16
ปฏิบัติการใช้โปรแกรม SPSS 20.0 การสร้างไฟล์และการวิเคราะห์ T– test และ ANOVA จุดมุ่งหมายของบทเรียน เพื่อให้ผู้เรียน 1. อธิบายจุดมุ่งหมายของการใช้ทีเทสทดสอบได้ 2. จาแนกลักษณะของการทดสอบทีเทสได้ 3. คานวณสถิติที่ใช้ทีเทสทดสอบได้ 4. ใช้โปรแกรมสาเร็จรูปเพื่อวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ทีเทสได้ 5. แปลผลลัพธ์ที่ใช้จากการวิเคราะห์ข้อมูลเมื่อใช้โปรแกรมสาเร็จรูปได้ สถิติ T-test ใช้ในการทดสอบความแตกต่างหรือเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่ม โดยใช้การทดสอบ แบบแจกแจงแบบปกติ (Normal Distribution) การทดสอบ T-test 3 แบบคือ 1. One Sample T-test (การทดสอบค่าเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่าง 1 กลุ่ม) 2. Independent Sample T-test (การทดสอบค่าเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่มที่มีความเป็นอิสระต่อกัน) 3. Paired Sample T-test (การทดสอบความแตกต่างค่าเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่มไม่อิสระ) ตัวอย่าง ถ้าต้องการทดสอบความชอบของผลิตภัณฑ์นมเปรี้ยวยี่ห้อหนึ่ง โดยวิธี 9-Point Hedonic Scale ใช้กลุ่ม ตัวอย่างทดสอบจานวน 20 คน แล้วเก็บข้อมูลด้านเพศของผู้ทดสอบ ซึ่งมีผลการทดสอบดั่งตารางที1 ตารางที1 ผลการเก็บข้อมูลความชอบของผลิตภัณฑ์นมเปรี้ยวยี่ห้อหนึ่ง คนที1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 เพศ คะแนน 6 9 9 7 4 7 8 8 9 6 8 5 8 7 4 5 8 6 6 7

ปฏิบัติการใช้โปรแกรม SPSS 20 · PDF fileปฏิบัติการใช้โปรแกรม SPSS 20.0 การสร้างไฟล์และการวิเคราะห์

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ปฏิบัติการใช้โปรแกรม SPSS 20 · PDF fileปฏิบัติการใช้โปรแกรม SPSS 20.0 การสร้างไฟล์และการวิเคราะห์

ปฏิบัติการใช้โปรแกรม SPSS 20.0 การสร้างไฟล์และการวเิคราะห์ T– test และ ANOVA

จุดมุ่งหมายของบทเรียน

เพ่ือให้ผู้เรียน

1. อธิบายจุดมุ่งหมายของการใช้ทีเทสทดสอบได้ 2. จ าแนกลักษณะของการทดสอบทีเทสได้ 3. ค านวณสถิติที่ใช้ทีเทสทดสอบได้ 4. ใช้โปรแกรมส าเร็จรูปเพื่อวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ทีเทสได้ 5. แปลผลลัพธ์ที่ใช้จากการวิเคราะห์ข้อมูลเมื่อใช้โปรแกรมส าเร็จรูปได้

สถิติ T-test ใช้ในการทดสอบความแตกต่างหรือเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่ม โดยใช้การทดสอบแบบแจกแจงแบบปกติ (Normal Distribution)

การทดสอบ T-test ม 3 แบบคอื

1. One Sample T-test (การทดสอบค่าเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่าง 1 กลุ่ม)

2. Independent Sample T-test (การทดสอบค่าเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่มที่มีความเป็นอิสระต่อกัน)

3. Paired Sample T-test (การทดสอบความแตกต่างค่าเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่มไม่อิสระ)

ต ัวอย่าง ถ้าต้องการทดสอบความชอบของผล ิตภัณฑน์มเปรี้ยวยี่ห้อหนึ่ง โดยวิธี 9-Point Hedonic Scale ใช้กลุ่มตัวอย่างทดสอบจ านวน 20 คน แล้วเกบ็ข ้อมูลด้านเพศของผู้ทดสอบ ซึ่งมผีลการทดสอบดั่งตารางที่ 1 ตารางที่ 1 ผลการเก็บข้อมูลความชอบของผล ิตภัณฑน์มเปรี้ยวยี่ห้อหนึ่ง

คนที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20

เพศ ญ ญ ญ ช ช ญ ช ญ ญ ช ญ ช ญ ช ญ ช ช ญ ช ช

คะแนน 6 9 9 7 4 7 8 8 9 6 8 5 8 7 4 5 8 6 6 7

Page 2: ปฏิบัติการใช้โปรแกรม SPSS 20 · PDF fileปฏิบัติการใช้โปรแกรม SPSS 20.0 การสร้างไฟล์และการวิเคราะห์

การวิเคราะห์ข้อมูล One Sample T-test ด้วยโปรแกรม SPSS

1. การปอ้นข ้อมูลลงในโปรแกรม SPSS ให้ไปก าหนดต ัวแปร ใน Variable View

2. ก าหนดชนิดต ัวแปร ตรงตำแหน่ง Name

3. ก าหนดค่าต ัวแปรตรงตำแหน่ง Values ของตัวแปรด้านเพศ โดยก าหนดให้ 1=mem และ 2=women ดังภาพที่ 1

ภาพที่ 1 การก าหนดค่าตัวแปรใน Variable View ใน โปรแกรม SPSS

4. น าข้อมลูตัวเลขไปป้อนใน Data View และสามารถตรวจสอบ Value labels จะไดดังภาพที่ 2

หรือ

ภาพที่ 2 การป้อนข้อมูลใน Data View ใน โปรแกรม SPS

Page 3: ปฏิบัติการใช้โปรแกรม SPSS 20 · PDF fileปฏิบัติการใช้โปรแกรม SPSS 20.0 การสร้างไฟล์และการวิเคราะห์

หมายเหตุ: สามารถใช้ Script ป้อนข้อมูลอัตโนมัติ ดังภาพที่ 3

ภาพที่ 3 การป้อนข้อมูลแบบอัตโนมัติ ในโปรแกรม SPSS

จากข้อมูลดังกล่าว สามารถทดสอบได้ 2 แบบคือ

1. One sample T-test ทดสอบว่า การทดสอบนมเปรี้ยวยี่ห ้อหนึ่งมีคะแนนเฉลี่ยของเท่ากบั 6 หรอืไม่

2. Independent Sample T-test ทดสอบวา เพศชายและเพศหญิง มคีะแนนความชอบนมเปรี้ยวแตกต ่างกัน

หรอืไม่ การวิเคราะห์ข้อมูลแบบ One Sample T-test

ต้องการทดสอบว ่า นมเปรี้ยวยี่หอ้นี้มีคะแนนเฉลยของเทา่กบั 6 หรอืไม่ ก าหนดสมมติฐานในการ

ทดสอบ คือ

H0: μ =6 (ค่าเฉลี่ยของคะแนนความชอบของนมเปรี้ยวเท่ากับ 6)

H1: μ ≠ 6 (ค่าเฉลี่ยของคะแนนความชอบของนมเปรี้ยวไม่เทา่กับ 6)

ขัน้ตอนการว ิเคราะห์ One sample T-test

1) คลิกเมนู Analyze => Compare means => One – Sample T test… ดังภาพที่ 4

Page 4: ปฏิบัติการใช้โปรแกรม SPSS 20 · PDF fileปฏิบัติการใช้โปรแกรม SPSS 20.0 การสร้างไฟล์และการวิเคราะห์

ภาพที่ 4 การวิเคราะห์ขอมูลด้วย One Sample T-test

2) เลือกตัวแปรทีต้่องการทดสอบเข้าไปใน Test Variable(s) แล้วคลิกปุม่ OK ก็จะปรากฏขึน้ ซึ่งสามารถ

ทดสอบได้ครั้งละมากกว่า 1 ตัวแปร และ ก าหนดค่า Test Value เป็น 6 ตามสมมตฐาน μ =6 จากนัน้

คลิก OK ดังภาพที่ 5

ภาพที่ 5 การเลือกข้อมูลที่ต้องการวิเคราะห์

Page 5: ปฏิบัติการใช้โปรแกรม SPSS 20 · PDF fileปฏิบัติการใช้โปรแกรม SPSS 20.0 การสร้างไฟล์และการวิเคราะห์

3) ผลการทดสอบไดดั้งภาพที่ 6

ภาพที่ 6 ผลการวิเคราะห์

4) จากผลการวิเคราะห์จะได้ค่าเฉลี่ย (Mean) = 6.85 ค่า T-test =19.571 และค่า Sig. = 0.000 (2-

tailed) ซ่ีงในการทดสอบ สมมติฐาน ถ้าคา่ Sig. < 0.000 แสดงว่า ปฏเสิธ H0 แต่ยอมรับ H1: μ ≠ 6

นั้นคอื ค่าเฉลี่ยของคะแนนความชอบของนมเปรี้ยวไม่เท่ากับ 6

หมายเหตุ : แนวทางวิเคราะห์

Page 6: ปฏิบัติการใช้โปรแกรม SPSS 20 · PDF fileปฏิบัติการใช้โปรแกรม SPSS 20.0 การสร้างไฟล์และการวิเคราะห์

การวิเคราะหข้อมูล Independent Sample T-test

จุดประสงค์ของการทดสอบนี้คือต้องการทดสอบว่า เพศชายและเพศหญิง มคีะแนนความชอบนม

เปรี้ยวแตกตางกันหรอไม่ ก าหนดสมมติฐานในการทดสอบได้ดังนี้

H0: μชาย = μหญิง (ค่าเฉลี่ยของกล ุ่มเพศชายไม่แตกต่างจากกลุ่มเพศหญิง)

H1: μชาย ≠ μหญิง (คาเฉลี่ยของกล ุ่มเพศชายแตกต่างจากกลุ่มเพศหญง)

ขัน้ตอนการวิเคราะห์ Independent Sample T-test

1) คลิก Analyze => Compare means => Independent - Sample T test… ดังภาพที่ 7

ภาพที่ 7 การวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Independent - Sample T test

2) เลือกต ้วแปรต้น (Gender) เขา้ไปใน Grouping Variable คลิก Define Groups… โดยใส่ 1(ชาย)

ใน Group 1 และ ใส่ 2 (หญิง) ใน Group 2 แล้วคลิกที่ปุ่ม Continue ดังภาพที่ 8

Page 7: ปฏิบัติการใช้โปรแกรม SPSS 20 · PDF fileปฏิบัติการใช้โปรแกรม SPSS 20.0 การสร้างไฟล์และการวิเคราะห์

ภาพที่ 8 การก าหนดกลุ่มตัวอย่างในการวิเคราะห์

3) จากนั้นเลือกต ัวแปรตาม (Score) เขา้ไปใน Test Variable(s) ซ่ึงสามารถทดสอบได้ครัง้ละมากกว ่า 1

ต ัวแปร จากนัน้คลิกที่ปุ่ม OK ดังภาพที่ 9

ภาพที่ 9 การก าหนดตัวแปรในการทดลอบของกลุ่มตัวอย่าง

4) ผลการทดสอบในการวิเคราะห ์แบบ Independent Sample T-test จะสามารถกระท าได้ 2 กรณคืีอ

4.1) กรณทีดสอบความแปรปรวนเท่ากนั (Equal Variances Assumed)

4.2) กรณคีวามแปรปรวนไม่เทา่กัน (Equal Variances Not Assumed)

ดังภาพที่ 10

Page 8: ปฏิบัติการใช้โปรแกรม SPSS 20 · PDF fileปฏิบัติการใช้โปรแกรม SPSS 20.0 การสร้างไฟล์และการวิเคราะห์

ภาพที่ 10 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลแบบ Independent Sample T-test

5) การวิเคราะห์ข้อมูลจะวิเคราะห์ค่า F-test ซึงเป็นการทดสอบว ่า ความแปรปรวนของข้อมูล 2 กลุม่เทา่กนั

หรอืไม ่จากสมมติฐานที่ได้ก าหนดไว้ จึงสามารถท าการทดสอบได้ดังนี้

ดังนั้น ผลการวิเคราะห์ได้ค่า Sig. 0.537 ซึ่งมากกว่า 0.05 แสดงว่า ยอมรับ

และได้จากการอ่านผล T-test โดยดูผลคะแนนส่วนของ Equal variances assumed และ ค่า t - 1.640 และ ค่า

Sig. 0.118 ซึ่งมีมากกว่า 0.05 แสดงว่า ยอมรับ H0: μชาย = μหญิง (ค่าเฉลี่ยของกล ุ่มเพศชายไม่แตกต่างจากกลุ่ม

เพศหญิง)

Page 9: ปฏิบัติการใช้โปรแกรม SPSS 20 · PDF fileปฏิบัติการใช้โปรแกรม SPSS 20.0 การสร้างไฟล์และการวิเคราะห์

การวิเคราะหข้อมูล Paired Sample T-test เนื่องจากการวิเคราะห์แบบ Paired Sample T-test กลุ่มข้อมูลจะต้องมีความสัมพันธ์ก้นดังนั้นจึงของก าหนด

ตัวอย่างข้อมูลใหม่ ดังนี้ การเก็บรวบรวมข้อมูลความชอบของผลิตภัณฑ์นมเปรี่ยว 2 ยี่ห้อ โดยวิธ ี9-Point Hedonic Scale ใช้ผู้ทดสอบตัวอย่างละ 20 คน ไดด้ังตารางที่ 2 ตารางที่ 2 ผลการเก็บข้อมูลความชอบของผล ิตภัณฑน์มเปรี้ยวยี่ห้อหนึ่ง

คนที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20

ยี่ห้อ A 6 7 7 7 4 7 8 8 9 6 8 5 8 7 4 5 8 6 6 7 ยี่ห้อ B 6 6 4 4 6 6 5 5 3 4 4 6 7 5 5 4 3 3 6 7

ท าการก าหนดตัวแปรและป้อนข้อมูล 2 ตัวแปรคือ คนที่ ยี่หอ้ และ ยี่หอ้ B คกน รวมถึงผลความชอบของแต่ผู้ทดสอบดังภาพที่ 10 (ก) และ 10(ข)

(ก)

(ข) ภาพที่ 10 การป้อนข้อมูลเพ่ือทดสอบ Paired Sample T-test

Page 10: ปฏิบัติการใช้โปรแกรม SPSS 20 · PDF fileปฏิบัติการใช้โปรแกรม SPSS 20.0 การสร้างไฟล์และการวิเคราะห์

ขั้นตอนการวิเคราะห์ Paired - Sample T test

ในการวิเคราะห์ต้องก าหนดสมมติฐานในการทดสอบวาได้ดังนี้

H0: μA = μB (คะแนนความชอบย ี่ห้อ A ไมแตกต ่างจากยี่หอ้ B)

H1: μA ≠ μB (คะแนนความชอบยี่ห้อ A แตกตางจากยี่หอ้ B)

1) คลิก Analyze => Compare means => Paired - Sample T test… ดังภาพที่ 11

ภาพที่ 11 การวิเคราะห์ Paired Sample T-test 2) คลิกทีตั่วแปร ยี่หอ้ A ซ่ึงจะไปปรากฏอยู่ใน Variable 1 และ คล ิกตัวแปร ยี่ห้อ B ก็จะไปปรากฏอยูใ่น

Variable 2 แล้วคลิกท่ีปุม่ล ูกศรเพ่ือให้ตัวแปรท ี่ต้องการทดสอบไปอยู่ใน Paired Variables แล้วคลิกท่ีปุม่

OK ดังภาพที่ 12

Page 11: ปฏิบัติการใช้โปรแกรม SPSS 20 · PDF fileปฏิบัติการใช้โปรแกรม SPSS 20.0 การสร้างไฟล์และการวิเคราะห์

ภาพที่ 12 การก าหนดตัวแปรงเพ่ือวิเคราะห์

5) ผลการทดสอบได้ดังภาพที่ 13

ภาพที่ 13 ผลการวิเคราะห์ Paired Sample T-test จากผลการวิเคราะห์ดังภาพที่ 13 สามารถวิเคราะห์ได้ว่า ค่า t 3.655 และ คา่ Sig. 0.002 ซ่ึงน้อยกว่า 0.05

แสดงว ่าปฏิเสธ H0 นั้นคอื ยอมรับ H1: μA ≠ μB (คะแนนความชอบยี่หอ้ A แตกต่างจากยี่หอ้ B) โดยที่ยี้หอ้ A

จะมีคะแนน เฉลี่ย 6.65 และ ยี่หอ้ B มีคะแนนเฉลี่ย 4.95

Page 12: ปฏิบัติการใช้โปรแกรม SPSS 20 · PDF fileปฏิบัติการใช้โปรแกรม SPSS 20.0 การสร้างไฟล์และการวิเคราะห์

การวิเคราะห์ความแปรปรวนด้วยแอนโนวา

เป็นการทดสอบค่าเฉลี่ยจากข้อมูลที่ได้จากกลุ่มตัวอย่างหลายกลุ่ม เพ่ือเปรียบเทียบความแตกต่างตั้งแต่ 3 กลุ่มตัวอย่างขึ้นไป ตัวอย่าง วิธีการสอน 3 แบบ ส่งผลต่อจ านวนการเข้าชั้นเรียนของนักศึกษาแตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร โดยมีการเก็บข้อมูลการเข้าเรียนของนศ. 4 สัปดาห์ จ านวน 10 คน ดังนี้

คนที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

วิธีการ 3 2 3 3 1 1 1 2 1 2

ชั่วโมง 17 5 15 19 5 5 5 15 5 17

สมมติฐานการวิจัย วิธีการสอน 3 แบบ ส่งผลต่อจ านวนการเข้าเรียนของนักศึกษาแตกต่างกัน

สมมติฐานในการทดสอบคือ

Ho : μ1=μ2= μ3

Ha : มีวิธีการสอนอย่างน้อย 1 คู่ที่ให้ผลต่างกัน

ก าหนด ระดับนัยส าคัญท่ี .05

การวิเคราะห์ ANOVA ด้วย SPSS

จากตัวอย่าง สามารถวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรม ได้ดังนี ้

1. การปอ้นข ้อมูลลงในโปรแกรม SPSS ให้ไปก าหนดต ัวแปร ใน Variable View ดังภาพที่ 14

ภาพที่ 14

2. ท าการป้อนข้อมูลลงในส่วนของ Data View ดังภาพที่ 15

Page 13: ปฏิบัติการใช้โปรแกรม SPSS 20 · PDF fileปฏิบัติการใช้โปรแกรม SPSS 20.0 การสร้างไฟล์และการวิเคราะห์

ภาพที่ 15

3. เลือกเมนู Analyse->Compare Means ->One way ANOVA ดังภาพที่ 16

ภาพที่ 16

4. ในหน้าต่าง One-Way ANOVA ก าหนดให้ตัวแปร Score อยู่ในตัวแปรต้น (Dependent List) และ ก าหนดให้ ตัวแปร Method อยู่ในปัจจัยที่ผลต่อตัวแปรต้น (Factor) ดังภาพที่ 17

Page 14: ปฏิบัติการใช้โปรแกรม SPSS 20 · PDF fileปฏิบัติการใช้โปรแกรม SPSS 20.0 การสร้างไฟล์และการวิเคราะห์

ดังภาพที่ 17

5. จากนั้นให้คลิกที่ปุ่ม Option ก าหนดให้มีการอธิบายผลแบบพรรณนา (Descriptive) โดยท าเครื่องหมายถูกหน้าค าว่า Descriptive และ Homogeneity of variance test (การก าหนดHomogeneity of Variances เพ่ือดูความสม่ าเสมอของค่าตัวแปร ถ้าคา Sig. > 0.05 นั้นคือ variance ของกลุมตัวอยางทุกกลุมมี คาไมแตกตางกันอยางมีนัยส าคัญทางสถิต) แล้วคลิกท่ีปุ่ม Continue ดังภาพที่ 18

ดังภาพที่ 18

Page 15: ปฏิบัติการใช้โปรแกรม SPSS 20 · PDF fileปฏิบัติการใช้โปรแกรม SPSS 20.0 การสร้างไฟล์และการวิเคราะห์

6. ให้คลิกท่ีปุ่ม Post Hoc เพ่ือก าหนดระดับนัยส าคัญ เท่ากับ 0.05 ดังภาพที่ 19 แล้วคลิกท่ีปุ่ม Continue

ภาพที่ 19

7. ต่อจากนั้นให้คลิกที่ OK จะได้ผลลัพธ์การวิเคราะห์ข้อมูลแบบ One-Way ANOVA ดังต่อไปนี้

Page 16: ปฏิบัติการใช้โปรแกรม SPSS 20 · PDF fileปฏิบัติการใช้โปรแกรม SPSS 20.0 การสร้างไฟล์และการวิเคราะห์

การแปลผล

ค่า F ที่ค านวณ มีค่า 9.918

ค่า Sig = .009 < ค่า α.05 ดังนั้น ปฏิเสธ Ho หรือ ยอมรับ H1

สรุปได้ว่า “ มีวิธีการสอนอย่างน้อย 1 คู่ ที่มีผลต่อจ านวนการเข้าเรียนของนักศึกษาแตกต่างกัน”

ผลการเปรียบเทียบรายคู่

จ านวนการเข้าเรียนในวิธีการสอนแบบที่ 1 เท่ากับ 5.00 ชั่วโมง

จ านวนการเข้าเรยีนในวิธีการสอนแบบที่ 2 เท่ากับ 12.33 ชั่วโมง

จ านวนการเข้าเรียนในวิธีการสอนแบบที่ 3 เท่ากับ 17.00 ชั่วโมง

โดยการสอนแบบที่ 3 ท าให้ นศ. เข้าเรียนมากที่สุด (มากกว่าการสอนแบบ 2 และ 1)