23
ศิริสุข สุขสวัสดิ บทที่ 1 สภาพการเลี ้ยงสุกรของประเทศไทย 1.1 การพัฒนาการเลี ้ยงสุกรของประเทศไทย 1.2 ควรจะเลี ้ยงสุกรชนิดใดๆ 1.2.1 การเลี ้ยงแมสุกรเพื ่อผลิตลูก 1.2.2 การเลี ้ยงสุกรขุน 1.2.3 การเลี ้ยงสุกรหลายชนิดพรอมๆกัน 1.2.4 การเลี ้ยงสุกรในฟารมผสมผสาน 1.3 การเลี ้ยงสุกรจะตองลงทุนมากเพียงใด บทที่ 2 การคัดเลือกและปรับปรุงพันธุ สุกร 2.1 ลักษณะของสุกรที ่พึงประสงค 2.2 ลักษณะสํ าคัญของสุกรพันธุแท 2.3 การคัดเลือกสุกรไวเปนพอพันธุ -แมพันธุ 2.4 หลักการผสมพันธุสุกร 2.5 การผสมพันธุสุกร 2 สายเลือด 2.6 การผสมพันธุสุกร 3 สายเลือด สารบัญ การเลี้ยงหมูในยุค IMF

การเลี้ยงหมูในยุค IMF

  • Upload
    lyliem

  • View
    264

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: การเลี้ยงหมูในยุค IMF

ศิริสุข สุขสวัสด์ิ

บทที่ 1 สภา1.1 ก1.2 ค

1.3 กบทที่ 2 การ

2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 2.6

สารบญั

การเลี้ยงหมูในยุค IMF

พการเล้ียงสุกรของปารพัฒนาการเล้ียงสุกวรจะเล้ียงสุกรชนิดใด1.2.1 การเล้ียงแม1.2.2 การเล้ียงสุก1.2.3 การเล้ียงสุก1.2.4 การเล้ียงสุการเล้ียงสุกรจะตองลงคัดเลือกและปรับปรุงลักษณะของสุกรท่ีพึงปลักษณะส ําคัญของสุกรการคัดเลือกสุกรไวเปนหลักการผสมพันธุสุกรการผสมพันธุสุกร 2 สการผสมพันธุสุกร 3 ส

ระเทศไทยรของประเทศไทยๆสุกรเพ่ือผลิตลูกรขุนรหลายชนิดพรอมๆกันรในฟารมผสมผสานทุนมากเพียงใดพันธุสุกรระสงคพันธุแท พอพันธุ-แมพันธุ

ายเลือดายเลือด

Page 2: การเลี้ยงหมูในยุค IMF

การเล้ียงหมูในยุค IMF 2

บทที่ 3 โรงเรือนและอุปกรณการเล้ียงสุกร3.1 หลักการท่ัวไปในการจัดสรางโรงเรือนสุกร3.2 ขนาดโรงเรือน3.3 ลักษณะโรงเรือน3.4 อุปกรณการใหอาหารสุกร

บทที่ 4 อาหารและการใหอาการสุกร4.1 ปริมาณอาหารสํ าหรับสุกรขนาดตางๆ4.2 การผสมอาหารสุกรโดยใชหัวอาหาร4.3 การเล้ียงสุกรโดยใชอาหารสํ าเร็จรูป

บทที่ 5 การเล้ียงสุกรระยะตางๆ5.1 การเล้ียงสุกรเล็ก สุกรรุน และสุกรขุน

บทที่ 6 โรคที่ส ําคัญของสุกร การปองกันและการรักษา6.1 การฉีดวัคซีนปองกันโรคสุกร 6.2 หลักการใชวัคซีนปองกันโรคสุกร6.3 โรคสุกรที่สํ าคัญทีเกษตรควรรู

คํ าน ําสุกรเปนสัตวท่ีนาเล้ียงชนิดหน่ึง เพราะมีคุณสมบัติท่ีดีเดนหลายประการ เชน

- สุกรลูกดก คลอดลูกแตละคร้ังไดประมาณ 6-12 ตัว แลวยังสามารถใหลูกไดถึงปละ 2 ครอก

- ใชเวลาในการเล้ียงดูส้ัน คือเลี้ยงลูกสุกรไปเพียง 5-6 เดือน ก็จะไดนํ ้าหนัก 90-100 กิโลกรัม สามารถขายสงตลาดได

- การเล้ียงสุกรใชเวลาและแรงงานไมมากนัก สามารถเล้ียงแบบสวนครัวหลังบานต้ังแต 2-3 ตัว ไปจนถึงเล้ียงเปนอาชีพ 100-200 ตัว โดยใชเฉพาะแรงงานในครอบครัวเทาน้ัน

- ปจจุบันน้ีมีผูผลิตพันธุสุกร อาหารสุกร ยาและอุปกรณอ่ืนๆ สํ าหรับใชเล้ียงสุกรมากมาย สามารถหาไดงายและสะดวกสบายตอผูเล้ียงสุกร

อยางไรก็ตาม การเล้ียงสุกรน้ันก็ตองลงทุนคอนขางสูง เปนคาพันธุสุกร คาอาหาร คายาปองกันและรักษาโรค คาแรงงาน หากผูเลี้ยงไมจัดการอยางรัดกุม เลี้ยงสุกรอยางไมมีประสิทธิภาพแลว ก็จะประสบกับภาวะขาดทุนไดโดยงาย

เอกสารชุดน้ีไดรวบรวมเอาเทคนิคและแนวความคิดตางๆ ในการเล้ียงสุกรไวใหเกษตรกรและผูสนใจไดศึกษาและน ําไปปฏิบัติ เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพการเล้ียงสุกรของตนใหสูงข้ึน เน้ือหาสวนใหญเรียบเรียงจากเอกสารและตํ าราตางๆ โดยปรับปรุงใหอานงาย เขาใจงายข้ึน สวนผูท่ีตองการรายละเอียดมากกวานี้ ควรจะคนควาเพ่ิมเติมจากเอกสารทางวิชาการ

๐ กลบัไปหนากอนน้ี ๐ หนาถัดไป ๐ กลับหนาหลัก/สารบัญ

Page 3: การเลี้ยงหมูในยุค IMF

การเล้ียงหมูในยุค IMF

๐ กลบัไปหนากอนน้ี ๐ หนาถัดไป ๐ กลับหนาหลัก/สารบัญ

3

การพัฒนาการเล้ียงสุกรของประเทศไทยยอนหลังไปเม่ือหลายปที่ผานมา เกษตรกรไทยในชนบทซึ่งมีอาชีพ

หลักในการทํ านา มักจะท ําการเล้ียงสุกรครอบครัวละ 2-3 ตัว แทบทุกครอบครัว เน่ืองจากมีรํ าขาว ปลายขาว และเศษอาหารตางๆ สํ าหรับใชเลี้ยงสุกรอยางเพียงพอพันธุ สุกรที่เล้ียงเปนพันธุพื้นเมือง หรือพันธุ ผสมระหวางพันธุ พื้นเมืองกับพันธุ ตางประเทศ มีการเจริญเติบโตชา ตองใชเวลาเล้ียงเกือบ 1 ป สุกรจึงจะโตพอที่จะขายสงตลาดได ผลดีจากการเล้ียงสุกรแบบหลังบานน้ี คือเกษตรกรไมตองลงทุนอะไรเลย ใชแรงงานวันละเล็กวันละนอยสะสมไปเร่ือยๆ ก็จะไดเงินเปนกอนจากการขายสุกรเหมือนกับการสะสมเงินโดยใชกระปุกออมสิน ราคาสุกรโดยทั่วๆ ไปก็อยูในเกณฑดี ไมคอยมีการผันแปรไปมากมายนัก

ประมาณ 10-15 ปท่ีผานมาน้ี การเล้ียงสุกรของประเทศไทยพัฒนาไปจากเดิมมาก เน่ืองจากความเจริญกาวหนาทางวิชาการ และมีการติดตอนํ าสุกรพันธุดีหลายๆ พันธุมาจากตางประเทศ แลวทํ าการปรับปรุงสุกรพื้นเมืองใหเจริญเติบโต เร็วข้ึน มีการปรับปรุงการเล้ียงดู ปรับปรุงการใหอาหาร และมีการปองกันรักษาโรคอยางไดผลทํ าใหปริมาณการผลิตสุกรของประเทศไทยเพิ่มข้ึนอยางรวดเร็วทัดเทียมประเทศตางๆ ในภูมิภาคเดียวกัน เกษตรกรผูเลี้ยงสุกรจํ านวนหน่ึงขยายขนาดการผลิต ต้ังเปนฟารมขนาดใหญเล้ียงสุกรเปนจํ านวนหลายพันตัว ใชเวลาเล้ียงสุกรแตละตัวเพียง 5-6 เดือนก็สามารถขายสงตลาดได ในขณะเดียวกันเกษตรกรที่เล้ียงสุกร ทั่วๆ ไปในชนบทกลับลดจํ านวนลง เพราะรํ าขาว ปลายขาวและเศษอาหารตางๆ ไมสามารถจะหาไดในทองถิ่น ตองลงทุนเพิ่มข้ึน ประกอบกับเกษตรกรมีเวลาวาง นอยลง จึงเลิกเล้ียงสุกรไป ในหมูบานหน่ึงๆ จะมีผูเลี้ยงสุกรเหลือเพียง 2-3 ราย เทาน้ัน

1.1 สุกรเปนสัตวท่ีนาเล้ียงหรือไมเม่ือเปรียบเทียบกับสัตวชนิดอ่ืนๆ แลวจะเห็นวา สุกรน้ันเปนสัตวท่ี

นาเล้ียงอยูไมนอยเชนกัน เน่ืองจากสุกรน้ันเจริญเติบโตเร็ว ถาเกษตรกรเล้ียงสุกร พันธุดีสัก 2-3 ตัว ใชเวลาขุนสุกรนับจากหยานมไปอีกเพียง 5-6 เดือน ก็จะได น้ํ าหนักประมาณ 90-100 กิโลกรัม สามารถสงขายตลาดไดเลย นับวาเปนสัตวเล้ียงท่ีโตเร็วกวาสัตวเล้ียงชนิดอ่ืนๆ อีกหลายชนิด

บทที ่1สภาพการเล้ียงสุกรของประเทศไทย

Page 4: การเลี้ยงหมูในยุค IMF

การเล้ียงหมูในยุค IMF

๐ กลบัไปหนากอนน้ี ๐ หนาถัดไป ๐ กลับหนาหลัก/สารบัญ

4

ในแงของการลงทุนและการใชเวลานับวามีปญหาบางเล็กนอยเพราะเกษตรกรตองลงทุนคอนขางสูง เปนคาปลูกสรางโรงเรือนสํ าหรับเล้ียงสุกร คาพันธุสุกร ลูกสุกรขุนตัวหน่ึงจะมีราคาประมาณ 400-600 บาท สุกรตัวหน่ึงจะกินอาหารหมดประมาณ 250-300 กิโลกรัม จึงจะท ําน้ํ าหนักไดถึง 100 กิโลกรัมนอกจากน้ัน เกษตรกรจะตองใชเวลาอยางนอยวันละ 2 ชั่วโมง เชา 1 ชั่วโมง เย็นอีกวันละ 1 ชั่วโมง เพื่อใหอาหารและดูแลสุกรของตนเอง

แตอยางไรก็ตาม ในภาวะปจจุบันน้ีเกษตรกรและสมาชิกในครอบครัวเกษตรกรจํ านวนมากมักจะมีเวลาวางมาก เน่ืองจากการทํ านา การทํ าสวนน้ันใชเวลามากเพียงบางฤดูเทานั้น หากหันมาทํ าการเล้ียงสุกรโดยการลงทุนบางเล็กนอย ใชวัสดุบางชนิดที่มีราคาถูก หาไดงายในทองถิ่นเปนอาหารเลี้ยงสุกรแลวก็จะมีรายไดประจ ําจากการเล้ียงสุกรปละมากพอสมควร

1.2 ควรจะเล้ียงสุกรชนิดใดการเลี้ยงสุกรเทาที่ปฏิบัติอยูทั่วๆ ไปปจจุบันนี ้ แบงตามชนิดของสุกร

ท่ีเล้ียงและวัตถุประสงคของการเล้ียงไดดังน้ี1.2.1 การเล้ียงแมสุกรเพ่ือผลิตลูก

การเล้ียงสุกรแบบน้ีเหมาะสมสํ าหรับเกษตรกรที่มีความรู และมีความชํ านาญในการเล้ียงสุกรบางแลวพอสมควร เพระตองเล้ียงดูเอาใจในใสสุกรแมพันธุ ตองรูหลักและเทคนิคการผสมพันธุสุกร ตองรูหลักการเล้ียงสุกรท่ีต้ังทอง ตองรูวิธีการเล้ียงสุกรไปจนถึงสุกรหยานม จึงจ ําหนายลูกสุกรใหแกผูเล้ียงสุกรขุนตอไปแตนับวาเปนวิธีการเลี้ยงสุกรที่ไดผลตอบแทนสูงที่สุด เพราะสุกรแตละแมจะใหลูกไดปละ 2 ครอก แตละครอกจะใหลูก 8-12 ตัว ในปหน่ึงๆ เกษตรกรจะสามารถจ ําหนายลูกสุกร หยานมได 16-20 ตัว ในปท่ีลูกสุกรราคาดีขายไดตัวละ 500-600 บาท ก็จะมีรายไดประมาณ 8,000-12,000 บาท หักคาใชจายออกแลวก็จะมีก ําไรอยูมากพอสมควร ถาเกษตรกรเลี้ยงแมสุกร 4-5 ตัว จะมีอาชีพเสริมที่ทํ ารายไดใหเกษตรกรตลอดท้ังป

1.2.2 การเล้ียงสุกรขุนการเล้ียงสุกรขุน หมายถึง การนํ าสุกรที่หยานมแลว ท้ังตัวผูและตัวเมีย

มาเล้ียงใหอวน โดยใหกินอาหารอยางเต็มท่ีเปนเวลาอีก 4-5 เดือน สุกรจะมีน้ํ าหนัก 90-100 กิโลกรัมก็ขายสงตลาด นับวาเปนวิธีการเล้ียงสุกรท่ีงายท่ีสุด มีความสลับ ซับซอนไมมาก ใชเวลานอย ผูที่เริ่มเลี้ยงสุกรครั้งแรกๆ ควรจะเล้ียงสุกรขุนกอน เม่ือมีความชํ านาญแลวจึงหันไปเล้ียงสุกรชนิดอ่ืนๆ ตอไป

Page 5: การเลี้ยงหมูในยุค IMF

การเล้ียงหมูในยุค IMF

๐ กลบัไปหนากอนน้ี ๐ หนาถัดไป ๐ กลับหนาหลัก/สารบัญ

5

1.2.3 การเล้ียงสุกรหลายชนิดพรอมๆ กันการเล้ียงสุกรแบบน้ีเร่ิมเปนที่นิยมเพิ่มมากข้ึนในปจจุบัน เน่ืองจาก

เกษตรกรมีความรูและความชํ านาญในการเล้ียงสุกรมากข้ึน จึงทํ าการเลี้ยงแมสุกรไวผลิตลูก 4-5 ตัว เล้ียงสุกรพอพันธุ 1-2 ตัว เม่ือแมสุกรคลอดลูกก็เก็บลูกสุกรสวนหน่ึงไวสํ าหรับท ําพันธุ ลูกสุกรพอพันธุ 1-2 ตัว เม่ือแมสุกรคลอดลูกก็เก็บลูกสุกรสวนหน่ึงไวสํ าหรับท ําพันธุ ลูกสุกรสวนหน่ึงนํ ามาขุนสงตลาด และลูกสุกรอีกสวนหน่ึงขายเม่ือหยานม วิธีการนี้ท ําใหเกษตรกรมีสุกรเล้ียงในฟารมตลอดเวลา เกษตรกรไมตองไปซ้ือลูกสุกรจากฟารมอ่ืนๆ ซึ่งอาจจะมีราคาแพง นอกจากน้ันยังมีลูกสุกรขายใหฟารมอ่ืนๆ อีกดวย เปนลักษณะการเลี้ยงสุกรแบบครบวงจร

1.2.4 การเลี้ยงสุกรในฟารมผสมผสานการเกษตรกรรมแบบผสมผสาน หมายถึงการทํ าการเพาะปลูก หรือ

เล้ียงสัตวหลายๆ ชนิดควบคูกัน นับวาเปนการปฏิบัติท่ีเปนท่ีนิยมมากในปจจุบัน เน่ืองจากใหผลตอบแทนสูง คาใชจายตํ ่า เกษตรกรไดใชทรัพยากรและเวลาวางของตนเองอยางเต็มท่ี ยกตัวอยาง เชน เกษตรกรที่ทํ านาไมท ํานาแตเพียงอยางเดียว แตทํ าสวนผักสวนครัวไวกินประจ ําวัน ปลูกหญาไวเลี้ยงสัตว ขุดบอปลาไวเล้ียงปลา บนบอปลาทํ าเลาเล้ียงหมู มูลของหมูใชเปนอาหารปลาและใชเปนปุยใสพืชผัก เศษขาวและรํ าขาวรวมทั้งเศษพืชผักตางๆ นํ ามาใชเล้ียงสัตวทรัพยากรตางๆ ถูกนํ ามาใชหมุนเวียนภายในฟารม ทํ าใหเกษตรกรมีงานท ําตลอดท้ังป เปนตน

1.3 การเลี้ยงสุกรจะตองลงทุนมากเพียงใดการลงทุนเล้ียงสุกรสํ าหรับเกษตรกรแตละราย และการเล้ียงสุกรแตละ

ชนิดจะแตกตางกันออกไป อยางไรก็ตาม ขอยกตัวอยางการลงทุนสํ าหรับเกษตรกร รายใหมท่ียังไมเคยเล้ียงสุกรมากอน ถาท ําการเล้ียงสุกรขุนรุนละ 20 ตัว จะตองลงทุนตางๆ ดังน้ี

- คาโรงเรือน โรงเรือนขุนสุกร 20 ตัว จะตองมีขนาดไมนอยกวา 30-40 ตารางเมตร แบงเปนคอก 4-5 คอก แตละคอกเล้ียงสุกรขุนได 4-5 ตัว คากอสรางโรงเรือนประมาณ 20,000 บาท

- คาพันธุ สุกรหยานมแลว ราคาตัวละ 400-600 บาท ถาเล้ียง 20 ตัว คาพันธุประมาณ 10,000 บาท

- คาอาหาร ตลอดระยะการเล้ียงสุกรขุน 5 เดือน จะส้ินเปลืองอาหาร 250-300 กิโลกรัม ราคาอาหารเฉล่ียกิโลกรัมละ 5 บาท จะตองเตรียมคาอาหารประมาณ 30,000 บาท

Page 6: การเลี้ยงหมูในยุค IMF

การเล้ียงหมูในยุค IMF

๐ กลบัไปหนากอนน้ี ๐ หนาถัดไป ๐ กลับหนาหลัก/สารบัญ

6

- คาใชจายอ่ืนๆ เชน คาวัคซีนปองกันโรค คาน้ํ า คาไฟฟา คายารักษาโรค คาแรงงาน และคาใชจายอ่ืนๆ ควรจะเตรียมไวอยางนอย 10 เปอรเซ็นตของคาอาหารรวมกับคาพันธุ คือ ประมาณ 4,000 บาท

การเล้ียงสุกรขุน 20 ตัว ตองเตรียมเงินลงทุนในรุนแรกๆ อยางนอยประมาณ 64,000 บาท หรือการเล้ียงสุกรแตละรุนจะใชเงินลงทุนประมาณ 44,000บาท แตอยางไรก็ตามในความเปนจริงแลว คาพันธุ คาอาหารและคาใชจายอ่ืนๆ จะข้ึนลงอยูตลอดเวลา และเม่ือเกษตรกรมีความชํ านาญเพ่ิมข้ึนแลว คาใชจายตางๆ โดยเฉพาะคาอาหารจะต่ํ ากวาน้ีมาก นอกจากน้ันเกษตรกรยังสามารถลดคาใชจาย คาอาหารสุกรไดโดยการผสมอาหารใชเองก็จะท ําใหมีก ําไรจากการเล้ียงสุกรขุนมากข้ึน

2.1 ลักษณะของสุกรที่พึงประสงคเปาหมายสํ าคัญของการเล้ียงสุกร คือ การสงสุกรขุนจํ าหนายตลาด

เม่ือมีน้ํ าหนักเหมาะสมและทํ ากํ าไรใหผู เล้ียงสูงที่สุด ดังน้ัน ลักษณะของสุกรที่ พึงประสงค ก็หมายถึงลักษณะอันเปนท่ีตองการของตลาดน่ันเอง ซ่ึงพอจะสรุปไดดังน้ี

- มีอัตราการเจริญเติบโตดี หรือเพ่ิมน้ํ าหนักไดเร็ว ภายใน 6 เดือน ควรจะมีน้ํ าหนัก 100 กิโลกรัม

- มีอัตราการเปล่ียนอาหารเปนเน้ือดี หรือใชอาหารนอยแตเพิ่ม น้ํ าหนักไดมาก โดยทั่วไปควรจะกินอาหารเพียง 2.7-3 กิโลกรัม เพิม่น้ํ าหนักใหได 1 กิโลกรัม

- มีไขมันบาง เม่ือโตเต็มที่แลวมีไขมันใตผิวหนังหนาไมเกิน 2.5 เซนติเมตร

- มีเน้ือแดงมาก- มีโครงสรางรางกายใหญ ลํ าตัวยาว สันหลังหนา ขาหนา ขาหลัง มีกลามเน้ือมาก

- มีสุขภาพสมบูรณ- ใหลูกตอครอกไดมาก และมีลูกเหลือรอดตายตอนหยานมมาก- ทนทานตอสภาพอากาศรอน

บทที ่2การคัดเลือกและปรับปรุงพันธุสุกร

Page 7: การเลี้ยงหมูในยุค IMF

การเล้ียงหมูในยุค IMF

๐ ก

7

2.2 ลักษณะสํ าคัญของสุกรพันธุแทปจจุบันน้ีเกษตรกรไทยไมนิยมเล้ียงสุกรพันธุพ้ืนเมือง เน่ืองจากโตชา

ใชเวลาเล้ียงนาน คุณภาพเน้ือไมดี และใหลูกตอครอกนอย ไมตรงตามความตองการของตลาด จึงไดมีการนํ าพันธุสุกรท่ีไดรับการปรับปรุงแลวเขามาเล้ียงหลายพันธุ และปรากฏสุกรพันธุดีแทบทุกพันธุสามารถเจริญเติบโตไดดีทั้งน้ัน ประสิทธิภาพของสุกรทุกพันธุใกลเคียงกัน สุกรพันธุตางๆ จึงเขามาทดแทน พันธุพื้นเมืองและแพรกระจายทั่วไป สุกรพันธุแทที่ไดรับความนิยมในประเทศไทย ปจจุบันนี้มีหลายพันธุ เชน

2.2.1 สุกรพันธุลารจไวท

เลํ าตัวยาว หลังโคจากประเทศอังกฤประเทศไทย ปมาก ใหลูกดก แล

2ส

จากพันธุลารจไวทั้งตัว มีจมูกเรียเห็นไดชัด หลังตไดมาก สามารถเ

ปนสุกรท่ีมีขนและหนังสีขาวตลอดท้ังตัว มีขนาดใหญ โครงสรางใหญ งเล็กนอย หูต้ังตรง ขาตรงแข็งแรง มีการคัดเลือกและปรับปรุงพันธุษ มีการเจริญเติบโตดีและมีคุณภาพซากดีมาก เม่ือนํ าเขามาเล้ียงในรากฏวาไดรับความนิยมอยางรวดเร็ว เพราะเปนท่ีตองการของตลาดะเล้ียงลูกเกง สามารถขุนสงตลาดหรือผสมขามพันธุกับพันธุอ่ืนๆได

.2.2 สุกรพันธุแลนดเรซุกรพันธุแลนดเรซไดรับการปรับปรุงพันธุที่ประเทศเดนมารก หลังท มีลักษณะใกลเคียงกับพันธุลารจไวท มีขนและหนังสีขาวตลอด วยาว หูใหญปรกลงขางหนา ลํ าตัวยาวมาก ไหลกวางหนา สะโพกโตรงหรือโคงเล็กนอย ตัวเมียเล้ียงลูกเกง ลูกดกและเล้ียงลูกรอดตอครอกล้ียงเปนสุกรขุนหรือผสมขามพันธุลารจไวท และดร็อคเจอรซี

บัไปหนากอนน้ี ๐ หนาถัดไป ๐ กลับหนาหลัก/สารบัญ

Page 8: การเลี้ยงหมูในยุค IMF

การเล้ียงหมูในยุค IMF

๐ กล

8

2.2.3 สุกรพันธุดูร็อกเจอรซีสุกรพันธุดูร็อกเจอรซี มีถิ่นกํ าเนิดอยูในประเทศสหรัฐอเมริกา เปน

สุกรพันธุเน้ือสีแดงลวน สวนใหญขนสีแดงเขมจนเปนสีน้ํ าตาล มีโครงสรางใหญ

แขประเทศไทยไดดี พันธุผสม 2 สายเล

2.3 การคัดเลือกสใน

หลายๆ ชนิดในฟเปนพอพันธุและแมไปสูลูกหลาน ถาเกํ าไรตอฟารมไดมมีดังน้ี

2.- -

-

- - - -

บัไปหนากอนน้ี ๐ หนาถัดไป ๐ กลับหนาหลัก/สารบัญ

็งแรง บึกบึน กินอาหารเกง และปรับตัวเขากับสภาพแวดลอมของนิยมนํ ามาผสมพันธุกับสุกรพันธุแลนดเรซหรือลารจไวทเปนสุกรขุนอืดหรือ 3 สายเลือด ซ่ึงเปนท่ีนิยมมากในปจจุบันน้ี

กุรไวเปนพอพันธุ-แมพันธุการเล้ียงสุกรสํ าหรับเกษตรกรที่เล้ียงเพื่อผลิตลูก หรือเล้ียงสุกรารมเดียวกัน จ ําเปนจะตองพิถคพิถันในเร่ืองของการคัดเลือกสุกรไวพันธุ เน่ืองจากสุกรเหลาน้ีจะเปนตัวถายทอดลักษณะท่ีพึงปรารถนากษตรกรมีพอพันธุแมพันธุที่ดีก็จะมีโอกาสไดลูกสุกรที่ด ี สามารถท ําาก ลักษณะทั่วๆ ไปของสุกรที่ควรจะคัดไวเปนพอพันธุ-แมพันธุ

3.1 ลักษณะของสุกรแมพันธุ ควรจะมีลักษณะตางๆ คือเปนลูกสุกรที่เกิดจากแมที่เคยใหลูกดกมีอัตราการเจริญเติบโตดี โตเร็วกวาตัวอ่ืนๆ ในฝูงเดียวกัน มีน้ํ าหนักไมนอยกวา 90 กิโลกรัมเม่ืออายุ 5 เดือนมีอัตราการเปล่ียนอาหารดี คือกินอาหารนอยแตเพิ่มน้ํ าหนัก ไดมาก (กินอาหาร 2.8-3 กิโลกรัม ควรจะเพิ่มน้ํ าหนักได 1 กิโลกรัม)มีไขมันบางมีเตานมสมบูรณอยางนอย 12 เตามีโครงสรางรางกายแข็งแรง ลํ าตัวยาว ขาตรงแข็งแรงมีสุขภาพสมบูรณ ไมมีประวัติการเจ็บปวย ไมเคยเปนโรคติดตอ ที่รายแรง

Page 9: การเลี้ยงหมูในยุค IMF

การเล้ียงหมูในยุค IMF

๐ กลบัไปหนากอนน้ี ๐ หนาถัดไป ๐ กลับหนาหลัก/สารบัญ

9

2.3.2 ลักษณะของสุกรพอพันธุ การคัดเลือกสุกรไวเปนพอพันธุมีหลักปฏิบัติเชนเดียวกับสุกรพันธุ แตตองพิถีพิถันมากกวา กลาวคือ ในฝูงสุกรแมพันธุ 10-20 ตัว คลอดลูกออกมาท้ังส้ิน 100-200 ตัว อาจจะคัดตัวที่เดนที่สุดไวเปน พอพันธุเพียง 1-2 ตัวเทาน้ัน และจะตองเปนพอพันธุที่มีสุขภาพสมบูรณจริงๆ เน่ืองจากพอพันธุแตละตัวจะสามารถผสมกับแมสุกรและใหลูกไดจํ านวนมาก การคัดเลือกสุกรไวเปนพอพันธุอีกวิธีหน่ึงน้ันคือ เลือกสุกรท่ีลักษณะดีเดนไว 9-10 ตัว จากน้ันคอยๆ คัดตัวที่ลักษณะดอยกวาออกไปเรื่อยๆ จนสุกรมีอายุถึงกํ าหนดผสมพันธุได ใหเหลือตัวท่ีดีจริงๆ เพียงตัวเดียวเทานั้น

2.4 หลักการผสมพันธุสุกรเปาหมายสํ าคัญในการผสมพันธุสุกร คือ เพื่อใหไดลูกสุกรที่สมบูรณ

ในแตละครอกจํ านวนมาก รอดตายตอนหยานมจํ านวนมาก ลูกสุกรทุกตัวมีการเจริญเติบโตเร็ว แมสุกรกลับมาเปนสัดหลังจากคลอดลูกแตละรุนเร็ว และสามารถผสมติดไดเร็ว ในแตละป หรือในช่ัวชีวิตแมสุกรตัวหน่ึงๆ จะไดลูกมากกวาสุกรตัวอ่ืนๆ ที่จัดการการผสมพันธุไมดี

การผสมพันธุสุกรเพ่ือใหผสมติดมากและไดลูกตอครอกมากน้ัน มีหลักปฏิบัติทั่วๆ ไปดังน้ี

- เล้ียงสุกรพอพันธุและแมพันธุใหอยูในสภาพสมบูรณกอนการผสมพันธุ

- อยาปลอยใหลูกสุกรพอพันธุและแมพันธุอวนเกินไป- อยาผสมพอพันธุกับแมพันธุท่ีเปนพ่ีนองกันหรือมีสายเลือดชิดกัน- เล้ียงสุกรพอพันธุและแมพันธุในโรงเรือนท่ีมีอากาศเย็น มีการถายเทของอากาศไดดี

- คอกเล้ียงพอพันธุควรทํ าลานเดินใหพอพันธุเดินออกกํ าลังกาย หรือเล้ียงพอพันธุในแปลงหญา

- ควรผสมพันธุสุกรสาวเม่ือเปนสัดคร้ังท่ี 2 เพ่ือใหรางกายมีความสมบูรณเต็มท่ี

- การผสมพันธุควรจะผสมในเวลาอากาศเย็น คือ ตอนเชา 1 คร้ังและผสมซํ ้าอีกคร้ังหน่ึงหลังจากการผสมคร้ังแรก 12 ชั่วโมง

- หลังจากผสมพันธุแลวตองแยกแมสุกรเล้ียงตางหาก ใหอาหารอยางสมบูรณ

- แมสุกรทีผ่สมหลายคร้ังแลวไมติด หรือใหลูกตอครอกนอย ลูกไมสมบูรณ ควรจะคัดออก ไมเก็บไวเปนแมพันธุอีกตอไป

- ถาหาพอพันธุที่ดีๆ ไมได ควรจะผสมพันธุแมสุกรโดยการผสมเทียม

Page 10: การเลี้ยงหมูในยุค IMF

การเล้ียงหมูในยุค IMF

๐ กลบัไปหนากอนน้ี ๐ หนาถัดไป ๐ กลับหนาหลัก/สารบัญ

10

2.5 การผสมพันธุสุกร 2 สายเลือดความนิยมสุกรพันธุแทในตลาดสุกรขุนปจจุบันเร่ิมลดนอยลง ผูเล้ียง

สุกรขุนหันมาผสมพันธุสุกรโดยมุงใหมีการเจริญเติบโตดี มีอัตราการเปล่ียนอาหารเปนเน้ือดี โดยไมคํ านึงถึงเร่ืองพันธุ วิธีปฏิบัติที่นิยมมากวิธีหนึ่ง คือ การผสมพันธุสุกร 2 สายเลือด หมายถึง การนํ าพอสุกรและแมสุกรพันธุแท 2 พันธุ มาผสมกัน ท้ังน้ีเปนการรวมเอกลักษณะที่ดีเดนของพอพันธุและแมพันธุเขาดวยกัน พันธุที่นิยม ไดแก

แบบที่ 1 พอพันธุลารจไวท x แมพันธุแลนดเรซ

ลูกผสม 2 สายเลือด

แบบที่ 2 พอพันธุแลนดเรซ x แมพันธุลารจไวท

ลูกผสม 2 สายเลือด

แบบที่ 3 พอพันธุดูร็อคเจอรซี x แมพันธุลารจไวท

ลูกผสม 2 สายเลือด

2.6 การผสมพันธุสุกร 3 สายเลือดวัตถุประสงคของการผสมพันธุสุกร 3 สายเลือด คือ การรวมลักษณะ

ดีเดนจากสุกรพันธุแทหลายๆ พันธุ เชนเดียวกันกับการผสมพันธุสุกร 2 สายเลือด พันธุที่นิยมน ํามาผสมขามพันธุ ไดแก

- พันธุดูร็อคเจอรซี- พันธุแฮมปเชียร- พันธุลารจไวท- พันธุแลนดเรซ

Page 11: การเลี้ยงหมูในยุค IMF

การเล้ียงหมูในยุค IMF

๐ กลบัไปหนากอนน้ี ๐ หนาถัดไป ๐ กลับหนาหลัก/สารบัญ

11

โปรแกรมการผสมพันธุสุกร 3 สายเลือด มี 2 แบบคือแบบท่ี 1

ชัว่ที ่1 พอพันธุลารจไวท x แมพันธุแลนดเรซ

ลูกผสม 2 สายเลือด

ชัว่ที ่2 พอพันธุดูร็อคเจอรซี x ลูกผสม 2 สายเลือด

ลูกผสม 3 สายเลือด

แบบท่ี 2ชัว่ที ่1 พอพันธุลารจไวท x แมพันธุแลนดเรซ

ลูกผสม 2 สายเลือด

ชัว่ที ่2 พอพันธุแฮมปเชียร x ลูกผสม 2 สายเลือด

ลูกผสม 3 สายเลือด

3.1 หลักท่ัวไปในการจัดสรางโรงเรือนสุกรการจัดสรางโรงเรือนสํ าหรับเล้ียงสุกร ควรจะค ํานึงถึงหลักตอไปน้ี- โรงเรือนจะตองต้ังในท่ีสูง น้ํ าทวมไมถึง- ควรจะต้ังโรงเรือนหางจาก ชุมชน ถนนท่ีมีคนพลุกพลาน และหางจากฟารมสุกรฟารมอ่ืนๆ พอสมควร

บทที ่3โรงเรือนและอุปกรณการเล้ียงสุกร

Page 12: การเลี้ยงหมูในยุค IMF

การเล้ียงหมูในยุค IMF

๐ กลบัไปหนากอนน้ี ๐

12

- วางผังโรงเรือนใหความยาวของโรงเรือนอยูในแนวทิศตะวันตก ตะวันออก เพ่ือใหแสงแดดสองภายในโรงเรือนนอยท่ีสุด

- ควรจัดทางระบายน้ํ าเสียและบอน้ํ าเสียไวใกลๆ โรงเรือน- ควรปลูกไมยืนตนหางจากตัวโรงเรือน 5-6 เมตร ไมควรปลูกไมพุมเตี้ยเพระจะก ําบังลมท่ีพัดมาในระดับต่ํ า

- เน่ืองจากประเทศไทยอากาศรอนอยูตลอดท้ังป โรงเรือนสุกรควรจะโปรง หลังคาสูง ชายหลังคายางกันแดดไดมาก ฝาผนัง โรงเรือนโปรงระบายอากาศไดดีตลอดเวลา

- ถาสามารถขุดบอน้ํ ารอบๆ โรงเรือนหรือดานใดดานหน่ึงของโรงเรือน จะชวยใหบรรยากาศภายในโรงเรือนดีข้ึน อากาศเย็นสบายตลอดท้ังวัน

- การออกแบบโรงเรือนควรจะเผื่อไวสํ าหรับขยายโรงเรือนภายในอนาคตดวย

- อายุการใชงานของโรงเรือน ควรก ําหนดไวอยางนอย 10 ป

ซองตอนสุกรข้ึนรถ

รปูท่ี 4 แ

โรงเรือน 1

โรงเรือน 2

โรงเรือน 3

ถนนภายในฟารม

อางยาฆาเช้ือ

โรงเรือน 4

โรงเรือน 5

โรงเรือน 6

แนวถนน

หนาถัดไป ๐ กลับหนาห

บบแปลนโรงเรือนสุกร

ถนนใหญ

ลัก/สารบัญ

Page 13: การเลี้ยงหมูในยุค IMF

การเล้ียงหมูในยุค IMF 13

3.2 ลักษณะโรงเรือนลักษณะของโรงเรือนน้ัน เกษตรสามารถกอสรางแตกตางออกไปหลาย

รูปแบบ เชน

แบบเพิงหมาแหงน ส ําหรับเล้ียงสุกร 1-10 ตัวแบบหนาจั่ว ส ําหรับเล้ียงสุกร 10-100 ตัวแบบหนาจั่ว 2 ชั้น ส ําหรับเล้ียงสุกร 100 ตัวข้ึนไป

โรงเรือนตาม

รปูที่ 5 ลักษณะโรงเรือนดานนอก

รูป

กลบัไปหนากอนน้ี ๐ หนาถัดไป ๐ กลับหนาหลัก/สารบัญ

รปูที่ 6 ภายในคอกสุกรขุน

ที่ 6 มีสวนประกอบ ดังน้ี- หลังคาโรงเรือนแบบหนาจ่ัว สูงจากพื้น 3 เมตร- ชายหลังคาเลยออกไปท้ังสองขาง ขางละ 12 เมตร- มุมหลังคาลาดเอียงประมาณ 15 องศา- หลังคามุงดวยกระเบ้ืองลอนเล็ก กันความรอนไดดี- โรงเรือนกวาง 8 เมตร ยาว 20 เมตร มีทางเดินระหวางกลาง

2 เมตร- ภายในโรงเรือนแบงเปนคอกขนาดแตกตางกัน- พื้นโรงเรือนทํ าดวยคอนกรีตหยาบ มีความลาดเอียงประมาณ

10 องศา

Page 14: การเลี้ยงหมูในยุค IMF

การเล้ียงหมูในยุค IMF 14

- ดานหลังคอกมีรองระบายมูลสุกร- วัสดุกั้นคอกท ําดวยไมเน้ือแข็ง- ภายในโรงเรือนมีหองเก็บอาหาร วัสดุ และอุปกรณตางๆ

3.3 การแบงสัดสวนภายในโรงเรือน มีรายละเอียดดังน้ี3.3.1 คอกสุกรพอพันธุ

๐ กลบัไปหนากอนน้ี ๐ หนาถัดไป ๐ กลับหนาหลัก/สารบัญ

รูปที่ 7 คอกสุกรพอพันธุ

- สุกรพอพันธุแตละตัวตองแยกเล้ียงในคอกเด่ียว เล้ียงรวมกันไมได- คอกสุกรพอพันธุ ควรจะสรางไวดานใดดานหน่ึงของโรงเรือน เชน ดานตะวันออก

- คอกสุกรพอพันธควรจะสรางสูงกวาคอกสุกรขุน (1.2 เมตร) มีทางเขาออกสะดวก ประตูปดเปดงาย

- ดานหน่ึงของคอกสุกรพอพันธุ ควรจะติดตอกับคอกดินยื่นออกนอกโรงเรือน เพื่อใหพอสุกรเดินออกก ําลังกาย และไดรับแสงแดดบางบางเวลา

- คอกสุกรพอพันธุควรจะมีขนาด 2.5x3 เมตร มีรางอาหารคอนกรีต มีจุกน้ํ าชนิดดูด มีทางระบายมูลและรองน้ํ าอยูดานหลัง

3.3.2 คอกสุกรสาว- สุกรสาว หมายถึง สุกรท่ีมีน้ํ าหนักต้ังแต 40 กิโลกรัมข้ึนไป เตรียมไวเปนแมพันธุ

- คอกสุกรสาวตองเปนคอกรวม เล้ียงสุกรสาว 3-4 ตัว ในคอกเดียวกัน

- คอกสุกรสาวควรจะมีเน้ือท่ี 1-1.2 ตารางเมตรตอสุกรสาว 1 ตัว- เม่ือสุกรสาวน้ํ าหนักไดประมาณ 90 กิโลกรัม ตองยายเขาคอกสุกรพันธุเตรียมการผสมพันธุ

Page 15: การเลี้ยงหมูในยุค IMF

การเล้ียงหมูในยุค IMF

๐ กลบัไปหนากอนน้ี ๐ หนาถัดไป ๐ กลับหนาหลัก/สารบัญ

15

- การเล้ียงสุกรสาวตองควบคุมการเจริญเติบโต อยาปลอยใหอวนหรือโตเร็วเกินไป จะเปนผลเสียตอการผสมพันธุ

3.3.3 คอกสุกรแมพันธุ- คอกสุกรแมพันธุเปนคอกขังเด่ียว ขนาดประมาณ 1.4 ตารางเมตร เพื่อฝกใหแมสุกรอยูน่ิงๆ ไมกระวนกระวาย

- วัสดุที่นิยมใชท ําคอกสุกรแมพันธุคือ ทอแปบเหล็กเชื่อมเปนโครงโปรง แมสุกรจะยืนหรือนอนอยูในบริเวณท่ีจํ ากัด

- เม่ือสุกรพันธุผสมพันธุแลวจะตองยายไปคอกสุกรแมพันธุ (คอกคลอดและเล้ียงลูก) ซึ่งมีขนาดใกลเคียงกัน แตมีชองสํ าหรับลูกสุกรอยู

3.3.4 คอกคลอดเล้ียงลูก- คอกแมสุกรเล้ียงลูก แบงออกเปน 2 สวน คือ สวนที่แมสุกรอยู กวางประมาณ 80 เซนติเมตร ยาว 1.2 เมตร และสวนที่ลูกสุกรอยู 2 ขาง กวางขางละ 30-40 เซนติเมตร

- สวนที่แมสุกรอยู มีรางน้ํ าและรางอาหารอยูดานใดดานหน่ึง- แมสุกรจะหันหนาไปดานเดียวตลอด เอ้ียวตัวกลับไมได- เวลาสวนใหญแมสุกรจะยืน หรือนอนตะแคงขางใดขางหน่ึง ทํ าใหลูกสุกรเขาไปกินนมไดงาย แมสุกรจะไมนอนทับลูก

- สวนที่ลูกสุกรอยูควรมีรางอาหารเล็กๆ สํ าหรับใสอาหารเล้ียงลูกสุกร

- แมสุกรจะเล้ียงลูกอยูบนคอกน้ีไปจนถึงหยานม- คอกแมสุกร-ลูกสุกรควรจะจัดเรียงอยูในแถวเดียวกัน ไมปะปนกับสุกรชนิดอ่ืนๆ

3.3.5 คอกสุกรขุน- คอกสุกรขุนเปนคอกท่ีสรางงาย มีสวนประกอบนอย และสรางไดหลายแบบตามความตองการของเกษตรกร

- เกษตรกรที่เลี้ยงสุกรจํ านวนนอย หรือเล้ียงสุกรขุนเพียงอยางเดียว อาจจะสรางโรงเรือนเพิงหมาแหงนแลวใชไมไผทั้งลํ ากั้นเปนคอกสูงขึ้นมา 1 เมตร กวาง 3 เมตร ยาว 4 เมตร ก็สามารถใชเล้ียงสุกรขุนไดถึง 10 ตัว

- เกษตรกรที่เลี้ยงสุกรขุน 20-50 ตัว อาจจะท ําคอกดวยอิฐบลอก กอสูงข้ึนมา 5-6 กอน โดยให 2 กอนบนเปนอิฐโปรง ชวยให

Page 16: การเลี้ยงหมูในยุค IMF

การเล้ียงหมูในยุค IMF

16

ระบายอากาศดีข้ึน ทํ าพ้ืนคอนกรีตหยาบๆ จะเก็บกวาดท ําความสะอาดไดงาย

- เกษตรกรที่เล้ียงสุกรขุนอยางเปนอุตสาหกรรม ควรจะสรางคอกยกพื้นปูพื้นคอกดวยคอนกรีตเปนรองยาว เพื่อใหมูลสุกรไหลลงขางลางไดงาย คอกแบบนี้ก ําลังเปนท่ีนิยมมาก เพราะปองกันโรคไดดี ทํ าความสะอาดงาย ประหยัดแรงงาน ในคอกหน่ึงๆ ควรจะเล้ียงสุกรขุน 5-10 ตัวเทาน้ัน และคอกสุกรขุนแตละคอกตองเล้ียงสุกรอายุเทากัน ขนาดเทากัน

3.4 อุปกรณก

3.4

มีขนาดกวางปรเซนติเมตร เปสามารถดันจนพอาจจะเขาไปนอ

3.4

ผูเล้ียงสุกรอยาโดยใชโลหะสเต

กลบั

รูปที่ 8 คอกสุกรขุน

ารใหอาหารสุกรอุปกรณการใหอาหารสุกรท่ีนิยมใชกันมากในปจจุบันน้ีมี 4 แบบ คือ.1 รางอาหารคอนกรีตเกษตรกรนิยมกอคอนกรีตเปนรางอาหารยาวที่ดานหนาของคอกสุกร ะมาณ 30 เซนติเมตร ความยาวตามตองการ ความสูง 15-20 นรางอาหารแบบถาวร ขอดีคือ มีความทนทานมาก ใชไดนาน สุกรไมลิกคว่ํ าได แตมีขอเสียคือ เคล่ือนยายไมได ทํ าความสะอาดยาก สุกรนในรางอาหารได.2 รางอาหารยาวรางอาหารยาวสํ าหรับเล้ียงสุกรเปนท่ีนิยมกันมากในอดีต แตปจจุบัน งเปนการคานิยมทํ ารางอาหารยาวสํ าหรับเล้ียงสุกรเล็ก หรือลูกสุกร นเลสทํ าเปนรางอาหาร แลวติดไวเก็บดานใดดานหน่ึงของคอก

ไปหนากอนน้ี ๐ หนาถัดไป ๐ กลับหนาหลัก/สารบัญ

รปูท่ี 9 รางอาหารและที่ใหนํ้ าสุกร

Page 17: การเลี้ยงหมูในยุค IMF

การเล้ียงหมูในยุค IMF

๐ กลบัไ

17

สามาราคาคอนขางแพง ถา

3.4.3 ถถังอา

ใชไดกับสุกรเล็กและสสังกะสีหนา พ้ืนถึงเปไดรอบ เม่ือสุกรใชปหมดก็จะคอยๆ ไหลอสุกรยังสามารถเขากิน

3.4.4 ถฟารม

กันมาก เน่ืองจากสะอาหารได และสามาอาหารอัตโนมัติมีหลาท ําการศึกษาเพิ่มเติมจ

4.1 ปริมาณอาหารสอาย/ุน้ํ าหนัก

ลุกสุกร(หยานม-25 กิโลก

ปหนากอนน้ี ๐

รปูท่ี 10 ถังอาหารกลม

รถเคล่ือนยายและปลดออกมาทํ าความสะอาดไดงาย แตมี ใชอยางไมระมัดระวัง อายุการใชงานอาจจะไมนานนักงัอาหารกลมหารกลมเปนที่นิยมกันมากในปจจุบัน เพราะทํ าไดหลายขนาด ุกรใหญ สามารถเคล่ือนยายได ตัวถังท ําดวยโลหะสเตนเลสหรือนคอนกรีตหรือโลหะหนาเชนเดียวกันตัวถังตอเขากับแกนซ่ึงหมุนากดันถังใหหมุน อาหารก็จะไหลออกมาทีละนอยๆ เม่ืออาหารอกมาใหม เปนการปองกันอาหารหกหลนไปในตัว นอกจากน้ัน อาหารไดรอบทิศ ประหยัดเน้ือท่ีรางอาหารไดมากงัอาหารอัตโนมัติขนาดใหญซึ่งเลี้ยงสุกรจ ํานวนมาก หันมาใชรางอาหารอัตโนมัติดวกตอการปฏิบัติงาน ประหยัดแรงงานสามารถควบคุมปริมาณรถจดบันทึกปริมาณอาหารที่สุกรกินไดอยางถูกตองแมนยํ า ถังยแบบ แตละแบบตางก็มีขอดีขอเสียแตกตางกัน เกษตรกรควรจะากบริษัทผูผลิต

ํ าหรับสุกรขนปริมาณกิโลกร

รัม)0.2

าหารแล

บทที ่4ะการใหอาหารสุกร

หนาถัดไป ๐ กลับหนาหลัก/สารบัญ

าดตางๆอาหารัม/ตัว/วัน

ปริมาณอาหารท่ีกินสะสม(กิโลกรัม)

วิ ธี ก า ร ใ ห อาหาร

-0.8 49.5 ใหเต็มที่

Page 18: การเลี้ยงหมูในยุค IMF

การเล้ียงหมูในยุค IMF

๐ กลบัไปหนากอนน้ี ๐ หนาถัดไป ๐ กลับหนาหลัก/สารบัญ

18

สุกรรุน(25-60 กิโลกรัม)สุกรขุน(60-100 กิโลกรัม)สุกรแมพันธุสุกรพอพันธุ

1.0-1.8

2.0-3.0

2.0-2.52.5-3.0

98.0

84.0

--

ใหเต็มที่

ใหเต็มที่

จ ํากัดอาหารจ ํากัดอาหาร

* สุกรขุน สุกรรุน และลูกสุกรตองใหกินอาหารเต็มท่ี หมายถึงใสอาหารไวในรางตลอดท้ังวัน เพื่อใหสุกรโตเร็วที่สุด และมีน้ํ าใหกินตลอดเวลา

* สุกรแมพันธุและสุกรพอพันธุตองจ ํากัดอาหาร คือ ใหกินอาหารในปริมาณท่ีกํ าหนด เพ่ือไมใหสุกรอวนเกินไป หากสุกรแมพันธุอวนจะผสมติดยาก และสุกรพอพันธุอาจจะผสมไมดี อวนอุยอาย นอกจากน้ันยังมีอันตรายเพราะน้ํ าหนักตัวมากแขงขารับน้ํ าหนักไมไหว

* ปริมาณอาหารท่ีใหในตารางเปนเพียงตัวอยาง ในทางปฏิบัติปริมาณอาหารที่สุกรกินจะข้ึนอยูกับคุณภาพของอาหาร ถาอาหารมีคุณภาพดีสุกรจะกินในปริมาณนอยก็เพียงพอกับความตองการ

4.2 การผสมอาหารสุกรโดยใชหัวอาหารหัวอาหาร หมายถึง อาหารท่ีผสมใหมีความเขมขนมาก มีสารอาหารท่ี

เปนแหลงโปรตีน แรธาตุ และวิตามินในปริมาณสูง สวนใหญจะมีระดับโปรตีนประมาณ 35-45 เปอรเซ็นต นับวาสะดวกสบายสํ าหรับเกษตรกรมาก กอนใชเกษตรกรจะตองนํ ามาผสมกับแหลงพลังงาน ซ่ึงสามารถหาซ้ือในทองถ่ิน เชน ปลายขาว ขาวโพดปน มันสํ าปะหลัง รํ าขาว ในปริมาณที่บริษัทผูผลิตกํ าหนด การเลือกซ้ือหัวอาหาร ควรเลือกซ้ือใหเหมาะสมกับสุกรแตละขนาด เน่ืองจากบริษัทผูผลิตไดผลิตหัวอาหารข้ึนมาหลายชนิด เชน

• หัวอาหารสุกรพอพันธุ• หัวอาหารสุกรแมพันธุ• หัวอาหารลูกสุกร• หัวอาหารสุกรรุน• หัวอาหารสุกรขุน• หัวอาการสุกรสาว

การผสมหัวอาหารกับวัตถุดิบ อาจจะผสมดังตัวอยางตอไปน้ี• หัวอาหารเขมขน 20 กิโลกรัม• รํ าละเอียด 30 กิโลกรัม

Page 19: การเลี้ยงหมูในยุค IMF

การเล้ียงหมูในยุค IMF

๐ กลบัไปหนากอนน้ี ๐

19

• ปลายขาว 50 กิโลกรัมอาหารที่ผสมเสร็จจะมีโปรตีน 13-15 เปอรเซ็นต ข้ึนอยูกับชนิด

ของหัวอาหาร

4.3 การเล้ียงสุกรโดยใชอาหารสํ าเร็จรูปเน่ืองจากปจจุบันน้ี มีบริษัทผูผลิตอาหารสัตวหลายบริษัทไดทํ าการ

ผลิตอาหารสํ าเร็จรูป ซึ่งสามารถใชเล้ียงสุกรไดทันทีไมตองเสียเวลาผสมอีกใหความสะดวกตอเกษตรกรมาก แตราคาคอนขางสูง อาหารสํ าเร็จรูปน้ีเหมาะสํ าหรับลูกสุกร และเกษตรกรที่เร่ิมตนเล้ียงสุกรใหมๆ เพราะคุณภาพอาหารดีมาก ลดความยุงยากตางๆ ไดมากดวย

สุกรแตละอาย ุ แตลใหเกษตรกรทํ าความเขาใจและหม่ันตองการของสุกรขนาดตางๆ กัน ฟารมของตนเองใหดีข้ึนอยูเสมอ ท้ัง

5.1 การเล้ียงสุกรเล็ก สุกรรุน แล

การเล้ีย

บทที ่5งสุกรระยะตางๆ

ะขนาดตองการการดูแลและเล้ียงดูแตกตางกัน ขอศึกษาพฤติกรรมของสุกรแตละอายุ ศึกษาความแลวหม่ันปรับปรุงการเล้ียงดูและจัดการฝูงสุกรในน้ีหลักท่ัวไปในการเล้ียงดูสุกรระยะตางๆ มีดังน้ี

ะสุกรขุน

หนาถัดไป ๐ กลับหนาหลัก/สารบัญ

รปูที่ 11 สุกรขุน

Page 20: การเลี้ยงหมูในยุค IMF

การเล้ียงหมูในยุค IMF

๐ กลบัไปหน

20

- ถาลูขนาโดยค

น้ํ าหหยา15 -30 –60 –

- จัดรากินอและมน้ํ าห(กิโลหยา15 –30 –60 –

- ทีท่ ําใหน้ํ า

- การใกินจ

- ไมควนักอ

ากอนน้ี ๐ หนาถัดไป ๐ กลับหนาหลัก/สารบัญ

รปูท่ี 12 สุกรสาวคัดไวทํ าพันธุ

กสุกรในฟารมมีจํ านวนมาก ใหแบงเปนกลุมๆ แตละกลุมใหมีดใกลเคียงกันท่ีสุด แยกเล้ียงเปนคอก คอกละไมเกิน 20 ตัว ดิเน้ือท่ีตอตัว ดังน้ี

นักสุกร (กิโลกรัม) ขนาดพ้ืนท่ี (ตารางเมตร/ตัว)นม – 15 0.3 30 0.560 0.8 100 1.2

งน้ํ าและรางอาหารใหเพียงพอกับสุกรที่เล้ียง เพื่อใหสุกรไดาหารพรอมๆ กัน เม่ือสุกรโตข้ึนก็เปล่ียนรางอาหารใหยางข้ึน ีเน้ือท่ีรางอาหารตอสุกรแตละตัวมากข้ึนดวยนักสุกร ความยาวของรางอาหาร(เซนติเมตร/ตัว)กรัม)นม – 15 15 30 20 60 25 100 30

ใหน้ํ าสํ าหรับสุกรเล็ก สุกรรุน และสุกรขุนที่สะดวกที่สุด คือ ที่แบบหัวจุกอัตโนมัติ โดยกะใหนํ ้า 1 หัวตอสุกร 10-15 ตัวหอาหารสุกรทั้ง 3 ขนาด ตองใหอาหารเต็มท่ี คือใหมีอาหารนอิ่ม สวนใหญแลวจะใหอาหารวันละ 2 คร้ัง เชาและเย็นรอาบน้ํ าใหสุกร เพราะไมไดท ําใหเกิดประโยชนตอสุกรมากาจจะท ําใหสุกรล่ืนลม คอกเฉอะแฉะ เปนแหลงเพาะเชื้อโรค

Page 21: การเลี้ยงหมูในยุค IMF

การเล้ียงหมูในยุค IMF

๐ กลบัไปหนากอนน้ี ๐

21

- ทํ าการฉีดวัคซีนปองกันโรคระบาดสุกรโดยสม่ํ าเสมอ ตามคํ าแนะนํ าของสัตวแพทย

- การเคล่ือนยายสุกร การนํ าสุกรสงตลาด ควรจะท ําในชวงเวลาท่ีอากาศเย็น และใชความระมัดระวัง

- ควรจ ําหนายสุกรขุนเม่ือน้ํ าหนัก 90-100 กิโลกรัม อายุไมเกิน 7 เดือน

- สุกรสาวที่คัดไวทํ าพันธุ ควรจะแยกเล้ียงตางหากเม่ือน้ํ าหนักได 40 กิโลกรัมข้ึนไป

การเล้ียงสุกรก็เหมสัตวที่เล้ียงงาย เจริญเติบโตเร็ว มีคยังมีโอกาสเกิดโรคเจ็บปวยและลมตโรคเกิดข้ึน ปองกันไมใหมีการติดตออยางถูกวิธี จึงขอแนะนํ าหลักการปอศึกษาในเบ้ืองตน ดังน้ี

6.1 โรคสุกรที่ส ําคโรคสุกรที่สํ าคัญท

ไดแกโรคสุกร อาการโรคอหิวาตสุกร

โรคปากและเทาเปอย

- มีไขสูงร- ซึมไมกน้ํ ามูก

- ผิวหนังแ- มีอากาชักและต

- มีไขสูง

โรคที่ส ําคัญของสุก

บทที ่6ร การปองกันและการรักษา

หนาถัดไป ๐ กลับหนาหลัก/สารบัญ

อืนกับการเล้ียงสัตวชนิดอ่ืนๆ คือ แมวาสุกรจะเปนวามแข็งแรงทนทานตอสภาพแวดลอมตางๆ ไดดี ก็ายไดเชนเดียวกัน วิธีที่ดีที่สุด คือการปองกันไมให ลดความรุนแรงของโรค และท ําการรักษาโรคสัตวงกันโรค รวมท้ังโรคตางๆ ของสุกรใหเกษตรกรได

ญัท่ีเกษตรกรควรรูี่เกษตรกรควรจะรูและศึกษารายละเอียดเพิ่มเติม

การปองกัน-รักษาวดเร็วนิอาหาร ไอมี

ดงตามทองรทางประสาทายในที่สุด

- ฉีดวัคซีนปองกันโรคอหิวาต- ท ําลายซากสุกรที่เปนโรค

- นํ าสัตวแพทยมาตรวจ

- ฉีดวัคซีนปองกันโรคปากและเทาเปอย

Page 22: การเลี้ยงหมูในยุค IMF

การเล้ียงหมูในยุค IMF

๐ กลบัไปหนากอนน้ี ๐ หนาถัดไป ๐ กลับหนาหลัก/สารบัญ

22

โรคไขหนังแดง

โรคไขหวัดใหญ

มดลูกอักเสบ

- เร่ิมเกิดผื่นแดงที่ผิวหนัง หู จมูก

- สัตวเร่ิมเจ็บเทา มีแผลขางกีบ

- สัตวเบ่ืออาหาร ผอม- มีไขสูง- เร่ิมเกิดผื่นแดงที่ผิวหนัง หู จมูก

- เกดิแผลตามผิวหนัง- สุกรปวย หงอย ซึม

- อุ ณหภู มิ ตั ว สู ง ถึ ง 104-107 องศา ฟาเรนไฮต

- จ ะป ว ย ติดต อกั น ทั้งฝูง

- หนาว สั่น นอนสุมกัน

- ไอ จาม ข้ีมูกข้ีตาเหนียว

- แ ม สุ ก ร มี ห นอ ง สีเหลืองกล่ินเหม็นไหลอ อ ก ม า จ า ก ช อ งคลอด

- นํ าสัตวปวยออกจากฝูง

- ท ําลายเช้ือโรคในคอก

- ฉีดวคัซีนปองกันโรค- ฉีดยาเพนิซลิลินเพ่ือรักษาแผล

- เล้ียงสุกรในคอกที่แหงอากาศถายเทดีไมอับชื้น

- ใชยาปฏิชีวนะเพื่อปองกันโรคแทรกซอน

- ใชยาปฏิชีวนะฉีดสุกรเพ่ือปองกันโรคแทรกซอน

6.2 การฉีดวัคซีนปองกันโรคสุกรนอกจากเรื่องของการปองกันโรคโดยการจัดการสิ่งแวดลอมใหเหมาะ

สมแลว เกษตรกรจ ําเปนจะตองทํ าการฉีดวัคซีนปองกันโรคสุกรอยางสม่ํ าเสมอ ซ่ึงกรมปศุสัตวไดก ําหนดโปรแกรมการท ําวัคซีนใหเหมาะสม ดังน้ีอายุสุกร วัคซีนที่ฉีด5-6 สัปดาห6-7 สัปดาห8-10 สัปดาห7 เดือน8 เดือน

ฉีดวัคซีนปองกันโรคอหิวาตสุกรฉีดวัคซีนปองกันโรคปากและเทาเปอยฉีดวคัซีนปองกันโรคปากและเทาเปอยซ้ํ าฉีดวัคซีนปองกันโรคอหิวาตสุกรซ้ํ าฉีดวคัซีนปองกันโรคปากและเทาเปอยซ้ํ า

Page 23: การเลี้ยงหมูในยุค IMF

การเล้ียงหมูในยุค IMF

๐ กลบัไปหนากอนน้ี ๐ หนา

23

หลังจากการผสมพันธุแมสุกรแลวไมควรจะฉีดวัคซีน จนกระท่ังคลอดลูก จึงเริ่มโปรแกรมการทํ าวัคซีนใหม

6.3 หลักการใชวัคซีนปองกันโรคสุกร- ทํ าความสะอาดอุปกรณการทํ าวัคซีนโดยการตมฆาเช้ือโรค- ปลอยใหอุปกรณการท ําวัคซีนเย็นกอนเร่ิมทํ าวัคซีน- หามใชแอลกอฮอลหรือยาฆาเช้ือโรคอ่ืนๆ ทํ าความสะอาดอุปกรณการท ําวัคซีน

- เก็บรักษาวัคซีนใหถูกตอง อยาใหถูกความรอนหรือแสงแดด- ใชวัคซีนในปริมาณท่ีผูผลิตกํ าหนด- ทํ าวัคซีนกับสัตวท่ีมีอายุและขนาดตามท่ีผูผลิตวัคซีนกํ าหนด- สัตวทีจ่ะฉีดวัคซีนตองมีสุขภาพสมบูรณ- วัคซีนที่เหลือหลังจากการฉีดวัคซีนแลว ควรจะท ําลายโดยการฝงหรือเผา

- หลังจากการทํ าวัคซีน สุกรอาจจะเกิดอาการแพ ควรดูแลเอาใจใสใหดี

จดัทํ าเอกสารอิเล็กทรอนิกสโดย : ส ํานักสงเสริมและ

ถัดไป ๐ กลับ

ฝกอบรม มหา

หนาหลัก/สารบัญ

วทิยาลัยเกษตรศาสตร