้วยกับค�ากล่าวของ

คุณ อันว่าความกรุณาปรานี จะมีใครบังคับก็หาไม่

ค�าเชื่อมเสริม เป็นค�าเชื่อมที่เพิ่มขึ้นเพื่อแสดงความสัมพันธ์ระหว่างค�า วลี หรือประโยคให้

ชัดเจนมากยิ่งขึ้น ได้แก่ ก็ ถึง จึง เลย ตัวอย่างเช่น

• ฉันก็อยากรู้เรื่องนั้นเหมือนกันนี่นา

• ท�าไมเย็นป่านนีถ้ึงยังไม่อาบน�้า

• เหตุใดจึงมานั่งอยู่คนเดียว

• พอท�างานหนักขึ้น เขาเลยมีรายได้เพิ่มมาก

การอ่านจับใจความ

การอ่านจับใจความเป็นการอ่านเพื่อเก็บใจความและเพื่อท�าความเข้าใจเรื่องที่อ่าน นักเรียน

ต้องมีความรู้เกี่ยวกับค�าศัพท์ สามารถเข้าใจเรื่องราวที่ได้อ่านโดยตลอด และพอจะเก็บใจความได้ว่า

เรื่องที่อ่านมีเนื้อหาเรื่องราวหรือมีความสัมพันธ์กันอย่างไร ควรใช้วิธีการอ่านในใจ จะช่วยให้เข้าใจ

เนื้อหาได้เร็วกว่าวิธีการอ่านออกเสียง เพราะไม่ต้องแบ่งสมองไว้แปลความคิดออกมาเป็นเสียง เมื่อ

ไม่เข้าใจความหมายใดก็ย้อนกลับไปอ่านอีกได้

ในการอ่านจับใจความ นักเรียนควรเริ่มต้นหาประโยคใจความส�าคัญและประโยคสนับสนุน

ก่อน พิจารณาว่าข้อความใดเป็นข้อเท็จจริง ข้อความใดเป็นข้อคิดเห็น ส่วนใดเป็นข้อความที่เป็น

������� GAT ������� (���) D4 (1-240).indd 21 26/9/2559 16:13:54

«‘∑¬æ—≤πè

μ—«Õ¬ã“ß¿“

¬„π‡≈ã¡

22 ������2���������ส�ิ��พิ�������������พิชิต���ส��������������

พลความ แล้วน�าข้อมูลนั้นมาประมวลเพื่อให้ได้ใจความส�าคัญของเรื่องก่อนน�าไปใช้ประโยชน์ต่อไป

ซึ่งต้องเข้าใจความหมายของค�าเหล่านี้เป็นล�าดับแรก ได้แก่

ประโยคใจความส�าคัญ (main idea) หรือประโยคหัวเรื่อง (topic sentence) การ

ย่อหน้าท่ีถูกต้องตามหลักการจะมีใจความส�าคัญเพียงประการเดียวเท่านั้น ประโยคใจความส�าคัญ

หมายถึง ข้อความหรือประโยคส�าคัญที่ครอบคลุมเนื้อหาสาระของย่อหน้านั้น ๆ เป็นสิ่งที่ผู้เขียนมุ่ง

เสนอเพื่อแสดงความรู้ ข้อเท็จจริง ความคิดเห็น ประสบการณ์ต่อผู้อ่านโดยตรง

ประโยคสนับสนุน (supporting sentence) คือ ข้อความหรือประโยคที่อธิบาย ขยาย

ความ หรือให้รายละเอียดเกี่ยวกับประโยคใจความส�าคัญ เพื่อให้มีใจความชัดเจนขึ้น เป็นส่วนส�าคัญ

ที่ท�าให้ผู้อ่านเข้าใจความคิดของผู้เขียนอย่างแจ่มแจ้ง ตามปกติประโยคสนับสนุนจะมีจ�านวนมากกว่า

ประโยคใจความส�าคัญ แต่จะมีจ�านวนเท่าใดขึ้นอยู่กับเนื้อหาของเรื่อง ความรู้และประสบการณ์ของ

ผู้เขียนแต่ละคนเป็นส�าคัญ

พลความ (อ่านว่า /พน-ละ-ความ/) (unimportant matter) คือ ข้อความที่มีความส�าคัญ

น้อยกว่าใจความส�าคญั หากตดัออกจากงานเขยีนหรอืบทความ กจ็ะไม่ท�าให้เนือ้หาสาระเปลีย่นแปลง

ไปมากเท่าไรนัก

ข้อเท็จจริง (fact) คือ ข้อความหรือเหตุการณ์ที่เป็นมาหรือที่เป็นอยู่ตามสภาพจริง เป็น

เรื่องราวเหตุการณ์ของบุคคลหรือสิ่งใดสิ่งหนึ่งตามธรรมชาติหรือความเป็นจริง มีหลักฐานเชื่อถือได้

มีความสมเหตุสมผล เช่น ท�าอะไร อยู่ในสภาพอย่างไร ที่ไหน เมื่อไร มีปริมาณหรือขนาดเท่าใด

หรือมีลักษณะอย่างไร โดยข้อเท็จจริงมีลักษณะดังต่อไปนี้

1) มีความเป็นไปได้

2) มีความจริง

3) มีหลักฐานอ้างอิงพิสูจน์ได้ และ

4) มีความสมเหตุสมผล

ข้อคิดเห็น (opinion) คือ ข้อความที่แสดงความรู้สึก แสดงความคาดคะเนหรือข้อความที่

แสดงทัศนะ มุมมองของผู้เขียนที่สอดแทรกเข้าไปในข้อความเพื่อแสดงความคิดเห็นส่วนตัว ความเชื่อ

หรือแนวความคิดของผู้เขียนที่มีต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ไม่ว่าจะเป็นบุคคล เหตุการณ์ หรือพฤติกรรม ผู้อื่นอาจ

เห็นด้วยหรือไม่เห็นด้วยก็ได้ โดยข้อคิดเห็นมีลักษณะดังต่อไปนี้

1) แสดงความรู้สึก

2) แสดงการคาดคะเน

3) เป็นข้อเสนอแนะ

4) แสดงความคิดเห็นของผู้เขียน และ

5) เป็นความเชื่อที่ไม่สมเหตุสมผล

ในบทความ 1 เรื่องจะประกอบด้วยย่อหน้าหลายย่อหน้า แต่ละย่อหน้าจะประกอบด้วย ประโยคใจความส�าคัญเพียง 1 ประโยค ดังนั้น หากบทความมีทั้งหมด 5 ย่อหน้า ก็จะม ี ประโยคใจความส�าคัญ 5 ประโยคเท่านั้น

������� GAT ������� (���) D4 (1-240).indd 22 26/9/2559 16:13:54

«‘∑¬æ—≤πè

μ—«Õ¬ã“ß¿“

¬„π‡≈ã¡

23������2���������ส�ิ��พิ�������������พิชิต���ส��������������

หลักส�าคัญที่สุดของการอ่านจับใจความ คือ การฝึกตั้งค�าถาม 5W 1H เพื่อท�าความเข้าใจ

เรื่องนั้นได้ว่า ใคร (Who) ท�าอะไร (What) ที่ไหน (Where) เมื่อไร (When) ท�าไม (Why) และ

อย่างไร (How)

ตัวอย่างการตั้งค�าถาม 5W 1H

ใครเป็นบุคคลส�าคัญของเรื่อง

บุคคลนั้นท�าอะไร

เหตุการณ์นั้นเกิดขึ้นที่ไหน

เหตุการณ์นั้นเกิดขึ้นเมื่อไร

ท�าไมบุคคลนั้นถึงท�าเช่นนั้น/ท�าไมเหตุการณ์จึงเป็นเช่นนั้น

บุคคลนั้นท�าอย่างไร/เหตุการณ์นั้นเกิดได้อย่างไร

เมื่อได้ค�าตอบแล้ว จดบันทึกค�าตอบไว้เป็นรายข้อ หรือเป็นประโยค เพื่อน�ามาเรียบเรียง

เป็นข้อความที่ต่อเนื่องกัน โดยไม่ต้องค�านึงว่าแต่ละข้อหรือประโยคมาจากย่อหน้าใด

ตัวอย่างการจับใจความจากการตั้งค�าถาม 5W 1H

ตัวอยางที่ 1 นิทานพื้นบาน เรื่อง ขวานฟาหนาดำ เทวดาองคหนึ่งมีชื่อวาสุดาเทพ เปนเทวดาที่ออนโยนแตมักจะถูกเพื่อนเทวดาดวยกันรังแกอยูเสมอ พระอินทรผู ดูแลเทวดาทั้งหลายไดเห็นจึงเกิดความสงสารและมอบขวานวิเศษใหสุดาเทพไวปองกันตัว แตเมื่อสุดาเทพมีขวานวิเศษกลับใชเปนอาวุธทำรายเทวดาอื่น ๆ จนเกิดความเดือดรอนไปทั้งสวรรค พระอินทรจึงสั่งใหพระอาทิตยลงโทษสุดาเทพโดยการเผาใบหนาขางซายจนไหมดำแลวสาปใหไปเกิดเปนมนุษย พระอินทรสั ่งวาสุดาเทพตองใชขวานวิเศษทำความดีบนโลกมนุษยเพื่อชดใชความผิดจึงจะไดกลับมาอยูบนสวรรคอีกครั้ง สุดาเทพลงมาเกิดเปนลูกผัวเมียยากจนคูหนึ่ง เพื่อนบานพากันรังเกียจ เพราะเด็กที่เกิดมาหนาตานาเกลียดมีปานดำบนใบหนาและมีขวานอยูในมือ ชาวบานพากันเรียกเด็กคนน้ีวา “ขวานฟา” ขวานฟาโตขึ้นเปนคนมีน้ำใจชอบชวยเหลือคนอื่น วันหนึ่งขณะที่ขวานฟาออกไปผจญภัยในปา เขาไดชวยเหลือเศรษฐีคนหนึ่งจากโจรปา โจรปากลุมนี้เปนกบฏ พวกมันตองการเงินของเศรษฐีเพื่อนำไปซื้ออาวุธเอาไวทำรายชาวบานและวางแผนฆากษัตริย ขวานฟาตอสูกับโจรปาโดยมีเทวดาคอยชวยเหลือ ขวานฟาฆาหัวหนาโจรตายทำใหลูกนองที่เหลือพากันหวาดกลัวหนีไปคนละทาง บานเมืองกลับมาสงบสุขอีกครั้งผลของการทำความดีนี้เองทำใหปานดำบนใบหนาของขวานฟาหายไปและไดกลับไปเปนเทวดาอยูบนสวรรคอีกครั้งอยางมีความสุข

������� GAT ������� (���) D4 (1-240).indd 23 26/9/2559 16:13:54

«‘∑¬æ—≤πè

μ—«Õ¬ã“ß¿“

¬„π‡≈ã¡

24 ������2���������ส�ิ��พิ�������������พิชิต���ส��������������

จากการตอบค�าถาม 5W 1H ทั้ง 2 ประเด็น สามารถจับใจความนิทานพื้นบ้านเรื่องขวานฟ้า

หน้าด�าได้ดังนี้

สุดาเทพแกลงเทวดาบนสวรรค จึงถูกลงโทษใหมาเกิดใหมบนโลกมนุษย ชื่อวา “ขวานฟา” เพื่อใหทำความดีชดใชความผิดที่กอเอาไว วันหนึ่งขวานฟาไดชวยเหลือเศรษฐีจากโจรปา โดยใชขวานเปนอาวุธในการตอสู และมีเทวดาคอยชวยเหลือ จึงสามารถเอาชนะมาได ผลจากการทำความดีครั้งนี้ทำใหบานเมืองสงบสุข ขวานฟาจึงไดกลับไปเปนเทวดาบนสวรรค

������� GAT ������� (���) D4 (1-240).indd 24 26/9/2559 16:13:55

«‘∑¬æ—≤πè

μ—«Õ¬ã“ß¿“

¬„π‡≈ã¡

25������2���������ส�ิ��พิ�������������พิชิต���ส��������������

ตัวอย่างที่ 2 ตัวอยางที่ 2 ขาวเรื่อง ซอนวินมอไซคหญิง ลวงไปในซอยเปลี่ยว ฮึดสูรอดหวุดหวิด

วินมอเตอรไซคหญิงยานดอนเมือง รับผูโดยสารผูชายซอนทาย ลวงไปสงในซอยเปลี่ยวกอนปลุกปล้ำทำมิดีมิราย แตฮึดสูเตะผาหมาก วิ่งหนีตาย (15 ต.ค. 55) ผูสื ่อขาว "ขาวสด" รายงานวา ร.ต.ท. สหัส โยธิน (นามสมมุติ) รอยเวร สน. ดอนเมือง รับแจงเหตุหญิงถูกทำรายรางกายเหตุเกิดบริเวณถนนเลียบคลองประปา ชุมชนหลังวัดไผเขียว แขวงและเขตดอนเมือง กทม. จึงเดินทางไปตรวจสอบที่เกิดเหตุพรอมดวยเจาหนาที่มูลนิธิปอเต็กตึ้ง ที่เกิดเหตุทางเขาสนามฟุตบอลเปนปารกทางเปลี่ยว พบ น.ส. บุญเย็น สาลี่ (นามสมมุติ) อายุ 37 ป ถูกทำรายรางกาย มีแผลฟกช้ำที่ใบหนาและตามลำตัว เจาหนาที่เรงนำตัวสง รพ. มงกุฎวัฒนะ เบื้องตนอาการปลอดภัย จากการสอบสวน น.ส. บุญเย็น ใหการวา มีอาชีพขับวิน จยย. ซอยแสนหวี 5 ชวงเชาทำงานตามปกติ ขับรับผูโดยสารกลางซอยแสนหวี 5 โดยถูกวาจางใหไปสงที่บานในหมูบานบูรพา 25เมื่อขับมาถึงจุดเกิดเหตุผูโดยสารไดดึงกุญแจรถ จยย. ออก และทำรายรางกายตนอีกทั้งยังพยายามจะทำมิดีมิราย ตนพยายามออนวอนวามีลูกแลว 3 คน ในจังหวะนั้นคนรายเผลอจึงไดเตะผาหมากใสคนราย กอนจะวิ่งตะโกนรองขอความชวยเหลือจนมีพลเมืองดีไดยินจึงเขามาชวยคนรายจึงขับรถ จยย. ฮอนดา คลิก สีแดง ทะเบียน 258 กรุงเทพมหานคร ซ่ึงเปนรถของตนขับข่ีหลบหนีไปกอนจะจอดทิ้งไวฟุตบาธหนาหมูบานยิ่งรวยแลวหลบหนีไป เบื้องตนเจาหนาที่ตำรวจตรวจสอบกลองวงจรปดภายในซอยแสนหวี 5 พบภาพผูตองสงสัยสวมเสื้อสีเทา กางเกงยีนส สะพายกระเปาสีน้ำตาล อายุประมาณ 30-35 ป ซึ่งจะไดเรงติดตามจับกุมคนรายมาดำเนินคดีตามกฎหมายตอไป การจับใจความจากการตอบคำถาม 5W 1H ใคร: น.ส. บุญเย็น สาลี่ ทำอะไร: ขับวินรถจักรยานยนต และไดรับการวาจางจากผูโดยสารใหไปสงที่บาน ที่ไหน: เมื่อไร: อยางไร: ทำไม:

ซอยแสนหวี 5ชวงเชาของวันที่ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2555ผูโดยสารพยายามทำรายเธอแตไมสำเร็จเธอรองตะโกนขอความชวยเหลือ จนมีพลเมืองดีมาชวย คนรายจึงหนีไป

������� GAT ������� (���) D4 (1-240).indd 25 26/9/2559 16:13:55

«‘∑¬æ—≤πè

μ—«Õ¬ã“ß¿“

¬„π‡≈ã¡

26 ������2���������ส�ิ��พิ�������������พิชิต���ส��������������

จากการตอบค�าถาม 5W 1H สามารถจับใจความข่าวเรื่อง ซ้อนวินมอไซค์หญิง ลวงไป

ในซอยเปลี่ยว ฮึดสู้รอดหวุดหวิด ได้ดังนี้

ในระหว่างการอ่าน ถ้านักเรียนขีดเส้นใต้หรือจดบันทึกข้อความส�าคัญพร้อมกันไปด้วย จะช่วยให้เก็บรวบรวมใจความส�าคัญได้ดี

ผังมโนภาพ

ผังมโนภาพเป็นแบบจ�าลองแสดงความเชื่อมโยงของมโนภาพที่สัมพันธ์กัน โดยปกติใช้รูป

วงกลมแทนมโนภาพ (ในการสอบ GAT นักเรียนใช้รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าแทนรูปวงกลม) ใช้เส้นลูกศร

แทนลักษณะและทิศทางของความสัมพันธ์นั้น มีค�าก�ากับว่าวงกลมหรือสี่เหลี่ยมผืนผ้าแทนมโนภาพ

ของสิ่งใด เส้นลูกศรแทนความสัมพันธ์ในลักษณะและทิศทางใด

ในการเขียนผังมโนภาพ ควรอ่านท�าความเข้าใจหรืออ่านจับใจความเนื้อเรื่องของบทความ

แล้วจัดกลุ่มข้อมูลเป็นหัวข้อหลัก หัวข้อรอง จัดวางตามล�าดับความส�าคัญและการขยายความ เพื่อ

แสดงความสัมพันธ์ของเนื้อหาที่สอดคล้องกับหัวข้อเรื่อง

ลักษณะทั่วไปของผังมโนภาพจะเริ่มจากบริเวณตรงกลางของหน้ากระดาษ ผู้เขียนจะผลิต

ความคิดของตนออกมาเรื่อย ๆ แผ่ขยายจากตรงกลางของภาพออกมารอบทิศทางซึ่งเปรียบเสมือน

กิ่งก้านที่แตกแยกออกมา โดยใช้ค�าก�ากับหรือค�าส�าคัญ (keyword) 1 ค�าต่อ 1 วงกลม แทน 1

ความคิด แล้วเชื่อมโยงกันโดยใช้เส้นลูกศร ซึ่งอาจจะให้สีสันแต่ละวงกลมแตกต่างกันไป หรืออาจจะ

ใช้สัญลักษณ์ รูปภาพ เพื่อเน้นจุดส�าคัญพร้อมกับโยงความคิดต่อไปเรื่อย ๆ อาจเขียนค�าแต่ละค�า

ลงบนเส้นและเส้นแต่ละเส้นควรสัมพันธ์เชื่อมโยงกับเส้นอื่น ๆ ด้วย ผังมโนภาพที่มีความน่าสนใจ

มักประกอบด้วย

1) รูปทรงเรขาคณิต เช่น วงกลม วงรี สี่เหลี่ยม สามเหลี่ยม และอื่น ๆ เพื่อแสดงความ

เหมือน ความแตกต่างของค�าส�าคัญในแต่ละชนิด/ประเภท/หมวดหมู่

2) ลูกศร เพื่อแสดงให้เห็นความต่อเนื่อง ความเชื่อมโยงของแนวคิดต่าง ๆ ซึ่งสามารถชี้ไป

ทิศทางใดก็ได้

3) รหัสหรือเครื่องหมายต่าง ๆ เช่น ปรัศนี อัศเจรีย์ วงเล็บ ยัติภังค์ ดอกจัน และอื่น ๆ

เพื่อแสดงการเชื่อมโยง

นางสาวบุญเย็น สาลี่ อาชีพขับรถจักรยานยนตรับจางในซอยแสนหวี 5 ไดรับการวาจางจากชายคนหนึ่งใหไปสงที่บานในหมูบานบูรพา 25 ในชวงเชาของวันที่ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2555 เม่ือถึงท่ีเกิดเหตุชายคนดังกลาวไดลงมือทำรายรางกายและพยายามทำมิดีมิรายเธอ แตไมเปนผลสำเร็จ เพราะเธอรองตะโกนขอความชวยเหลือ จนมีพลเมืองดีไดยินแลวเขามาชวยเหลือคนรายจึงรีบขี่รถจักรยานยนตของเธอหลบหนีไป

������� GAT ������� (���) D4 (1-240).indd 26 26/9/2559 16:13:56

«‘∑¬æ—≤πè

μ—«Õ¬ã“ß¿“

¬„π‡≈ã¡

27������2���������ส�ิ��พิ�������������พิชิต���ส��������������

4) รูปภาพ เพื่อแสดงความเชื่อมโยงระหว่างค�าส�าคัญกับภาพที่เกี่ยวข้อง สร้างการจดจ�า

5) สีสัน ช่วยให้มองเห็นความแตกต่างระหว่างความคิดและช่วยให้จดจ�าดีขึ้น

เทคนิคส�าคัญในการสร้างผังมโนภาพแบ่งออกได้ 4 เทคนิค ดังนี้

1) การเน้น วาดภาพความคิดแรกไว้ตรงกลางเสมอ ควรใช้สีหลาย ๆ สีเพื่อสร้างความมี

ชีวิตชีวาและความน่าสนใจ ควรใช้รูปภาพประกอบค�าส�าคัญต่าง ๆ ในผังมโนภาพเพื่อความโดดเด่น

และง่ายต่อการจดจ�า รวมทัง้ควรใช้ค�าหรอืรปูภาพทีม่ขีนาดแตกต่างกนัออกไปเพือ่แสดงถงึล�าดบัความ

ส�าคัญของสิ่งต่าง ๆ ในผังมโนภาพ นอกจากนี้ การเว้นระยะห่างของความคิดต่าง ๆ จะช่วยเพิ่ม

ความชัดเจน มองเห็นความส�าคัญของแต่ละความคิด ทั้งยังท�าให้ผังมโนภาพเป็นระเบียบและมี

โครงสร้างชัดเจนอีกด้วย

2) การเชือ่มโยง ใช้ลกูศรเมือ่ต้องการสร้างการเช่ือมโยงภายในความคิดเดยีวกันและระหว่าง

ความคิดหลักแต่ละความคิด ซึ่งลูกศรนี้อาจเป็นแบบหัวลูกศรเดียวหรือหลายหัวก็ได้ (แต่ในข้อสอบ

GAT ภาษาไทยจะมีเพียงหัวเดียว หรือไม่มีหัว อย่างใดอย่างหนึ่ง) และมีขนาด รูปแบบ และมิติที่

หลากหลายแตกต่างกันออกไป โดยลูกศรจะบอกทิศทางของความคิด นอกจากนี้ ควรใช้สีที่แตกต่าง

กัน เพราะสีสันจะส่งอิทธิพลต่อการเพิ่มความจ�าและความคิดสร้างสรรค์ ที่ส�าคัญ การใช้สีเฉพาะกับ

พื้นที่เฉพาะในผังมโนภาพจะท�าให้เรารับรู้ข้อมูลได้รวดเร็วข้ึนและยังช่วยพัฒนาการจดจ�าข้อมูลต่าง ๆ

การใช้รหัสก็เป็นอีกปัจจัยหนึ่งที่จะช่วยเชื่อมโยงส่วนต่าง ๆ ของผังมโนภาพได้ทันที อีกทั้งยังช่วย

ประหยัดเวลาด้วยการสร้างรหัสแทนคน องค์ประกอบ หรือกระบวนการต่าง ๆ เป็นต้น

3) ความชัดเจน เริ่มต้นจากการวางกระดาษที่จะใช้วาดให้อยู่ในแนวนอน เพราะจะท�าให้มี

อิสระและพื้นที่ว่างส�าหรับการวาดมากขึ้น และยังง่ายต่อการอ่านอีกด้วย ใช้ค�าหลักเพียง 1 ค�าต่อ

1 รูปเรขาคณิตเท่านั้น และลากเส้นให้ยาวเท่ากับความยาวของค�าหรือครอบคลุมทุกค�าที่เขียน เพราะ

จะท�าให้จดจ�าได้ง่ายขึ้น และต้องไม่เขียนค�ากลับหัวโดยพยายามรักษามุมในการเขียนค�าให้มากที่สุด

ไม่ควรเกิน 45 องศา ท�าให้เข้าใจความคิดที่แสดงออกมาได้ง่ายขึ้น เป็นระเบียบ ชัดเจน และช่วย

เอื้อต่อการเชื่อมโยงค�าส�าคัญต่าง ๆ เข้าด้วยกัน ในการวาดผังมโนภาพหลักกลางควรวาดให้หนากว่า

ภาพอื่น ๆ การวาดภาพควรวาดให้ชัดเจนมากที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ เพราะว่าความชัดเจนภายนอก

จะเป็นตัวส่งเสริมความชัดเจนภายในความคิด

4) รูปแบบเฉพาะตัว ควรสร้างผังมโนภาพให้มีลักษณะตามความคิดของตนเอง แต่ต้อง

รักษากฎเกณฑ์ของการสร้างผังมโนภาพด้วย จะส่งผลท�าให้จดจ�าข้อมูลในผังมโนภาพได้ง่ายขึ้น

บทความแต่ละเรื่องของการสอบ GAT ได้ก�าหนดข้อความส�าคัญทั้งหมด 10 ข้อความ

(ข้อความที่ก�าหนดซึ่งพิมพ์ด้วยตัวอักษรตัวเข้ม) หน้าที่ส�าคัญของนักเรียนคือ จัดข้อความส�าคัญ

ทั้งสิบวางเป็นโครงเรื่องที่ประกอบด้วยหัวข้อหลัก หัวข้อรอง และหัวข้อย่อยตามความเหมาะสม โดย

อาจแบ่งเป็นขั้นตอน เป็นระดับ เป็นกลุ่ม หรือเป็นหมวดหมู่ แล้วหาทางเชื่อมโยงหัวข้อต่าง ๆ เหล่านั้น

เข้าด้วยกัน บางครั้งอาจเชื่อมโยงมากกว่า 2 หัวข้อเข้าด้วยกัน โดยอาศัยเนื้อหาของบทความในการ

พิจารณาเชื่อมโยงความสัมพันธ์ดังกล่าว ดังเช่นผังมโนภาพชีวิตน้อย ๆ ของผีเสื้อต่อไปนี้

������� GAT ������� (���) D4 (1-240).indd 27 26/9/2559 16:13:56

«‘∑¬æ—≤πè

μ—«Õ¬ã“ß¿“

¬„π‡≈ã¡

28 ������2���������ส�ิ��พิ�������������พิชิต���ส��������������

บทที่ 3 กลยุทธ์พิชิตข้อสอบ GAT ภาษาไทย ให้ได้คะแนนเต็ม 150

ก่อนเริ่มต้นฝึกฝนกลยุทธ์พิชิตข้อสอบ GAT ภาษาไทยเพ่ือพัฒนาทักษะการท�าข้อสอบใน

บทนี ้นกัเรยีนควรท�าความเข้าใจลกัษณะความสัมพันธ์ของข้อความตามเกณฑ์ทีก่�าหนดทัง้ 4 ประการ

อีกครั้ง ซึ่งจะขอสรุปดังตารางต่อไปนี้

ตัวอักษร สัญลักษณ ความหมาย คำสำคัญ

A(Achieve)

เปนผลโดยตรง เกิดขึ้นในลำดับถัดมา

จน จนกระทั่ง จนทำให จึง ดวย ดวยเหตุนี้ ทำให ทำใหเกิด ทำใหมี นำไปสู เนื่องจาก เนื่องดวย เปนเพราะวา เปนเหตุให เพราะ เพราะวา สงผลตอ สงผลให สาเหตุมาจาก ฯลฯ

D(Discriminate)

เปนสวนประกอบ/องคประกอบ ตัวอยาง คำนิยาม ความหมาย

คือ เชน ดังนี้ โดย ไดแก ตอไปนี้ ประกอบดวย มี มาจาก หมายความวา หมายถึง อาทิ ฯลฯ

F(Forbid)

ถูกลด ยับยั้ง ปองกัน หาม

H ไมมี (ใชเมื่อไมปรากฏขอความใด ๆ ตอ และเติมตัวเลข 99 นำหนาตัวอักษร H ทุกครั้ง)ไมมี

แก แกไข ขัดขวาง ตอตาน ทำลาย ไม ไมให บั่นทอน เปนอุปสรรคตอ ยุติ ลดลง หลีกเลี่ยง ฯลฯ

X

หลักการตั้งชื่อของบทความที่ดีจะต้องท�าให้ผู้อ่านเข้าใจภาพรวมของเนื้อหานั้น ๆดังนั้นในการหาหัวข้อหลักให้นักเรียนพิจารณา “ชื่อของบทความ” เป็นส�าคัญ

ดังนั้น นักเรียนจึงควรทราบก่อนว่าค�าเชื่อมแต่ละค�าที่ปรากฏในบทความแสดงความสัมพันธ์

อย่างไรต่อค�า วลี ประโยค หรือข้อความนั้น ๆ แล้วใช้ทักษะการอ่านจับใจความเพื่อท�าความเข้าใจ

เนื้อหาในภาพรวม โดยเฉพาะอย่างยิ่งข้อความส�าคัญทั้งสิบในบทความ นักเรียนต้องเชื่อมโยงความ

สัมพันธ์ของข้อความส�าคัญทั้งหมด แล้วเขียนเป็นผังมโนภาพให้ได้ ด้วยเหตุนี้ นักเรียนจึงควรอ่าน

เน้นย�า้ซ�้าเพื่อทบทวนเนื้อหาทั้ง 3 ประการข้างต้นให้เข้าใจและท�าได้ดีเสียก่อน จึงจะช่วยให้นักเรียน

พิชิตข้อสอบ GAT ภาษาไทยจนได้คะแนนเต็มอย่างแน่นอน

รูปรางลักษณะ

การดำเนินชีวิต ที่อยูอาศัย

อาหาร ประโยชนและโทษ

ชีวิตนอย ๆของผีเสื้อ

������� GAT ������� (���) D4 (1-240).indd 28 26/9/2559 16:13:56

«‘∑¬æ—≤πè

μ—«Õ¬ã“ß¿“

¬„π‡≈ã¡