101
แนวทาง การประเมินคุณภาพเครือขายบริการปฐมภูมิ (CUP) และหนวยบริการปฐมภูมิ (PCU) ตามเกณฑคุณภาพเครือขายบริการปฐมภูมิ (Primary Care Award) พัฒนาโดย คณะกรรมการที่ปรึกษาคุณภาพ ตามเกณฑคุณภาพเครือขายบริการปฐมภูมิ (Primary Care Award : PCA) จังหวัดสุรินทร 5. การมุงเนน ทรัพยากรบุคคล 4. การวัด การวิเคราะห และการจัดการความรู 1. การนําองคกร 2. การวางแผน เชิงยุทธศาสตร และกลยุทธ เกณฑ เกณฑ คุณภา คุณภา พการบริหารจัดการภาครั พการบริหารจัดการภาครัฐ 7. ผลลัพธ เกณฑคุณภาพเครือขายบริการปฐมภูมิ เกณฑคุณภาพเครือขายบริการปฐมภูมิ Primary Care Award Primary Care Award :PCA :PCA ดานคุณภาพ

คู่มือ PCA2012

  • Upload
    hpd-sdh

  • View
    226

  • Download
    3

Embed Size (px)

DESCRIPTION

คู่มือการพัฒนาคุณภาพเครือข่ายปฐมภูมิ (PCA)

Citation preview

Page 1: คู่มือ PCA2012

แนวทาง การประเมินคุณภาพเครอืขายบริการปฐมภูมิ (CUP)

และหนวยบริการปฐมภูมิ (PCU) ตามเกณฑคุณภาพเครอืขายบริการปฐมภูมิ

(Primary Care Award) พัฒนาโดย คณะกรรมการท่ีปรึกษาคุณภาพ ตามเกณฑคุณภาพเครือขายบริการปฐมภมิู (Primary Care Award : PCA) จังหวัดสุรินทร

6. การจัดการกระบวนการ

5. การมุงเนนทรัพยากรบุคคล

4. การวัด การวิเคราะห และการจัดการความรู

3. การใหความสําคัญและนเสีย

กับผูรับบริการผูมีสวนไดสว

1. การนําองคกร

2. การวางแผนเชิงยุทธศาสตรและกลยุทธ

ลักษณะสําคัญขององคกร สภาพแวดลอม ความสัมพันธ และความทาทาย

เกณฑเกณฑคุณภาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัพการบริหารจัดการภาครัฐฐ

7. ผลลัพธการดําเนินกา

เกณฑคุณภาพเครือขายบริการปฐมภูมิเกณฑคุณภาพเครือขายบริการปฐมภูมิ

Primary Care Award Primary Care Award :PCA:PCA

ดานคุณภาพ

Page 2: คู่มือ PCA2012

สารบัญ แนวคิดหลัก ๔ เปาหมาย ๕ แกนคุณคาของการทํางานพัฒนาคุณภาพของเครือขายบริการปฐมภูมิ ๕ เนื้อหาสําคัญของเกณฑคุณภาพเครือขายบริการปฐมภูมิ ๕ ประเด็นการประเมินท่ีแตกตาง ๗ ระดับการพัฒนาคุณภาพหนวยบริการปฐมภูมิและเครือขายบริการปฐมภูมิตามเกณฑ คุณภาพเครือขายบริการปฐมภูมิ (Primary Care Award) ๘ การพัฒนาคุณภาพเครือขายบริการปฐมภมิู (CUP) ๓ ข้ันบันไดตามมาตรฐานเกณฑ คุณภาพเครือขายบริการปฐมภูมิ (Primary Care Award) ๑๐ เกณฑการประเมินคุณภาพเครือขายบริการปฐมภูมิของระดับเครือขายบริการ ๑๕ การเยี่ยมสํารวจ ๑๘ การเขียนรานงานระดับการพัฒนา ตามเกณฑมาตรฐานคุณภาพเครือขายบริการปฐมภูมิ ๒๐ ตารางประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพท่ีปรึกษาประเมินเครือขายบริการปฐมภมิู ตามเกณฑ คุณภาพเครือขายบริการปฐมภูมิ (Primary Care Award) ๒๓ แนวทางการเขียนประเมินตนเองและรายงานระดับการพฒันา PCAข้ัน ๒ - ข้ัน ๓ ๒๖ รายงานการประเมินตนเอง(SAR : PCA ๒๐๑๒) ๒๗

ข้ัน ๒ สูข้ัน ๓ (Profile Report : PCA ๒๐๑๒) ๖๘ รายงานการประเมินระดับการพัฒนาเรียนรูอยางตอเนื่องตามกระบวนการเรียนรู

(PDCA/CQI) ตามเกณฑคุณภาพเครือขายบริการปฐมภมิู ( Primary Care Award) ข้ัน ๒ สูข้ัน ๓ (CQI Report : PCA ๒๐๑๒) ๙๐

นิยามศัพท ๙๖

Primary Care Award 2011, Surinpho. W.Somchai Ph.D

Page 3: คู่มือ PCA2012

คํานํา

ระบบบริการปฐมภูมิ ไดมีการพัฒนาและฟนฟูข้ึนหลังจากการปฏิรูประบบบริการสุขภาพ เปนการเปล่ียนแปลงการจัดระบบบริการปฐมภูมิ เร่ิมตั้งแตการกาํหนดใหมีศูนยสุขภาพชุมชน ใหเปนหนวยบริการใกลบานใกลใจ ประชาชนสามารถเขาถึงไดสะดวก และไดรับบริการข้ันพื้นฐานท่ีดีมีคุณภาพมาตรฐาน กระทรวงสาธารณสุข จึงไดกําหนดนโยบายใหมีการพัฒนาและประเมินรับรองมาตรฐานหนวยบริการปฐมภูมิ โดยไดแตงต้ังคณะทํางานประกอบดวย กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ สํานกับริหารการพฒันาระบบบริการปฐมภูมิ สํานักปลัดกระทรวงสาธารณสุข สํานักงานหลักประกนัสุขภาพแหงชาติ และผูแทนจากสวนภูมิภาค พัฒนาและปรับปรุงมาตรฐานข้ึนเพื่อใหมีความเหมาะสม ทันสมัย เนนการพัฒนาคุณภาพของหนวยบริการปฐมภูมิในรูปแบบของเครือขาย โดยไดนํากรอบคุณภาพของ Malcolm Baldrige National Quality Award มาประยุกตใชเปนกรอบในการพัฒนา เพือ่ใหเกดิการจดัการเปนระบบท้ังองคกร และจัดทําเปนเกณฑคุณภาพเครือขายบริการปฐมภูมิ ( Primary Care Award :PCA )

คณะกรรมการท่ีปรึกษาคุณภาพตามเกณฑคุณภาพเครือขายบริการปฐมภูมิ (Primary Care Award) ไดเล็งเห็นความสําคัญของการพัฒนาคุณภาพของหนวยบริการปฐมภูมิและเครือขายบริการ ปฐมภูมิโดยมุงเนนเช่ือมโยงระบบบริการ ระหวางปจจัยนําเขา กระบวนการ รวมท้ังการบริหารจัดการซ่ึงจะทําใหเกิดการจัดการเปนระบบทั้งองคกร โดยการนํากรอบคุณภาพของ Malcolm Baldrige National Quality Award โดยไดดําเนินการวิจัยและพัฒนา(Research and Development) ในพื้นท่ีและประยุกตใชเปนกรอบแนวทางการพัฒนาและจัดทําแนวทางการประเมินคุณภาพเครือขายบริการปฐมภูมิ (CUP) และหนวยบริการปฐมภูมิ (PCU) ตามเกณฑคุณภาพเครือขายบริการปฐมภูมิ (Primary Care Award) โดยการทดลองใชและนําผลมาปรับปรุงแกไขใหสอดคลองกับบริบทบริการปฐมภูมิ จึงถือวาเอกสารฉบับนี ้เปนแนวทางที ่มีการบูรณาการงานครอบคลุมกระบวนการ และแนวทางการดําเนินงานของผูเกี ่ยวของ จึงหวังวาแนวทางเลมนี ้จะใชเปนแนวทางในการพัฒนาคุณภาพตามเกณฑคุณภาพเครือขายบริการปฐมภูมิ (Primary Care Award) ตอไป ในการนี้ตองขอกราบขอบพระคุณคณะกรรมการที่ปรึกษาคุณภาพและผูบริหารทุกระดับ รวมท้ังผูเกี่ยวของในการดําเนินงานในคร้ังนี้

ดร.สมชาย วงษพิริยะไพฑูรย คณะกรรมการท่ีปรึกษาคุณภาพ

ตามเกณฑคุณภาพเครือขายบริการปฐมภมิู จังหวดัสุรินทร ตุลาคม ๒๕๕๔

Primary Care Award 2011, Surinpho. W.Somchai Ph.D

Page 4: คู่มือ PCA2012

คู การพัฒนาคุณภาพหนวยบริการปฐมภูมิและเครือขายบริการปฐมภูมิ ตามเกณฑคุณภาพเครือขายบริการปฐมภูมิ (Primary Care Award : PCA)

แนวคิดหลัก

ระบบบริการปฐมภูมิ ไดมีการพัฒนาและฟนฟูข้ึนหลังจากการปฏิรูประบบบริการสุขภาพ เปนการเปลี่ยนแปลงการจัดระบบบริการปฐมภูมิ เริ่มตั้งแตการกําหนดใหมีศูนยสุขภาพชุมชน ใหเปนหนวยบริการใกลบานใกลใจ ประชาชนสามารถเขาถึงไดสะดวก และไดรับบริการขั้นพื้นฐานท่ีดีมีคุณภาพมาตรฐาน กระทรวงสาธารณสุข จึงไดกําหนดนโยบายใหมีการพัฒนาและประเมินรับรองมาตรฐานหนวยบริการปฐมภูมิ โดยไดแตงตั้งคณะทํางานประกอบดวย กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ สํานักบริหารการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ สํานักปลัดกระทรวงสาธารณสุข สํานักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติ และผูแทนจากสวนภูมิภาค พัฒนาและปรับปรุงมาตรฐานข้ึนเพื่อใหมีความเหมาะสม ทันสมัย เนนการพัฒนาคุณภาพของหนวยบริการปฐมภูมิในรูปแบบของเครือขาย โดยไดนํากรอบคุณภาพของ Malcolm Baldrige National Quality Award มาประยุกตใชเปนกรอบในการพัฒนา เพื่อใหเกิดการจัดการเปนระบบท้ังองคกร และจัดทําเปนเกณฑคุณภาพเครือขายบริการปฐมภูมิ ( Primary Care Award :PCA ) หัวใจสําคัญท่ีเปนคุณภาพของหนวยบริการปฐมภูมิ คือ ตองเปนบริการองครวมตอเนื่อง ผสมผสานและสนับสนุนการพึ่งตนเองของประชาชนอยางสมดุล ซ่ึงคุณสมบัติเหลานี้ เปนหลักการท่ีผูใหบริการตองใชเปนฐานในการดําเนินงานบริการในทุกดานของหนวยบริการปฐมภูมิ ในการดูแลประชากรแตละคนหรือแตละกลุม ตองพยายามท่ีจะบูรณาการดานการสงเสริมสุขภาพ การปองกัน การรักษาพยาบาล และการฟนฟูสุขภาพไปพรอมกัน และกระบวนการดําเนินงานตองคํานึงถึงมิติทางดานจิตใจ สังคม และสภาพแวดลอมของประชาชนหรือผูรับบริการดวยการพัฒนาคุณภาพหนวยบริการปฐม ภูมิไดนําแนวคิด CQI (Continuous Quality Improvement) มาใช ซ่ึงจะเนนการประเมินเพื่อการพัฒนาระบบบริการอยางตอเนื่อง โดยใชมาตรฐานและการประเมินตนเองเปนเคร่ืองมือใหเกิดกระบวนการเรียนรู / พัฒนา ใหกับหนวยบริการ

Primary Care Award 2011, Surinpho. W.Somchai Ph.D

Page 5: คู่มือ PCA2012

เปาหมาย เปาหมายของระบบการพัฒนาคุณภาพหนวยบริการปฐมภูมิ คือการกระตุนใหหนวยบริการ

ปฐมภูมิ เกิดกระบวนการเรียนรูรวมกันระหวางผูปฏิบัติในหนวยบริการปฐมภูมิ ผูบริหาร และผูเกี่ยวของในระดับอําเภอ และเครือขายบริการปฐมภูมิ (CUP) ตลอดจนหนวยงานที่เกี่ยวของและชุมชน เพื่อพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิใหตอบสนองความตองการ ความจําเปนดานสุขภาพของประชาชน และนําไปสูการมีสุขภาพดี ชุมชนพึ่งตนเองได อยางมีประสิทธิภาพ แกนคุณคาของการทํางานพัฒนาคุณภาพของเครือขายบริการปฐมภูมิ ประกอบดวย

๑. การนําหนวยบริการปฐมภูมิและเครือขายบริการปฐมภูมิอยางมีวิสัยทัศน ๒. ความรับผิดชอบตอชุมชน และสังคม ๓. มุมมองเชิงระบบ ๔. การมุงเนนอนาคต และการใชประโยชนจากการคาดการณแนวโนมในอนาคต ๕. การมองประชาชนเปนศูนยกลาง หรือ ความเปนเลิศท่ีตองไดมาจากการให

ความสําคัญกับประชากรเปาหมาย ๖. การทํางานเปนทีม และมีสวนรวมกับกลุมเปาหมาย รวม้ังหนวยงานท่ี

เกี่ยวของท้ังภาครัฐและเอกชน ๗. การมีความคลองตัว ๘. การยึด ผลสัมฤทธ์ิ และการสรางคุณคา เปนเปาหมายในการทํางาน ๙. การบริหารจัดการเพ่ือสรางนวัตกรรม ๑๐. การเรียนรูของหนวยบริการปฐมภูมิและเครือขายบริการปฐมภูมิ และทีม

สุขภาพ ๑๑. การบริหารจัดการดวยการใชขอมูล และขอเท็จจริง

เนื้อหาสําคัญของเกณฑคุณภาพเครือขายบริการปฐมภูมิ ประกอบดวย สวนพ้ืนฐาน และองคประกอบขององคกร ๓ สวน ๗ หมวด คือ สวนพื้นฐาน ลักษณะสําคัญขององคกร ๑. ลักษณะพืน้ฐานของหนวยบริการปฐมภมิูและเครือขายปฐมภูมิ

๑.๑ วิสัยทัศนและพันธกจิ ๑) การเปล่ียนแปลงท่ีเปนผลจากวิสัยทัศนขององคกร :

๒) บทบาทของผูนําในการสรางส่ิงแวดลอมและบรรยากาศท่ีเอ้ือตอส่ิงแวดลอมและการพัฒนา และบทเรียนท่ีเกิดข้ึน :

Primary Care Award 2011, Surinpho. W.Somchai Ph.D

Page 6: คู่มือ PCA2012

๓) บทบาทของผูนําในการสรางวัฒนธรรมความปลอดภยัและบทเรียนท่ีเกิดข้ึน : ๑.๒ สภาพโดยรวมท่ีสําคัญของทีมสุขภาพ ๑.๓ เทคโนโลยี อุปกรณ ส่ิงอํานวยความสะดวกท่ีสําคัญในการใหบริการและการปฏิบัติของ

องคกรท่ี เหมาะสมและปลอดภัย ๑.๔ กฎหมาย กฎระเบียบ และขอบังคับท่ีใชและเกี่ยวของในการปฏิบัติงาน

๒. ความสัมพนัธภายในและภายในหนวยปฐมภูมิและเครือขายปฐมภมิู รวมท้ังภาคีเครือขายสุขภาพ (ผูมีสวนไดสวนเสีย) ๓. ความทาทายท่ีสําคัญของหนวยบริการปฐมภูมิและเครือขายบริการปฐมภูมิ

๓.๑ การเปรียบเทียบเพื่อการพัฒนา ๓.๒ ความทาทายเชิงกลยุทธ ๓.๓ ระบบการปรับปรุงผลการดําเนนิการ

สวนท่ี ๑ การบริหารจัดการองคกร หมวด ๑ การนําองคกร

๑.๑ ภาวะผูนําของผูบริหารองคกร ๑.๑.๑ การกําหนดและถายทอดทิศทางของเครือขายบริการปฐมภมิู ๑.๑.๒ การกํากับดูแลตนเองท่ีดีของเครือขายหนวยบริการปฐมภูมิ ๑.๑.๓ การทบทวนผลการดําเนินการของเครือขายหนวยบริการปฐมภูมิ

๑.๒ ความรับผิดชอบตอสังคม ๑.๒.๑ ความรับผิดชอบของเครือขายหนวยบริการปฐมภมิู ๑.๒.๒ การดําเนินการอยางมีจริยธรรม ๑.๒.๓ การใหการสนับสนุนตอชุมชนท่ีสําคัญ

หมวด ๒ การวางแผนเชิงกลยุทธ ๒.๑ การจัดทํายุทธศาสตรและกลยุทธ

๒.๑.๑ การจัดทํายุทธศาสตรและกลยุทธ ๒.๑.๒ เปาประสงคเชิงกลยทุธและกลยุทธ

๒.๒ การนํากลยุทธไปปฏิบัติ ๒.๒.๑ การจัดแผนปฏิบัติการ ถายทอดแผนไปสูการปฏิบัติ และสนับสนุนทรัพยากรใน การดําเนนิงานใหเพียงพอ ทันเวลา ๒.๒.๒ การประเมินผลการดําเนินการและการคาดการณผลการดําเนนิงาน หมวด ๓ การใหความสําคัญกับประชากรเปาหมาย ชุมชน และผูมีสวนไดเสีย ๓.๑ ความรูเกี่ยวกับประชากรเปาหมาย ชุมชน และผูสวนไดสวนเสีย ๓.๒ ความสัมพันธและความพึงพอใจของประชากรเปาหมายชุมชน และ และผูสวนไดสวน

Primary Care Award 2011, Surinpho. W.Somchai Ph.D

Page 7: คู่มือ PCA2012

เสีย ๓.๒.๑ การสรางความสัมพันธกับประชากรเปาหมายชุมชน และ และผูสวนไดสวน เสีย ๓.๒.๒ การวดัความสัมพันธและความพึงพอใจของประชากรเปาหมายชุมชน และ และ ผูสวนไดสวนเสีย หมวด ๔ การวิเคราะหและการจัดการความรู ๔.๑ การวดั วิเคราะห และพิจารณาผลการดําเนนิการขององคกร

๔.๑.๑ การวดัผลงาน ๔.๑.๒ การวิเคราะหและทบทวนประเมินผล

๔.๒ การจัดการสารสนเทศและการจัดการความรู ๔.๒.๑ ความพรอมใชงานของขอมูลและสารสนเทศ ๔.๒.๒ การจัดการความรูขององคกร ๔.๒.๓ การจัดการขอมูล สารสนเทศและองคความรูใหมีคุณภาพ หมวด ๕ การมุงเนนทรัพยากรบุคคล

๕.๑ ระบบบริหารงานบุคคลท่ีกอใหเกิดการมุงเนนผลสัมฤทธ์ิของงานตามภาระหนาท่ี ความรับผิดชอบ

๕.๑.๑ การจัดระบบและบริหารงาน ๕.๑.๒ ระบบการประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากร ๕.๑.๓ การจางงานและความกาวหนาในการงาน

๕.๒ การเรียนรูและการสรางแรงจูงใจบุคลากรในเครือขายบริการปฐมภูมิ ๕.๒.๑ การพัฒนาบุคลากร ๕.๒.๒ การสรางแรงจูงใจ และการพัฒนาความสดกาวหนาในงาน ๕.๒.๓ การสรางความผาสุกและความพึงพอใจแกบุคลากร ๕.๒.๔ สภาพแวดลอมในการทํางาน ๕.๒.๕ การใหการสนับสนนุสรางความพึงพอใจใหแกบุคลากร

สวนท่ี ๒ กระบวนการสําคัญของเครือขายบริการปฐมภูมิ หมวด ๖ ดานระบบบริการ

๖.๑ กระบวนการใหบริการท่ีสรางคุณคาของระบบบริการปฐมภูมิ ๖.๑.๑ การจัดระบบบริการสุขภาพโดยรวมของหนวยบริการปฐมภูมิและเครือขาย

๖.๑.๒ การบริการปฐมภูมิระดบับุคคลและครอบครัวแบบผสมผสานเปนองครวม ตอเนื่อง ๖.๑.๓ การดูแลสุขภาพของกลุมประชากร

Primary Care Award 2011, Surinpho. W.Somchai Ph.D

Page 8: คู่มือ PCA2012

๖,๑,๔ การสรางกระบวนการเรียนรูรวมกับองคกรชุมชน ๖.๒ กระบวนการสนับสนุนการใหบริการท่ีสรางคุณคาของระบบบริการปฐมภูมิ ๖.๒.๑ การจดัระบบสนับสนุนบริการ ๖.๒.๒ การสนบัสนุนและมีสวนรวมของทองถ่ิน ชุมชน หนวยงานตาง ๆ สวนท่ี ๓ ผลลัพธการดําเนินงานของเครือขายบริการปฐมภูมิ หมวด ๗ ผลลัพธการดําเนินงานของเครือขายบริการปฐมภูมิ ๗.๑ ผลลัพธการดําเนนิการดานประสิทธิผล ๗.๒ ผลลัพธการดําเนินการดานคุณภาพของกระบวนการและคุณภาพในมุมมองของ ประชาชนและผูมีสวนไดสวนเสีย ๗.๓ ผลลัพธการดําเนนิการดานประสิทธิภาพของกระบวนการใหบริการ ๗,๔ ผลลัพธการดําเนนิการดานการพัฒนาองคกรเครือขายบริการปฐมภูมิ ประเด็นการประเมินท่ีแตกตาง กรอบแนวคิดการพัฒนาเกณฑคุณภาพนี้ มิไดกําหนดรายละเอียดกจิกรรมวาตองทําอยางไรท่ีตายตัว แตจะตองพิจารณา

๑. แนวปฏิบัติตาง ๆ มีการออกแบบ มีเหตุผลความเปนมา และวางแผนอยางเปนระบบท่ี ชัดเจนหรือไม หรือเปนการทําตามสถานการณเฉพาะหนา

๒. แนวปฏิบัตดิําเนินการอยางท่ัวถึงทุกคนในองคกร หรือเปนเฉพาะบุคคล ๓. แนวการทํางานดานตาง ๆ นัน้มีความสอดคลอง เชื่องโยงกับปจจยั และระบบงานดาน

อ่ืน ๆ เชน สอดคลองกับวิสัยทัศน พนัธกจิของหนวยงาน คุณคาหลัก และแผนกลยทุธหรือไม แผนกลยุทธสอดคลองกับบริบทและทรัพยากรบุคคลหรือไม ผลลัพธการทํางานขององคกรสอดคลองกับแผน หรือเปาหมายท่ีตั้งไวหรือไม อยางไร เปนตน

ฉะนั้น การประเมินจากบุคคลภายนอกองคกรจึงมิใชการบอกวาทําถูก หรือผิดใน รายละเอียด แตเนนท่ีสรางการเรียนรู เปนการแลกเปล่ียนเรียนรูมุมมองการพิจารณาความเช่ือมโยง ความสอดคลองของระบบยอยตาง ๆ และพิจารณาในแงทิศทางการทํางานขอองคกรวาทํางานอยางเปนระบบ และสอดคลองกับบริบทหรือไมอยางไร ฉะนั้น บุคคลภายนอกท่ีจะเขาไปมองความเชื่อมโยงภายใตเกณฑคุณภาพนี้ จึงควรเปนบุคลท่ีมองในภาพรวมของระบบได หรือมองความเชื่อมโยงระหวางระบบใหญขององคกร และเนนการใหขอสะทอน เพื่อใหบุคคลภายในองคกรนาํไปพิจารณาทบทวน ปรับปรุงใหมีการพัฒนาที่ดีมากยิ่งขึ้น

Primary Care Award 2011, Surinpho. W.Somchai Ph.D

Page 9: คู่มือ PCA2012

ระดับการพัฒนาคุณภาพหนวยบริการปฐมภูมิและเครือขายบริการปฐมภูมิตามเกณฑคุณภาพเครือขายบริการปฐมภูมิ (Primary Care Award)

รายละเอียดและการประเมิน ระดับการพัฒนาคุณภาพ

หนวยบริการปฐมภูมิ เครือขายบริการปฐมภูมิ

เขาสูกระบวนการ

มีการทําความเขาใจกับเกณฑคุณภาพเครือขายบริการปฐมภูมิและมีการประเมินตนเอง

มีการทําความเขาใจกับเกณฑคุณภาพเครือขายบริการปฐมภูมิและมีการประเมินตนเอง

ขั้นท่ี ๑ รูจักสภาพปญหาระบบสุขภาพ / ความเส่ียงท่ีสําคัญของเครือขายบริการ (PCU+CUP)และมีแนวทางในการสนับสนุนทรัพยากรในการจัดการปญหาและความเส่ียงท่ีสําคัญ

รูจักตนเอง ทราบปญหาสุขภาพและความเส่ียงท่ีสําคัญและมีการจัดการปญหาความเส่ียงท่ีสําคัญ ๑.ประเมินตนเองหมวด P หมวด ๓ หมวด ๖ ๑.ประเมินตนเองหมวด P หมวด ๓ หมวด ๖

ขอ ๖.๒ ขอ ๖.๑.๑ , ขอ ๖.๑.๒ ๒.ประเมินและจัดระบบพัฒนาปญหาสุขภาพท่ีพบบอย (Common Health Problem)

๒.ประเมินและจัดระบบพัฒนาระบบสนับสนุนในปญหาท่ีพบบอย

ขั้นท่ี ๒ วิเคราะหหาสาเหตุ มีแนวทางมาตรการแกไขปญหา ความเสี่ยงท่ีสําคัญ รวมท้ังปญหาและความเส่ียงท่ีสําคัญไดรับการแกไข

วิเคราะหปญหา / ความเส่ียงท่ีสําคัญและวางแผนสนับสนุนทรัพยากรอยางเปนระบบปญหาและความเส่ียงท่ีสําคัญของเครือขายฯไดรับการแกไข ๑.ประเมินตนเองหมวด ๓ หมวด ๖ ขอ

๖.๑.๑,ขอ ๖.๑.๒,๖.๑.๓และหมวด ๗ ขอ ๗.๒

๑.ประเมินตนเองครบ ๗ หมวด

หรือประเมินหมวด๑,๒,๔,๕,๖(ขอ ๖.๑.๑) และหมวด ๗ ๒.จัดทําแผนพัฒนาปญหาที่พบบอยในพืน้ท่ี

๒.ประเมินและจัดระบบพัฒนา

ขั้นท่ี ๓ - เช่ือมโยงผลงานกับผลลัพธสอดคลองกับสภาพปญหาของพื้นท่ี

-

- มีระบบงานและแนวทางท่ีสําคัญและมีการนําเอามาตรฐาน PCA สูการปฏิบัติจนเกิดผลลัพธท่ีดี ๑.มีการประเมินท่ีเช่ือมโยงกบัผลลัพธ (มี

มีการวางแผนสนับสนุนท่ีสอดคลองกับสภาพปญหาของพื้นท่ี(ท้ังเครือขาย)และมีระบบติดตาม ประเมินผลลัพธของเครือขายจนเกดิผลลัพธท่ีดีบางระบบของเครือขาย ๑.มีการประเมินท่ีเช่ือมโยงกบัผลลัพธและแผนเปนระบบ

Primary Care Award 2011, Surinpho. W.Somchai Ph.D

Page 10: คู่มือ PCA2012

๑๐

แผนท่ีเปนระบบ : Preventive action) ๒.มีผลลัพธแสดงได

ขั้นท่ี ๔ มีการนํามาตรฐาน PCA สูการปฏิบัติครบทุกหมวด มีผลลัพธ / แนวโนมท่ีดีข้ึน

มีรูปแบบการจัดการโครงสรางบริหาร CUP และการวางแผนระยะส้ัน ระยะยาวท่ีครอบคลุมทุกทิศทางการพัฒนาทุกระบบจนเกิดผลลัพธคาเฉล่ียท่ีดีของเครือขายฯ

๑.ประเมินตนเองครบ ๑.ประเมินตนเองครบ ๒.มีผลลัพธคาเฉล่ียด ี ๒.มีผลลัพธคาเฉล่ียบางระบบดี

ขั้นท่ี ๕ มีผลลัพธอยูในระดับดแีละบางระบบสามารถเปนแบบอยางท่ีด ี

มีระบบการบริหารจัดการของ CUPท่ีมีประสิทธิภาพและเปนไปตามหลักธรรมาภิบาล ๑.มีการประเมินครบ

๒.มีผลลัพธในระดับด ี ๑.มีการประเมินครบทุกหมวด ๒.ประเมินเกณฑ Primary Care Award

หมายเหตุ การดําเนนิการพัฒนาคุณภาพหนวยบริการปฐมภูมิและเครือขายหนวยบริการปฐมภมิู แบงการพัฒนาดังนี ้ - ระดบั การพัฒนาข้ันท่ี ๑ – ข้ันท่ี ๓ โดยทีมพฒันาคุณภาพระดับจังหวดั - ระดบั การพัฒนาข้ันท่ี ๔ – ข้ันท่ี ๕ โดยทีมพฒันาคุณภาพจากหนวยงานภายนอก ดังนั้นเกณฑการประเมินคุณภาพหนวยบริการปฐมภูมิและเครือขายหนวยบรกิารปฐมภูมิ จะเนนการประเมินคุณภาพในระดับจังหวดั ซ่ึงอยูในระดับการพัฒนาคุณภาพข้ันท่ี ๑ – ข้ันท่ี ๓ เทานั้น การพัฒนาคุณภาพเครือขายบริการปฐมภมิู (CUP) ๓ ขั้นบันไดตามมาตรฐานเกณฑคุณภาพเครือขายบริการปฐมภูมิ (Primary Care Award) เขาสูกระบวนการ มีการทําความเขาใจกับเกณฑคุณภาพเครือขายบริการปฐมภูมิและมีการประเมิน ตนเองจากรางเกณฑการประเมิน ขั้นบันไดท่ี ๑ รูจักตนเองทราบปญหาสุขภาพและความเสี่ยงท่ีสําคัญและมีการจัดการปญหาความเส่ียงท่ีสําคัญ ๑.๑ ประเมินตนเอง หมวด P, หมวด ๓, หมวด ๖ ขอ ๖.๑.๑, ๖.๑.๒ ๑.๒ ประเมินและจัดระบบพัฒนาท่ีเปนปญหาสุขภาพท่ีสําคัญในพื้นท่ี

Primary Care Award 2011, Surinpho. W.Somchai Ph.D

Page 11: คู่มือ PCA2012

๑๑

ประเด็น ขอกําหนด / การพิจารณา ผลการดําเนินงานคุณภาพ ท่ีไดจากการสัมภาษณ สังเกต

หลักฐาน เอกสาร

ขอ ๑. รูจักสภาพปญหาสุขภาพและความเส่ียง(สาเหต)ุท่ีสําคัญของเครือขายบริการ

รูจักสภาพปญหา/ความเสี่ยง ขอมูล/หลักฐาน/เอกสารปญหาสุขภาพ ใชขอมูลจากหมวด P โดยจัดทํา

ขอมูลท่ัวไปเปน Profile และประเด็นทาทาย (บริหาร บริการวิชาการ) การเปรียบเทียบตนเองกับผูอ่ืน

- ขอมูลระบาดวิทยา ๕๐๖ (๓ ปยอนหลัง) - มีแนวทางในการสนับสนุน

ทรัพยากรในการจัดการปญหาและความเส่ียงท่ีสําคัญ

- ขอมูลรายงาน ๕๐๔ - สถิติชีพ/อัตราปวย/ตาย (๓ ปยอนหลัง)

แผนยุทธศาสตรอําเภอ ๓-๕ ป - - แผนปฏิบัตกิาร Action Plan ๑ ป - ขอมูลสถานะสุขภาพ - บันทึกการประชุมของคณะกรรมการ CUP Board วาระตางๆ - การสรุปปญหาสุขภาพ/ความเส่ียงท่ีสําคัญทุก รพ.สต.รวมท้ังการแกไข * รูตัวเอง รูปญหา รูความเส่ียง * รูวิธีแกหรือจัดการปญหาเบ้ืองตน * ความทาทายท่ีสําคัญของหนวยงาน - มีการจําแนกกลุมเปาหมายอยางชัดเจน ประกอบดวยผูรับบริการ ผูมีสวนไดสวนเสียท้ัง ปจจุบัน และอนาคต -มีการกําหนดกลุมเปาหมายสําคัญท่ีเปนจุดเนนจากการจัดลําดับความสําคัญของปญหาเพื่อจดัระบบบริการท่ีสอดคลอง - ศึกษาความตองการ ความคาดหวัง และความพงึพอใจของลูกคาแตละกลุม -ใหเลา Case ท่ีภาคภูมิใจ

Primary Care Award 2011, Surinpho. W.Somchai Ph.D

Page 12: คู่มือ PCA2012

๑๒

ประเด็น ขอกําหนด / การพิจารณา ผลการดําเนินงานคุณภาพ ท่ีไดจากการสัมภาษณ สังเกต

หลักฐาน เอกสาร (Telling story) กระบวนการ การบริการและการนําไปพัฒนาตอเนื่อง - มีการจัดระบบสนับสนุนจากเครือขายท่ีสอดคลองกันกับความตองการและปญหาสุขภาพท่ีสําคัญในชุมชน

หมวด ๓ - มีการจําแนกกลุมเปาหมายอยางชัดเจน ประกอบดวยผูรับบริการ ผูมีสวนไดสวนเสียท้ัง ปจจุบัน และอนาคต

ขอ ๓.๑ ความรูเกี่ยวกับประชาชนกลุมเปาหมาย ประชากร ชุมชนและ ผูมีสวนไดสวนเสีย -มีการกําหนดกลุมเปาหมายสําคัญท่ี

เปนจุดเนนจากการจัดลําดับความสําคัญของปญหาเพื่อจดัระบบบริการท่ีสอดคลอง

ขอ ๓.๒ ความสัมพันธและความพึงพอใจของประชากรเปาหมาย ท้ังชุมชนและ ผูมีสวนไดสวนเสีย - ศึกษาความตองการ ความคาดหวัง

และความพงึพอใจของลูกคาแตละกลุม

หมวด ๖ ขอ ๖.๑.๑ การจัดระบบบริการ ใหประชาชนเขาถึงบริการไดงาย และเทาเทียม

-ใหเลา Case ท่ีภาคภูมิใจ (Telling story)กระบวนการ การบริการและการนําไปพฒันาตอ - มีการจัดระบบสนับสนุนจากเครือขาย ท่ีสอดคลองกันกับความตองการและ ปญหาสุขภาพท่ีสําคัญในชุมชน

Primary Care Award 2011, Surinpho. W.Somchai Ph.D

Page 13: คู่มือ PCA2012

๑๓

ขั้นบันไดท่ี ๒ วิเคราะหหาสาเหตุ มีแนวทางมาตรการแกไขปญหาความเสี่ยงท่ีสําคัญรวมท้ังปญหาและความเสี่ยงท่ีสําคญัไดรับการแกไข ๒.๑.ประเมินตนเองหมวด P, หมวด ๓, หมวด ๖ และหมวด ๗ ขอ ๗.๒ (แสดงผลลัพธท่ีสําคัญ)

๒.๒.จัดทําแผนหรือแนวทางพัฒนาในระบบที่เปนปญหาสําคัญในพื้นท่ี โดยการวิเคราะห หาสาเหตุ ความเส่ียงท่ีสําคัญเพื่อนํามาสูการจัดการและวางแผนปองกันอยางเปนระบบ

ประเด็น ขอกําหนด / การพิจารณา แนวทาง/เอกสาร

๑.วิเคราะหปญหา/ความเสี่ยงท่ีสําคัญ และวางแผนสนับสนนุทรัพยากรอยางเปนระบบ

ประเมินผาน หมวด P หมวด ๓

ขอมูล/ผลการวิเคราะหปญหา ตนเหตุของปญหา โดยใชเคร่ืองมือ SWOT ,หรือ วิเคราะหถึงสาเหตุ

หมวด ๖ ตามขั้นท่ี ๑ เพิ่มประเด็น ๒. ปญหาและความเสี่ยงท่ี

สําคัญไดรับการแกไข -สรุปผลการประเมิน ( รูปเลม CUP )

-มีกระบวนการวิเคราะหและสรุปปญหาความเส่ียงที่สําคัญในพื้นท่ี -สรุปผลการดําเนินงาน ( การ

สนับสนุน ) ตามปญหาและความเส่ียงสําคัญอยางนอย ๑ เร่ือง

-นําปญหาและความเส่ียงท่ีไดไปวางแผน จดัการแกไข และจัดระบบปองกัน

-

หมวด ๖ นําเสนอระบบสนับสนุนท่ีสําคัญอยางนอย ๑ ระบบ

-การจัดระบบสนับสนุนท่ีสําคัญ ท่ี CUPควรมีการสนับสนุน ไดแก ระบบ IC

ระบบการสงตอ(Refer)

ระบบยาและเวชภณัฑ

ระบบงานชันสูตร

ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ

(ICT) ระบบการรักษา ไดแก การ รักษาโรคเฉียบพลัน,โรคเร้ือรัง ระบบดูแลตอเนื่องและอ่ืนๆ

ตามความเหมาะสม

Primary Care Award 2011, Surinpho. W.Somchai Ph.D

Page 14: คู่มือ PCA2012

๑๔

หมวด ๗ -ผลลัพธเชิงคุณภาพการใหบริการ

นําเสนอผลลัพธผลลัพธท่ีสําคัญโดยเฉพาะผลลัพธท่ีดีข้ึนจากกระบวนการพัฒนา

ขั้นบันไดท่ี ๓ มีการวางแผนสนับสนุนท่ีสอดคลองกับสภาพปญหาของพ้ืนท่ี (ท้ังเครือขาย) และมีระบบติดตาม ประเมินผลลัพธของเครือขายจนเกิดผลลัพธท่ีดีบางระบบของเครือขาย

๓.๑. ประเมินตนเองครบทุกหมวดหาโอกาสพัฒนา ๓.๒. มีระบบงานและแนวทางท่ีสําคัญและมีการนําเอามาตรฐาน PCA สูการปฏิบัติ จนเกิดผลลัพธท่ีดี มีผลลัพธแสดงได

๓.๓. มีการนําขอมูลมาใชในการวัดวิเคราะหวางแผนและติดตามประเมินผลอยางเปนระบบ หมวด๔) (

๓.๔. มีการพัฒนาเรียนรูอยางตอเนื่องตามกระบวนการเรียนรู PDCA CQI จนเกิดผลลัพธท่ีดีข้ึน

ประเด็น ขอกําหนด / การพิจารณา แนวทาง / เอกสาร

ขอ ๑.เครือขาย มีระบบงานและแนวทางท่ีสําคญัและมีการนําเอามาตรฐานPCA สูการปฏิบตัจินเกิดผลลัพธท่ีดี มีผลลัพธแสดงได

ประเมินผาน หมวด P หมวด ๓ - มีระบบงานมาตรฐาน PCA ตามบริบทของพ้ืนท่ี หมวด ๖ ตามขั้นท่ี ๒ - มีกิจกรรมและผลลัพธท่ีมี เพิ่มประเด็น การเปล่ียนแปลงท่ีดีข้ึน ๑. ประเมินตนเองตาม

มาตรฐานครบทุกหมวดและหาโอกาสพัฒนาในแตละระบบ

มีการเปรียบเทียบผลลัพธ -

มีโอกาสการพัฒนา - ขอ ๒. มีการนําขอมูลมาใชในการวัดวิเคราะหวางแผนและติดตามประเมนิผลอยางเปนระบบ (หมวด๔)

มีรูปแบบกิจกรรม -

มี CPG , แนวทางการพัฒนา - ๒. มีการพัฒนาระบบงาน/ระบบสนับสนุนสําคัญท่ีชัดเจน(ตามระบบสําคัญในข้ันท่ี ๒)

TREND, สถิติ, ขอมูล นําเสนอระบบสนับสนุนสําคัญ - ขอ ๓.มีการพฒันาเรียนรูอยาง

ตอเนื่องตามกระบวนการเรียนรู PDCA / CQI จนเกิดผลลัพธ

ไดแก ระบบการดูแลผูปวยในกลุมโรคเร้ือรัง กลุมมารดาทารก และผูสูงอายุ ระบบสงตอ ระบบการดูแลตอเนื่อง

๓. มีการใชขอมูล การวัดวิเคราะห ในการวางแผน การดําเนนิการ และติดตามประเมินผล

ท่ีดีขึ้น

-

๔. มีกระบวนการเรียนรูอยางตอเนื่อง

๕. มีผลลัพธแสดงได

นําเสนอกระบวนการเรียนรูในการพัฒนาระบบงานอยางนอย ๑ ระบบ

Primary Care Award 2011, Surinpho. W.Somchai Ph.D

Page 15: คู่มือ PCA2012

๑๕

เกณฑการประเมินคุณภาพเครือขายบริการปฐมภูมิของระดับเครือขายบริการ สําหรับเครือขายบริการปฐมภูมิซ่ึงมีความสําคัญตอการบริการท่ีมีคุณภาพของการจัดบริการท่ีมีคุณภาพของหนวยบริการ ซึงเกณฑนี้จะใหความสําคัญกับการประเมินเครือขายบริการฯ(CUP) ในการบริหารจัดการ สนับสนุนการจัดบริการในดานดานตางๆ ใหกับหนวยบริการปฐมภูมิแตละแหง ดังนั้นการประเมินระดับเครือขายบริการฯ จึงเปนสวนท่ีสําคัญในการเห็นภาพรวมของการพัฒนา ในเครือขายบริการฯ นั้น ขั้นบันไดท่ี ๑ ประกอบดวยประเด็นสําคญัดังนี ้

รูจักสภาพปญหาสุขภาพและความเสี่ยงท่ีสําคัญท้ังในระดับภาพรวมของเครือขายบริการปฐมภูมิและระดับหนวยบริการปฐมภูมิในแตละแหง

มีแนวทางการสนับสนุนทรัพยากรในการจัดการปญหาสุขภาพและความเส่ียงท่ีสําคัญในการดําเนนิงานของหนวยบริการหรือการสนับสนุนทรัพยากรที่จําเปนในการดําเนนิงาน ปญหาและความเสี่ยงสําคัญนั้นไดรับการปรับปรุงแกไข

ข้ันบันไดที่ ๑ นี้ ใหพิจารณาวาเครือขายบริการปฐมภมิูทราบปญหาสุขภาพท่ีสําคัญของพื้นท่ี ความเส่ียงท่ีสําคัญในการดําเนินของหนวยบริการปฐมภมิูในแตละแหง ตลอดจนการสนับสนุนทรัพยากรที่จําเปนในการดําเนินงานของหนวยบริการ และมีการดําเนนิการปรับปรุงแกไขปญหาและความเส่ียงท่ีสําคัญนั้นๆ ประเด็นปญหาและความเสี่ยงท่ีสําคัญขั้นท่ี ๑ ท่ีควรพิจารณา ไดแก ๑. เครือขายบริการปฐมภูมิควรทราบของปญหาสุขภาพที่สําคัญเกีย่วกบัความชุกของโรค อัตราการเกดิโรคท่ีสําคัญ พบบอย รุนแรงในพ้ืนท่ี เกีย่วกบัการจดัการบริการที่มีคุณภาพในหนวยบริการปฐมภูมิ เชน ตามการจดับริการแบบองครวมผสมผสานท้ังในกลุมแบบเฉียบพลัน เร้ือรัง ตามกลุมประชากรเส่ียง ตามกลุมอาย ุตามกลุมผูดอยโอกาส ตามลักษณะพ้ืนท่ี/การประกอบอาชีพ เปนตน ๒. เครือขายบริการปฐมภูมิควรทราบความเส่ียงท่ีสําคัญในการสนับสนุนทรัพยากรที่จําเปนใหเพยีงพอ เชน งบประมาณ ยาและเวชภณัฑและเวชภณัฑท่ีมิใชยา วสัดุชันสูตร วสัดุเคร่ืองมืออุปกรณครุภณัฑท่ีจําเปนในการจัดบริการ เปนตน

๓. เครือขายบริการปฐมภูมิจดัใหมีระบบสนับสนุนท่ีสําคัญ เชน ระบบเฝาระวังและควบคุมการติดเช้ือในสถานบริการ ระบบการดูแลรักษาพยาบาลตอเนื่อง(เฉียบพลัน-เร้ือรัง)รวมถึงระบบการสงตอ(ไป-กลับ) ระบบงานชันสูตร ระบบยาและเวชภณัฑ ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ระบบพัฒนาคุณภาพ ระบบบริหารทรัพยากรบุคคล เปนตน

๔. เครือขายบริการปฐมภูมิมีระบบนิเทศ ประเมินติดตาม และการประสานงานเพ่ือการจัดบริการภายในเครือขายท่ีดีในข้ันท่ี ๑ เครือขายบริการปฐมภูมิมีจดัการปญหาและความเส่ียงการดําเนินงานท่ีสําคัญนั้น ๆ เพือ่ใหมีการจดับริการท่ีมีคุณภาพท่ีหนวยบรกิารปฐมภูมิ

Primary Care Award 2011, Surinpho. W.Somchai Ph.D

Page 16: คู่มือ PCA2012

๑๖

ขั้นบันไดท่ี ๒ ประกอบประเด็นสําคัญดงันี ้ผานข้ันบันไดที่ ๑

เครือขายบริการปฐมภูมิวิเคราะหปญหา/ความเส่ียงท่ีสําคัญในการดําเนนิงาน มีการสนับสนุนทรัพยากรที่จําเปนอยางเปนระบบ

มีการนําขอมูลมาใชในการวดัวิเคราะห วางแผนและติดตามประเมินผลอยางเปนระบบ

หมายเหตุ ระบบ หมายถึง มีแนวทางการดําเนินงาน การประเมินติดตามผลลัพธ การประเมินในข้ันบันไดท่ี ๒ นี้พิจารณาจากการท่ีเครือขายบริการปฐมภูมิตอยอดจากข้ันท่ี

ผานมา และไดวิเคราะหขอมูล หาสาเหตุท่ีแทจริงแลวนํามาวางระบบ แนวทาง มาตรการปองกนัปญหา/ความเสี่ยงในการดําเนินงานท่ีสําคัญนั้นๆนําสูการปฏิบัติจนเกดิผลลัพธ ขั้นบันไดท่ี ๓ ประกอบดวยประเด็นสําคญั ดังนี ้

ผานข้ันบันไดที่ ๒

มีระบบงานและแนวทางท่ีสําคัญและมีการนําเอามาตรฐาน PCA สูการปฏิบัติจนเกดิผล

ลัพธแสดงได มีการพัฒนาเรียนรูอยางตอเนื่องตามกระบวนการเรียนรู PDCA/CQI จนเกิดผลลัพธท่ีดี

ข้ึน การประเมินในข้ันบันไดท่ี ๓ นี้พิจารณาจากท่ีเครือขายบริการปฐมภมิูไดมีการพัฒนาตอ

ยอดจากข้ันท่ีผานมา และมีการวางระบบการสนับสนุนทรัพยากรตางๆ เพื่อจัดการปญหา/ความเสี่ยงการดําเนนิงานท่ีสําคัญ ไดครอบคลุมปญหาสุขภาพท่ีสําคัญของพื้นท่ี และระบบสนบัสนุนทรัพยากรที่จําเปนจนเกิดผลลัพธท่ีดีในระบบงานท่ีสําคัญ และปญหาที่สําคัญไดรับการปรับปรุงแกไขจนเกิดผลลัพธท่ีดี (ผลลัพธท่ีดี หมายถึง มีผลลัพธท่ีเปล่ียนแปลงในทางท่ีดขีึ้นเม่ือเทียบกับเปาหมายท่ีหนวยงานกําหนด(Goal) มีแนวโนมท่ีดีขึ้น (Trend) หรือเทียบเคียงกับคามาตรฐาน (Standard)) เครือขายบริการปฐม มีขอมูลผลการดําเนินงานของเครือขายบริการปฐมภูมิ ท่ีจะนํามาใชประโยชนในการจัดการบริการ การบริหาร พัฒนาคุณภาพการบริการปฐมภูมิ ขั้นบันไดท่ี ๑

รูจักสภาพหนวยงานของตนเองวามีพันธกิจ หรือบทบาทหนาท่ีตามกฎหมาย รวมถึงทิศทาง

เปาประสงค วัฒนธรรมและคานิยมขององคกร สภาพแวดลอม ความสัมพันธท่ีสําคัญกับประชาชน ชุมชน ผูรับบริการท้ังในสถานบริการและในชุมชน ความสัมพันธกับหนวยงานภายนอก ภาคีเครือขายบริการสุขภาพ

ทราบปญหาสุขภาพและความเส่ียงท่ีสําคัญ และมีการจัดการปญหาสุขภาพและความเส่ียงท่ี

สําคัญนั้น

Primary Care Award 2011, Surinpho. W.Somchai Ph.D

Page 17: คู่มือ PCA2012

๑๗

ประเด็นปญหาและความเสี่ยงท่ีสําคัญท่ีควรพิจารณาไดแก ๑. ปญหาสุขภาพท่ีพบบอยและ/หรือรุนแรงในพื้นท่ี เชน การเกิดโรคระบาด โรคติดตอท่ี

เปนปญหาในพื้นท่ี เปนตน ๒. การดูแลสุขภาพตามกลุมประชากร เชน กลุมผูสูงอายุ กลุมโรคเร้ือรัง กลุมมารดาทารก กลุมผูดอยโอกาส/ผูพิการ กลุมประชากรตามภาวะเส่ียงตางๆ ตามลักษณะพื้นท่ีหรือการประกอบอาชีพ ๓. การจัดบริการรักษาพยาบาลท้ังภาวะเฉียบพลัน และเร้ือรัง และการดูแลตอเนื่อง ๔. การประสานงานกับหนวยงานภายนอกท่ีสําคัญ ภาคีเครือขายตางๆในพื้นท่ี เชน องคการบริหารสวนตําบล โรงเรียน วัด ชมรมตางๆ องคกรภาคเอกชน ผูนําชุมชน เปนตน ๕. การจัดการอาคารสถานท่ี ส่ิงแวดลอม การเฝาระวังปองกันการติดเช้ือและการแพรกระจายเช้ือท่ีปลอดภัยท้ังผูรับบริการและผูใชบริการ ๖. การบริหารจัดการยาเวชภัณฑและเวชภัณฑท่ีไมใชยา ท่ีมีคุณภาพ ปลอดภัยตามมาตรฐาน

๗. การบริการดานชันสูตร ใหไดมาตรฐาน ถูกตองเหมาะสม ๘. การจัดการเก่ียวกับเคร่ืองมืออุปกรณ ครุภัณฑท่ีจําเปนในการบริการใหเพียงพอ พรอมใช เท่ียงตรงและปลอดภัย ๙. การบริหารจัดการดานทรัพยากรบุคคลตังแตการสรรหา พัฒนาบุคลากร การสรางเสริมขวัญกําลังใจ

การประเมินในข้ันบันไดท่ี ๑ นี้ใหพิจารณาวาหนวยบริการทราบปญหาท่ีสําคัญของพื้นท่ีและ/หรือประเด็นความเส่ียงที่สําคัญในการดําเนินงานของหนวยงาน และมีการนําปญหาและความเส่ียงตางๆนั้นนํามาแกไข ปรับปรุง พัฒนา ซ่ึงผลลัพธอาจยังไมเปนท่ีนาพอใจก็ไดเปนพัฒนาในเชิงการตั้งรับ ขั้นบันไดท่ี ๒

ผานข้ันบันไดท่ี ๑

มีการวิเคราะหหาสาเหตุท่ีแทจริงแลวนําไปวางระบบ แนวทาง มาตรการปองกันการเกิดปญหา/ความเส่ียงนั้นๆ ใหเกิดผลลัพธท่ีดีข้ึน

มีการใชขอมูลมาวิเคราะหเพื่อหาสาเหตุของปญหา/ความเสี่ยงนั้นๆ ซ่ึงเปนการพัฒนาเชิงการปองกัน

ขั้นท่ี ๓ ผานข้ันบันไดท่ี ๒

ครอบคลุมระบบงานและแนวทางท่ีสําคัญและมีการนําเอามาตรฐาน PCA สูการปฏิบัติจนเกิดผลลัพธท่ีดี มีผลลัพธท่ียอมรับได

Primary Care Award 2011, Surinpho. W.Somchai Ph.D

Page 18: คู่มือ PCA2012

๑๘

มีการนําขอมูลมาใชในการวัดวิเคราะหวางแผนและติดตามประเมินผลอยางเปนระบบ

มีการพัฒนาเรียนรูอยางตอเนื่องตามกระบวนการเรียนรู PDCA/CQI จนเกิดผลลัพธท่ีดีขึ้น

การประเมินในข้ันบันไดท่ี ๓ นี้ใหพิจารณาวาหนวยบริการมีการพัฒนาตอยอดจาการพัฒนาในข้ันท่ีผานมาแลวมีการปรับปรุงระบบงาน แนวทาง มาตรการตางๆท่ีวางไวโดยนําผลการดําเนินงานมาใชในการทบทวนเพื่อทําไดผลลัพธท่ีดีข้ึน มีการหมุนวงลอ PDCA/CQI ในระบบงาน แนวทาง มาตรการ ดังกลาวและครอบคลุมระบบท่ีสําคัญๆของหนวยงาน เร่ิมนําเอาเกณฑมาตรฐานคุณภาพเครือขายบริการปฐมภูมิมาเปนแนวทางการปฏิบัติงานและมีผลลัพธการดําเนินงานบางระบบดี ยอมรับได การเยี่ยมสํารวจ

การเยี่ยมสํารวจ คือ การกระตุนใหเครือขายบริการปฐมภูมิและหนวยบริการปฐมภูมิ เกิดกระบวนการเรียนรู เนนการประเมินเพื่อการพัฒนาระบบบริการอยางตอเนื่อง โดยใชมาตรฐานและการประเมินตนเองเปนเคร่ืองมือใหเกิดการกระบวนการเรียนรู/พัฒนา ใหกับหนวยบริการปฐมภูมิ

เปาหมายการเยี่ยมสํารวจ ๑. เพื่อยืนยันผลการประเมินตนเอง

๒. เพื่อกระตุนใหเห็นโอกาสพัฒนา และเกิดความเขาใจในมาตรฐานนําสูการ ปฏิบัติ โดยมุงเนนสํารวจในประเด็นสําคัญ ความเส่ียง ความเชื่อมโยงเชิงระบบ กระบวนการ PDCA /CQI

๓. เพื่อประเมินระดับการปฏิบัติตามมาตรฐาน ๔. การกระตุนเสริมพลัง รับฟง อยางเปนกัลยาณมิตร

ผลท่ีคาดวาจะไดรับจากการเยี่ยมสํารวจ ๑. หนวยงาน / เครือขายบริการฯภูมิใจในผลงานของตน

๒. หนวยงาน / เครือขายบริการฯ เห็นโอกาสพัฒนาและมีความมุงม่ันท่ีจะพัฒนา ตอเนื่อง

๓. หนวยบริการ/เครือขายบริการฯม่ันใจในตัวผูเยี่ยมสํารวจและกระบวนการเยี่ยม สํารวจ (โปรงใส เปนธรรม มีมาตรฐาน มีประสิทธิภาพและเปนมิตร)

๔. ท้ังทีมงานของหนวยบริการฯและผูเยี่ยมสํารวจ มีความสุข ขอควรปฏิบัติสํารวจผูเยี่ยมสํารวจ

๑. ยึดมาตรฐาน PCA และแนวคิด TQM/CQI ๒. ใหความสําคัญกับการทบทวนประเมินตนเอง

๓. ทําหนาท่ีเปนโคช(Coaching) ๔. ใชหลัก priority, simplicity, integration

Primary Care Award 2011, Surinpho. W.Somchai Ph.D

Page 19: คู่มือ PCA2012

๑๙

๕. ศึกษาขอมูล เตรียมประเด็นสําคัญ ๖. ยืดหยุน ดูความเปนไปได

ขอแนะนําการปฏิบัติในการเยี่ยมสํารวจ ๑. ไมควรเขาไปช้ีผิดชี้ถูก

๒. ไมควรตัดสินพิพากษา ๓. ไมควรยัดเหยียดความคิด ๔. ไมควรอวดภูมิรูของผูเยี่ยม ๕. ไมควรถามหาขอมูลท่ีมีอยูแลวในแบบประเมินตนเอง ๖. ไมควรถามหาขอมูลตัวเลข ปริมาณงาน ปริมาณเจาหนาท่ี ๗. ไมควรถามเพ่ือตนเอง ปญหาของตนเอง ความสนใจของตนเอง ๘. ไมควรทําใหหนวยงานสับสน คิดวาส่ิงท่ี หนวยบริการ/เครือขายฯทํามาไม

ถูกตอง ๙. ไมควรมองหาเพื่อจับผิด

ผลลัพธจากการเยี่ยมสํารวจ ๑. การ feed back ดวยวาจาแก เครือขายและหนวยบริการ

๒. เอกสารรายงานแก คณะกรรมการรับรอง และหนวยบริการ ๓. ขอมูลเพียงพอสําหรับการตัดสินรับรอง

การเตรียมตัวสําหรับผูรับการสํารวจและผูเยี่ยมสํารวจ ๑. หนวยบริการและเครือขายจัดสงขอมูลใหผูเยี่ยมสํารวจลวงหนา กอนวันเยี่ยม

สํารวจ ๒. หนวยบริการและเครือขายเตรียมหลักฐาน/ขอมูลที่สําคัญเพื่อยืนยัน/เสริมแบบ

ประเมินตนเอง และนําเสนอโดยสรุประยะเวลาประมาณ ๒๐ นาที ๓. ผูเยี่ยมสํารวจศึกษาขอมูล / แบบประเมินตนเอง และสรุปประเด็นลวงหนา ๔. ผูเยี่ยมสํารวจกําหนดประเด็นสําคัญรวมกันในวันกอนเยี่ยม ๕. กําหนดแผนและตารางเยี่ยมสํารวจท่ีชัดเจน ๖. กําหนดผูประสานระหวางผูเยี่ยมและผูรับการสํารวจเพื่อการประสานเตรียมพรอม

ท่ีดี จุดเนนของการเยี่ยมสํารวจท่ีพึงเปน

๑. เนนเปาหมายของมาตรฐานมากกวารูปแบบท่ีตายตัว ๒. เนนผลลัพธควบคูไปกับกระบวนการ

๓. เนนการดูเชิงระบบมากกวาการดูในรายละเอียด ๔. เนนการเช่ือมโยงในเร่ืองทิศทางนโยบายและการประสานในแนวราบ

Primary Care Award 2011, Surinpho. W.Somchai Ph.D

Page 20: คู่มือ PCA2012

๒๐

๕. เนนการสังเกตและรับรูในเชิงจิตวิญญาณควบคูไปดวย ๖. Verify การปฏิบัติท่ีเปนรูปธรรมตามขอมูลในแบบประเมินตนเองมากกวาการรับ

ฟงคําตอบเชิงทฤษฎี การเขียนรายงานระดับการพัฒนา ตามเกณฑมาตรฐานคุณภาพเครือขายบริการปฐมภูมิ

รายงานเปรียบเสมือนเอกสารลายลักษณอักษรท่ีเปนความเห็นของทีมผูเยี่ยมสํารวจ ท่ีมีใหกับหนวยบริการและเครือขาย เพื่อใหไดนํารายงานไปพิจารณาและใชประโยชนในการพัฒนาคุณภาพบริการใหสอดคลองกับบริบทของหนวยบริการและเครือขาย ตามเปาหมายของมาตรฐาน ดังนั้นเพื่อใหรายงานท่ีจะจัดสงใหกับหนวยบริการและเครือขายเปนไปตามความมุงหมาย จึงควรพิจารณาแนวทางดังตอไปนี้

ความมุงหมาย เพื่อใหรายงานเปนขอมูลสําคัญของหนวยบริการและเครือขายในการนําไปใชทบทวนเพื่อปรับปรุงพัฒนาระบบบริการและการดูแลผูปวยในระดับบริการปฐมภูมิใหดียิ่งข้ึน

จุดเนนของการรายงาน จุดเนนของการเขียนรายงานข้ึนกับระดับข้ันของการพัฒนา ดังนี้ การเขียนขอเสนอแนะ ขั้นบันไดท่ี ๑

ข้ันท่ี ๑ เปนข้ันตอง รูจักสภาพปญหาระบบสุขภาพ ความเส่ียง(สาเหตุ)ท่ีสําคัญ ของเครือขายบริการ แนวทางในการสนับสนุนทรัพยากรในการจัดการปญหาและความเส่ียงท่ีสําคัญ สามารถอธิบายปญหาและความเส่ียงท่ีสําคัญของเครือขาย ท่ีเกิดข้ึนในสถานการณปจจุบัน หรือในชวงขณะน้ัน ( เฉพาะหนา ) เชน การเกิดโรคระบาดไขหวัดใหญ ไขเลือดออก หรือปญหาท่ีจําเปนตองไดรับการแกไขเรงดวนและ มีขอมูลสอดคลองกับสภาพปญหาและสามารถตรวจสอบได

ในการเขียนรายงานควรมีขอเสนอแนะท่ีสําคัญ ดังตัวอยางตอไปนี้ ๑. เครือขายบริการปฐมภูมิ มีการสรุปขอมูลของชุมชน วิเคราะหปญหาชุมชน วางแผน

แกไขปญหาแบบมีสวนรวม รวมท้ังมีระบบการประสานขอมูลและสงตอขอมูลแกผูมีสวนไดสวนเสีย เพื่อใหเกิดการวางแผนและการจัดการดูแลสุขภาพชุมชน อยางตอเนื่อง

๒. เครือขายบริการปฐมภูมิ มีการนําส่ิงท่ีไดจากการทบทวน มาส่ือสารใหกับ บุคลากร และผูมีสวนไดสวนเสีย เพื่อการปรับปรุงและหาโอกาสสรางนวัตกรรม พรอมท้ังถายทอดวิธีการปฏิบัติ (ในสวนท่ีเปน Best Practice) เพื่อสรางกระบวนการเรียนรูรวมกัน รวมถึงการพัฒนางานกับชุมชนได อยางมีประสิทธิภาพ รวมท้ังนํามาใชในการปรับเปาหมายและแผนกลยุทธในการทํางานและเพื่อท่ีจะนําสูการวิเคราะหหาสาเหตุท่ีแทจริงในข้ันตอไป

Primary Care Award 2011, Surinpho. W.Somchai Ph.D

Page 21: คู่มือ PCA2012

๒๑

การเขียนขอเสนอแนะ ขั้นบันไดท่ี ๒ วิเคราะหปญหา/ ความเส่ียงท่ีสําคัญและวางแผนสนับสนุนทรัพยากรอยางเปน

ระบบ ปญหาและความเส่ียงท่ีสําคัญของเครือขายไดรับการแกไข มีการวิเคราะหหาสาเหตุของปญหาหรือความเส่ียงนั้นๆ และจัดระบบสนับสนุนและระบบการปองกันเพื่อไมใหเกิดปญหาหรือความเส่ียงนั้นในระยะยาว หรือในอนาคต มีขอมูลสอดคลองกับสภาพปญหา สามารถตรวจสอบได

ในการเขียนรายงานควรมีขอเสนอแนะท่ีสําคัญ ดังตัวอยางตอไปนี้ ๑. ควรพัฒนาระบบบริการท่ีดียิ่งข้ึน และเช่ือมโยงการทบทวนปญหาความเส่ียงในข้ันท่ี ๑

สูการพัฒนาคุณภาพระบบบริการท่ีสําคัญ มีการวัดผลลัพธท่ีเหมาะสม ๒. ควรสงเสริมใหเจาหนาท่ีทําความเขาใจกระบวนการพัฒนาคุณภาพอยางเช่ือมโยงกัน

ระหวางความตองการของผูรับผลงาน ความมุงหมาย/เปาหมาย และการติดตามเคร่ืองช้ีวัดการบรรลุเปาหมาย ท้ังในระดับหนวยงานและระดับเครือขาย

๓. ควรสนับสนุนใหมีการประเมินตนเองเพ่ือนําไปสูการพัฒนาตอเนื่อง ท้ังในระดับ เครือขาย ระดับทีมครอมสายงาน และการประเมินตนเองระดับหนวยงานบริการปฐมภูมิ

๔. ในการนํามาตรฐาน PCA มาประเมินเพื่อหาโอกาสพัฒนา ยังไมตองเนนการเขียน บรรยายท่ีสมบูรณ แตใหเนนการวิเคราะหจุดออนท่ีสําคัญและดําเนินการพัฒนา

๕. ควรวางระบบบริหารความเส่ียงท้ังในระดับหนวยบริการปฐมภูมิและในระดับเครือขาย ควรใหความสําคัญกับการเชื่อมโยงโปรแกรมท่ีเกี่ยวของกับความเส่ียงตางๆ การมีขอมูลท่ีจะใชประเมินประสิทธิผลของการบริหารความเส่ียง

การเขียนขอเสนอแนะ ขั้นบันไดท่ี ๓ เปนการเรียนรูท่ีจะพัฒนาระบบงานทุกสวนตอยอดจากข้ันท่ี ๒ อยางเช่ือมโยงกัน

โดยใชมาตรฐานเปนแนวทาง สามารถแสดงใหเห็นแนวโนมท่ีดีข้ึนของผลลัพธท่ีสําคัญ ดังนั้นในการเขียนรายงานในข้ันนี้จึงเปนไปเพื่อสราง Maturity ในการปฏิบัติตามมาตรฐาน เนนการเสนอแนะเพ่ือสรางวัฒนธรรมการเรียนรู และสรางวัฒนธรรมคุณภาพ วัฒนธรรมความปลอดภัย หมายเหตุ ตัวอยางรายงานท่ีไดนําเสนอไวในแตละข้ันของการพัฒนา ขอใหผูเยี่ยมสํารวจ ใชเปนหลักคิดในการเขียนรายงานเทานั้น แนวทางการเขียนประเมินตนเอง ขั้นบันไดท่ี ๑ - บอกปญหา ความเส่ียงท่ีสําคัญในพื้นท่ีเครือขายของทานมีอะไรบางและมีจัดการอยางไร

Primary Care Award 2011, Surinpho. W.Somchai Ph.D

Page 22: คู่มือ PCA2012

๒๒

- แสดงถึงความเช่ือมโยงจากการรับรูปญหาจากการรูจักตนเอง(หมวดP) กลุมลูกคา(หมวด ๓) และการจัดระบบบริการ (หมวด ๖) - เครือขายบริการมีการสนับสนุนทรัพยากรหนวยบริการอยางไรบานในการจัดการปญหา

และความเส่ียงท่ีสําคัญ - อะไรท่ียังไมไดดําเนินการใหนําไปอยูท่ี...โอกาสพัฒนา

แนวทางการเขียนประเมินตนเอง ขั้นบันไดท่ี ๒ - บอกปญหาและความเส่ียงท่ีสําคัญในพื้นท่ีเครือขายของทาน และทานไดวิเคราะหหา

สาเหตุท่ีแทจริงของปญหาคืออะไร มีแนวทางมาตรการแกไขปญหาและปองกันความเส่ียงท่ีสําคัญไดอยางไร - แสดงถึงความเช่ือมโยงจากการรับรูปญหาจากการรูจักตนเอง(หมวดP) กลุมลูกคา (หมวด

๓) และการจัดระบบบริการ (หมวด ๖) - เครือขายบริการมีระบบสนับสนุนทรัพยากรแกหนวยบริการอยางไรบาง เพื่อแกไขปญหา

และปองกันความเส่ียงท่ีสําคัญ - แสดงผลลัพธท่ีสําคัญจากกระบวนการแกไขปญหา จัดการความเส่ียงท่ีสําคัญ - อะไรท่ียังไมไดดําเนินการใหนําไปอยูท่ี...โอกาสพัฒนา

แนวทางการเขียนประเมินตนเอง ขั้นบันไดท่ี ๓

บอกปญหาและความเส่ียงท่ีสําคัญของพื้นท่ีเครือขายของทาน และทานไดมีการวิเคราะหหา -

สาเหตุท่ีแทจริงของปญหาคืออะไร มีแนวทางมาตรการแกไขปญหาและจัดการความเส่ียงท่ีสําคัญไดอยางไร

เครือขายหนวยบริการมีการเรียนรูพัฒนาระบบงานอะไรบางและทําอยางไร(โดยใช -

มาตรฐานเปนแนวทาง และมีความเช่ือมโยงกันในแตละหมวดในมาตรฐาน) เครือขายหนวยบริการมีการระบบสนับสนุนอยางไรบาง ท่ีสอดคลองกับสภาพปญหาของ -

พื้นท่ี (ยกตัวอยางเชน ระบบสงตอ ระบบการใหคําปรึกษา ระบบIC ระบบยาและเวชภัณฑ) และมีระบบติดตามประเมินผลลัพธของเครือขายอยางไรเพ่ือเกิดผลลัพธท่ีดี

มีผลลัพธท่ีสําคัญอะไรบาง -

อะไรท่ียังไมไดดําเนินการใหนําไปอยูท่ี...โอกาสพัฒนา -

Primary Care Award 2011, Surinpho. W.Somchai Ph.D

Page 23: คู่มือ PCA2012

๒๓

ตารางประชุมเชิงปฏิบตัิการพัฒนาศักยภาพทีมนําและผูปฏิบตัิงานเครือขายบริการปฐมภูมิ ตามเกณฑคุณภาพเครือขายบริการปฐมภมิู (Primary Care Award)

วันที่ ๑ ๐๘.๐๐-๐๘.๓๐ ลงทะเบียน ๐๘.๓๐-๐๙.๐๐ พิธีเปด ๐๙.๐๐-๑๐.๓๐ แนวคิดและหลักการพัฒนาคุณภาพหนวยบริการปฐมภูมิในรูปแบบของ

เครือขายคุณภาพ Malcolm Baldrige National Quality Award (MBNQA) วิทยากร : ดร.สมชาย วงษพิริยะไพฑูรย

๑๐.๓๐-๑๒.๐๐ เกณฑคุณภาพเครือขายบริการปฐมภูมิ (Primary Care Award) วิทยากร : ดร.สมชาย วงษพิริยะไพฑูรย

๑๒.๐๐-๑๓.๐๐ พักรับประทานอาหารกลางวัน ๑๓.๐๐-๑๔.๓๐ ประเด็นคุณภาพ Core Value PCA ๒๐๑๒

วิทยากร : ดร.สมชาย วงษพิริยะไพฑูรย ๑๔.๓๐-๑๗.๐๐ เทคนิคและแนวทางลงมือเขียนการประเมินตนเองตามเกณฑ PCA : Self

Assessment(๑) ฝกทักษะการเขียนและนําเสนอผลการเขียนรายงาน(๑)

วิทยากร : ดร.สมชาย วงษพิริยะไพฑูรย และคณะ ๑๗.๐๐-๑๘.๐๐ พักรับประทานอาหารเย็น ๑๘.๐๐-๒๑.๐๐ เทคนิคและแนวทางลงมือเขียนการประเมินตนเองตามเกณฑ PCA : Self

Assessment(๒) ฝกทักษะการเขียนและนําเสนอผลการเขียนรายงาน(๒)

วิทยากร : ดร.สมชาย วงษพิริยะไพฑูรย และคณะ วันที่ ๒ ๐๘.๐๐-๐๘.๓๐ ทบทวน ๐๘.๓๐-๐๙.๓๐ ประเด็นการประเมินที่แตกตาง

วิทยากร : ดร.สมชาย วงษพิริยะไพฑูรย ๐๙.๓๐-๑๒.๐๐ เทคนิคและแนวทางลงมือเขียนรายงานระดับการพัฒนาตามเกณฑ PCA : PCA

Profile(๑) ฝกทักษะการเขียนและนําเสนอผลการเขียนรายงาน(๑)

วิทยากร : ดร.สมชาย วงษพิริยะไพฑูรย และคณะ ๑๒.๐๐-๑๓.๐๐ พักรับประทานอาหารกลางวัน ๑๓.๐๐-๑๗.๐๐ เทคนิคและแนวทางลงมือเขียนรายงานระดับการพัฒนาตามเกณฑ PCA : PCA

Profile(๒) ฝกทักษะการเขียนและนําเสนอผลการเขียนรายงาน(๒)

วิทยากร : ดร.สมชาย วงษพิริยะไพฑูรย และคณะ ๑๗.๐๐-๑๘.๐๐ พักรับประทานอาหารเย็น ๑๘.๐๐-๒๑.๐๐ เทคนิคและแนวทางลงมือเขียนรายงานระดับการพัฒนาตามเกณฑ PCA : PCA

Primary Care Award 2011, Surinpho. W.Somchai Ph.D

Page 24: คู่มือ PCA2012

๒๔

Profile(๒) ฝกทักษะการเขียนและนําเสนอผลการเขียนรายงาน(๒)

วิทยากร : ดร.สมชาย วงษพิริยะไพฑูรย และคณะ วันที่ ๓ ๐๘.๐๐-๐๘.๓๐ ทบทวน ๐๘.๓๐-๐๙.๓๐ มิติการประเมินเกณฑคุณภาพเครือขายบริการปฐมภูมิ (Primary Care Award)

วิทยากร : ดร.สมชาย วงษพิริยะไพฑูรย ๐๙.๓๐-๑๒.๐๐ เทคนิคและแนวทางลงมือเขียนระดับการพัฒนาเรียนรูอยางตอเน่ืองตาม

กระบวนการเรียนรู PDCA/CQIตามเกณฑ PCA : PCA Profile(๑) ฝกทักษะการเขียนและนําเสนอผลการเขียนรายงาน(๑)

วิทยากร : ดร.สมชาย วงษพิริยะไพฑูรย และคณะ ๑๒.๐๐-๑๓.๐๐ พักรับประทานอาหารกลางวัน ๑๓.๐๐-๑๖.๐๐ เทคนิคและแนวทางลงมือเขียนระดับการพัฒนาเรียนรูอยางตอเน่ืองตาม

กระบวนการเรียนรู PDCA/CQIตามเกณฑ PCA : PCA Profile(๒) ฝกทักษะการเขียนและนําเสนอผลการเขียนรายงาน(๒) วิทยากร : ดร.สมชาย วงษพิริยะไพฑูรย และคณะ

๑๖.๐๐-๑๗.๐๐ แนวทางการจัดการและติดตามความกาวหนา PCA วิทยากร : ดร.สมชาย วงษพิริยะไพฑูรย

๑๗.๐๐-๑๗.๓๐ พิธีปด ตารางประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพผูเย่ียมสํารวจและประเมินรับรอง (Surveyor and Auditor) เครือขาย

บริการปฐมภูมิ สําหรับท่ีปรึกษา ตามเกณฑคุณภาพเครือขายบริการปฐมภูมิ (Primary Care Award)

วันที่ ๑ ๐๘.๐๐-๐๘.๓๐ ลงทะเบียน ๐๘.๓๐-๐๙.๐๐ พิธีเปด ๐๙.๐๐-๑๐.๓๐ เกณฑคุณภาพเครือขายบริการปฐมภูมิ (Primary Care Award)

วิทยากร : ดร.สมชาย วงษพิริยะไพฑูรย ๑๐.๓๐-๑๒.๐๐ ทักษะการเปนโคช (Coaching)

วิทยากร : ดร.สมชาย วงษพิริยะไพฑูรย ๑๒.๐๐-๑๓.๐๐ พักรับประทานอาหารกลางวัน ๑๓.๐๐-๑๔.๓๐ ทักษะที่จําเปนของคุณกิจ Knowledge Practitioner

วิทยากร : ดร.สมชาย วงษพิริยะไพฑูรย ๑๔.๓๐-๑๗.๐๐ การฝกทักษะการเปนคุณกิจ Knowledge Practitioner

วิทยากร : ดร.สมชาย วงษพิริยะไพฑูรย ๑๗.๐๐-๑๘.๐๐ พักรับประทานอาหารเย็น ๑๘.๐๐-๒๐.๐๐ ทักษะการสื่อสารสําหรับที่ปรึกษา

Primary Care Award 2011, Surinpho. W.Somchai Ph.D

Page 25: คู่มือ PCA2012

๒๕

วิทยากร : ดร.สมชาย วงษพิริยะไพฑูรย ๒๐.๐๐-๒๑.๐๐ การฝกทักษะการสื่อสารสําหรับที่ปรึกษา

วิทยากร : ดร.สมชาย วงษพิริยะไพฑูรยและคณะ วันที่ ๒ ๐๘.๓๐-๑๐.๓๐ กระบวนการเยี่ยมสํารวจ PCA สําหรับที่ปรึกษา

วิทยากร : ดร.สมชาย วงษพิริยะไพฑูรย ๑๐.๓๐.๑๒.๐๐ เทคนิคและแนวทางลงมือเขียนรายงานการเยี่ยมสํารวจ/ประเมินระดับการพัฒนา ตามเกณฑ PCA : PCA Profile(๑)

ฝกทักษะการเขียนและนําเสนอผลการเขียนรายงาน(๑) วิทยากร : ดร.สมชาย วงษพิริยะไพฑูรยและคณะ

๑๒.๐๐-๑๓.๐๐ พักรับประทานอาหารกลางวัน ๑๓.๐๐-๑๖.๓๐ เทคนิคและแนวทางลงมือเขียนรายงานคะแนนประเมิน (Overall Scoring PCA)

ระดับการพัฒนาตามเกณฑ PCA : PCA Profile(๒) ฝกทักษะการเขียนและนําเสนอผลการเขียนรายงาน(๒)

วิทยากร : ดร.สมชาย วงษพิริยะไพฑูรยและคณะ ๑๗.๐๐-๑๘.๐๐ พักรับประทานอาหารเย็น ๑๘.๐๐-๒๐.๐๐ เทคนิคและแนวทางลงมือเขียนรายงานคะแนนประเมิน (Overall Scoring PCA)

วิทยากร : ดร.สมชาย วงษพิริยะไพฑูรยและคณะ ๒๐.๐๐-๒๑.๐๐ ระดับการพัฒนาตามเกณฑ PCA : PCA Profile(๒) ฝกทักษะการเขียนและนําเสนอผลการเขียนรายงาน(๒)

วิทยากร : ดร.สมชาย วงษพิริยะไพฑูรยและคณะ วันที่ ๓ ๐๘.๓๐-๑๒.๐๐ ฝกทักษะการเยี่ยมสํารวจและอาน Profile PCA ระดับการพัฒนาตามเกณฑ PCA :

PCA Profile (๑) (ภาคสนาม) ฝกทักษะการเขียนและนําเสนอผลการเขียนรายงาน (๑) วิทยากร : ดร.สมชาย วงษพิริยะไพฑูรยและคณะ

๑๒.๐๐-๑๓.๐๐ พักรับประทานอาหารกลางวัน ๑๓.๐๐-๑๖.๓๐ ฝกทักษะการเขียนรายงานคะแนนประเมิน (Overall Scoring PCA) ระดับการ

พัฒนาตามเกณฑ PCA : PCA Profile (๒) (ภาคสนาม) ฝกทักษะการเขียนและนําเสนอผลการเขียนรายงาน (๒) วิทยากร : ดร.สมชาย วงษพิริยะไพฑูรยและคณะ

๑๖.๓๐-๑๗.๐๐ สรุปผลการฝกปฏิบัติภาคสนาม วิทยากร : ดร.สมชาย วงษพิริยะไพฑูรยและคณะ

Primary Care Award 2011, Surinpho. W.Somchai Ph.D

Page 26: คู่มือ PCA2012

๒๖

แนวทางการเขียน

ประเมินตนเองและรายงานระดับการพัฒนา PCA

ขั้น ๓

(Accreditation PCA ๓)

Primary Care Award 2011, Surinpho. W.Somchai Ph.D

Page 27: คู่มือ PCA2012

๒๗

รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment : PCA ๒๐๑๒)

หนวยบริการปฐมภูมิ และ

เครือขายบริการปฐมภูมิ

ขั้น ๓ (Accreditation PCA ๓)

หนวยบริการ........................................................ อําเภอ................................ จังหวัด...............

Primary Care Award 2011, Surinpho. W.Somchai Ph.D

Page 28: คู่มือ PCA2012

๒๘

คํานํา

Primary Care Award 2011, Surinpho. W.Somchai Ph.D

Page 29: คู่มือ PCA2012

๒๙

สารบัญ

Primary Care Award 2011, Surinpho. W.Somchai Ph.D

Page 30: คู่มือ PCA2012

๓๐

รายงานการประเมินตนเอง(SAR : PCA ๒๐๑๒) เครือขายบริการปฐมภูมิ.............................. หมวด P – ลักษณะสําคัญขององคกร

เปาหมาย/ประเด็นคุณภาพท่ีสําคัญ : บริบท

วิสัยทัศน.................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... พันธกิจ

....................................................................................................................................................................................

....................................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................................... กระบวนการ : ๑. ลักษณะพ้ืนฐานของหนวยบริการปฐมภูมิและเครือขายปฐมภูมิ

๑.๑ วิสัยทัศนและพันธกิจ

๑) การเปล่ียนแปลงท่ีเปนผลจากวิสัยทัศนขององคกร : .................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................

๒) บทบาทของผูนําในการสรางสิ่งแวดลอมและบรรยากาศท่ีเอื้อตอสิ่งแวดลอมและการพัฒนาและบทเรียน

ที่เกิดขึ้น : .................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................

๓) บทบาทของผูนําในการสรางวัฒนธรรมความปลอดภัยและบทเรียนที่เกิดขึ้น : .................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................

๑.๒ สภาพโดยรวมที่สําคัญของทีมสุขภาพ

....................................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................................... ๑.๓ เทคโนโลยี อุปกรณ สิ่งอํานวยความสะดวกที่สําคัญในการใหบริการและการปฏิบัติขององคกรที่เหมาะสมและปลอดภัย

....................................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................................... ๑.๔ กฎหมาย กฎระเบียบ และขอบังคับที่ใชและเก่ียวของในการปฏิบัติงาน

....................................................................................................................................................................................

....................................................................................................................................................................................

Primary Care Award 2011, Surinpho. W.Somchai Ph.D

Page 31: คู่มือ PCA2012

๓๑

๒. ความสัมพันธภายในและภายในหนวยปฐมภูมิและเครือขายปฐมภูมิ รวมทั้งภาคีเครือขายสุขภาพ(ผูมีสวนไดสวนเสีย)

....................................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................................... ๓. ความทาทายที่สําคัญของหนวยบริการปฐมภูมิและเครือขายบริการปฐมภูมิ ๓.๑ การเปรียบเทียบเพ่ือการพัฒนา

....................................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................................... ๓.๒ ความทาทายเชิงกลยุทธ

....................................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................................... ๓.๓ ระบบการปรับปรุงผลการดําเนินการ

....................................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................................... ผลการพัฒนา/บทเรียนจากการพัฒนาท่ีสําคัญ : .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... โอกาสพัฒนาใน ๑-๒ ปขางหนา.................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................

หมายเหตุ *สามารถนําเสนอไดท้ังในรูปพรรณนาและตารางประกอบ กราฟ พรอมตัวเลขเชิงปริมาณ และตองอธิบายใหสอดคลองกับผลลัพธในแตหมวดของ PCA หากฟนธงชัดเจน มีทิศทางและแนวโนมจากการประเมินในเชิงผลลัพธไดจะไดคะแนน ADLI และ LETCLI ครอบคลุม

Primary Care Award 2011, Surinpho. W.Somchai Ph.D

Page 32: คู่มือ PCA2012

๓๒

รายงานการประเมินตนเอง(SAR : PCA ๒๐๑๒) เครือขายบริการปฐมภูมิ.................................. หมวด ๑ – การนําองคกร

เปาหมาย/ประเด็นคุณภาพท่ีสําคัญ :

ขอมูลตัวชี้วัด เปาหมาย ๒๕๕๑ ๒๕๕๒ ๒๕๕๓ ๒๕๕๔ ๒๕๕๕ ๒๕๕๖

๑. รอยละของบุคลากรหนวยปฐมภูมิที่เขาใจทิศทางของหนวยบริการปฐมภูมิ/เครือขายปฐมภูมิ

๒.รอยละความพึงใจของบุคลากรของบุคลากรหนวยปฐมภูมิ/เครือขายปฐมภูมิที่มีตอการนําองคกรของผูบริหาร

๓.รอยละความสําเร็จเฉล่ียถวงนํ้าหนักของตัวช้ีวัดสําคัญที่ผูบริหารใชในการติดตามการบริหารงาน

๔.รอยละเฉลี่ยถวงนํ้าหนักความสําเร็จของผลสัมฤทธิ์ของมาตรการ/โครงการตามนโยบายการกํากับดูแลองคกรที่ดี ๕.ระดับความเช่ือมั่นดานธรรมาภิบาลของผูรับบริการตอองคกร(คาเฉล่ีย)

Primary Care Award 2011, Surinpho. W.Somchai Ph.D

Page 33: คู่มือ PCA2012

๓๓

บริบท

....................................................................................................................................................................................

....................................................................................................................................................................................

....................................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................................... กระบวนการ

๑.๑ ภาวะผูนําของผูบริหารองคกร

๑.๑.๑ การกําหนดและถายทอดทิศทางของเครือขายบริการปฐมภูมิ .................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................

๑.๑.๒ การกํากับดูแลตนเองที่ดีของเครือขายหนวยบริการปฐมภูมิ .................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................

๑.๑.๓ การทบทวนผลการดําเนินการของเครือขายหนวยบริการปฐมภูมิ .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... ๑.๒ ความรับผิดชอบตอสังคม

๑.๒.๑ ของเครือขายหนวยบริการปฐมภูมิ .................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................

๑.๒.๒ การดําเนินการอยางมีจริยธรรม

....................................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................................... ๑.๒.๓ การใหการสนับสนุนตอชุมชนที่สําคัญ

....................................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................................... ผลการพัฒนา/บทเรียนจากการพัฒนาท่ีสําคัญ : .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... โอกาสพัฒนาใน ๑-๒ ปขางหนา.................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... หมายเหตุ *สามารถนําเสนอไดท้ังในรูปพรรณนาและตารางประกอบ กราฟ พรอมตัวเลขเชิงปริมาณ และตองอธิบายใหสอดคลองกับผลลัพธในแตหมวดของ PCA หากฟนธงชัดเจน มีทิศทางและแนวโนมจากการประเมินในเชิงผลลัพธไดจะไดคะแนน ADLI และ LETCLI ครอบคลุม

Primary Care Award 2011, Surinpho. W.Somchai Ph.D

Page 34: คู่มือ PCA2012

๓๔

รายงานการประเมินตนเอง(SAR : PCA ๒๐๑๒) เครือขายบริการปฐมภูมิ............................ หมวด ๒ – การวางแผนเชงิกลยุทธ

เปาหมาย/ประเด็นคุณภาพท่ีสําคัญ :

ขอมูลตัวชี้วัด เปาหมาย ๒๕๕๑ ๒๕๕๒ ๒๕๕๓ ๒๕๕๔ ๒๕๕๕ ๒๕๕๖

๑.ระดับความสําเร็จของรอยละเฉลี่ยถวงนํ้าหนักในการบรรลุเปาหมายตามแผนปฏิบัติราชการ/ภารกิจหลัก/เอกสารงบประมาณรายจายฯ ของหนวยปฐมภูมิ/เครือขายปฐมภูมิ

๒.รอยละของบุคลากรปฐมภูมิที่เขาใจแผนปฏิบัติราชการประจําปที่ระดับความเขาใจไมนอยกวารอยละ ๘๐

๓.รอยละของตัวช้ีวัดระดับบุคคลหนวยปฐมภูมิ/เครือขายปฐมภูมิที่สอดคลองขององคกร

๔.รอยละความสําเร็จเฉล่ียถวงนํ้าหนักของหนวยปฐมภูมิ/เครือขายปฐมภูมิที่ปฏิบัติงานไดบรรลุเปาหมายตามตัวช้ีวัดที่องคกรกําหนด

๕.รอยละเฉลี่ยถวงนํ้าหนักกความสําเร็จของเปาหมายของโครงการตามแผนบริหารความเสี่ยง บริบท

....................................................................................................................................................................................

....................................................................................................................................................................................

....................................................................................................................................................................................

....................................................................................................................................................................................

Primary Care Award 2011, Surinpho. W.Somchai Ph.D

Page 35: คู่มือ PCA2012

๓๕

กระบวนการ:

๒.๑ การจัดทํายุทธศาสตรและกลยุทธ ๒.๑.๑ การจัดทํายุทธศาสตรและกลยุทธ .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... ๒.๑.๒ เปาประสงคเชิงกลยุทธและกลยุทธ .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... ๒.๒ การนํากลยุทธไปปฏิบัติ

๒.๒.๑ การจัดแผนปฏิบัติการ ถายทอดแผนไปสูการปฏิบัติ และสนับสนุนทรัพยากรในการดําเนินงานใหเพียงพอ

ทันเวลา

....................................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................................... ๒.๒.๒ การประเมินผลการดําเนินการและการคาดการณผลการดําเนินงาน

....................................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................................... ผลการพัฒนา/บทเรียนจากการพัฒนาท่ีสําคัญ : .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... โอกาสพัฒนาใน ๑-๒ ปขางหนา

....................................................................................................................................................................................

....................................................................................................................................................................................

....................................................................................................................................................................................

....................................................................................................................................................................................

....................................................................................................................................................................................

หมายเหตุ *สามารถนําเสนอไดท้ังในรูปพรรณนาและตารางประกอบ กราฟ พรอมตัวเลขเชิงปริมาณ และตองอธิบายใหสอดคลองกับผลลัพธในแตหมวดของ PCA หากฟนธงชัดเจน มีทิศทางและแนวโนมจากการประเมินในเชิงผลลัพธไดจะไดคะแนน ADLI และ LETCLI ครอบคลุม

Primary Care Award 2011, Surinpho. W.Somchai Ph.D

Page 36: คู่มือ PCA2012

๓๖

รายงานการประเมินตนเอง(SAR : PCA ๒๐๑๒) เครือขายบริการปฐมภูมิ..................................... หมวด ๓ การใหความสําคัญกับประชากรเปาหมาย ชุมชนและผูมีสวนไดเสีย

เปาหมาย/ประเด็นคุณภาพท่ีสําคัญ :

ขอมูลตัวชี้วัด เปาหมาย ๒๕๕๑ ๒๕๕๒ ๒๕๕๓ ๒๕๕๔ ๒๕๕๕ ๒๕๕๖ ๑.รอยละของความพึงใจของผูรับบริการหนวยปฐมภูมิ/เครือขายปฐมภูมิ

๒.รอยละของความไมพึงใจของผูรับบริการหนวยปฐมภูมิ/เครือขายปฐมภูมิ

๓.รอยละของความพึงใจของเครือขายที่มีตอกิจกรรมสรางความสัมพันธ

๔.รอยละความสําเร็จของผลสัมฤทธิ์ของการดําเนินงาน/โครงการท่ีเปดโอกาสใหประชาชนเขามามีสวนรวมในการบริหารราชการ

๕.รอยละของความสําเร็จในการดําเนินงานตามมาตรฐานคูมือการใหบริการ

บริบท

................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... กระบวนการ:

๓.๑ ความรูเก่ียวกับประชากรเปาหมาย ชุมชน และผูสวนไดสวนเสีย

....................................................................................................................................................................................

....................................................................................................................................................................................

....................................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................................... ๓.๒ ความสัมพันธและความพึงพอใจของประชากรเปาหมายชุมชน และ และผูสวนไดสวนเสีย

Primary Care Award 2011, Surinpho. W.Somchai Ph.D

Page 37: คู่มือ PCA2012

๓๗

....................................................................................................................................................................................

....................................................................................................................................................................................

....................................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................................... ๓.๒.๑ การสรางความสัมพันธกับประชากรเปาหมายชุมชน และ และผูสวนไดสวนเสีย

....................................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................................... ๓.๒.๒ การวัดความสัมพันธและความพึงพอใจของประชากรเปาหมายชุมชน และ และผูสวนไดสวนเสีย

....................................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................................... ผลการพัฒนา/บทเรียนจากการพัฒนาท่ีสําคัญ : .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... โอกาสพัฒนาใน ๑-๒ ปขางหนา

....................................................................................................................................................................................

....................................................................................................................................................................................

....................................................................................................................................................................................

....................................................................................................................................................................................

....................................................................................................................................................................................

หมายเหตุ *สามารถนําเสนอไดท้ังในรูปพรรณนาและตารางประกอบ กราฟ พรอมตัวเลขเชิงปริมาณ และตองอธิบายใหสอดคลองกับผลลัพธในแตหมวดของ PCA หากฟนธงชัดเจน มีทิศทางและแนวโนมจากการประเมินในเชิงผลลัพธไดจะไดคะแนน ADLI และ LETCLI ครอบคลุม

Primary Care Award 2011, Surinpho. W.Somchai Ph.D

Page 38: คู่มือ PCA2012

๓๘

รายงานการประเมินตนเอง(SAR : PCA ๒๐๑๒) เครือขายบริการปฐมภูมิ...................................... หมวด ๔ การวัด วิเคราะห และการจัดการความรู

เปาหมาย/ประเด็นคุณภาพท่ีสําคัญ :

ขอมูลตัวชี้วัด เปาหมาย ๒๕๕๑ ๒๕๕๒ ๒๕๕๓ ๒๕๕๔ ๒๕๕๕ ๒๕๕๖ ๑.รอยละของความครอบคลุม ถูกตอง และทันสมัยของฐานขอมูลที่สนับสนุนยุทธศาสตรอยางนอย ๑ ประเด็นยุทธศาสตร

๒.รอยละความพึงพอใจของผูเขาถึงหรือเขาใจใชขอมูลขาวสารผานทางเว็บไซตของหนวยบริการ

๓.รอยละขอมูลที่เก่ียวของกับระบบสุขภาพและผลการดําเนินงาน มีความครบถวน ถูกตองเปนปจจุบัน นาเช่ือถือ

๔.ระดับความสําเร็จการจัดทําฐานขอมูล ๑๘/๒๑ แฟม

๕.รอยละเฉลี่ยถวงนํ้าหนักความสําเร็จจากผลสัมฤทธิ์ของการดําเนินการตามแผนการจัดการความรูอยางนอย ๓ องคความรู

บริบท

....................................................................................................................................................................................

....................................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................................... กระบวนการ:

๔.๑ การวัด วิเคราะห และพิจารณาผลการดําเนินการขององคกร

Primary Care Award 2011, Surinpho. W.Somchai Ph.D

Page 39: คู่มือ PCA2012

๓๙

๔.๑.๑. การวัดผลงาน

....................................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................................... ๔.๑.๒ การวิเคราะหและทบทวนประเมินผล

....................................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................................... ๔.๒ การจัดการสารสนเทศและการจัดการความรู .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... ๔.๒.๑ ความพรอมใชงานของขอมูลและสารสนเทศ

....................................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................................... ๔.๒.๒ การจัดการความรูขององคกร

....................................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................................... ๔.๒.๓ การจัดการขอมูล สารสนเทศและองคความรูใหมีคุณภาพ

....................................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................................... ผลการพัฒนา/บทเรียนจากการพัฒนาท่ีสําคัญ : .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... โอกาสพัฒนาใน ๑-๒ ปขางหนา.................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................

หมายเหตุ *สามารถนําเสนอไดท้ังในรูปพรรณนาและตารางประกอบ กราฟ พรอมตัวเลขเชิงปริมาณ และตองอธิบายใหสอดคลองกับผลลัพธในแตหมวดของ PCA หากฟนธงชัดเจน มีทิศทางและแนวโนมจากการประเมินในเชิงผลลัพธไดจะไดคะแนน ADLI และ LETCLI ครอบคลุม

Primary Care Award 2011, Surinpho. W.Somchai Ph.D

Page 40: คู่มือ PCA2012

๔๐

รายงานการประเมินตนเอง(SAR : PCA ๒๐๑๒) เครือขายบริการปฐมภูมิ................................... หมวด ๕ การมุงเนนทรัพยากรบุคคล

เปาหมาย/ประเด็นคุณภาพท่ีสําคัญ :

ขอมูลตัวชี้วัด เปาหมาย ๒๕๕๑ ๒๕๕๒ ๒๕๕๓ ๒๕๕๔ ๒๕๕๕ ๒๕๕๖ ๑.รอยละความพึง

พอใจของบุคลากรหนวยปฐมภูมิ/เครือขายปฐมภูมิที่มีตอองคกร

๒.รอยละความพึงพอใจของบุคลากรหนวยปฐมภูมิ/เครือขายปฐมภูมิที่มีตอการพัฒนาบุคลากร

๓.รอยละความพึงพอใจของบุคลากรหนวยปฐมภูมิ/เครือขายปฐมภูมิที่มีตอระบบประเมินผลการปฏิบัติงาน

๔.รอยละของหลักสูตรการอบรมท่ีผานเกณฑตามหลักประกันคุณภาพการฝกอบรม

๕.รอยละความพึงพอใจของบุคลากรหนวยปฐมภูมิ/เครือขายปฐมภูมิที่มีตอแผนการสรางความกาวหนาในสายงาน บริบท

....................................................................................................................................................................................

....................................................................................................................................................................................

Primary Care Award 2011, Surinpho. W.Somchai Ph.D

Page 41: คู่มือ PCA2012

๔๑

.................................................................................................................................................................................... กระบวนการ:

๕.๑ ระบบบริหารงานบุคคลที่กอใหเกิดการมุงเนนผลสัมฤทธิ์ของงานตามภาระหนาที่ ความรับผิดชอบ ๕.๑.๑ การจัดระบบและบริหารงาน

....................................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................................... ๕.๑.๒ ระบบการประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากร

....................................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................................... ๕.๑.๓ การจางงานและความกาวหนาในการงาน

....................................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................................... ๕.๒ การเรียนรูและการสรางแรงจูงใจบุคลากรในเครือขายบริการปฐมภูมิ ๕.๒.๑ การพัฒนาบุคลากร

....................................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................................... ๕.๒.๒ การสรางแรงจูงใจ และการพัฒนาความสดกาวหนาในงาน

....................................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................................... ๕.๓ การสรางความผาสุกและความพึงพอใจแกบุคลากร

๕.๓.๑ สภาพแวดลอมในการทํางาน

....................................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................................... ๕.๓.๒ การใหการสนับสนุนสรางความพึงพอใจใหแกบุคลากร .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... ผลการพัฒนา/บทเรียนจากการพัฒนาท่ีสําคัญ : .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... โอกาสพัฒนาใน ๑-๒ ปขางหนา

....................................................................................................................................................................................

....................................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................................... หมายเหตุ *สามารถนําเสนอไดท้ังในรูปพรรณนาและตารางประกอบ กราฟ พรอมตัวเลขเชิงปริมาณ และตองอธิบายใหสอดคลองกับผลลัพธในแตหมวดของ PCA หากฟนธงชัดเจน มีทิศทางและแนวโนมจากการประเมินในเชิงผลลัพธไดจะไดคะแนน ADLI และ LETCLI ครอบคลุม

Primary Care Award 2011, Surinpho. W.Somchai Ph.D

Page 42: คู่มือ PCA2012

๔๒

รายงานการประเมินตนเอง(SAR : PCA ๒๐๑๒) เครือขายบริการปฐมภูมิ จังหวัดสุรินทร หมวด ๖ ดานระบบบริการ

เปาหมาย/ประเด็นคุณภาพท่ีสําคัญ :

ขอมูลตัวชี้วัด เปาหมาย ๒๕๕๑ ๒๕๕๒ ๒๕๕๓ ๒๕๕๔ ๒๕๕๕ ๒๕๕๖ ๑.รอยละความพึง

พอใจของผูรับบริการที่มีตอขั้นตอนการปฏิบัติงาน

๒.รอยละความพึงพอใจของผูรับบริการที่มีตอระบบรองรับภาวะฉุกเฉิน

๓.รอยละของกระบวนการสรางคุณคาที่มีการจัดทําคูมือการปฏิบัติงาน

๔.รอยละเฉลี่ยถวงนํ้าหนักความสําเร็จของการดําเนินการตามมาตรฐานของกระบวนการท่ีสรางคุณคา

๕.จํานวนกระบวนการท่ีไดรับการปรับปรุงใหผลการดําเนินการดีขึ้น บริบท

....................................................................................................................................................................................

....................................................................................................................................................................................

....................................................................................................................................................................................

Primary Care Award 2011, Surinpho. W.Somchai Ph.D

Page 43: คู่มือ PCA2012

๔๓

.................................................................................................................................................................................... กระบวนการ:

๖.๑ กระบวนการใหบริการท่ีสรางคุณคาของระบบบริการปฐมภูมิ ๖.๑.๑ การจัดระบบบริการสุขภาพโดยรวมของหนวยบริการปฐมภูมิและเครือขาย ........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ ๖.๑.๒ การบริการปฐมภูมิระดับบุคคลและครอบครัวแบบผสมผสานเปนองครวมตอเน่ือง .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... ๖.๑.๓ การดูแลสุขภาพของกลุมประชากร

....................................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................................... ๖.๑.๔ การสรางกระบวนการเรียนรูรวมกับองคกรชุมชน

....................................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................................... ๖.๒ กระบวนการสนับสนุนการใหบริการท่ีสรางคุณคาของระบบบริการปฐมภูมิ ๖.๒.๑ การจัดระบบสนับสนุนบริการ

....................................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................................... ๖.๒.๒ การสนับสนุนและมีสวนรวมของทองถ่ิน ชุมชน หนวยงานตาง ๆ .................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ ผลการพัฒนา/บทเรียนจากการพัฒนาท่ีสําคัญ : .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... โอกาสพัฒนาใน ๑-๒ ปขางหนา.................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................

หมายเหตุ *สามารถนําเสนอไดท้ังในรูปพรรณนาและตารางประกอบ กราฟ พรอมตัวเลขเชิงปริมาณ และตองอธิบายใหสอดคลองกับผลลัพธในแตหมวดของ PCA หากฟนธงชัดเจน มีทิศทางและแนวโนมจากการประเมินในเชิงผลลัพธไดจะไดคะแนน ADLI และ LETCLI ครอบคลุม

Primary Care Award 2011, Surinpho. W.Somchai Ph.D

Page 44: คู่มือ PCA2012

๔๔

รายงานการประเมินตนเอง(SAR : PCA ๒๐๑๒) เครือขายบริการปฐมภูมิ.................................... หมวด ๗ ผลลัพธการดําเนินการของเครือขายบริการปฐมภูมิ

เปาหมาย/ประเด็นคุณภาพท่ีสําคัญ : บริบท

....................................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................................... กระบวนการ:

๗.๑ ผลลัพธการดําเนินการดานประสิทธิผล

....................................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................................... ๗.๒ ผลลัพธการดําเนินการดานคุณภาพของกระบวนการและคุณภาพในมุมมองของประชาชนและผูมีสวนไดสวนเสีย .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... ๗.๓ ผลลัพธการดําเนินการดานประสิทธิภาพของกระบวนการใหบริการ .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... ๗.๔ ผลลัพธการดําเนินการดานการพัฒนาองคกรเครือขายบริการปฐมภูมิ .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... ผลการพัฒนา/บทเรียนจากการพัฒนาท่ีสําคัญ : .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... โอกาสพัฒนาใน ๑-๒ ปขางหนา

....................................................................................................................................................................................

....................................................................................................................................................................................

หมายเหตุ *สามารถนําเสนอไดท้ังในรูปพรรณนาและตารางประกอบ กราฟ พรอมตัวเลขเชิงปริมาณ และตองอธิบายใหสอดคลองกับผลลัพธในแตหมวดของ PCA หากฟนธงชัดเจน มีทิศทางและแนวโนมจากการประเมินในเชิงผลลัพธไดจะไดคะแนน ADLI และ LETCLI ครอบคลุม

Primary Care Award 2011, Surinpho. W.Somchai Ph.D

Page 45: คู่มือ PCA2012

๔๕

บันทึกขอเสนอแนะจากที่ปรึกษาระดับจังหวัด/เขต ช่ือที่ปรึกษา..............................................................

วันที่................................................ ขอเสนอเพื่อการปรับปรุง ๑.…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………\ ๒……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…………………………………………………………………………………. ๓………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๔……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๕…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

Primary Care Award 2011, Surinpho. W.Somchai Ph.D

Page 46: คู่มือ PCA2012

๔๖

รายงานการประเมิน

ระดับการพัฒนา หนวยบริการปฐมภูมิและเครือขายบริการปฐมภูมิ ตามเกณฑมาตรฐานคุณภาพเครือขายปฐมภูมิ

(Primary Care Award) ขั้น ๓ (Accreditation PCA ๓)

(Profile Report : PCA ๒๐๑๒)

หนวยบริการ........................................................ อําเภอ................................ จังหวัด…………

Primary Care Award 2011, Surinpho. W.Somchai Ph.D

Page 47: คู่มือ PCA2012

๔๗

คํานํา

Primary Care Award 2011, Surinpho. W.Somchai Ph.D

Page 48: คู่มือ PCA2012

๔๘

สารบัญ

Primary Care Award 2011, Surinpho. W.Somchai Ph.D

Page 49: คู่มือ PCA2012

๔๙

ระดับการพัฒนาหนวยบริการปฐมภูมิและเครือขายบริการปฐมภูมิ ตามเกณฑมาตรฐานคุณภาพเครือขายบริการปฐมภูมิ (Primary Care Award)

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………เ ขี ย นประโยคนํา (อางถึงแนวคิดเหตุผล วัตถุประสงค) เช่ือมโยงนําไปการเขียนในเชิงบรรยาย/พรรณนา อาทิ เชน

ระบบบริการปฐมภูมิ ไดมีการพัฒนาและฟนฟูข้ึนหลังจากการปฏิรูประบบบริการสุขภาพ เปนการเปลี่ยนแปลงการจัดระบบบริการปฐมภูมิ เริ่มตั้งแตการกําหนดใหมีศูนยสุขภาพชุมชน ใหเปนหนวยบริการใกลบานใกลใจ ประชาชนสามารถเขาถึงไดสะดวก และไดรับบริการขั้นพื้นฐานท่ีดีมีคุณภาพมาตรฐาน กระทรวงสาธารณสุข จึงไดกําหนดนโยบายใหมีการพัฒนาและประเมินรับรองมาตรฐานหนวยบริการปฐมภูมิ โดยไดแตงตั้งคณะทํางานประกอบดวย กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ สํานักบริหารการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ สํานักปลัดกระทรวงสาธารณสุข สํานักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติ และผูแทนจากสวนภูมิภาค พัฒนาและปรับปรุงมาตรฐานข้ึนเพื่อใหมีความเหมาะสม ทันสมัย เนนการพัฒนาคุณภาพของหนวยบริการปฐมภูมิในรูปแบบของเครือขาย โดยไดนํากรอบคุณภาพของ Malcolm Baldrige National Quality Award มาประยุกตใชเปนกรอบในการพัฒนา เพื่อใหเกิดการจัดการเปนระบบท้ังองคกร และจัดทําเปนเกณฑคุณภาพเครือขายบริการปฐมภูมิ ( Primary Care Award :PCA ) หัวใจสําคัญท่ีเปนคุณภาพของหนวยบริการปฐมภูมิ คือ ตองเปนบริการองครวมตอเนื่อง ผสมผสานและสนับสนุนการพึ่งตนเองของประชาชนอยางสมดุล ซ่ึงคุณสมบัติเหลานี้ เปนหลักการท่ีผูใหบริการตองใชเปนฐานในการดําเนินงานบริการในทุกดานของหนวยบริการปฐมภูมิ ในการดูแลประชากรแตละคนหรือแตละกลุม ตองพยายามท่ีจะบูรณาการดานการสงเสริมสุขภาพ การปองกัน การรักษาพยาบาล และการฟนฟูสุขภาพไปพรอมกัน และกระบวนการดําเนินงานตองคํานึงถึงมิติทางดานจิตใจ สังคม และสภาพแวดลอมของประชาชนหรือผูรับบริการดวยการพัฒนาคุณภาพหนวยบริการปฐม ภูมิไดนําแนวคิด CQI (Continuous Quality Improvement) มาใช ซ่ึงจะเนนการประเมินเพื่อการพัฒนาระบบบริการอยางตอเนื่อง โดยใชมาตรฐานและการประเมินตนเองเปนเคร่ืองมือใหเกิดกระบวนการเรียนรู / พัฒนา ใหกับหนวยบริการ หนวยบริการปฐมภูมิ.......................... ไดดําเนินการพัฒนาคุณภาพตามเกณฑมาตรฐานคุณภาพเครือขายปฐมภูมิ (Primary Care Award) ตามกระบวนการและข้ันตอนใหไดตามมาตรฐานเพื่อประโยชนของประชาชน ขอนําเสนอผลการพัฒนาตามลําดับตอไปนี้

Primary Care Award 2011, Surinpho. W.Somchai Ph.D

Page 50: คู่มือ PCA2012

๕๐

๑. ขอมูลหนวยบริการปฐมภูมิ ๑.๑ ช่ือหนวยงาน................................................................................................................................................

๑.๒ สถานท่ีตัง้................................................................................................................................................

๑.๓ ปท่ีกอตั้ง...............................................................................................................................................

๑.๔ โทรศัพท............................................โทรสาร .............................................................

๑.๕ E-Mail :........................................................................................................................ ๒.ขอมูลเครือขายบริการปฐมภูมิ

๒.๑ ช่ือเครือขายตนสังกัด..............................................................................................................................................

๒.๒ สถานท่ีตั้ง..............................................................................................................................................

๒.๓ ลักษณะบริการ................................................................................................................................................

๒.๔ ช่ือผูบริหาร...............................................ตําแหนง........................................................

๒.๕ โทรศัพท...............................................โทรสาร ...........................................................

๒.๖ E-Mail : .........................................................................................................................

๒.๗ ช่ือผูประสานงาน............................................ตําแหนง.................................................

๒.๘ โทรศัพท......................................................โทรสาร ....................................................

๒.๙ E-Mail : .................................. ...................................................................................... ๓. บริบท

(๑) วิสัยทัศนและพันธกิจ วิสัยทัศน

............................................................................................................................................................. พันธกิจ

Primary Care Award 2011, Surinpho. W.Somchai Ph.D

Page 51: คู่มือ PCA2012

๕๑

............................................................................................................................................................. วัฒนธรรมขององคกร

............................................................................................................................................................. คานิยมขององคกร

............................................................................................................................................................. (๒)การเปล่ียนแปลงท่ีเปนผลจากวิสัยทัศนขององคกร :

............................................................................................................................................................. (๓) บทบาทของผูนําในการสรางส่ิงแวดลอมและบรรยากาศท่ีเอ้ือตอส่ิงแวดลอมและ

การพัฒนาและบทเรียนท่ีเกดิข้ึน : .............................................................................................................................................................

(๔) บทบาทของผูนําในการสรางวัฒนธรรมความปลอดภยัและบทเรียนท่ีเกิดข้ึน : .............................................................................................................................................................

(๕) ความสัมพันธระดับองคกร : ความสัมพันธภายในหนวยปฐมภูมิและภายในเครือขายปฐม ภูมิ รวมท้ังภาคีเครือขายสุขภาพ(ผูมีสวนไดสวนเสีย) .............................................................................................................................................................

(๑๐.๑) โครงสรางการบริหารสถานบริการปฐมภูมิ .............................................................................................................................................................

(๑๐.๒) โครงสรางระบบกํากับดูแลกิจการ/ธรรมมาภิบาล .............................................................................................................................................................

(๑๐.๓) โครงสรางของเครือขายบริการและเครือขายความรวมมือ(ผูมีสวนไดสวนเสีย) (ถามี) .............................................................................................................................................................

(นําขอมูลจากหนวยบริการปฐมภูมิ(ขอมูลปฐมภูมิ/ทุคยิภูมิ)มาเขยีนใหกระชับ และสามารถนําเสนอไดท้ังในรูปพรรณนาและตารางประกอบ พรอมตัวเลขเชิงปริมาณ) ๔. ความทาทายท่ีสําคัญของหนวยบริการปฐมภูมิและเครือขายบริการปฐมภูมิ

๔.๑ การเทียบเคียงใหเห็นความเหมือนกันและตางกัน

(๑) การกอต้ัง การขยายตัวและเติบโตของสถานบริการปฐมภูมิ .............................................................................................................................................................

๒) สภาพแวดลอมดานความเหมือนกันและตางกัน (.............................................................................................................................................................

(๑) ความสําเร็จ ปจจัยสูความสําเร็จ ขอไดเปรียบเชิงกลยุทธ .............................................................................................................................................................

(๒)ปญหาทางดานสุขภาพท่ีสําคัญของพื้นท่ี(ขอมูลอยางนอย ๓ ป)

Primary Care Award 2011, Surinpho. W.Somchai Ph.D

Page 52: คู่มือ PCA2012

๕๒

............................................................................................................................................................. (๓) ปญหาสุขภาพท่ีเปนโอกาสพัฒนา หรือมีขอจํากัดในการใหบริการ

............................................................................................................................................................. (๔) เหตุการณท่ีมีผลตอการพัฒนา / การเปล่ียนแปลงนโยบาย

............................................................................................................................................................. (๕) ปญหาสําคัญท่ีหนวยงานกําลังพยายามแกไข

............................................................................................................................................................. (๖) ความทาทายเชิงกลยุทธอ่ืนๆ ขององคกร

............................................................................................................................................................. ๔.๒ การพัฒนาคุณภาพและการเรียนรูของหนวยงาน

(๑) ระบบการพัฒนาคุณภาพของหนวยบริการปฐมภูมิ/เครือขายบริการปฐมภูมิ .............................................................................................................................................................

(๒) ระบบการเรียนรูของหนวยงาน/เครือขายบริการปฐมภูมิ .............................................................................................................................................................

(๑) ผลงานเดนและความภาคภูมิใจของหนวยงาน/เครือขายบริการปฐมภูมิ ............................................................................................................................................................. (นําขอมูลจากหนวยบริการปฐมภูมิ(ขอมูลปฐมภูมิ/ทุคยิภูมิ)มาเขยีนใหกระชับ และสามารถนําเสนอไดท้ังในรูปพรรณนาและตารางประกอบ พรอมตัวเลขเชิงปริมาณ) ๕. สภาพแวดลอมขององคกร

๕.๑ ขอบเขตของการใหบริการ (๑) ความสามารถท่ีมีการใหบริการ

............................................................................................................................................................. (๒) ความเช่ียวชาญพิเศษขององคกร

............................................................................................................................................................. (๓) บริการ/กลุมประชากร/กลุมผูปวยสําคัญท่ีใหบริการ

............................................................................................................................................................. (นําขอมูลจากหนวยบริการปฐมภูมิ(ขอมูลปฐมภูมิ/ทุคยิภูมิ)มาเขยีนใหกระชับ และสามารถนําเสนอไดท้ังในรูปพรรณนาและตารางประกอบ พรอมตัวเลขเชิงปริมาณ)

๕.๒ ประชากรในเขตพื้นท่ีท่ีรับผิดชอบ (๑) ระดับจังหวัด

............................................................................................................................................................. (๒) ระดับอําเภอ

Primary Care Award 2011, Surinpho. W.Somchai Ph.D

Page 53: คู่มือ PCA2012

๕๓

............................................................................................................................................................. (๓) ระดับตําบล

............................................................................................................................................................. (๒) เขตพ้ืนท่ีท่ีรับผิดชอบ

............................................................................................................................................................. (๓) ชุมชนหรือกลุมผูรับบริการท่ีเปนเปาหมาย

............................................................................................................................................................. (นําขอมูลจากหนวยบริการปฐมภูมิ(ขอมูลปฐมภูมิ/ทุคยิภูมิ)มาเขยีนใหกระชับ และสามารถนําเสนอไดท้ังในรูปพรรณนาและตารางประกอบ พรอมตัวเลขเชิงปริมาณ)

๕.๓ ลักษณะโดยรวมของบุคลากร (๑) จํานวนบุคลากรท้ังหมด จําแนกตามระดับการบริหาร และลักษณะงาน

............................................................................................................................................................. (๒) จํานวนบุคลากรจําแนกตามสาขาวิชาชีพท่ีสําคัญ

.............................................................................................................................................................

๕.๔ อาคารสถานท่ี เทคโนโลยี และอุปกรณ (๑) สถานท่ีและส่ิงท่ีอํานวยความสะดวกท่ีสําคัญ

............................................................................................................................................................. (๒) เทคโนโลยีและอุปกรณท่ีสําคัญ .............................................................................................................................................................

(นําขอมูลจากหนวยบริการปฐมภูมิ(ขอมูลปฐมภูมิ/ทุคยิภูมิ)มาเขยีนใหกระชับ และสามารถนําเสนอไดท้ังในรูปพรรณนาและตารางประกอบ พรอมตัวเลขเชิงปริมาณ) ๖. ผูปวยและผูรับผลงานสําคัญ

(๑) กลุมประชากร/กลุมผูปวยท่ีสําคัญ และความตองการของผูรับบริการแตละกลุม .............................................................................................................................................................

(๒) ผูรับผลงานอ่ืนและความตองการ ............................................................................................................................................................. (นําขอมูลจากหนวยบริการปฐมภูมิ(ขอมูลปฐมภูมิ/ทุคยิภูมิ)มาเขยีนใหกระชับ และสามารถนําเสนอไดท้ังในรูปพรรณนาและตารางประกอบ พรอมตัวเลขเชิงปริมาณ)

Primary Care Award 2011, Surinpho. W.Somchai Ph.D

Page 54: คู่มือ PCA2012

๕๔

๗. ความสัมพันธกับองคกรภายนอก ๑. ผูสงมอบท่ีสําคัญ/ผลิตภัณฑและบริการท่ีสงมอบ

............................................................................................................................................................. ๒. การฝกอบรมหรือเปนแหลงในการฝกอบรม

............................................................................................................................................................. (นําขอมูลจากหนวยบริการปฐมภูมิ(ขอมูลปฐมภูมิ/ทุคยิภูมิ)มาเขยีนใหกระชับ และสามารถนําเสนอไดท้ังในรูปพรรณนาและตารางประกอบ พรอมตัวเลขเชิงปริมาณ) ๘. วิเคราะหสถานการณ สภาพปญหาของพื้นท่ี (ขอมูลจากการประเมินตนเองหมวด ๑-๗) และขั้นบันได PCA)

นําเสนอขอมูลท่ัวไป(พอสังเขป).......................................................................................................................................................................................................................................(นําขอมูลจากหนวยบริการปฐมภูมิ(ขอมูลปฐมภูมิ/ทุคยิภูมิ)มาเขียนใหกระชับ และสามารถนําเสนอไดท้ังในรูปพรรณนาและตารางประกอบ พรอมตัวเลขเชิงปริมาณ) จากขอมูลและสถานการณสามารถวิเคราะหไดดังน้ี ๘.๑ วิเคราะหหาสาเหตุ (กลาวนํา)....................................................................................... ..........................................................................ซ่ึงไดแก......................................................................

๘.๒ ความเส่ียงท่ีสําคัญ (กลาวนํา)...................................................................................... ........................................................................ซ่ึงไดแก....................................................(อาทิ ระบบสงตอ ระบบการใหคําปรึกษา ระบบ IC ระบบยาและเวชภัณฑ เปนตน) ๘.๓ มาตรการแกไขปญหาความเส่ียงท่ีสําคัญ (กลาวนํา...................................................... ................................................................................................ซ่ึงไดแก........................................ ๘.๔ ปญหาและความเส่ียงท่ีสําคัญไดรับการแกไข (กลาวนํา............................................... .........................................................................ซ่ึงไดแก.......................................................................

Primary Care Award 2011, Surinpho. W.Somchai Ph.D

Page 55: คู่มือ PCA2012

๕๕

ตารางสรุปประเด็นปญหาท่ีสําคัญจากวิเคราะหสถานการณ สภาพปญหาของพ้ืนท่ี

ประเด็นปญหา/ความเสี่ยงท่ีสําคัญของพ้ืนท่ี

การปรับปรุงแกไข/ผลลัพธการดําเนินการของเครือขายบริการปฐมภูมิหรือหนวยบริการ

โอกาสการพัฒนา/แผนการพัฒนา

(ขั้น ๑) ((ขั้น ๒)

ขั้น ๓)

๑. ๑. ๑.ระบบการบริการรักษา พยาบาล (อธิยาย/บรรยาย.....วาเปน

อยางไร...การปรับปรุงแกไข/ผลลัพธการดําเนินการของเครือขายบริการปฐมภูมิหรือหนวยบริการเปนอยางไร)

(อธิยาย/บรรยาย.....วาเปนอยางไร...ปญหา/ความเสี่ยงท่ีสําคัญเปนอยางไร)

อธิยาย/บรรยาย.....วาเปนอยางไร...โอกาสการพัฒนา/แผนการพฒันาเปนอยางไร)

๒.ระบบการบริการจัดการดานทรัพยากรบุคคล

๒. ๒.

๓.ระบบระบบการประสานงานเครือขายสุขภาพ ๔.ระบบ การใหคําปรึกษา.

๕.ระบบ IC

๖.ระบบยาและเวชภณัฑ

๗.ระบบสงตอ...............................เปนตน

ใหสรุปผลการดําเนินงาน(การสนับสนุน) ตามปญหาและความเสี่ยงความสําคัญท่ีพบในบริบทของตนเอง ไมใชจากการเลียนแบบจากหนวยอ่ืน) *สามารถนําเสนอไดท้ังในรูปพรรณนาและตารางประกอบ พรอมตัวเลขเชิงปริมาณ และตองอธิบายใหสอดคลองกับผลลัพธในหมวด ๑-๖ และ ๗ ของ PCA หากฟนธงชัดเจน มีทิศทางและแนวโนมจากการประเมินในเชิงผลลัพธไดจะไดคะแนน ADLI และ LETCLI คลอบคลุม

Primary Care Award 2011, Surinpho. W.Somchai Ph.D

Page 56: คู่มือ PCA2012

๕๖

๙. วิเคราะหการบริหารจัดการ (ยุทธศาสตร แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ท่ีดําเนินการทรัพยากร) (ขอมูลจากการประเมินตนเองหมวด ๑-๗ และขั้นบันได PCA) จากการดําเนินกําหนดยุทธศาสตรท่ีสอดคลองกับยุทธศาสตรจังหวัด............................................................................................................................ซ่ึงไดแก ๙.๑ ยุทธศาสตรท่ี ๑ การพัฒนาการบริหารจัดการ (ระบุรายละเอียดยุทธศาสตรฯ) .......................................................................................................ซ่ึงไดแก.........................................

๙.๒ ยุทธศาสตรท่ี ๒ การพฒันาระบบริการ(ระบุรายละเอียดยุทธศาสตรฯ)....................... .........................................................................................ซ่ึงไดแก....................................................... ๙.๓ ยุทธศาสตรท่ี ๓ การพัฒนาวิชาการ(ระบุรายละเอียดยุทธศาสตรฯ)........................... ..................................................................ซ่ึงไดแก............................................................................. ๙.๔ ยุทธศาสตรท่ี ๔ การพฒันาคุณภาพ(ระบุรายละเอียดยุทธศาสตรฯ)............................. ..........................................................................................................ซ่ึงไดแก.................................... ๙.๕ ยุทธศาสตรท่ี ๕ การมีสวนรวมจากภาคสวน(ระบุรายละเอียดยุทธศาสตรฯ) ..................................................................................................ซ่ึงไดแก............................................ จากการวางแผนและกําหนดยุทธศาสตร หนวยบริการปฐมภูมิ..........................……....ไดกําหนดปญหาและจัดทําแผนพัฒนาปญหาท่ีพบบอยในพ้ืนท่ีดังรายละเอียดตอไปนี้ (๑๐ ประเด็นปญหาเรียงจากมากไปนอย(แผนปฏิบัติการ ๑ ป)) ๑) ระบุช่ือแผนงาน/โครงการ กิจกรรม พรอมกลวีธีดําเนนิงาน การใชทรัพยากรฯ ............................................................................................................................................................. ๒) ระบุช่ือแผนงาน/โครงการ กิจกรรม พรอมกลวีธีดําเนนิงาน การใชทรัพยากรฯ ............................................................................................................................................................. และตองอธิบายใหสอดคลองกับผลลัพธในหมวด ๑-๖ และ ๗ ของ PCA หากฟนธงชัดเจน มีทิศทางและแนวโนมจากการประเมินในเชิงผลลัพธไดจะไดคะแนน ADLI และ LETCLI คลอบคลุม และใหดูประแดน็ท่ีไดจากการประเมินความเส่ียงจากขอ ๘ เปนฐานดวย) ๑๐. วิเคราะหผลการดําเนินงานในเชิงปริมาณ (Output) และเชิงคุณภาพ (Outcome) (ขอมูลจากการประเมินตนเองหมวด ๑-๗ และขั้นบันได PCA)

๑๐.๑ ผลการดาํเนินงานในเชงิปริมาณ (Output) การดําเนนิงานตามนโยบายในการวิเคราะหเชิงปริมาณของหนวยบริการปฐมภูมิ............... จะพบวา มีการดําเนินงานกจิกรรมในเชิงปริมาณตามเปาหมายเปนไปตามแผนพัฒนาปญหาท่ีพบบอยในพืน้ท่ี กลาวคือ (นําเสนอ Output แยกรายกิจกรรม/โครงการหรือนําเสนอรวมก็ได ขอใหตอบโจทยและการใหคะแนน PCA ได) และตองอธิบายใหสอดคลองกับผลลัพธในหมวด

Primary Care Award 2011, Surinpho. W.Somchai Ph.D

Page 57: คู่มือ PCA2012

๕๗

๑-๖ และ ๗ ของ PCA หากฟนธงชัดเจน มีทิศทางและแนวโนมจากการประเมินในเชิงผลลัพธไดจะไดคะแนน ADLI และ LETCLIi คลอบคลุม ............................................................................................................................................................. *สามารถนําเสนอไดท้ังในรูปพรรณนาและตารางประกอบ พรอมตัวเลขเชิงปริมาณ หรือแบบตารางขางลางนี้(ก็ได) หมวด ๑ – การนําองคกร

ผลการดําเนินงานในเชิงปริมาณ ขอมูลตัวช้ีวัดความ หนวย

นับ เปา ผลงาน รอยละ

สําเร็จ หมาย กิจกรรม/กระบวนการ/การ

สนับสนุนท่ีบงตอความสําเร็จ ๑. รอยละของบุคลากร

หนวยปฐมภูมิที่เขาใจทิศทางของหนวยบริการปฐมภูมิ/เครือขายปฐมภูมิ

๒.รอยละความพึงใจของบุคลากรของบุคลากรหนวยปฐมภูมิ/เครือขายปฐมภูมิที่มีตอการนําองคกรของผูบริหาร

๓.รอยละความสําเร็จเฉล่ียถวงนํ้าหนักของตัวช้ีวัดสําคัญที่ผูบริหารใชในการติดตามการบริหารงาน

๔.รอยละเฉลี่ยถวงนํ้าหนักความสําเร็จของผลสัมฤทธิ์ของมาตรการ/โครงการตามนโยบายการกํากับดูแลองคกรที่ดี

๕.ระดับความเช่ือมั่นดานธรรมาภิบาลของผูรับ บริการตอองคกร(คาเฉล่ีย)

Primary Care Award 2011, Surinpho. W.Somchai Ph.D

Page 58: คู่มือ PCA2012

๕๘

หมวด ๒ – การวางแผนเชงิกลยุทธ

ผลการดําเนินงานในเชิงปริมาณ ขอมูลตัวช้ีวัดความ หนวย

นับ เปา ผลงาน รอยละ

สําเร็จ หมาย กิจกรรม/กระบวนการ/การ

สนับสนุนท่ีบงตอความสําเร็จ ๑.ระดับความสําเร็จของ

รอยละเฉลี่ยถวงนํ้าหนักในการบรรลุเปาหมายตามแผนปฏิบัติราชการ/ภารกิจหลัก/เอกสารงบประมาณรายจายฯ ของหนวยปฐมภูมิ/เครือขายปฐมภูมิ

๒.รอยละของบุคลากรปฐมภูมิที่เขาใจแผนปฏิบัติราชการประจําปที่ระดับความเขาใจไมนอยกวารอยละ ๘๐

๓.รอยละของตัวช้ีวัดระดับบุคคลหนวยปฐมภูมิ/เครือขายปฐมภูมิที่สอดคลองขององคกร

๔.รอยละความสําเร็จเฉล่ียถวงนํ้าหนักของหนวยปฐมภูมิ/เครือขายปฐมภูมิที่ปฏิบัติงานไดบรรลุเปาหมายตามตัวช้ีวัดที่องคกรกําหนด

๕.รอยละเฉลี่ยถวงนํ้าหนักความสําเร็จของเปาหมายของโครงการตามแผนบริหารความเสี่ยง

Primary Care Award 2011, Surinpho. W.Somchai Ph.D

Page 59: คู่มือ PCA2012

๕๙

หมวด ๓ – การใหความสําคญักับประชากรเปาหมาย ชุมชนและผูมีสวนไดเสีย

ผลการดําเนินงานในเชิงปริมาณ ขอมูลตัวช้ีวัดความ หนวย

นับ เปา ผลงาน รอยละ

สําเร็จ หมาย กิจกรรม/กระบวนการ/การ

สนับสนุนท่ีบงตอความสําเร็จ ๑.รอยละของความพึงใจ

ของผูรับบริการหนวยปฐมภูมิ/เครือขายปฐมภูมิ

๒.รอยละของความไมพึงใจของผูรับบริการหนวยปฐมภูมิ/เครือขายปฐมภูมิ

๓.รอยละของความพึงใจของเครือขายที่มีตอกิจกรรมสรางความ สัมพันธ

๔.รอยละความสําเร็จของผลสัมฤทธิ์ของการดําเนินงาน/โครงการท่ีเปดโอกาสใหประชาชนเขามามีสวนรวมในการบริหารราชการ

๕.รอยละของความสําเร็จในการดําเนินงานตามมาตรฐานคูมือการใหบริการ

หมวด ๔ – การวัด วิเคราะห และการจัดการความรู

ผลการดําเนินงานในเชิงปริมาณ ขอมูลตัวช้ีวัดความ หนวย

นับ เปา ผลงาน รอยละ

สําเร็จ หมาย กิจกรรม/กระบวนการ/การ

สนับสนุนท่ีบงตอความสําเร็จ ๑.รอยละของความครอบคลุม ถูกตอง และทันสมัยของฐานขอมูลที่สนับสนุนยุทธศาสตร

Primary Care Award 2011, Surinpho. W.Somchai Ph.D

Page 60: คู่มือ PCA2012

๖๐

อยางนอย ๑ ประเด็นยุทธศาสตร

๒.รอยละความพึงพอใจของผูเขาถึงหรือเขาใจใชขอมูลขาวสารผานทางเว็บไซตของหนวยบริการ

๓.รอยละขอมูลที่เก่ียวของกับระบบสุขภาพและผลการดําเนินงาน มีความครบถวน ถูกตองเปนปจจุบัน นาเช่ือถือ

๔.ระดับความสําเร็จการจัดทําฐานขอมูล ๑๘/๒๑ แฟม

๕.รอยละเฉลี่ยถวงนํ้าหนักความสําเร็จจากผลสัมฤทธิ์ของการดําเนินการตามแผนการจัดการความรูอยางนอย ๓ องคความรู

หมวด ๕ – การมุงเนนทรัพยากรบุคคล

ผลการดําเนินงานในเชิงปริมาณ ขอมูลตัวช้ีวัดความ หนวย

นับ เปา ผลงาน รอยละ

สําเร็จ หมาย กิจกรรม/กระบวนการ/การ

สนับสนุนท่ีบงตอความสําเร็จ ๑.รอยละความพึงพอใจ

ของบุคลากรหนวยปฐมภูมิ/เครือขายปฐมภูมิที่มีตอองคกร

๒.รอยละความพึงพอใจของบุคลากรหนวยปฐมภูมิ/เครือขายปฐมภูมิที่มีตอการพัฒนาบุคลากร ๓.รอยละความพึงพอใจของบุคลากรหนวยปฐมภูมิ/เครือขายปฐมภูมิที่มี

Primary Care Award 2011, Surinpho. W.Somchai Ph.D

Page 61: คู่มือ PCA2012

๖๑

ตอระบบประเมินผลการปฏิบัติงาน

๔.รอยละของหลักสูตรการอบรมที่ผานเกณฑตามหลักประกันคุณภาพการฝกอบรม

๕.รอยละความพึงพอใจของบุคลากรหนวยปฐมภูมิ/เครือขายปฐมภูมิที่มีตอแผนการสรางความ กาวหนาในสายงาน

หมวด ๖ – ดานระบบบริการ

ผลการดําเนินงานในเชิงปริมาณ ขอมูลตัวช้ีวัดความ หนวย

นับ เปา ผลงาน รอยละ

สําเร็จ หมาย กิจกรรม/กระบวนการ/การ

สนับสนุนท่ีบงตอความสําเร็จ ๑.รอยละความพึงพอใจ

ของผูรับบริการที่มีตอขั้นตอนการปฏิบัติงาน

๒.รอยละความพึงพอใจของผูรับบริการที่มีตอระบบรองรับภาวะฉุกเฉิน

๓.รอยละของกระบวนการสรางคุณคาที่มีการจัดทําคูมือการปฏิบัติงาน

๔.รอยละเฉลี่ยถวงนํ้าหนักความสําเร็จของการดําเนินการตามมาตรฐานของกระบวนการท่ีสรางคุณคา

๕.จํานวนกระบวนการที่ไดรับการปรับปรุงใหผลการดําเนินการดีขึ้น

Primary Care Award 2011, Surinpho. W.Somchai Ph.D

Page 62: คู่มือ PCA2012

๖๒

โอกาสพัฒนา ............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................

๑๐.๒ ผลการดาํเนินงานในเชงิคุณภาพ (Output) การดําเนนิงานตามนโยบายในการวิเคราะหเชิงคุณภาพของหนวยบริการปฐมภูมิ............................. จะพบวา มีการดาํเนินงานกิจกรรมในเชิงคุณภาพตามเปาหมายเปนไปตามแผนพัฒนาปญหาท่ีพบบอยในพ้ืนท่ี กลาวคือ (นําเสนอ Output แยกรายกิจกรรม/โครงการหรือนําเสนอรวมก็ได ขอใหตอบโจทยและการใหคะแนน PCA ได) และตองอธิบายใหสอดคลองกับผลลัพธในหมวด ๑-๖ และ ๗ ของ PCA หากฟนธงชัดเจน มีทิศทางและแนวโนมจากการประเมินในเชิงผลลัพธไดจะไดคะแนน ADLI และ LETCLIi คลอบคลุม) ผลการพัฒนาคุณภาพและการเรียนรูของหนวยงาน *สามารถนําเสนอไดท้ังในรูปพรรณนาและตารางประกอบ พรอมตัวเลขเชิงปริมาณหรือแบบตารางขางลางนี้(ก็ได) ๑๐.๒.๑ ระบบและผลงานเดนหนวยบริการปฐมภูมิ/เครือขายปฐมภูมิ

ประเด็นสําคัญ ผลการดําเนินงาน โอกาสการพัฒนา/แผนการพฒันา (๑)ระบบการพัฒนาคุณภาพของหนวยบริการปฐมภูมิ/เครือขายบริการปฐมภูมิ (อธิยาย/บรรยาย.....วาเปนอยางไร...ปญหา/ความเสี่ยงท่ีสําคัญเปนอยางไร)

๑. ๑. (อธิยาย /บรรยาย . . . . .วาเปนอยางไร... ผลการดําเนินการในเชิ งคุณภาพของ เค รือข า ยบ ริการปฐมภู มิห รือหนวยบริการเปนอยางไร)

อธิยาย/บรรยาย.....วาเปนอยางไร...โอกาสการพัฒนา/แผนการพัฒนาเปนอยางไร)

(๒)ระบบการเรียนรูของหนวยงานบริการปฐมภูมิ/เครือขายบริการปฐมภมิู

Primary Care Award 2011, Surinpho. W.Somchai Ph.D

Page 63: คู่มือ PCA2012

๖๓

(๓) ผลงานเดนละความภาคภูมิใจของหนวยงานบริการปฐมภูมิ/เครือขายบริการปฐมภูมิ

๑๐.๒.๒ ระบบสนับสนุนหนวยบริการปฐมภูมิ/เครือขายปฐมภูมิ

ประเด็นท่ีสําคญั ผลการดําเนินงาน โอกาสการพัฒนา/แผนการพฒันา

๑.ระบบการบริการรักษา

๑. ๑. (อธิยาย/บรรยาย.....วาเปนอยางไร... ผลการดําเนินการในเชิงคณุภาพของเครือขายบริการปฐมภมิูหรือหนวยบริการเปนอยางไร)

พยาบาล (อธิยาย/บรรยาย.....วาเปนอยางไร...ปญหา/ความเสี่ยงท่ีสําคัญเปนอยางไร)

อธิยาย/บรรยาย.....วาเปนอยางไร...โอกาสการพัฒนา/แผนการพัฒนาเปนอยางไร)

๒.ระบบการบริการจัดการดานทรัพยากรบุคคล

๒. ๒.

๓.ระบบระบบการประสานงานเครือขายสุขภาพ ๔.ระบบการใหการปรึกษา

๕.ระบบ IC

๖.ระบบยาและเวชภณัฑ

๗.ระบบสงตอ...............................เปนตน

Primary Care Award 2011, Surinpho. W.Somchai Ph.D

Page 64: คู่มือ PCA2012

๖๔

กิจกรรม/กระบวนการ/การสนับสนุนท่ีบงตอความสําเร็จ............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................

๑๐.๓ การเชื่อมโยงผลลัพธสอดคลองกับแผนพัฒนาปญหาท่ีพบบอยในพื้นท่ี จากการวางแผนและกําหนดยุทธศาสตร หนวยบริการปฐมภูมิ.............................ไดกําหนดปญหาและจัดทําแผนพัฒนาปญหาท่ีพบบอยในพื้นท่ี และเช่ือมโยงผลลัพธสอดคลองกับแผนพัฒนาปญหาท่ีพบบอยในพ้ืนท่ี นําเสนอไดดังนี ้ ๑) ระบุช่ือแผนงาน/โครงการ กิจกรรม พรอมกลวีธีดําเนนิงาน การใชทรัพยากรฯ ............................................................................................................................................................. (ผลลัพธเปนอยางไรเม่ือเทียบกับเปาหมาย คาคุมทุน ฯลฯ จะตองทําอะไรตอเพ่ือใหบรรลุเปาหมาย (ระบุใหชัดเจนวัดไดในเชิงปริมาณและคุณภาพ) และตองอธิบายใหสอดคลองกับผลลัพธในหมวด ๗ ของ PCA หากฟนธงชัดเจน มีทิศทางและแนวโนมจากการประเมินในเชิงผลลัพธไดจะไดคะแนน Letcli คลอบคลุม) *สามารถนําเสนอไดท้ังในรูปพรรณาและตารางประกอบ พรอมตัวเลขเชิงปริมาณก็ได

๒) ระบุช่ือแผนงาน/โครงการ กิจกรรม พรอมกลวีธีดําเนนิงาน การใชทรัพยากรฯ ............................................................................................................................................................. ผลลัพธเปนอยางไรเม่ือเทียบกับเปาหมาย คาคุมทุน ฯลฯ จะตองทําอะไรตอเพ่ือใหบรรลุเปาหมาย (ระบุใหชัดเจนวัดไดในเชิงปริมาณและคุณภาพ) และตองอธิบายใหสอดคลองกับผลลัพธในหมวด ๗ ของ PCA หากฟนธงชัดเจน มีทิศทางและแนวโนมจากการประเมินในเชิงผลลัพธไดจะไดคะแนน Letcli คลอบคลุม ๓) การจัดระบบสนับสนุนท่ีสําคัญท่ี CUP ใหการสนบัสนุน (ใหระบุและอธิบายระบบ/แผนท่ีเปนระบบ(Preventive Action) และมีการวางแผนสนับสนนุท่ีสอดคลองกับสภาพปญหาของพื้นท่ีและระบบติดตาม ประเมินผลลัพธจนเกิดผลลัพธท่ีดีบางระบบ สามารถเชื่อโยงตอบขอ ๔ ไดอยางแมนยํา) (๑) ระบบการบริการจัดการดานทรัพยากรบุคคล (๒) ระบบการปองการติดเช้ือ(IC) (๓) ระบบการสงตอ(Refer) (๔) ระบบยาเวชภณัฑ (๕) ระบบงานชันสูตรและหองปฏิบัติการสาธารณสุข

Primary Care Award 2011, Surinpho. W.Somchai Ph.D

Page 65: คู่มือ PCA2012

๖๕

(๖) ระบบงานเทคโนโลยีสารสนเทศ (๗) ระบบงานเชิงรุก (๗.๑) การสงเสริมสุขภาพ (๗.๒) การปองกันโรค (๗.๓) การรักษาพยาบาลเบ้ืองตน (๗.๔) การฟนฟูสภาพรางกายหลังเจ็บปวย (๘) ระบบการบริการ (๘.๑) การรักษาโรคเฉียบพลัน (๘.๓) การรักษาโรคเร้ือรัง (๘.๔) ............................ (๙) ระบบการประสานงานเครือขายสุขภาพ(เนนหวัใจส่ีดวง) (๙.๑) อาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบาน(อสม.) (๙.๒) โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล(รพงสต.) (๙.๓) กองทุนสุขภาพตําบล (๘.๔) แผนสุขภาพตําบล (๑๐) ระบบอ่ืน ๆ ตามความเหมาะสม (ตอบประเด็นและสอดคลองกับหมวด ๗) (ผลลัพธเปนอยางไรเม่ือเทียบกับเปาหมาย คาคุมทุน ฯลฯ จะตองทําอะไรตอเพ่ือใหบรรลุเปาหมาย (ระบุใหชัดเจนวัดไดในเชิงปริมาณและคุณภาพ) และตองอธิบายใหสอดคลองกับผลลัพธในหมวด ๗ ของ PCA หากฟนธงชัดเจน มีทิศทางและแนวโนมจากการประเมินในเชิงผลลัพธไดจะไดคะแนน Letcli คลอบคลุม) *สามารถนําเสนอไดท้ังในรูปพรรณาและตารางประกอบ พรอมตัวเลขเชิงปริมาณก็ได โอกาสพัฒนา ............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................

๑๐.๔ การเชื่อมโยงผลลัพธสอดคลองกับนวัตกรรม/Good or Best Practice

จากการวางแผนและกําหนดยุทธศาสตร หนวยบริการปฐมภูมิ.............................ไดกําหนดปญหาและจัดทําแผนพัฒนาปญหาท่ีพบบอยในพื้นท่ี และเช่ือมโยงผลลัพธสอดคลองกับแผนพัฒนาปญหาท่ีพบบอยในพ้ืนท่ี และไดพัฒนานวัตกรรม/ Good or Best Practice มาปรับใชใหเหมาะสมกับบริบทของหนวยบริการปฐมภูมิ นําเสนอไดดังนี ้

๑) ชื่อ(นวัตกรรม/ Good or Best Practice) .....................................................................................................................................

Primary Care Award 2011, Surinpho. W.Somchai Ph.D

Page 66: คู่มือ PCA2012

๖๖

๒) ประเด็นสําคัญเพื่อนํามาพัฒนา (๑) สอดคลองกับพันธกิจ ความเส่ียง ตัวช้ีวัดท่ียังไมถึงเปาหมาย บริบท ........................................................................................................................... (๒) ผลกระทบตอผูใชบริการ องคกร วิชาชีพ ...........................................................................................................................

(๓) ความสําคัญของปญหา/ความเส่ียงมีความชัดเจนอางอิงเปนขอมูลท่ีชัดเจน(Management by fact or Focus on Result) ...........................................................................................................................

๓) กระบวนพัฒนาตามกระบวนการจนเกิดเปน PDCA ท่ีชัดเจน

Plane (๑) Do (๒)

(๓) Check Action (๔) (๕) การนําผลมาพัฒนามาดําเนินการตอเนื่อง

๔) การขยายผลงานและเผยแพรสูภายนอกองคกร หรือเชื่อมตั้งแตระดับปฐมภูมิและเครือขายบริการปฐมภูมิ ............................................................................................................................................ .............................................................................................................................

การดําเนินงานมีความยั่งยืนในหนวยงานปฐมภูมิ/เครือขายบริการปฐมภูมิ ระดับนโยบาย ระดับปฏิบัติ

๕)

.....................................................................................................................................

..................................................................................................................................... ๖) การดําเนินงานกอใหเกิดผลลัพธอยางมีประสิทธิผลและประสิทธิภาพ

.....................................................................................................................................

.......….......................................................................................................................... สรุปสาระสําคญั และผลลัพธ(นําเสนอนวตักรรม/ Good or Best Practice ท่ีเดนท่ีสุดท่ีเกิดจาก PDCA ครบวงลอ ใหพรรณนาตามแบบการนําเสนอฯ ไมตองยาวมากแตสามารถจับตองไดในเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ สวนสาระ/เนื้อหาฉบับสมบูรณนําไปไวภาคผนวก) และตองอธิบายให

Primary Care Award 2011, Surinpho. W.Somchai Ph.D

Page 67: คู่มือ PCA2012

๖๗

สอดคลองกับผลลัพธในหมวด ๗ ของ PCA หากฟนธงชัดเจน มีทิศทางและแนวโนมจากการประเมินในเชิงผลลัพธไดจะไดคะแนน Letcli คลอบคลุม

............................................................................................................................................ โอกาสพัฒนา .......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ๑๑. การประเมินผลลัพธหนวยบริการจนเกิดผลลัพธท่ีดี (มีการวางแผนสนับสนุนท่ีสอดคลองกับสภาพปญหาของพื้นท่ีและระบบติดตาม ประเมินผลลัพธจนเกิดผลลัพธท่ีดีบางระบบ(อาจเปนระบบใดระบบหน่ึงจากระบบสนับสนุน อาทิ ระบบการบริการ หรือระบบสงตอฯ )

๑๑.๑ การประเมินผลลัพธสอดคลองกับแผนพัฒนาปญหาท่ีพบบอยในพื้นท่ี จากการวางแผนและกําหนดยุทธศาสตร หนวยบริการปฐมภูมิ.............................ไดกําหนดปญหาและจัดทําแผนพัฒนาปญหาท่ีพบบอยในพื้นท่ี ซ่ึงจากการประเมินผลลัพธท่ีสอดคลองกับแผนพัฒนาปญหาท่ีพบบอยในพ้ืนท่ี นําเสนอไดดังนี ้ ๑) ระบุช่ือแผนงาน/โครงการ กิจกรรม พรอมกลวีธีดําเนนิงาน การใชทรัพยากรฯ ............................................................................................................................................................. การประเมินในเชิงผลลัพธเปนอยางไรเม่ือเทียบกับเปาหมาย คาคุมทุน ฯลฯ จะตองทําอะไรตอเพื่อใหบรรลุเปาหมาย (ระบุใหชัดเจนวัดไดในเชิงปริมาณและคุณภาพ) และตองอธิบายใหสอดคลองกับผลลัพธในหมวด ๗ ของ PCA หากฟนธงชัดเจน มีทิศทางและแนวโนมจากการประเมินในเชิงผลลัพธไดจะไดคะแนน Letcli คลอบคลุม *สามารถนําเสนอไดท้ังในรูปพรรณาและตารางประกอบ พรอมตัวเลขเชิงปริมาณก็ได แตตองเทียบกับเกณฑมาตรฐานในเชงิผลลัพธ และผลกระทบได ๒) ระบุช่ือแผนงาน/โครงการ กิจกรรม พรอมกลวิธีดําเนนิงาน การใชทรัพยากรฯ ............................................................................................................................................................. (การประเมินในเชิงผลลัพธเปนอยางไรเม่ือเทียบกับเปาหมาย คาคุมทุน ฯลฯ จะตองทําอะไรตอเพ่ือใหบรรลุเปาหมาย (ระบุใหชัดเจนวัดไดในเชิงปริมาณและคุณภาพ) และตองอธิบายใหสอดคลองกับผลลัพธในหมวด ๗ ของ PCA หากฟนธงชัดเจน มีทิศทางและแนวโนมจากการประเมินในเชิงผลลัพธไดจะไดคะแนน Letcli คลอบคลุม) *สามารถนําเสนอไดท้ังในรูปพรรณาและตารางประกอบ พรอมตัวเลขเชิงปริมาณก็ได แตตองเทียบกับเกณฑมาตรฐานในเชงิผลลัพธ และผลกระทบได

Primary Care Award 2011, Surinpho. W.Somchai Ph.D

Page 68: คู่มือ PCA2012

๖๘

๑๑.๒ การประเมินผลลัพธสอดคลองกับระบบการสนับสนุน จากการวางแผนและกําหนดยุทธศาสตร หนวยบริการปฐมภูมิ.............................ไดกําหนดปญหาและจัดทําแผนพัฒนาปญหาท่ีพบบอยในพ้ืนท่ี ซ่ึงจากการประเมินผลลัพธท่ีสอดคลองกับระบบการสนบัสนุนจากหนวยแมขาย นําเสนอไดดังนี ้ (๑) ระบบการบริการจัดการดานทรัพยากรบุคคล (๒) ระบบการปองการติดเช้ือ(IC) (๓) ระบบการสงตอ(Refer) (๔) ระบบยาเวชภณัฑ (๕) ระบบงานชันสูตรและหองปฏิบัติการสาธารณสุข (๖) ระบบงานเทคโนโลยีสารสนเทศ (๗) ระบบงานเชิงรุก (๗.๑) การสงเสริมสุขภาพ (๗.๒) การปองกันโรค (๗.๓) การรักษาพยาบาลเบ้ืองตน (๗.๔) การฟนฟูสภาพรางกายหลังเจ็บปวย (๘) ระบบการบริการรักษาพยาบาล (๘.๑) การรักษาโรคเฉียบพลัน (๘.๓) การรักษาโรคเร้ือรัง (๘.๔) ............................ (๙) ระบบการประสานงานเครือขายสุขภาพ (เนนหวัใจสี่ดวง) (๙.๑) อาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบาน(อสม.) (๙.๒) โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล(รพงสต.) (๙.๓) กองทุนสุขภาพตําบล (๘.๔) แผนสุขภาพตําบล (๑๐) ระบบอ่ืน ๆ ตามความเหมาะสม (ตอบประเด็นและสอดคลองกับหมวด ๗)

๑๑.๓ การประเมินผลลัพธสอดคลองกับนวัตกรรม/Good or Best Practice จากการวางแผนและกําหนดยุทธศาสตร หนวยบริการปฐมภูมิ.............................ไดกําหนดปญหาและจัดทําแผนพัฒนาปญหาท่ีพบบอยในพื้นท่ี ซ่ึงจากการประเมินผลลัพธท่ีสอดคลองกับแผนพัฒนาปญหาท่ีพบบอยในพ้ืนท่ี และนวัตกรรม/ Good or Best Practice มาปรับใชใหเหมาะสมกบับริบทของหนวยบริการปฐมภูมิ นําเสนอไดดังนี ้

Primary Care Award 2011, Surinpho. W.Somchai Ph.D

Page 69: คู่มือ PCA2012

๖๙

สรุปสาระสําคญั และผลการประเมินผลลัพธ(นําเสนอการประเมินผลลัพธนวัตกรรม/ Good or Best Practice ท่ีเดนท่ีสุดท่ีเกิดจาก PDCA ครบวงลอ ใหพรรณนาตามแบบการนําเสนอฯ ไมตองยาวมากแตสามารถจบัตองไดในเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ สวนสาระ/เนื้อหาฉบับสมบูรณนําไปไวภาคผนวก) และตองอธิบายใหสอดคลองกับผลลัพธในหมวด ๗ ของ PCA หากฟนธงชัดเจน มีทิศทางและแนวโนมจากการประเมินในเชิงผลลัพธไดจะไดคะแนน Letcli คลอบคลุม)

............................................................................................................................................ ๑๑.๔ การประเมินผลลัพธท่ีดีบางระบบของหนวยบริการ (มีระบบงานและแนวทางท่ี

สําคัญและมีการนําเอามาตรฐาน PCA สุการปฏิบัติจนเกิดผลลัพธท่ีดี-ใหยกตัวอยางบางระบบท่ีดีท่ีสุดจากการนํา PCA มาประยุกตใช และผลลัพธและแผนเปนระบบ สามารถพรรณาและนําเสนอไดท้ังเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ) ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๑๒. การประเมินผลกระทบหนวยบริการ (Impact) จากการวางแผนและกําหนดยุทธศาสตร หนวยบริการปฐมภมิู.............................ไดกําหนดปญหา จัดทําแผนพัฒนาปญหาท่ีพบบอยในพื้นท่ี ประเมินผลลัพธท่ีสอดคลองกับแผนพัฒนาปญหาท่ีพบบอยในพ้ืนท่ี และนวัตกรรม/ Good or Best Practice มาปรับใชใหเหมาะสมกับบริบทของหนวยบริการปฐมภูมิ ซ่ึงจากการผลกระทบจากการดาํเนินงานท่ีผลตอระบบสุขภาพนําเสนอไดดังนี้ ๑๒.๑ ผลกระทบดาน.................. ๑๒.๒ ผลกระทบดาน................. (แนวโนมในอนาคตเปนอยางไร นําไปดําเนินอยางไรไดบาง เม่ือเทียบกับเปาหมาย คาคุมทุน ฯลฯ จะตองทําอะไรตอเพ่ือใหบรรลุเปาหมาย) และตองอธิบายใหสอดคลองกับผลลัพธในหมวด ๗ ของ PCA หากฟนธงชัดเจน มีทิศทางและแนวโนมจากการประเมินในเชิงผลลัพธไดจะไดคะแนน Letcli คลอบคลุม ๑๓. สรุประบบการพัฒนาเครือขายบริการปฐมภูมิ

จากการวางแผนและกําหนดยุทธศาสตร หนวยบริการปฐมภูมิ.............................ไดกําหนดปญหา จัดทําแผนพัฒนาปญหาท่ีพบบอยในพื้นท่ี ประเมินผลลัพธท่ีสอดคลองกับแผนพัฒนาปญหาท่ีพบบอยในพื้นท่ี และจากการดําเนินงานพัฒนาสามรถสรุปภาพรวมระบบการพัฒนาเครือขายหนวยบริการปฐมภูมิ ดังนี้

Primary Care Award 2011, Surinpho. W.Somchai Ph.D

Page 70: คู่มือ PCA2012

๗๐

๖.๑ ระบบการบริการรักษาพยาบาล ………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

๖.๒ ระบบการบริการจัดการดานทรัพยากรบุคคล ………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

๖.๓ ระบบการประสานงานเครือขายสุขภาพ ………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. (ใหบรรยายใหเชื่อมโยงทุกประเด็นท่ีผานมาท้ังระบบวาเปนอยางไรอยางนอยใน ๓ ดานนี้ สามารถนําเสนอไดท้ังในรูปพรรณาและตารางประกอบ พรอมตัวเลขเชิงปริมาณก็ได แตตองเทียบกับเกณฑมาตรฐานในเชิงผลลัพธ และผลกระทบได เพื่อสามารถนําไปเชื่อมโยงการสรุปสําหรับผูบริหารไดในตอนถัดไป)

บทสรุปการพัฒนาตามกระบวนการมาตรฐานเครือขายบริการปฐมภูมิ (Primary Care Award)

(ใหบรรยายใหเชื่อมโยงทุกประเด็นท่ีผานมา กรุณาอยาคัดลอกแลวนําไปนําเสนอเหมือนตัวอยางทุกประเด็น แตละหนวยบริการปฐมภูมิมีบริบทยอมไมเหมือนกัน คะแนนจะไมไดตามมาตรฐานระบุ)

................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................

จาการดําเนินงานตามนโยบายการพัฒนามาตรฐานเครือขายบริการปฐมภูมิ(Primary Care Award) สามารถตอบสนองปญหาสุขภาพสวนใหญของจังหวัดสุรินทรตรงกับสภาพความ

จําเปนดานสุขภาพของประชาชนท่ีมีพลวัตไดอยางทันสถานการณ (Social accountability) ตามสภาพสังคมของจังหวัดสุรินทรท่ีมีการเปล่ียนแปลงไป เนื่องจากเปนหนวยบริการสุขภาพท่ีคลุกคลี อยูใกลชิดกับประชาชน เขาใจเหตุปจจัยท่ีกระทบสุขภาพของประชาชนไดงาย

Primary Care Award 2011, Surinpho. W.Somchai Ph.D

Page 71: คู่มือ PCA2012

๗๑

นอกจากนี้หนวยบริการปฐมภูมิ............................... ยังเปนจุดเช่ือมตอระหวางประชาชนกับระบบริการสุขภาพท่ีสูงข้ึน มีบทบาทในการใหบริการสงตอผูปวยโรคท่ีซับซอนไปรับบริการสุขภาพในระดับท่ีสูงข้ึนและบริการรับกลับมาดูแลตอเนื่อง สรางเสริมสุขภาพท่ีสอดคลองกับสภาพวิถีชีวิตของประชาชนในพื้นท่ี อันเปนจุดออนของระบบบริการสุขภาพระดับอ่ืนๆ ที่ไมสามารถทําได อาทิเชน โรงพยาบาลจะมีลักษณะในการใหบริการทางการแพทยท่ีตองใชเคร่ืองมือทางการแพทยท่ียุงยาก มีบทบาทในการบริการผูปวยในโรคที่ซับซอน ฝกอบรมบุคลากรทางการแพทย ศึกษาวิจัย และสนับสนุนบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิใหมีความเขมแข็งมากข้ึน จึงไมมีเวลาเพียงพอท่ีจะทําการดูแลแบบองครวม ที่ตองใกลชิดตอเนื่อง รวมท้ังการเสริมสรางขีดความสามารถของประชาชนในการดูแลสุขภาพของตนเอง ครอบครัว ชุมชน จนสามารถพึ่งตนเองดานสุขภาพไดตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง

ดังน้ัน การขยายเครือขายและเสริมศักยภาพหนวยบริการปฐมภูมิใหทันสมัย มีคุณภาพไดมาตรฐาน (Quality) มีประสิทธิภาพ (Efficiency) สามารถตอบสนองตรงกับสภาพความจําเปนดานสุขภาพของประชาชนที่มีพลวัตไดอยางทันสถานการณ (Social accountability) ไมมีความซ้ําซอนกับบทบาทสถานพยาบาลในระดับอื่น รวมถึงมีความสามารถในการรับ-สงตอผูปวยไดอยางถูกตองรวดเร็ว จึงเปนสวนสําคัญในการชวยแกไขปญหาสําคัญของระบบบริการสุขภาพทั้งระบบ ไมวาจะเปนปญหาเรื่องประสิทธิภาพ คุณภาพบริการ และความเปนธรรมในการเขาถึงบริการได (ขอมูล สถานการณสุขภาพประเทศไทย : ความเปนธรรมของการใชบริการสุขภาพ) ขอเสนอแนะเพื่อการพัฒนา จุดแข็ง ๑. ....................................................................... จุดออน ๑. ...................................................................... โอกาส

๑. ........................................................................ ภัยคุกคาม ๑. .....................................................................

Primary Care Award 2011, Surinpho. W.Somchai Ph.D

Page 72: คู่มือ PCA2012

๗๒

ภาคผนวก

(ระบุวามีอะไรบาง โครงการ แผนหรืออ่ืนๆท่ีนําเสนอไดไมหมดในการวิเคราะห) อ่ืน ๆ ท่ีสําคัญ เชน บันทึกการประชุมคณะกรรมการหรือ Cup Board, วาระการประชุม สรุปสาระ/เนื้อหานวตกรรม/งานวิจัย(Manu Script)/นวัตกรรม/Good or Best Practice จากดําเนินงานตามกระบวนการ PCA ครบวงลอ หรือ CQI (Continuous Quality Improvement) (ประเด็นนี้มีหลักฐาน

อางอิงจะไดคะแนนระดับดถึีงดีมาก)เปนตน

Primary Care Award 2011, Surinpho. W.Somchai Ph.D

Page 73: คู่มือ PCA2012

๗๓

บันทึกขอเสนอแนะจากที่ปรึกษาระดับจังหวัด/เขต ช่ือที่ปรึกษา..............................................................

วันที่................................................ ขอเสนอเพื่อการปรับปรุง ๑.………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๓……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๓…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๔………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………

Primary Care Award 2011, Surinpho. W.Somchai Ph.D

Page 74: คู่มือ PCA2012

๗๔

รายงานการประเมิน

ระดับการพัฒนาเรียนรูอยางตอเนื่อง ตามกระบวนการเรียนรู (Good or Best Practice)

ตามเกณฑคุณภาพเครือขายบริการปฐมภูมิ( Primary Care Award) ข้ัน ๓ (Accreditation PCA ๓)

(CQI Report : PCA ๒๐๑๒)

หนวยบริการ........................................................ อําเภอ................................ จังหวัด………

Primary Care Award 2011, Surinpho. W.Somchai Ph.D

Page 75: คู่มือ PCA2012

๗๕

คํานํา

Primary Care Award 2011, Surinpho. W.Somchai Ph.D

Page 76: คู่มือ PCA2012

๗๖

สารบัญ

Primary Care Award 2011, Surinpho. W.Somchai Ph.D

Page 77: คู่มือ PCA2012

๗๗

ชื่อเรื่อง.Good or Best Practice

................................... ชื่อผลงาน ...................................................................................................................... คําสําคัญ : …………………………………………………………………………….. สรุปโดยยอ : …………………………………………………………………………. ที่อยูองคกร : …………………………………………………………………………. สมาชิกทีม : …………………………………………………………………………. หลักการและเหตุผล พรรณนา/บรรยาย............ถึงหลักการและเหตุผล ความจาํเปน....ตองชัดเจน สมเหตุ สมผล ทันสมัย เช่ือถือได และตองระบุความจําเปนในการทํานวัตกรรม/PDCA/CQI..และตองสอดคลองกับความเส่ียงสําคัญในพื้นท่ีท่ีไดวิเคราะหแลวท่ีเช่ือมโยงผลลัพธหมวด ๗ ...........................................................................................................................................................................................................................(ถาประเมินข้ัน ๒ สูข้ัน ๓ ใหระบุนวัตกรรมฯ ตามความเส่ียงสําคัญในพื้นท่ี/ระบบสนับสนุนจาก cup ในระบบหรือผลลัพธท่ีดีบอยางนอย ๓ ระบบ(ระบบการบริการรักษาพยาบาล ระบบการบริหารจัดการดานบุคลากร ระบบการประสานงานเครือขายสุขภาพ)........

วัตถุประสงค ระบุ...........ตองชัดเจนและสอดคลองหลักการและเหตุผลความจําเปน........................

วิธีการ/การดําเนินการ พรรณนา/บรรยาย............วิธีการ การดําเนนิการหรือข้ันตอน อยางนอยในองคประกอบ ๔ ประการ คือ ๑) มีความชัดเจน ๒) มีระบบการดําเนินงาน ๓) การใชทรัพยากรอยางคุมคา ๔) เนนการสอดคลองกับระบบการสนับสนุน..............................................................................................(ถาประเมินข้ัน ๒ สูข้ัน ๓ ใหระบุนวัตกรรมฯ ตามความเส่ียงสําคัญในพื้นท่ี/ระบบสนับสนุนจาก CUP ในระบบหรือผลลัพธท่ีดีอยาง

Primary Care Award 2011, Surinpho. W.Somchai Ph.D

Page 78: คู่มือ PCA2012

๗๘

นอย ๓ ระบบ(ระบบการบริการรักษาพยาบาล ระบบการบริหารจัดการดานบุคลากร ระบบการประสานงานเครือขายสุขภาพ)........

ผลการดําเนินงาน พรรณนา/บรรยาย............ผลการดําเนนิการหรือข้ันตอน อยางนอยในองคประกอบ ๖

ประการ คือ ๑) สอดคลองกับวัตถุประสงค อธิบาย/บรรยาย/พรรณนา……………………………………………………

……………………………………………………………………………………… ๒) การนําไปใชประโยชน

อธิบาย/บรรยาย/พรรณนา…………………………………………………… ……………………………………………………………………………………… ๓) ความคิดริเร่ิมสรางสรรค

อธิบาย/บรรยาย/พรรณนา…………………………………………………… ……………………………………………………………………………………… ๔) บูรณาการและพัฒนางานตามกระบวนการ PCA

อธิบาย/บรรยาย/พรรณนา…………………………………………………… ……………………………………………………………………………………… ๕) ประสิทธิภาพและประสิทธิผล

อธิบาย/บรรยาย/พรรณนา…………………………………………………… ……………………………………………………………………………………… ๖) สามารถนําไปประยุกตใชอยางแพรหลายได

อธิบาย/บรรยาย/พรรณนา…………………………………………………… ………………………………………………………………………………………

ความเชื่อมโยงกับผลลัพธ การเชื่อมโยงผลลัพธสอดคลองกับแผนพัฒนาปญหาท่ีพบบอยในพื้นท่ี/สอดคลองกับ

นวัตกรรม/Good or Best Practice จากการวางแผนและกําหนดยุทธศาสตร หนวยบริการปฐมภูมิ.............................ไดกําหนดปญหาและจัดทําแผนพัฒนาปญหาท่ีพบบอยในพื้นท่ี ไดพัฒนานวัตกรรมซ่ึงเช่ือมโยงผลลัพธสอดคลองกับแผนพฒันาปญหาท่ีพบบอยในพื้นท่ี นําเสนอไดดังนี ้ ๑) ระบุช่ือแผนงาน/โครงการ กิจกรรม พรอมกลวิธีดําเนนิงาน การใชทรัพยากรฯ .............................................................................................................................................................

Primary Care Award 2011, Surinpho. W.Somchai Ph.D

Page 79: คู่มือ PCA2012

๗๙

(ผลลัพธเปนอยางไรเม่ือเทียบกับเปาหมาย คาคุมทุน ฯลฯ จะตองทําอะไรตอเพ่ือใหบรรลุเปาหมาย (ระบุใหชัดเจนวัดไดในเชิงปริมาณและคุณภาพ) และตองอธิบายใหสอดคลองกับผลลัพธในหมวด ๗ ของ PCA หากฟนธงชัดเจน มีทิศทางและแนวโนมจากการประเมินในเชิงผลลัพธไดจะไดคะแนน Letcli คลอบคลุม) *สามารถนําเสนอไดท้ังในรูปพรรณาและตารางประกอบ พรอมตัวเลขเชิงปริมาณก็ได ๒) การจัดระบบสนับสนุนท่ีสําคัญท่ี CUP ใหการสนบัสนุน (ใหระบุและอธิบายระบบ/แผนท่ีเปนระบบ(Preventive Action) และมีการวางแผนสนับสนนุท่ีสอดคลองกับสภาพปญหาของพื้นท่ีและระบบติดตาม ประเมินผลลัพธจนเกิดผลลัพธท่ีดีบางระบบ สามารถเชื่อโยงไดอยางแมนยํา) หมายเหตุ ไมจําเปนจะตองสอดคลองในทุกขอดังตอไปนี ้ (๑) ระบบการบริการจัดการดานทรัพยากรบุคคล (๒) ระบบการปองการติดเช้ือ(IC) (๓) ระบบการสงตอ(Refer) (๔) ระบบยาเวชภณัฑ (๕) ระบบงานชันสูตรและหองปฏิบัติการสาธารณสุข (๖) ระบบงานเทคโนโลยีสารสนเทศ (๗) ระบบงานเชิงรุก (๗.๑) การสงเสริมสุขภาพ (๗.๒) การปองกันโรค (๗.๓) การรักษาพยาบาลเบ้ืองตน (๗.๔) การฟนฟูสภาพรางกายหลังเจ็บปวย (๘) ระบบการบริการ (๘.๑) การรักษาโรคเฉียบพลัน (๘.๓) การรักษาโรคเร้ือรัง (๘.๔) ............................ (๙) ระบบการประสานงานเครือขายสุขภาพ (เนนหวัใจสี่ดวง) (๙.๑) อาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบาน(อสม.) (๙.๒) โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล(รพงสต.) (๙.๓) กองทุนสุขภาพตําบล (๘.๔) แผนสุขภาพตําบล (๙) ระบบอ่ืน ๆ ตามความเหมาะสม (ตอบประเด็นและสอดคลองกับหมวด ๗)

Primary Care Award 2011, Surinpho. W.Somchai Ph.D

Page 80: คู่มือ PCA2012

๘๐

(ผลลัพธเปนอยางไรเม่ือเทียบกับเปาหมาย คาคุมทุน ฯลฯ จะตองทําอะไรตอเพ่ือใหบรรลุเปาหมาย (ระบุใหชัดเจนวัดไดในเชิงปริมาณและคุณภาพ) และตองอธิบายใหสอดคลองกับผลลัพธในหมวด ๗ ของ PCA หากฟนธงชัดเจน มีทิศทางและแนวโนมจากการประเมินในเชิงผลลัพธไดจะไดคะแนน Letcli คลอบคลุม) *สามารถนําเสนอไดท้ังในรูปพรรณาและตารางประกอบ พรอมตัวเลขเชิงปริมาณก็ได

ปจจัยแหงความสําเร็จ พรรณนา/บรรยาย............ผลแหงปจจัยความสําเร็จจากการดําเนินงานพัฒนานวัตกรรมฯ อยางนอยในองคประกอบ ๓ ประการ คือ

๑)ผูบริหาร อธิบาย/บรรยาย/พรรณนา…………………………………………………… ……………………………………………………………………………………… ๒)บุคลากรในหนวยงาน อธิบาย/บรรยาย/พรรณนา…………………………………………………… ……………………………………………………………………………………… ๓)ชุมชน/ภาคีเครือขาย อธิบาย/บรรยาย/พรรณนา…………………………………………………… ……………………………………………………………………………………… ๔) ...........................

สรุปสาระสําคญั และผลลัพธ (นําเสนอสรุปผลลัพธนวัตกรรม/ Good or Best Practice ท่ีเกิดจาก PDCA ครบวงลอ ใหพรรณนาตามแบบการนําเสนอฯ ไมตองยาวมากแตสามารถจับตองไดในเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ) และตองอธิบายใหสอดคลองกับผลลัพธในหมวด ๗ ของ PCA หากฟนธงชัดเจน มีทิศทางและแนวโนมจากการประเมินในเชิงผลลัพธไดจะไดคะแนน Letcli คลอบคลุม

..................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................

Primary Care Award 2011, Surinpho. W.Somchai Ph.D

Page 81: คู่มือ PCA2012

๘๑

บันทึกขอเสนอแนะจากที่ปรึกษาระดับจังหวัด/เขต ช่ือที่ปรึกษา..............................................................

วันที่................................................ ขอเสนอเพื่อการปรับปรุง ๑.………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๓……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๓…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๔………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…………………………

Primary Care Award 2011, Surinpho. W.Somchai Ph.D

Page 82: คู่มือ PCA2012

๘๒

นิยามศัพท ตามเกณฑคุณภาพเครือขายบริการปฐมภูมิ( Primary Care Award)

Primary Care Award 2011, Surinpho. W.Somchai Ph.D

Page 83: คู่มือ PCA2012

๘๓

นิยามศัพท ๑ หนวยบริการปฐม

ภูมิ หมายถึงสถานบริการท่ีไดข้ึนทะเบียนหนวยบริการปฐมภูมิในเครือขายของหนวยบริการประจํา ซ่ึงสามารถจัดบริการสาธารณสุขปฐมภมิูดานเวชกรรมหรือทันต กรรมข้ันพื้นฐานไดอยางเปนองครวม ท้ังการสรางเสริมสุขภาพ การปองกันโรค การตรวจวนิิจฉัย การรักษาพยาบาล และการฟนฟสูมรรถภาพ โดยผูมีสิทธิของหนวยบริการประจําดังกลาวสามารถใชบริการสาธารณสุข ณ หนวยบริการปฐมภูมิในเครือขายไดท้ังนีห้นวยบริการปฐมภูมิมีสิทธิไดรับคาใชจายเพื่อบริการสาธารณสุขจากหนวยบริการประจําหรือจากกองทุนตามท่ีคณะกรรมการกําหนด

๒ สถานีอนามัย หมายถึง สถานบริการสาธารณสุขระดับตนของกระทรวงสาธารณสุข โดยการใหบริการเนนการสงเสริมสุขภาพและปองกันโรค รวมท้ังรักษาพยาบาลโรคงาย ๆ การฟนฟูสมรรถภาพท่ีจําเปนตอสุขภาพและการดํารงชีวิตของประชาชน และเปนเครือขายหนวยบริการปฐมภูมิ

(สอ.)

๓ โรงพยาบาลสรางสุขภาพตําบล(รพ.สต.)

หมายถึง หนวยบริการสุขภาพปฐมภูมิท่ีมีพื้นที่รับผิดชอบในระดบัตําบล เนนการสงเสริมสุขภาพและปองกันโรคในระดบับุคคล ครอบครัวและชุมชน พรอมกับมีความสามารถในการใหบริการรักษาพยาบาลและการฟนฟูสมรรถภาพเพ่ิมข้ึน โดยเปนเครือขายกับโรงพยาบาลชุมชนหรือโรงพยาบาลท่ัวไป/โรงพยาบาลศูนย และสามารถสงตอผูปวยไดตลอด ๒๔ ช่ัวโมง”

๔ โรงพยาบาลสรางสุขภาพตําบล(เครือขาย)

หมายถึง ประชากรในเครือขายรวมกนัไมเกิน ๕,๐๐๐ คน การคมนาคมท่ัวไปไมเกิน ๓๐นาที อาคารมีพื้นที่ ๑๕๐-๒๒๐ ตร.ม.มีรายการครุภัณฑรพ.สต.๓๔ รายการ ,ดานการบริหารจัดการแบบมีสวนรวมของประชาชน อปท.และภาคเอกชน มี Cup management ในเครือขายบริการสุขภาพเดยีวกนัมีอัตรากําลังดานบุคลากร(เชิงปริมาณ)อยางนอย ๗ ตําแหนง ไดแก ผูบริหารสูงสุดของโรงพยาบาล ,แพทยGP /เวชปฏิบัติหมุนเวยีน ๒ คร้ัง/

Primary Care Award 2011, Surinpho. W.Somchai Ph.D

Page 84: คู่มือ PCA2012

๘๔

เดือนหรือพยาบาลเวชปฏิบัติหรือพยาบาลวชิาชีพ,นักวิชาการสาธารณสุขและสหวิชาชีพตามความเหมาะสม อัตรากําลังดานบุคลากร (เชิงคุณภาพ) ๑. แพทย GP /เวชปฏิบัติหมุนเวยีน ๒ คร้ัง/เดอืน ๒.RN/NP ประจํา ๑:๕,๐๐๐ ๓.นักวิชาการ,จพ.สาธารณสุข ๑:๑,๒๕๐ และ ๔ ผูชวยแผนไทย

๕ โรงพยาบาลสรางสุขภาพตําบล(เดี่ยว)

หมายถึง ประชากรในเครือขายรวมกนัไมเกิน ๕,๐๐๐-๑๐,๐๐๐ คน การคมนาคมท่ัวไปไมเกนิ ๓๐นาที อาคารมีพื้นที่ ๒๒๐ - ๒๕๐ ต.ร.ม.มีรายการครุภัณฑรพสต. ๓๔ รายการ ,ดานการบริหารจัดการแบบมีสวนรวมของประชาชน อปท.และภาคเอกชน มี Cup management ในเครือขายบริการสุขภาพเดียวกันมีอัตรากําลังดานบุคลากร(เชิงปริมาณ)อยางนอย ๔ ตําแหนง ไดแก ผูบริหารสูงสุดของโรงพยาบาล ,แพทยGP /เวชปฏิบัติหมุนเวยีน ๔ คร้ัง/เดือนหรือพยาบาลเวชปฏิบัติหรือพยาบาลวชิาชีพ,นักวิชาการสาธารณสุขและทันตาภิบาลหรือเภสัชกร หรือแพทยแผนไทย

อัตรากําลังดานบุคลากร (เชิงคุณภาพ) ๑. RN/NP ประจํา ๑:๕,๐๐๐ ๒.เจาหนาท่ี ๑:๑,๒๕๐ ๓.เจาพนักงานทันตสาธารณสุข ๑:๑๐,๐๐๐ ๔.เจาพนักงานเภสัชชุมชน ๑:๑๐,๐๐๐๐ ๕.นักกายภาพบําบัดหมุนเวยีน ๒ คร้ัง/เดือน ๖.ผูชวยแพทยแผนไทย

๖ เครือขายหนวยบริการปฐมภมิู

หมายถึง หนวยบริการปฐมภมิูท่ีรวมตัวกัน ประกอบดวยหนวยบริการประจําหนึ่งหนวยเปนแกนกลาง รวมตัวกบัหนวยบริการท่ีรับสงตอและหนวยบริการปฐมภูมิ ท้ังนี้อาจมีเครือขายหนวยบริการรวมใหบริการเขารวมก็ได และไดข้ึนทะเบียนเปนเครือขายหนวยบรกิารตามท่ีสํานักงานหลักประกนัสุขภาพแหงชาติประกาศ ท้ังนี้เครือขายหนวยบริการมีสิทธิไดรับคาใชจายเพื่อบริการสาธารณสุขจากหนวยบรกิารหรือจากกองทนุ ตามคณะกรรมการกําหนด

Primary Care Award 2011, Surinpho. W.Somchai Ph.D

Page 85: คู่มือ PCA2012

๘๕

๗ ศูนยแพทย หมายถึง ประชากรในเครือขายรวมกนัไมเกิน ๑๐,๐๐๐-๓๐,๐๐๐ คน การคมนาคมท่ัวไปไมเกิน ๓๐ นาที อาคารถาวรขนาดใหญมีการแบงแยกหองการบริการท่ีชัดเจนตามการจัดบริการ มีรายการครุภัณฑตามการจัดบริการ ,มุงเนนการบริหารจัดการในการแยกออกจาก รพศ. / รพท.มีแนวทางการจัดการดวยตนเองมากข้ึน (Autonomy)และใหมีการจดัการรวมมือกับเอกชนหรือทองถ่ิน อาจดําเนินการ ๓ ลักษณะ คือ ๑.รัฐดําเนินการเอง รูปแบบรพ.สาขา (Extended OPD)ภายใตกลุมงานเวชกรรมสังคมหรือกลุมงานเวชปฏิบัติครอบครัว หรือ รูปแบบ Cup หรือ เครือขาย Cup Spit ๒.รัฐดําเนนิการรวมกับทองถ่ิน และ ๓.ใหทองถ่ินหรือเอกชนเปนผูดาํเนินการเอง (Out Sourcing) อัตรากําลังดานบุคลากร (เชิงคุณภาพ) ๑.แพทยGP /เวชปฏิบัติประจํา ๒.RN/NP ประจํา ๑:๕,๐๐๐ ๓เจาหนาท่ี ๑:๑,๒๕๐ ๔.ทันตแพทย ๑:๑๒,๕๐๐ หรือเจาพนกังานทันตสาธารณสุข ๑:๑๐,๐๐๐ ๕.เภสัชกร ๑:๑๕,๐๐๐ เจาพนักงานเภสัชชุมชน ๑:๑๐,๐๐๐ ๖.นักเทคนิคการแพทย ๑:๒๐,๐๐๐ ๗.นักการแพทยแผนไทย ๑:๑,๒๕๐ ๘นักกายภาพบําบัดหมุนเวียน ๔ คร้ัง/เดือน ๙. เจาหนาท่ีการเงินและบัญชี ๑-๒ อัตรา ๑๐. ลูกจางอ่ืนๆ ๓-๑๐ อัตรา ๑๑. พนักงานขับรถ ๑ อัตรา

๘ เกณฑคุณภาพเครือขายบริการปฐมภูมิ (Primary Care Award)

หมายถึง กระบวนการท่ีนําแนวคิด CQI (Continuous Quality Improvement ) มาประเมินเพื่อการพัฒนาระบบบริการอยางตอเนื่อง โดยใชมาตรฐานและการประเมินตนเองเปนเคร่ืองมือใหเกดิกระบวนการเรียนรู/พัฒนาใหกับหนวยบริการ โดยกําหนดเปาหมายใหผูปฏิบัติงานในหนวยบริการปฐมภูมิ ผูบริหารและผูเกีย่วของในระดบัอําเภอและเครือขายบริการปฐมภูมิ (CUP)ตลอดจนหนวยงานท่ีเกีย่วของในชุมชนพัฒนาระบบบริการปฐมภมิูใหตอบสนองความตองการ ความจําเปนดานสุขภาพของประชาชนและนําไปสูการมีสุขภาพดี ชุมชนพ่ึงตนเองได

Primary Care Award 2011, Surinpho. W.Somchai Ph.D

Page 86: คู่มือ PCA2012

๘๖

อยางมีประสิทธิภาพ ๙ การสงเสริมพัฒนา

คุณภาพ หมายถึง กิจกรรมหรือกระบวนการตาง ๆ ท่ีหนวยงานรับผิดชอบท้ังในสวนกลางและสวนภูมิภาค ดําเนินการเพื่อสงเสริมสนับสนุนใหสถานีอนามัย (สอ.) และศูนยสุขภาพชุมชน (ศสช.) สามารถพัฒนาคุณภาพระบบบริการปฐมภมิูไดตามเกณฑคุณภาพเครอืขายบริการปฐมภูมิ (Primary Care Award)ไดแก๑. การฝกอบรมบุคลากรสถานีอนามัยและศูนยสุขภาพชุมชน ๒. การฝกอบรมทีมท่ีปรึกษาการพัฒนาคณุภาพบริการปฐมภูมิระดับเขต/จังหวัด/อําเภอ ๓. การสนับสนุนคูมือปฏิบัติงาน/วิชาการ/องคความรูตางๆ ๔. การประชุมช้ีแจงทําความเขาใจ และการใหคําปรึกษาแนะนํา ๕. การกําหนดแนวทางและเปาหมายการพัฒนาประจําป ๖. การพัฒนานวัตกรรม และรูปแบบบริการปฐมภูมิคุณภาพมาตรฐาน ๗. การประกวดศูนยสุขภาพชุมชน/สถานีอนามัยดีเดนระดับเขต/จังหวัดประจําป ๘. การสนับสนุนงบประมาณเพ่ือการพัฒนาบุคลากรสถานีอนามัย/ศูนยสุขภาพชมุชน ๙. การแลกเปล่ียนเรียนรูศึกษาดูงานรูปแบบบริการปฐมภูมิท่ีประสบความสําเร็จ ๑๐. การนิเทศงาน/การตรวจเยี่ยม และติดตามประเมินผลการพัฒนา

๑๐ เขาสูกระบวนการ หมายถึง การเตรียมตัวผูปฏิบัติงานในเครือขายบริการปฐมภูมิและหนวยบริการปฐมภมิูใหมีความรู ความเขาใจเร่ืองเกณฑคุณภาพเครือขายบริการปฐมภูมิ ใหสามารถนําไปปฏิบัติงานไดอยางถูกตองมีคุณภาพและตอเนื่อง โดยทีมท่ีปรึกษาการพฒันาคุณภาพบริการปฐมภูมิระดับจังหวดั

๑๑ จัดระบบ หมายถึง การกาํหนดข้ันตอนของการดําเนนิงานเพื่อแกปญหาท่ีเกดิข้ึนในหนวยงานหรือชวยเพิ่มประสิทธิภาพ

Primary Care Award 2011, Surinpho. W.Somchai Ph.D

Page 87: คู่มือ PCA2012

๘๗

ของงาน โดยการรวบรวมปญหา รวบรวมขอมูล วิธีการตางๆเพ่ือนํามาแกปญหา เลือกวิธีการและดําเนินงานตางๆประเมินผลแลวนําไปปรับปรุง

๑๒ แผนเปนระบบ หมายถึง การวางแผนจากวัตถุประสงคหรือเปาหมายหลัก นําไปปฏิบัติตามข้ันตอนในแผนระหวางปฏิบัติมีการตรวจสอบผลการดําเนนิงานในแตละข้ันตอน พบปญหาก็ทําการแกไข ปรับปรุง โดยการปรับปรุงก็เร่ิมจากการวางแผนกอน (วงจร PDCA)

๑๓ ระบบ หมายถึง ระเบียบ แบบแผนท่ีไดมีการวางไวและมีความสําคัญเพื่อใหงานท่ีทําหรือส่ิงท่ีมีการวางแผนกนัไวนําไปสูเปาหมายอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ในท่ีนี้หมายถึง ระบบยา และ ระบบสนับสนนุดานบริหาร ระบบเฝาระวังปองกันการติดเช้ือและแพรกระจายเช้ือ

๑๔ การพัฒนาคุณภาพ หมายถึง การเปล่ียนแปลงตามแผนท่ีมีการกําหนดทิศทางและรายละเอียดไวลวงหนา จะพัฒนาอะไร พัฒนาอยางไร เม่ือใด ใครเปนผูพัฒนาซ่ึงเกิดประโยชนตอบสนองความตองการเปนท่ีพึงพอใจของลูกคาดวยความเสมอภาคและยุติธรรม

๑๕ ระดับการพัฒนาคุณภาพ

การพัฒนาคุณภาพข้ันท่ี ๑ เนนการทบทวน ประเมินและพัฒนา เพื่อพิจารณาวาหนวยบริการปฐมภมิูทราบปญหาท่ีสําคัญของพื้นท่ีและ/หรือประเด็นความเส่ียงท่ีสําคัญในการดําเนนิงานของหนวยงาน และมีการนาํปญหาและความเส่ียงตางๆนั้นนํามาแกไข ปรับปรุง พัฒนา ซ่ึงผลลัพธอาจยังไมเปนท่ีนาพอใจก็ได ซ่ึงเปนการพัฒนาในเชิงการต้ังรับ โดยมีประเด็นปญหาและความเส่ียงท่ีสําคัญท่ีควรพิจารณา ดังนี ้ ๑. ปญหาสุขภาพท่ีพบบอยและ/หรือรุนแรงในพืน้ท่ี เชน การเกดิโรคระบาด โรคติดตอท่ีเปนปญหาในพืน้ท่ี เปนตน ๒. การดูแลสุขภาพตามกลุมประชากร เชน กลุมผูสูงอายุ กลุมโรคเร้ือรัง กลุมมารดาทารก กลุมผูดอยโอกาส/ผูพิการ กลุมประชากรตามภาวะเส่ียงตางๆ

Primary Care Award 2011, Surinpho. W.Somchai Ph.D

Page 88: คู่มือ PCA2012

๘๘

ตามลักษณะพ้ืนท่ีหรือการประกอบอาชีพ ๓. การจัดบริการแบบองครวมในระดับบุคคลและครอบครัว ดานรักษาพยาบาล สงเสริมสุขภาพ ปองกนัโรคและฟนฟสูภาพท้ังภาวะเฉียบพลัน และเร้ือรัง และการดูแลตอเนือ่ง ๔. การประสานงานกบัหนวยงานภายนอกท่ีสําคัญ ภาคีเครือขายตางๆในพ้ืนท่ี เชน องคกรบริหารสวนตําบล โรงเรียน วัด ชมรมตางๆ องคกรภาคเอกชน ผูนําชุมชน เปนตน ๕. การจัดการอาคารสถานท่ี ส่ิงแวดลอม การเฝาระวังปองกนัการติดเช้ือและการแพรกระจายเช้ือท่ีปลอดภัยท้ังผูรับบริการและผูใชบริการ ๖. การบริหารจัดการยาและเวชภัณฑและเวชภณัฑท่ีมิใชยา ท่ีมีคุณภาพ ปลอดภัยตามมาตรฐาน ๗. การบริการดานชันสูตร ใหไดมาตรฐาน ถูกตองเหมาะสม ๘. การจัดการเกี่ยวกบัเคร่ืองมืออุปกรณ ครุภณัฑท่ีจําเปนในการบริการใหเพยีงพอ พรอมใช เท่ียงตรงและปลอดภัย ๙. การบริหารจัดการดานทรัพยากรบุคคลตังแตการสรรหา พัฒนาบุคลากร การสรางเสริมขวัญกําลังใจ

๑๖ ทิศทางขององคกร หมายถึง วิสัยทัศน คานิยม เปาประสงคระยะส้ัน ระยะยาวและผลการดําเนินการท่ีคาดหวังท่ีครอบคลุมผูรับบริการและผูมีสวนไดสวนเสีย

๑๗ บุคลากรหนวยปฐมภูมิ/เครือขายปฐมภูมิ

หมายถึง ขาราชการ พนักงานราชการ พนกังานของรัฐ ลูกจางประจํา ลูกจางช่ัวคราว หรือบุคลากรตามท่ีระบุไวในลักษณะสําคัญขององคกร

๑๘ ตัวช้ีวดัท่ีสําคัญ หมายถึง ตัวช้ีวัดในการติดตามและประเมินผลการดําเนินงานตามยุทธศาสตร พันธกิจหลัก และโครงการท่ีสําคัญ

๑๘ ผลสัมฤทธ์ิของโครงการ

หมายถึง ตัวช้ีวัดความสําเร็จของมาตรการ/โครงการ(ซ่ึงไมใชรอยละความสําเร็จของการดําเนนิการตามกิจกรรม

Primary Care Award 2011, Surinpho. W.Somchai Ph.D

Page 89: คู่มือ PCA2012

๘๙

ในมาตรการ/โครงการ) ๑๙ ความเช่ือม่ันดาน

ธรรมาภิบาล หมายถึง ความเช่ือม่ันของผูรับบริการตอการดําเนินการของหนวยบริการปฐมภูมิ/เครือขายปฐมภมิูท่ีเปนไปตามหลักธรรมาภิบาล ๑๐ ดาน ไดแก ประสิทธิผล ประสิทธิภาพ การมีสวนรวม ความโปรงใส การตอบสนอง ภาระรับผิดชอบ นิติธรรม การกระจายอํานาจ ความเสมอภาค และหลักการมุงเนนฉันทามติ

๒๐ การบริหารความเส่ียง

หมายถึง กระบวนการท่ีเปนระบบในการบริหารปจจัยและควบคุมกจิกรรมท้ังกระบวนการดําเนนิการตางๆ เพือ่ลดมูลเหตุของโอกาสท่ีจะทําใหเกิดความเสียหายในการดําเนินงานท่ีไมเปนไปตามแผน เพื่อใหระดับของความเส่ียงและผลกระทบท่ีจะเกิดข้ึนในอนาคตอยูในระดับท่ีสามารถยอมรับได ควบคุมได และตรวจสอบไดอยางเปนระบบ

๒๑ ผูรับบริการ หมายถึง ผูรับบริการทุกกลุมท่ีกําหนดไวในลักษณะสําคัญขององคกร ขอ ๑.๒ ข.

๒๒ กิจกรรมความสัมพันธ

หมายถึง กิจกรรมตางๆท่ีจัดข้ึนเพื่อสรางความเขาใจและความรวมมือระหวางกันดีข้ึน โดยการกําหนดใหเหมาะสมกับกลุมเปาหมายแตละกลุม ท้ังนีเ้ครือขาย หมายถึงเครือขายท่ีหนวยบริการปฐมภูมิกําหนดไวในหมวด ๓ ขอ ๓.๒

๒๓ การดําเนนิการ/โครงการ

หมายถึง การเปดโอกาสใหประชาชนหรือผูมีสวนไดเสียท่ีเกี่ยวของมามีสวนรวมในการวางแผน ซ่ึงเปนการดําเนินงานตามปกติในภารกิจหรือยุทธศาสตรของเครือขายปฐมภูมิ หรือการเปดโอกาสใหประชาชนหรือผูมีสวนไดเสียท่ีเกี่ยวของเขามามีสวนรวมในลักษณะของการดําเนินโครงการก็ได

๒๔ ผลสัมฤทธ์ิ หมายถึง เปาหมายหรือเปาประสงคท่ีกําหนดไวในแผนการดําเนนิงานหรือขอเสนอโครงการท่ีเปดโอกาสใหประชาชนมามีสวนรวมในการพัฒนากระบวนการท่ีเกี่ยวของ

Primary Care Award 2011, Surinpho. W.Somchai Ph.D

Page 90: คู่มือ PCA2012

๙๐

หมายถึง ผลผลผลิตและผลลัพธท่ีเกิดจากการนํายุทธศาสตรสูการปฏิบัติ

๒๕ ผูเขาถึงหรือผูเขามาใชขอมูล

หมายถึง บุคคลภายนอกองคกร

๒๖ ระดับความสําเร็จการจัดทําฐานขอมูล ๑๘/๒๑ แฟม

หมายถึง ระดบัความสําเร็จตามเกณฑท่ีสํานักงานสาธารณสุขจังหวัดกําหนดระดับไว ๑ : จัดทําแผนปฏิบัติงาน ๔ ป สําหรับการบํารุงรักษาขอมูลท่ีมีอยูและการนําเขาขอมูลระดับ ๒ : เผยแพรและประชาสัมพันธใหบุคลากรในหนวยงานทราบถึงระบบและประโยชนของการแลกเปล่ียนขอมูลดวยระบบ statXchange ระดับ ๓ : จัดทําบัญชีรายการขอมูลท่ีเผยแพรดวยระบบ statXchange ระดับ ๔ : ปรับปรุงขอมูลสถิติท่ีสําคัญของหนวยงานท่ีมีในระบบใหครบถวน ถูกตอง และเปนปจจุบัน ไมนอยกวารอยละ ๗๕ ระดับ ๕ : ปรับปรุงขอมูลสถิติท่ีสําคัญของหนวยงานท่ีมีในระบบใหครบถวน ถูกตอง และเปนปจจุบัน ไมนอยกวารอยละ ๙๐

๒๗ องคความรู หมายถึง รวมถึงทุกองคความรูท่ีหนวยปฐมภูมิ/เครือขายปฐมภูมิเลือกดาํเนินการในแตละป

๒๘ ความพึงพอใจของบุคลากรท่ีมีตอหนวยบริการปฐมภูมิ

หมายถึง ความพึงพอใจดานนโยบายและการบริหารงาน – สภาพแวดลอม – สวัสดิการ - ความสัมพันธกับผูบังคับบัญชาและเพ่ือรวมงาน

๒๙ การพัฒนาบุคลากร หมายถึง การจดัระบบการเรียนรูของบุคลากรท่ีสอดคลองกับพันธกิจ แผนกลยุทธ และแผนปฏิบัติการชององคกร

๓๐ การสํารวจความพึงพอใจท่ีมีตอระบบประเมินผลการปฏิบัติงาน

หมายถึง การสํารวจความพงึพอใจท่ีมีตอระบบประเมินผลการปฏิบัติงานใหพิจารณาจากองคประกอบท้ังหมด ไดแก ๑) หลักเกณฑ ๒) การประเมิน ๓) การจัดสรรส่ิงจูงใจ ๔) ระบบการแจงผลเพื่อการปรับปรุง

๓๑ หลักเกณฑประกันคุณภาพการฝกอบรม

หมายถึง หลักเกณฑท่ีสวนราชการกําหนดข้ึนเอง เพื่อยกระดับการฝกอบรมใหมีมาตรฐานอยางนอยประกอยดวยความรูความสามารถของวิทยากร เนื้อหาหลักสูตร สอดคลองกัลปกลยุทธขององคกร ระบบการประเมินผล

Primary Care Award 2011, Surinpho. W.Somchai Ph.D

Page 91: คู่มือ PCA2012

๙๑

การอบรม ๓๒ ผูรับบริการท่ีมีตอ

ข้ันตอนการปฏิบัติงาน

หมายถึง ผูรับบริการภายนอกท่ีเกีย่วของกบักระบวนงานหลักนั้นๆ

๓๓ ระบบรับรองภาวะฉุกเฉิน

หมายถึง ระบบแผนสํารองท่ีหนวยบริการปฐมภูมิสามารถดําเนินงานไดอยางตอเนื่อง ซ่ึงครอบคลุมในเร่ืองตางๆ เชน สาธารณภัย การจราจร ความปลอดภัย เปนตน

๓๔ มาตรฐานงาน หมายถึง มาตรฐานในเชิงคุณภาพ และเชิงปริมาณ เชน ระยะเวลาของกระบวนงาน ขอผิดพลาดท่ีเกิดข้ึน ความคุมคาของกระบวนการเม่ือเทียบกับทรัพยากรท่ีใช เปนตน

๓๕ ผูมีสวนไดสวนเสีย หมายถึง กลุมทุกกลุมท่ีไดรับผลกระทบหรืออาจไดรับผลกระทบจาการปฏิบัติการและความสําเร็จขององคกร ตัวอยางของผูมีสวนไดสวนเสียที่สําคัญ รวมถึงลูกคา บุคลากร คูคา คูความรวมมือ คณะกรรมการกํากับดูแล ผูสงมอบ องคกรท่ีดูแลกฏระเบียบ ผูกําหนดนโยบาย ผูใหทุนดําเนนิงาน ผูถือหุน องคกนชุมชนในทองถ่ิน และสมาคมวิชาชีพ

๓๖ นวัตกรรม(Inovation)

หมายถึง การเปล่ียนแปลงท่ีสําคัญเพื่อปรับปรุงผลิตภัณฑ โปรแกรม บริการ กระบวนการหรือประสิทธิผลขององคกร รวมท้ังสรางมูลคาใหมใหแกผูมีสวนไดสวนเสีย นวัตกรรมเปนการรับเอาความคิด กระบวนการ เทคโนโลยี หรือผลิตภัณฑซ่ึงอาจจะเปนของใหมหรือนํามาปรับใชเพื่อการใชงานในรูปแบบใหม

๓๗ ระดับเทียบเคียง(Benchmark)

หมายถึง กระบวนการและผลลัพธ ซ่ึงแสดงวิธีปฏิบัติการและผลการดําเนินงานท่ีเปฌนเลิศของกิจกรรมท่ีคลายคลึงกัน องคกรเขารวมการจัดระดับเทียบเคียง เพื่อใหเขาใจผลการดําเนนิการระดับโลกในปจจุบัน และเพื่อใหบรรลุผลการปรับปรุงอยางกาวกระโดด ระดับเทียบเคียงในรูปแบบหนึ่งของขอมูลเชิงเปรียบเทียบ ขอมูลเปรียบเทียบอ่ืน ๆ เชน ขอมูลผลการดําเนนิการของคูแขง หรือองคกรท่ีคลายคลึงกันในพ้ืนท่ีภูมิศาสตรเดียวกัน

๓๘ ธรรมาภิบาล หมายถึง ระบบการจัดการและควบคุมตาง ๆ ท่ีใชใน

Primary Care Award 2011, Surinpho. W.Somchai Ph.D

Page 92: คู่มือ PCA2012

๙๒

(Governance) องคกร รวมท้ังความรับผิดชอบในดานตาง ๆ ของเจาของหรือผูถือหุน คณะกรรมการบริหาร และผูนําระดับสูงขององคกร

๓๙ ภาคีเครือขาย หมายถึง กลุมบุคคล องคกรท่ีมีเปาหมายรวมกัน มารวมตัวกันดวยความสมัครใจ เพื่อทํากิจกรรมใหบรรลุเปาหมาย (รวมคิด รวมทํา รวมประเมินผล) โดยมีความสัมพันธแนวราบ มีความเสมอภาค และเรียนรูรวมกันอยางตอเนื่อง

๔๐ ระบบบริการปฐมภูมิ

หมายถึง ระบบทีใหบริการสุขภาพในระดับท่ีเปนดานแรกของระบบบริการสาธารณสุข (First line health service) ทําหนาท่ีรับผิดชอบดูแลสุขภาพของประชาชนอยางตอเนื่องรวมกบัประชาชน โดยประยุกตความรูท้ังดานการแพทย จิตวิทยา และสังคมศาสตร ในลักษณะผสมผสาน(Integrated) การสงเสริมสุขภาพ การปองกันโรค การรักษาโรค และการฟนฟูสภาพไดอยางตอเนื่อง (Continuous) ดวยแนวคิดแบบองครวม (Holistic) ใหแกบุคคล ครอบครัว และชุมชน (Individual, family, and community) โดยมีระบบการสงตอและเช่ืองโยงกับโรงพยาบาลไดอยางเหมาะสม รวมท้ังประสานกับองคกรชุมชนในทองถ่ิน และสามารถดูแลตนเองเม่ือเจ็บปวยไดอยางสมดุลย

๔๑ การจัดระบบสนับสนุนท่ีสําคัญ

หมายถึง การจดัระบบสนับสนุนท่ีสําคัญท่ีเครือขายบริการปฐมภูมิ/CUP ใหการสนับสนุน (๑) ระบบการบริการจัดการดานทรัพยากรบุคคล (๒) ระบบการปองการติดเช้ือ(IC) (๓) ระบบการสงตอ(Refer) (๔) ระบบยาเวชภณัฑ (๕) ระบบงานชันสูตรและหองปฏิบัติการ สาธารณสุข (๖) ระบบงานเทคโนโลยีสารสนเทศ (๗) ระบบงานเชิงรุก (๗.๑) การสงเสริมสุขภาพ

Primary Care Award 2011, Surinpho. W.Somchai Ph.D

Page 93: คู่มือ PCA2012

๙๓

(๗.๒) การปองกันโรค (๗.๓) การรักษาพยาบาลเบ้ืองตน (๗.๔) การฟนฟูสภาพรางกายหลังเจ็บปวย (๘) ระบบการบริการ (๘.๑) การรักษาโรคเฉียบพลัน (๘.๓) การรักษาโรคเร้ือรัง (๘.๔) ............................ (๙) ระบบการประสานงานเครือขายสุขภาพ (เนนหัวใจส่ีดวง) (๙.๑) อาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบาน(อสม.) (๙.๒) โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล(รพ.สต.) (๙.๓) กองทุนสุขภาพตําบล (๘.๔) แผนสุขภาพตําบล (๑๐) ระบบอ่ืน ๆ ตามความเหมาะสม (ตอบประเด็นและสอดคลองกับหมวด ๗)

นิยามศัพท ตัวช้ีวดั แนวทางการประเมิน

๑ รอยละของบุคลากรหนวยปฐมภูมิ/เครือขายปฐมภูมิท่ีเขาใจทิศทางของหนวยบริการปฐมภูมิ/เครือขายปฐมภูมิ

-ทิศทางขององคกร หมายถึง วิสัยทัศน คานิยม เปาประสงคระยะส้ัน ระยะยาวและผลการดําเนินการท่ีคาดหวังท่ีครอบคลุมผูรับบริการและผูมีสวนไดสวนเสีย

-บุคลากรหนวยปฐมภูมิ/เครือขายปฐมภูมิ หมายถึง ขาราชการ พนกังานราชการ พนักงานของรัฐ ลูกจางประจํา ลูกจางช่ัวคราว หรือบุคลากรตามท่ีระบุไวในลักษณะสําคัญขององคกร

๒ รอยละความพงึใจของบุคลากรของบุคลากรหนวยปฐมภูมิ/เครือขาย

-การวดัความพึงพอใจตองครอบคลุมทุกกลุมของบุคลากรตามท่ีหนวยบริการปฐมภูมิระบุไวในลักษณะสําคัญขององคกร ขอ ๑,๒

Primary Care Award 2011, Surinpho. W.Somchai Ph.D

Page 94: คู่มือ PCA2012

๙๔

ปฐมภูมิท่ีมีตอการนําองคกรของผูบริหาร

-ประเดน็การวดัการนําองคกรของผูบริหารตองครอบคลุม ๕ ประเด็น ไดแก ๑) การกําหนดทิศทางขององคกร ๒) การส่ือสารและการสรางความเขาใจทิศทางขององคกรใหบุคลากรรับรู ๓) การสรางบรรยากาศและการมีสวนรวมของผูบริหารในกิจกรรมตาง ๆ เกี่ยวกับการพัฒนาองคกร ๕) การใหความสําคัญเร่ืองธรรมาภิบาลขององคกร ๖) การเปนตวัอยางท่ีดีของผูบริหารในการดําเนนิการเร่ืองตางๆ (เชน สอดคลองกับคานิยม ปฏิบัติตามกฎระเบียบ เปนตน)

๓ รอยละความสําเร็จเฉล่ียถวงน้ําหนกัของตัวช้ีวดัสําคัญท่ีผูบริหารใชในการติดตามการบริหารงาน

-ตัวช้ีวัดท่ีสําคัญ หมายถึง ตัวช้ีวัดในการติดตามและประเมินผลการดําเนินงานตามยุทธศาสตร พันธกิจหลัก และโครงการท่ีสําคัญ

-วัดรอยละความสําเร็จเฉล่ียถวงน้ําหนกัของตัวช้ีท่ีสําคัญท่ีผูบริหารใชติดตามผลการดําเนินงานในการติดตามตัวช้ีวดัตองมีไมนอยกวา ๑๐ ตัวช้ีวดั และครอบคลุมทุกรปะเภทของตัวช้ีวดัท่ีสําคัญ ท้ังนี้ตัวช้ีวดัท่ีสําคัญท่ีกําหนดตองครอบคลุมทุกประเด็น

๔ รอยละเฉล่ียถวงน้ําหนักความสําเร็จของผลสัมฤทธ์ิของมาตรการ/โครงการตามนโยบายการกาํกับดูแลองคกรท่ีดี

-ผลสัมฤทธ์ิของโครงการ หมายถึง ตัวช้ีวัดความสําเร็จของมาตรการ/โครงการ(ซ่ึงไมใชรอยละความสําเร็จของการดําเนนิการตามกิจกรรมในมาตรการ/โครงการ)

-วัดจากมาตรการ/โครงการตามการานําองคกร ขอ ๑.๑.๒ ท่ีคัดเลือกมาดําเนนิการในแตละดานของนโยบายการกํากับดแูลองคกรท่ีดี(อยางนอยดานละ ๑ มาตรการ/โครงการ) โดยจะพิจารณาตวัช้ีวดัความสําเร็จของการดําเนินงานเทียบกับเปาหมายผลสัมฤทธ์ิท่ีกําหนดไวของแตละมาตรการ/โครงการ

๕ ระดับความเช่ือม่ันดานธรรมาภิบาลของผูรับบริการตอองคกร(คาเฉล่ีย)

ความเช่ือม่ันดานธรรมาภิบาล หมายถึง ความเช่ือม่ันของผูรับบริการตอการดําเนนิการของหนวยบริการปฐมภูมิ/เครือขายปฐมภูมิท่ีเปนไปตามหลักธรรมาภิบาล ๑๐ ดาน ไดแก ประสิทธิผล ประสิทธิภาพ การมีสวนรวม ความโปรงใส การตอบสนอง ภาระรับผิดชอบ นติิธรรม การกระจายอํานาจ ความเสมอภาค และหลักการมุงเนน

Primary Care Award 2011, Surinpho. W.Somchai Ph.D

Page 95: คู่มือ PCA2012

๙๕

ฉันทามติ -การวดัความเช่ือม่ันตองครอบคลุมกลุมผูรับบริการหลักของหนวยบริการปฐมภูมิ/เครือขายปฐมภมิู

๖ ระดับความสําเร็จของรอยละเฉล่ียถวงน้ําหนักในการบรรลุเปาหมายตามแผนปฏิบัติราชการ/ภารกิจหลัก/เอกสารงบประมาณรายจายฯ ของหนวยปฐมภูมิ/เครือขายปฐมภูมิ

-วัดระดับความสําเร็จใหใชผลจากคํารับรองการปฏิบัติราชการประจําปงบประมาณ ในมิติท่ี ๑ ดานประสิทธิผล ตัวช้ีวดัท่ีระดบัความสําเร็จรอยละเฉล่ียถวงน้ําหนักในการบรรลุเปาหมายตามแผนปฏิบัติราชการ/ภารกิจหลัก/เอกสารงบประมาณรายจายฯ ของหนวยปฐมภูมิ/เครือขายปฐมภูมิ

๗ รอยละของบุคลากรปฐมภูมิท่ีเขาใจแผนปฏิบัติราชการประจําปท่ีระดบัความเขาใจไมนอยกวารอยละ ๘๐

-การวดัตองใชแบบทดสอบความเขาใจเกีย่วกับแผนปฏิบัติราชการประจําป

-การวดัความพึงพอใจตองครอบคลุมทุกกลุมของประชากรตามที่หนวยบริการปฐมภูมิระบุไวในลักษณะสําคัญขององคกรอขอ ๑ ข.

๘ รอยละของตัวช้ีวัดระดับบุคคลหนวยปฐมภูมิ/เครือขายปฐมภูมิท่ีสอดคลองขององคกร

-วัตถุประสงคของการวัดตัวช้ีวัด เพื่อใหเหน็ความสอดคลองของการถายทอดเปาหมายขององคกรไปสูระดับบุคคล(อยางนอย ๓ หนวยบริการ)

-นําตัวช้ีวัดของระดับบุคคลเทียบกับเปาหมายระดับเครือขายปฐมภูมิ

๙ รอยละความสําเร็จเฉล่ียถวงน้ําหนกัของหนวยปฐมภูมิ/เครือขายปฐมภูมิท่ีปฏิบัติงานไดบรรลุเปาหมายตามตัวช้ีวดัท่ีองคกรกําหนด

-ตัวช้ีวัดเปนไปตามคํารับรองการปฏิบัติราชการท่ีไดถายทอดจากเครือขายปฐมภมิูสูหนวยบริการปฐมภูมิ

๑๐ รอยละเฉล่ียถวงน้ําหนักความสําเร็จของเปาหมายของโครงการตามแผนบริหารความ

-การบริหารความเส่ียง คือ กระบวนการท่ีเปนระบบในการบริหารปจจัยและควบคุมกิจกรรมท้ังกระบวนการดําเนินการตางๆ เพื่อลดมูลเหตุของโอกาสท่ีจะทําใหเกดิความเสียหายในการดําเนินงานท่ีไมเปนไปตามแผน

Primary Care Award 2011, Surinpho. W.Somchai Ph.D

Page 96: คู่มือ PCA2012

๙๖

เส่ียง เพื่อใหระดับของความเส่ียงและผลกระทบท่ีจะเกิดข้ึนในอนาคตอยูในระดับท่ีสามารถยอมรับได ควบคุมได และตรวจสอบไดอยางเปนระบบ -พิจาณาความสําเร็จของเปาหมายของโครงการท่ีคัดเลือกมาดําเนินการบริหารจัดการความเสี่ยง โดยความสําเร็จวดัผลลัพธ ผลผลิตหรือความคืบหนาของโครงการ(ในกรณีท่ีโครงการที่คัดเลือกมาดาํเนินการไมใชโครงการท่ีสําเร็จภายในปงบประมาณ) อยางใดอยางหนึ่ง

๑๑ รอยละของความพึงใจของผูรับบริการหนวยปฐมภูมิ/เครือขายปฐมภูมิ

-ผูรับบริการ หมายถึง ผูรับบริการทุกกลุมท่ีกําหนดไวในลักษณะสําคัญขององคกร ขอ ๑.๒ ข.

๑๒ รอยละของความไมพึงใจของผูรับบริการหนวยปฐมภูมิ/เครือขายปฐมภูมิ

-ผูรับบริการ หมายถึง ผูรับบริการทุกกลุมท่ีกําหนดไวในลักษณะสําคัญขององคกร ขอ ๑.๒ ข.

๑๓ รอยละของความพึงใจของเครือขายท่ีมีตอกิจกรรมสรางความสัมพันธ

-กิจกรรมความสัมพันธ หมายถึง กิจกรรมตางๆท่ีจัดข้ึนเพื่อสรางความเขาใจและความรวมมือระหวางกันดีข้ึน โดยการกําหนดใหเหมาะสมกับกลุมเปาหมายแตละกลุม ท้ังนี้เครือขาย หมายถึงเครือขายท่ีหนวยบริการปฐมภูมิกําหนดไวในหมวด ๓ ขอ ๓.๒ -วัดระดับความพึงพอใจของแตละกจิกรรมสรางความสัมพันธกับเครือขาย และนํามาหาคาเฉล่ีย

๑๔ รอยละความสําเร็จของผลสัมฤทธ์ิของการดําเนินงาน/โครงการที่เปดโอกาสใหประชาชนเขามามีสวนรวมในการบริหารราชการ

-การพิจารณาการดําเนนิการ ใหยดึตามเกณฑมาตรฐานคุณภาพเครือขายปฐมภูมิ หมวด ๓ -การดําเนินการ/โครงการ หมายถึง การเปดโอกาสใหประชาชนหรือผูมีสวนไดเสียท่ีเกีย่วของมามีสวนรวมในการวางแผน ซ่ึงเปนการดําเนนิงานตามปกติในภารกิจหรือยุทธศาสตรของเครือขายปฐมภูมิ หรือการเปดโอกาสใหประชาชนหรือผูมีสวนไดเสียท่ีเกี่ยวของเขามามีสวนรวมในลักษณะของการดําเนินโครงการก็ได

Primary Care Award 2011, Surinpho. W.Somchai Ph.D

Page 97: คู่มือ PCA2012

๙๗

-ผลสัมฤทธ์ิ หมายถึง เปาหมายหรือเปาประสงคท่ีกําหนดไวในแผนการดําเนนิงานหรือขอเสนอโครงการท่ีเปดโอกาสใหประชาชนมามีสวนรวมในการพัฒนากระบวนการท่ีเกี่ยวของ -ตัวช้ีวัดผลสัมฤทธ์ิของโครงการจะตองสะทอนความสําเร็จของการดําเนินงาน/โครงการไดอยางชัดเจน -การกําหนดคาเปาหมายจะตองมีความเหมาะสม โดยนําขอมูลพื้นฐานมาประกอบและแสดงวาการกําหนดคาเปาหมายมีความทาทายตอเปาประสงคเชิงยุทธศาสตร

๑๕ รอยละของความสําเร็จในการดําเนินงานตามมาตรฐานคูมือการใหบริการ

- คูมือการใหบริการ อยางนอยประกอบดวย ๑) มาตรฐานระยะเวลาการใหบริการ ๒) แผนภูมิข้ันตอนการใหบริการ ๓) แนวทางการปฏิบัติงานของบุคลากรในการใหบริการ -การประเมินผลความสําเร็จวดัจากรอยละการใหบริการท่ีสามารถดําเนินการตามมาตรฐานระยะท่ีกําหนดไวในคูมือการใหบริการ(ดําเนินการไดตามาตรฐานการใหบริการทุกข้ันตอนท่ีกําหนดไวในคูมือ จาํนวน ๑ งานบริการ)

๑๖ รอยละของความครอบคลุม ถูกตอง และทันสมัยของฐานขอมูลท่ีสนับสนุนยุทธศาสตรอยางนอย ๑ ประเด็นยุทธศาสตร

-วัดจากจาํนวนฐานขอมูลท่ีสมบูรณท้ังดานครอบคลุม ถูกตอง ทันสมัย เม่ือเทียบกับฐานขอมูลท้ังหมดท่ีครอบคลุมในประเด็นยุทธศาสตรนั้นๆ

๑๗ รอยละความพงึพอใจของผูเขาถึงหรือเขาใจใชขอมูลขาวสารผานทางเว็บไซตของหนวยบริการ

-ผูเขาถึงหรือผูเขามาใชขอมูล หมายถึง บุคคลภายนอกองคกร

-สวนราชการอาจเก็บขอมูลดวยการสํารวจความพึงพอใจผานเว็บไซต

๑๘ รอยละขอมูลท่ีเกี่ยวของกับระบบสุขภาพและผลการดําเนนิงาน มีความ

-พิจารณาจากผลสํารวจความพึงพอใจของประชาชนท่ีมีตอการเปดเผยขอมูลขาวสารของเครือขาย

Primary Care Award 2011, Surinpho. W.Somchai Ph.D

Page 98: คู่มือ PCA2012

๙๘

ครบถวน ถูกตองเปนปจจุบัน นาเช่ือถือ

๑๙ ระดับความสําเร็จการจัดทําฐานขอมูล ๑๘ แฟม

--พิจารณาจากระดับความสําเร็จตามเกณฑท่ีสํานักงานสาธารณสุขจังหวัดกําหนดระดับไว ๑ : จัดทําแผนปฏิบัติงาน ๔ ป สําหรับการบํารุงรักษาขอมูลท่ีมีอยูและการนําเขาขอมูลระดับ ๒ : เผยแพรและประชาสัมพันธใหบุคลากรในหนวยงานทราบถึงระบบและประโยชนของการแลกเปล่ียนขอมูลดวยระบบ statXchange ระดบั ๓ : จัดทําบัญชีรายการขอมูลท่ีเผยแพรดวยระบบ statXchange ระดับ ๔ : ปรับปรุงขอมูลสถิติท่ีสําคัญของหนวยงานท่ีมีในระบบใหครบถวน ถูกตอง และเปนปจจุบัน ไมนอยกวารอยละ ๗๕ ระดับ ๕ : ปรับปรุงขอมูลสถิติท่ีสําคัญของหนวยงานท่ีมีในระบบใหครบถวน ถูกตอง และเปนปจจุบัน ไมนอยกวารอยละ ๙๐

๒๐ รอยละเฉล่ียถวงน้ําหนักความสําเร็จจากผลสัมฤทธ์ิของการดําเนินการตามแผนการจัดการความรูอยางนอย ๓ องคความรู

-องคความรู หมายถึง รวมถึงทุกองคความรูท่ีเลือกดําเนินการในแตละป

-วัดจากคาเฉล่ียถวงน้ําหนักของตัวช้ีวัดผลสัมฤทธ์ิในแตละองคความรูท่ีดําเนินการ

๒๑ รอยละความพงึพอใจของบุคลากรหนวยปฐมภูมิ/เครือขายปฐมภูมิท่ีมีตอองคกร

-ความพึงพอใจของบุคลากรท่ีมีตอหนวยบริการปฐมภูมิ หมายถึง ความพึงพอใจดานนโยบายและการบริหารงาน – สภาพแวดลอม – สวัสดิการ - ความสัมพนัธกับผูบังคับบัญชาและเพ่ือรวมงาน

๒๒ รอยละความพงึพอใจของบุคลากรหนวยปฐมภูมิ/เครือขายปฐมภูมิท่ีมีตอการพัฒนาบุคลากร

-การพัฒนาบุคลากร หมายถึง การจัดระบบการเรียนรูของบุคลากรท่ีสอดคลองกับพันธกิจ แผนกลยุทธ และแผนปฏิบัติการชององคกร -การประเมินผลการพัฒนาบุคลากรวามีผลกระทบตอวิธีการทํางานของบุคลากรและผลงานของเครือขายบริการปฐมภมิูโดยรวม -การนําเอาความรูจากคลังความรูท่ีสะสมจากการเรียนรู

Primary Care Award 2011, Surinpho. W.Somchai Ph.D

Page 99: คู่มือ PCA2012

๙๙

ขององคกรมาใชในการฝกอบรม และพัฒนาบุคลากร เชน การอบรม การสอนงาน การมอบหมายหมายงาน เปนตน -ประเดน็การสํารวจความพงึพอใจท่ีมีตอการพัฒนาบุคลากรใหครอบคลุมเร่ืองตางๆดังนี้ ๑) หลักสูตรการพัฒนาบุคลากรท่ีเปนทางการ ๒) การพัฒนาบุคลากรในรูปแบบท่ีไมเปนทางการ ๓) การสรางบรรยากาศการเรียนรูและการพัฒนาตนเองของบุคลากร

๒๓ รอยละความพงึพอใจของบุคลากรหนวยปฐมภูมิ/เครือขายปฐมภูมิท่ีมีตอระบบประเมินผลการปฏิบัติงาน

-ประเดน็การสํารวจความพงึพอใจท่ีมีตอระบบประเมินผลการปฏิบัติงานใหพิจารณาขากองคประกอบท้ังหมด ไดแก ๑) หลักเกณฑ ๒) การประเมิน ๓) การจัดสรรส่ิงจูงใจ ๔) ระบบการแจงผลเพื่อการปรับปรุง

๒๔ รอยละของหลักสูตรการอบรมท่ีผานเกณฑตามหลักประกนัคุณภาพการฝกอบรม

-หลักเกณฑประกันคุณภาพการฝกอบรม เปนหลักเกณฑท่ีสวนราชการกําหนดข้ึนเอง เพื่อยกระดับการฝกอบรมใหมีมาตรฐานอยางนอยประกอยดวยความรูความสามารถของวิทยากร เนื้อหาหลักสูตร สอดคลองกัลปกลยุทธขององคกร ระบบการประเมินผลการอบรม

-วัดจากจาํนวนหลักสูตรท้ังหมดท่ีสวนราชการดําเนินการในปงบประมาณเทียบกับจํานวนหลักสูตรท่ีผานการประกนัคุณภาพการฝกอบรม

๒๕ รอยละความพงึพอใจของบุคลากรหนวยปฐมภูมิ/เครือขายปฐมภูมิท่ีมีตอแผนการสรางความกาวหนาในสายงาน

-แผนการสรางความกาวหนาในสายงาน ในท่ีนี้หมายถึง สายงานหลัก

๒๖ รอยละความพงึพอใจของผูรับบริการท่ีมีตอข้ันตอนการปฏิบัติงาน

-ผูรับบริการ หมายถึง ผูรับบริการภายนอกท่ีเกีย่วของกบักระบวนงานหลักนั้นๆ -วัดความพึงพอใจท่ีเกีย่วของกับข้ันตอนการปฏิบัติงาน เชน ความรวดเร็ว ความมีประสิทธิภาพ ความยุงยากซับซอนของการเตรียมเอกสาร เปนตน

Primary Care Award 2011, Surinpho. W.Somchai Ph.D

Page 100: คู่มือ PCA2012

๑๐๐

-กระบวนงานทร่ีนํามาวัดตองไมนอยกวา ๓ กระบวนงานโดยนําคาเฉล่ียความพึงพอใจของกระบวนงานท้ังหมดมาเปนผลของตัวช้ีวัดน้ี

๒๗ รอยละความพงึพอใจของผูรับบริการท่ีมีตอระบบรองรับภาวะฉุกเฉิน

-ระบบรับรองภาวะฉุกเฉิน คือ ระบบแผนสํารองท่ีหนวยบริการปฐมภูมิสามารถดําเนินงานไดอยางตอเนือ่ง ซ่ึงครอบคลุมในเร่ืองตางๆ เชน สาธารณภยั การจราจร ความปลอดภยั เปนตน

๒๘ รอยละของกระบวนการสรางคุณคาท่ีมีการจัดทําคูมือการปฏิบัติงาน

-คูมือการปฏิบัติงานอยางนอยตองประกอบดวย Work Flow และมาตรฐานคุณภาพงาน

-วัดจากรอยละของกระบวนการท่ีสรางคุณคาท้ังหมดเทียบกับกระบวนการที่สรางคุณคาท่ีไดจดัทําคูมือการปฏิบัติงาน

๒๙ รอยละเฉล่ียถวงน้ําหนักความสําเร็จของการดําเนินการตามมาตรฐานของกระบวนการท่ีสรางคุณคา

-มาตรฐานงาน หมายถึง มาตรฐานในเชิงคุณภาพ และเชิงปริมาณ เชน ระยะเวลาของกระบวนงาน ขอผิดพลาดท่ีเกิดขึ้น ความคุมคาของกระบวนการเม่ือเทียบกับทรัพยากรที่ใช เปนตน

๓๐ จํานวนกระบวนการที่ไดรับการปรับปรุงใหผลการดําเนินการดีข้ึน

-การปรับปรุงกระบวนการใหดีข้ึน ตองสามารถสะทอนใหเห็นถึง ผลการดําเนนิงานของกระบวนท่ีดีข้ึน สามารถบรรลุตามขอกําหนดท่ีสําคัญ และตัวช้ีวดัของกระบวนการอยางประสิทธิภาพ -สวนราชการตองคัดเลือกกระบวนการอยางนอย ๓ กระบวนการเพ่ือมาปรับปรุง ซ่ึงตองประกอบดวย กระบวนการท่ีสรางคุณคาอยางนอย ๒ กระบวนการ -วัดจากกระบวนการท่ีคัดเลือกมาปรับปรุงเทียบกับกระบวนการท่ีไดรับการปรับปรุงใหดีข้ึน

Primary Care Award 2011, Surinpho. W.Somchai Ph.D

Page 101: คู่มือ PCA2012

Primary Care Award 2011, Surinpho. W.Somchai Ph.D

๑๐๑

บรรณานุกรม