11

สร้างเครือข่ายระบบการตลาดกล้วยหอมทองเพื่อส่งออกssnet.doae.go.th/wp-content/uploads/2014/12/... ·

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: สร้างเครือข่ายระบบการตลาดกล้วยหอมทองเพื่อส่งออกssnet.doae.go.th/wp-content/uploads/2014/12/... ·
Page 2: สร้างเครือข่ายระบบการตลาดกล้วยหอมทองเพื่อส่งออกssnet.doae.go.th/wp-content/uploads/2014/12/... ·
Page 3: สร้างเครือข่ายระบบการตลาดกล้วยหอมทองเพื่อส่งออกssnet.doae.go.th/wp-content/uploads/2014/12/... ·

33

๓. สร้างเครือข่ายระบบการตลาดกล้วยหอมทองเพ่ือส่งออก

๑) ส่งเสริมประชาสัมพันธ์การตลาดกล้วยหอมทอง

๒) เชื่อมโยงเครือข่ายเกษตรกรและผู้ประกอบการส่งออก

3) รายงานผล

๔. การติดตามรายงานและประเมินผลการเรียนรู้

๑) ส านักงานเกษตรอ าเภอรายงานแผนการเรียนรู้และผลการจัดการเรียนรู้ ให้ส านักงานเกษตรจังหวัด ภายหลังการเรียนรู้หรือดูงานและสิ้นสุดโครงการ

๒) ส านักงานเกษตรจังหวัดสรุปรายงานเขต/กรมฯในภาพรวมของจังหวัดหลังสิ้นสุดโครงการ

3) ส่วนกลางสรุปรายงานเสนอกรมฯ

5. แผนปฏิบัติงาน

กิจกรรม/ขั้นตอน หน่วยงาน ผิดชอบ

ปริมาณงาน

หน่วยวัด

ระยะเวลา ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4

ต.ค.

5๘

พ.ย.

5๘

ธ.ค. 5

๘ ม.

ค. 5

๙ ก.พ

. 5๙

มี.ค.

5๙

เม.ย.

5๙

พ.ค.

5๙

มิ.ย.

5๙

ก.ค. 5

๙ ส.ค

. 5๙

ก.ย. 5

1. ประชุมคดัเลือกเกษตรกรเข้ารว่มโครงการในพ้ืนท่ี

สน.กษจ.และ

สน.กษอ.

๑ ครั้ง

2. คัดเลือกจุดเรียนรู ้ จังหวัด 1 จุด 3. จัดหาวสัด/ุจัดท าแปลงเรยีนรู ้ จังหวัด 1 แปลง 4. ติดตามให้ค าปรึกษาและประเมนิเบื้องต้น

จังหวัด 1 ครั้ง

5. ถ่ายทอดความรู้ และจัดเวทีแลกเปลีย่นเรยีนรูส้มาชิกกลุม่

จังหวัด 3๐ ครั้ง

6. ติดตามและประเมินผล จังหวัด/กอป

3๐ ครั้ง

7. จัดท าเอกสารค าแนะน า/ประชาสมัพันธ์

กอป. ๑,๕๐๐ เล่ม

6. ผลผลิต ผลลัพธ์ และตัวชี้วัด 6.1 ผลผลิต (Output) : เกษตรกรจ านวน 3๐ ราย ได้รับความรู้เรื่องการพัฒนาคุณภาพและหลักการควบคุมศัตรูกล้วยหอมทองก่อนและหลังการเก็บเก่ียวเพ่ือส่งออก 6.2 ผลลัพธ์ (Outcome) : เกษตรกร ยอมรับและ หลักการควบคุมศัตรูกล้วยหอมทองหลังการเก็บเกี่ยวไปปฏิบัติในแปลงปลูกกล้วยของตนเอง

Page 4: สร้างเครือข่ายระบบการตลาดกล้วยหอมทองเพื่อส่งออกssnet.doae.go.th/wp-content/uploads/2014/12/... ·

44

6.3 ตัวช้ีวัดกระบวนงาน : เกษตรกรจ านวนร้อยละ 60 สามารถผลิตกล้วยหอมทองได้มาตรฐานคุณภาพระดับส่งออก

7. กิจกรรมและงบประมาณ จ านวนทั้งสิ้น 348,๐๐๐ บาท

8. หน่วยงาน/ผู้รับผิดชอบ

1. ผู้รับผิดชอบโครงการ

นายประสงค์ ประไพตระกูล ผู้อ านวยการกองส่งเสริมการอารักขาพืชและจัดการดินปุ๋ย

โทรศัพท์/โทรสาร 0 2940 6190 E-mail: [email protected]

2. ผู้ประสานงานโครงการ

นายวิชัย ตู้แก้ว ผู้อ านวยการกลุ่มจัดการศัตรูพืชหลังการเก็บเก่ียว โทร. 081-9958006

นายสมศักดิ์ วรรณศิริ นักวิชาการเกษตรช านาญการพิเศษ โทร. 089-8925669

นางสาวเสาวรส ธรรมเพียร นักวิชาการเกษตรปฏิบัติการ โทร. 089-6163944

โทรศัพท์/โทรสาร 0 2940 6162 E-mail: [email protected]

.......................................................

Page 5: สร้างเครือข่ายระบบการตลาดกล้วยหอมทองเพื่อส่งออกssnet.doae.go.th/wp-content/uploads/2014/12/... ·

55

ภาคผนวก

ภาคผนวกที่ ภาคผนวกที่ ๑ ๑ รารายละเอียดการโอนจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจ า ปี 255ยละเอียดการโอนจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจ า ปี 25599 จังหวัดละหนึ่งจุดเรียนรู้ จ านวน 116,๐๐๐ บาท ดังนี้ดังนี้

1 กิจกรรมประชุมคัดเลือกเกษตรกรเข้าร่วมโครงการ เป็นเงิน 6,000 บาท (ประชุม 1 ครั้ง x 6,๐๐๐ บาท) เป็นเงิน 6,๐๐๐ บาท

.2 กิจกรรมจัดซื้อวัสดุจัดท าแปลงแปลงเรียนรู้ เป็นเงิน 45,000 บาท (1 แปลง x 45,๐๐๐ บาท) เป็นเงิน 45,๐๐๐ บาท

.3 กิจกรรมจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เป็นเงิน 27,000 บาท (๓ ครั้ง x 9,๐๐๐ บาท) เป็นเงิน 27,๐๐๐ บาท

.4. สร้างเครือข่ายระบบตลาดกล้วยหอมทองเพื่อส่งออก เป็นเงิน 20,000 บาท (2 ครั้ง x 1,๐๐๐ บาท) เป็นเงิน 20,๐๐๐ บาท

.5 กิจกรรมติดตามประเมินผล เป็นเงิน 18,000 บาท ( จังหวัด เป็นเงิน 9,๐๐๐ บาท

( อ าเภอ เป็นเงิน 9,๐๐๐ บาท หมายเหตุ – ทุกกิจกรรมสามารถถัวเฉลี่ยจ่ายได้ - วัสดุแปลงเรียนรู้ที่จ าเป็นตามความเหมาะสม เช่น

- ป้ายแปลง - เอกสารข้อมูลการผลิตพืช การจัดแสดงกระบวนการเรียนรู้ - ถุงห่อผล ปุ๋ย สารชีวภัณฑ์ สารธรรมชาติป้องกันก าจัดศัตรูพืช - อ่ืนๆ

ภาคผนวกที่ 2 ภาคผนวกที่ 2 รายละเอียดเป้าหมายจุดเรียนรู้รายละเอียดเป้าหมายจุดเรียนรู้ 3 จังหวัดๆ 1 จุด ดังนี้3 จังหวัดๆ 1 จุด ดังนี้ 1.1.จังหวัดเพชรบุรี นายวินัย บุญน้อย เลขจังหวัดเพชรบุรี นายวินัย บุญน้อย เลขที่ 5 หมู่ 5 ต าบลยางหย่อง อ าเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรีที่ 5 หมู่ 5 ต าบลยางหย่อง อ าเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี 22..จังหวัดนครราชสีมา นายมนตรี ศรีนิล เลขที่ 31 หมู่ 7 ต าบลโป่งตาลอง อ าเภอปากช่อง จังหวัดจังหวัดนครราชสีมา นายมนตรี ศรีนิล เลขที่ 31 หมู่ 7 ต าบลโป่งตาลอง อ าเภอปากช่อง จังหวัด

นครราชสีมานครราชสีมา 3.3.จังหวัดอ่างทอง อ าเภอสามโคก จังหวัดอ่างทองจังหวัดอ่างทอง อ าเภอสามโคก จังหวัดอ่างทอง

หมายเหตุ : กลุ่มเป้าหมายปรับเปลี่ยนได้ตามความเหมาะสม

ภาคผนภาคผนวกที่ 3วกที่ 3 ป้ายจุดเรียนรู้ - ขนาด 80 x 120 เซนติเมตร - พิมพ์พ้ืนสีเขียวตัวอักษรสีขาว

ตรากรมตรากรม

จุดเรยีนรู้การควบคุมศตัรูจุดเรยีนรู้การควบคุมศตัรูกล้วยหอมทองกล้วยหอมทองหลังการหลังการเก็บเกี่ยวเก็บเกี่ยว ช่ือเจ้าของแปลงช่ือเจ้าของแปลง ต าบล (ที่ตั้งแปลง)ต าบล (ที่ตั้งแปลง) อ าเภออ าเภอ จังหวัดจังหวัด

Page 6: สร้างเครือข่ายระบบการตลาดกล้วยหอมทองเพื่อส่งออกssnet.doae.go.th/wp-content/uploads/2014/12/... ·

66

ภาคผนวกที่ 4ภาคผนวกที่ 4 ข้อมูลวิชาการ 1. การปลูกกล้วยหอมทอง

ความเป็นมาการดาเนินธุรกิจกล้วยหอมทอง กล้วยหอมทอง เป็นพืชเศรษฐกิจชนิดหนึ่งที่มีศักยภาพในการส่งออก โดยเฉพาะตลาดญี่ปุ่นมีความต้องการ

สูง ด้วยคุณลักษณะของกล้วยหอมทอง ที่มีน้ าหนัก แต่ละลูกเรียงกันอยู่ในหวีอย่างสวยงาม สีผิวของกล้วยเมื่อสุกจะเปลี่ยนเป็นสีเหลืองทอง รสชาติดี มีกลิ่นหอม น่ารับประทานอีกทั้งผลผลิตมีความปลอดภัย ไม่มีสารเคมีตกค้างปนเปื้อน ท้าให้กล้วยหอมทองของไทยได้รับความนิยม เป็นที่ยอมรับของผู้บริโภคในตลาดญี่ปุ่น ซึ่งนับวันแนวโน้มความต้องการของตลาดยิ่งเพิ่มมากข้ึน

กล้วยหอมทองที่ปลูกในประเทศไทย ลักษณะทั่วไปจะมีล าต้นสูงประมาณ ๓ เมตร เส้นผ่าศูนย์กลางมากกว่า ๒๐ ซม. กาบล าต้นด้านนอกมีประด า ด้านในสีเขียวอ่อน มีลายเส้นสีชมพู ก้านใบมีร่องค่อนข้างกว้าง เส้นกลางใบสีเขียว ส่วนของดอก ก้านเครือมีขน ปลีรูปไข่ค่อนข้างยาว ปลายแหลม ด้านบนมีสีแดงอมม่วง กล้วยเครือหนึ่งมี ๔-๖ หวี หวีหนึ่งมี ๑๒-๑๖ ผล ปลายผลมีจุกเห็นชัด เปลือกบาง เมื่อสุกเปลี่ยนเป็นสีเหลืองทอง เนื้อสีเหลืองเข้ม กลิ่นหอม รสหวานน่ารับประทาน

การปลูกกล้วยหอมทอง (เตรียมดิน) เกษตรกรต้องเลือกพ้ืนที่ให้เหมาะสม น้ าไม่ท่วม ดินร่วนซุย ระบายน้ าได้ดี หากดินตรงไหนเป็น

แอ่งควรปรับดินให้มีความลาดเท เพ่ือป้องกันน้ าท่วมในฤดูฝน ถ้าจะให้ดินมีแร่ธาตุ มีอินทรียวัตถุสูง เพ่ิมธาตุอาหารในดินควรปลูกปอเทืองแล้วไถกลบ ถ้าเป็นดินเหนียวควรท้าการยกร่อง และปลูกบนสันร่องทั้ง ๒ ข้าง ขุดหลุมขนาดกว้าง ๕๐ ซม. ลึก ๕๐ ซม. น้าดินที่ขุดกองตากไว้ ๕-๗ วัน เพ่ือก าจัดวัชพืชและศัตรูพืชที่ตกค้างในดิน หลังจากนั้นคลุกเคล้าปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมักกับดินชั้นบน แล้วจึงเอา (การปลูก) หน่อ ที่เตรียมไว้วางกลางหลุม กลบดิน รดน้ า กดดินให้แน่น ระหว่างต้นระหว่างแถวแต่ละหลุมห่างกัน ๒ เมตร เพ่ือสะดวกในการพรวนดิน ใส่ปุ๋ย ตัดใบ หมุนเวียนอากาศได้ดี เมื่อต้นกล้วยมีอายุ ๒๐-๓๐ วัน ท้าการปาดหน่อเพ่ือให้ต้นและแตกใบเสมอกัน ต้นกล้วยอายุได้ ๔-๖ เดือน จะเริ่มมีการแตกหน่อ หน่อที่เกิดมาเรียกว่า หน่อตาม ควรเอาหน่อออก เพ่ือไม่ให้หน่อแย่งอาหารจากต้นแม่ เก็บหน่อไว้ประมาณ ๑-๒ หน่อเพ่ือพยุงต้นแม่เมื่อมีลมแรงและเก็บเกี่ยวผลผลิตในปี

(การให้น้า) ในพ้ืนที่ปลูกขนาดใหญ่ จะใช้วิธีสูบน้ าจากบ่อบาดาล หรือบ่อกักเก็บที่อยู่ใกล้สวน สูบน้ าขึ้นมารดต้นกล้วย การให้น้ าแค่พอชุ่มชื่น ในช่วงที่ปลูกใหม่ๆ และขณะที่กล้วยตั้งตัวและก าลังติดปลี ติดผลดีแล้ว ไม่จ้าเป็นต้องให้น้ าทุกวันเหมือนพืชชนิดอื่น

(การให้ปุ๋ย) กล้วยเป็นพืชที่ต้องการธาตุอาหารมาก การติดผลจะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับอาหารและน้ าที่ได้รับ ควรใส่ปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมัก ตั้งแต่เริ่มปลูก การปลูกกล้วยหอมเพ่ือส่งออกจะต้องเป็นการผลิตที่ไม่ใส่ปุ๋ยเคมีและไม่ฉีดพ่นสารเคมีโดยเด็ดขาด จะท้าให้กล้วยหอมท่ีได้ปราศจากสารพิษปนเปื้อน

(แต่งหน่อกล้วย) การตัดแต่งใบกล้วย ขณะที่มีการแต่งหน่อควรท้าการตัดแต่งใบกล้วยควบคู่ไปด้วย จนกว่า

Page 7: สร้างเครือข่ายระบบการตลาดกล้วยหอมทองเพื่อส่งออกssnet.doae.go.th/wp-content/uploads/2014/12/... ·

77

กล้วยตกเครือ ติดใบกล้วยไว้กับต้น ๑๐-๑๒ ใบ ต่อต้น ตัดด้วยมีดขอให้ชิดต้น อย่าให้เหลือก้านกล้วยยื่นยาวออกมา เมื่อเหี่ยวจะท้าให้รัดล้าต้น ท้าให้ล้าต้นส่วนกลางขยายได้ไม่มากเท่าที่ควร การปล่อยให้ใบกล้วยมีมากเกินไป จะท้าให้ปกคลุมดิน คลุมโคนต้น ท้าให้แดดส่องไม่ทั่วถึงพ้ืนที่ ท้าให้ดินมีความชื่นมากเกินไป

(การค้ าต้นกล้วย) กล้วยหอมทองมักประสบปัญหาเรื่องหักล้มง่าย เครือใหญ่หนัก และคออ่อน เมื่อขาดน้ า หรือลมพัดก็หักโค่นเสียหาย จึงต้องใช้ไม้ค้ ายันหรือดามกล้วยทุกต้นที่ออกปลีแล้ว และตรวจดูการค้ ายันให้อยู่ในสภาพที่มั่นคงแข็งแรง ประมาณ ๑๐ เดือน หลังจากปลูกกล้วยจะเริ่มแทงปลีออกมา เมื่อกล้วยแทงปลีจนสุดให้ตัดปลีทิ้ง หากไม่ตัดปลีกล้วยทิ้งจะท้าให้ผลกล้วยเติบโตไม่เต็มที่

(การห่อถุง) การปลูกกล้วยหอมเพ่ือส่งออก หลังจากตัดปลีแล้ว ควรท้าการคลุมถุง ถุงที่ใช้ควรเป็นถุงพลาสติกท่ีฟ้าขนาดใหญ ่และยาวกว่าเครือกล้วย เปิดปากถุงให้มีอากาศถ่ายเทได้ดี

(เก็บเกี่ยว) ประมาณ ๙๐-๑๑๐ วัน กล้วยจะแก่พอดี ก็จะท้าการเก็บเกี่ยว สามารถสังเกตได้จากกล้วยหวีสุดท้ายเริ่มกลม สีผลจางลงกว่าเดิม ถ้าปล่อยให้แก่คาต้นมากเกินไปจะท้าให้เปลือกกล้วยแตก ผลเสียหาย ปัจจุบันสหกรณ์การเกษตรท่ายาง จ้ากัด รับซื้อผลผลิตจากสมาชิก จ้าหน่ายทั้งในและต่างประเทศ การผลิตกล้วยหอมทองเพ่ือส่งออกของสหกรณ์การเกษตรท่ายาง จ้ากัด จะผลิตตามที่ได้ตกลงกันในสัญญาซื้อขายกับสหกรณ์ผู้บริโภค ประเทศญี่ปุ่น ทั้งสองฝ่ายจะปฏิบัติตามสัญญาอย่างเคร่งครัด เข้มงวดในทุกกระบวนการผลิต ตั้งแต่การคัดเลือกสมาชิกเข้าร่วมโครงการ พ้ืนที่การปลูกกล้วยหอม การคมนาคมสะดวกต่อการเก็บผลผลิต ประการส าคัญสมาชิกต้องจ้าหน่ายให้สหกรณ์เท่านั้น

สมาชิกต้องได้รับการอบรมความรู้เกี่ยวกับการผลิตกล้วยหอมทองปลอดสารพิษโดยไม่ใช้การใช้สารเคมี ใช้เฉพาะปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมัก วิธีการปลูก การดูแลรักษา ต้องพิถีพิถันมากกว่าการปลูกกล้วยหอมทองตามปกติ โดยได้รับความร่วมมือจากกรมส่งเสริมสหกรณ์ และกรมส่งเสริมการเกษตร

การวางแผนการผลิต สหกรณ์ผู้บริโภคประเทศญี่ปุ่นมีความต้องกล้วยหอมทองปีละประมาณ ๔๐๐ ตัน สหกรณ์จึงต้องวางการผลิตปลูกในแต่ละเดือน ให้สอดคล้องกับต้องการ โดยกระจายการปลูกไปยังพ้ืนที่ของสมาชิกอย่างทั่วถึง ลดความเสี่ยงจากการผลิตของสมาชิก เพ่ือให้สามารถส่งกล้วยหอมออกไปยังประเทศญี่ปุ่นได้ตามความต้องการของลูกค้า

การเก็บเกี่ยวกล้วยหอมทอง จะเก็บเกี่ยวกล้วยหอมที่มีความแก่ประมาณ ๗๐% โดยสหกรณ์จะขนส่งจากสวนของสมาชิกจนถึงสหกรณ์

เมื่อถึงสหกรณ์จะแบ่งเครือกล้วยออกเป็นหวี คัดกล้วยที่ได้ตามขนาดและมีความสมบรูณ์ หลังจากนั้นจะตัดเกสร ล้างท้าความสะอาดผลกล้วย ตัดครึ่งหวีกล้วย ตัดแต่งผลที่เสียหาย แช่น้ า ๕ นาทีล้างยางกล้วย เป่าลมตามช่องเพ่ือก าจัดแมลงและท้าให้กล้วยแห้ง ชั่งน้าหนักก่อนการบรรจุ ติดสติกเกอร์หมายเลขทุกกล่องเพ่ือให้รู้ว่ากล้วยหอมทองเป็นของสมาชิกรายใด น้ าหนักของกล้วยต้องให้ผลมีน้ าหนักไม่น้อยกว่า ๑๑๐ กรัม ประมาณ ๗ ผล การบรรจุกล้วย ต้องไม่เกิน ๒ ซม. จากขอบกล่อง กล่องละ ๑๓ - ๑๓.๖๐ กิโลกรัม ห่อด้วยพลาสติก ดูดอากาศออกมัดปากถุงให้แน่น จากนั้นขนย้ายเข้าห้องเย็น

Page 8: สร้างเครือข่ายระบบการตลาดกล้วยหอมทองเพื่อส่งออกssnet.doae.go.th/wp-content/uploads/2014/12/... ·

88

เก็บรักษาที่อุณหภูมิ ๑๓ องศาเซลเซียส การเรียงกล่องแต่ชั้นต้องไม่เกิน ๑๐ กล่อง เพราะต้องมีช่องว่างระบายอากาศ ปิดม่านตลอด รอการขนส่งไปยังประเทศญี่ปุ่นต่อไป

การผลิตกล้วยหอมทองจาหน่ายภายในประเทศ นอกจากการส่งกล้วยหอมทองไปจ้าหน่ายต่างประเทศแล้ว สหกรณ์การเกษตรกรท่ายาง จ้ากัด ยังจ้าหน่าย

กล้วยหอมทองให้กับห้างเทสโก้โลตัส ท๊อป จัสโก้ เลมอน วิลล่า ฟูจิ กล้วยที่จ้าหน่ายภายในประเทศจะมีความแก่มากกว่ากล้วยที่ส่งไปยังประเทศญี่ปุ่น ขั้นตอนการผลิตเหมือนกับการส่งกล้วยหอมทองไปต่างประเทศ เมื่อขนส่งกล้วยถึงสหกรณ์จะท้าการคัดแยกหวี ล้างกล้วยให้สะอาด เป่ากล้วยให้แห้งด้วยแรงลมที่มีแรงอัดสูง การตรวจสอบคุณภาพจะมีการเช็คโรคแมลงอย่างละเอียด เพ่ือมิให้สิ่งแปลกปลอมที่หลงเหลือติดไปกับผลกล้วย ตัดแบ่งหวีกล้วย ชั่งน้ าหนัก บรรจุถุงพลาสติกถุงละประมา๕.๕ กิโลกรัม เมื่อบรรจุลงกล่องน้าไปบ่มด้วยแก็สเอทิลีน ๒๐ ชั่วโมง แล้วน้าออกมาพักไว้ ก่อนเก็บรักษาในห้องเย็น รอการขนส่งลูกค้า (อ้างอิง....โดยส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี)

2.การยืดอายุการเก็บรักษา2.การยืดอายุการเก็บรักษา““กล้วยหอมทองกล้วยหอมทอง””

กล้วยหอมเป็นผลไม้เศรษฐกิจชนิดหนึ่งที่สามารถปลูกได้ทั่วทุกภูมิภาคกล้วยหอมเป็นผลไม้เศรษฐกิจชนิดหนึ่งที่สามารถปลูกได้ทั่วทุกภูมิภาค และมีศักยภาพในการส่งออกไปขายและมีศักยภาพในการส่งออกไปขายยังต่างประเทศยังต่างประเทศ โดยเฉพาะกล้วยหอมทองซึ่งเป็นที่ต้องการของประเทศญี่ปุ่นและจีนโดยเฉพาะกล้วยหอมทองซึ่งเป็นที่ต้องการของประเทศญี่ปุ่นและจีน มีรายได้มีรายได้ปีหนึ่งปีหนึ่ง ๆๆ มูลค่านับล้านมูลค่านับล้าน ๆๆ บาทบาท แต่อย่างไรก็ตามการปลูกกล้วยหอมทองแต่อย่างไรก็ตามการปลูกกล้วยหอมทอง ก็มีปัญหาในเรื่องของโรคข้ัวหวีเน่าซึ่งส านักวิจัยและพัฒนาก็มีปัญหาในเรื่องของโรคข้ัวหวีเน่าซึ่งส านักวิจัยและพัฒนาวิทยาการหลังการเก็บเก่ียวและแปรรูปผลิตผลเกษตรกรมวิชาการเกษตรวิทยาการหลังการเก็บเก่ียวและแปรรูปผลิตผลเกษตรกรมวิชาการเกษตร โดยโดย ดรดร..บุญญวดีบุญญวดี จิระวุฒิจิระวุฒิ นักวิชาการนักวิชาการเกษตรช านาญการเกษตรช านาญการ พร้อมคณะพร้อมคณะ ได้วิจัยโรคขั้วหวีได้วิจัยโรคขั้วหวีเน่าของกล้วยหอมทองเน่าของกล้วยหอมทอง โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษาชนิดของเชื้อราที่โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษาชนิดของเชื้อราที่เป็นสาเหตุของขั้วหวีเน่าเป็นสาเหตุของขั้วหวีเน่า และหาวิธีการและหาวิธีการ ควบคุมโดยการใช้สารปลอดภัยเพื่อให้ได้กล้วยหอมทองปลอดโรคควบคุมโดยการใช้สารปลอดภัยเพื่อให้ได้กล้วยหอมทองปลอดโรค มีคุณภาพมีคุณภาพดีดี สามารถเก็บรักษาได้นานขึ้นจากการศึกษาพบว่าสามารถเก็บรักษาได้นานขึ้นจากการศึกษาพบว่า กล้วยหอมทองมีความอ่อนแอต่อโรคขั้วหวีเน่ากล้วยหอมทองมีความอ่อนแอต่อโรคขั้วหวีเน่า ซึ่งเกิซึ่งเกิดจากเชื่อราดจากเชื่อราที่เป็นสาเหตุคือที่เป็นสาเหตุคือ LLaassiiooddiippllooddiiaa tthheeoobbrroommaaee,,FFuussaarriiuumm ooxxyyssppoorruumm,,CCoolllleeccttoottrriicchhuumm mmuussaaee,, PPeessttaalloottiiooppssiiss sspp.. และและ pphhoommooppssiiss โดยจะเข้าไปท าลายบริเวณข้ัวหวีโดยจะเข้าไปท าลายบริเวณข้ัวหวี ท าให้เนื้อเยื่อเปลี่ยนเป็นสีด าท าให้เนื้อเยื่อเปลี่ยนเป็นสีด า เน่าเน่า ลุกลามสู่ก้านของผลลุกลามสู่ก้านของผล ท าให้ผลท าให้ผล หลุดร่วงได้ง่ายหลุดร่วงได้ง่าย ส่งผลให้คุณภาพของกส่งผลให้คุณภาพของกล้วยหอมทองลดลงล้วยหอมทองลดลง

ส่วนแนวทางการควบคุมโรคส่วนแนวทางการควบคุมโรค ได้ท าการทดสอบประสิทธิภาพของสารปลอดภัยได้ท าการทดสอบประสิทธิภาพของสารปลอดภัย ๓๓ ชนิดชนิด คือคือ

Page 9: สร้างเครือข่ายระบบการตลาดกล้วยหอมทองเพื่อส่งออกssnet.doae.go.th/wp-content/uploads/2014/12/... ·

99

โพแทสเซียมซอร์เบตโพแทสเซียมซอร์เบต ((ppoottaassssiiuumm ssoorrbbaattee)),,กรดออกซาลิกกรดออกซาลิก ((ooxxaalliicc aacciidd)) และและ ssaalliiccyylliicc aacciidd ความเข้มข้นความเข้มข้น ๔๔ ระดับคือระดับคือ ๑๐๐๑๐๐ ,, ๒๕๐๒๕๐ ,, ๕๐๐๕๐๐ และและ๑๑ ,,๐๐๐๐๐๐ mmgg//ll น ามาทดสอบประสิทธิภาพการควบคุมโรคท่ีน ามาทดสอบประสิทธิภาพการควบคุมโรคท่ีติดมาติดมาจากแปลงจากแปลง การปลูกเชื้อราสาเหตุของโรคการปลูกเชื้อราสาเหตุของโรค ควบคู่กับการจุ่มสารความเข้มข้นต่างควบคู่กับการจุ่มสารความเข้มข้นต่าง ๆๆ แล้วน าไปเก็บไว้ในอุณหภูมิห้องแล้วน าไปเก็บไว้ในอุณหภูมิห้องเป็นเวลาเป็นเวลา ๕๕ วันวัน พร้อมบันทึกผลการเกิดโรคโดยนับจ านวนผลพร้อมบันทึกผลการเกิดโรคโดยนับจ านวนผล จากการทดลองพบว่าจากการทดลองพบว่า สารโพแทสเซียมซอร์เบตสารโพแทสเซียมซอร์เบต ๕๐๐๕๐๐ mmgg//ll มีประสิทธิภาพในการควบคุมโรคได้ดีมีประสิทธิภาพในการควบคุมโรคได้ดี สามารถยับยั้งควาสามารถยับยั้งความรุนแรงของโรคได้มรุนแรงของโรคได้ ๒๖๒๖..๔๙๔๙ %% ในกล้วยหอมทองที่ในกล้วยหอมทองที่ได้รับการปลูกเชื้อได้รับการปลูกเชื้อ LLaassiiooddiippllooddiiaa..tthheeoobbrroommaaee

แต่เมื่อน ากล้วยหอมทองจุ่มสารปลอดภัยก่อนปลูกเชื้อแต่เมื่อน ากล้วยหอมทองจุ่มสารปลอดภัยก่อนปลูกเชื้อ LLaassiiooddiippllooddiiaa tthheeoobbrroommaaee พบพบ ว่าสารว่าสาร ooxxaalliicc aacciidd ๑๐๐๑๐๐ mmgg//ll และสารและสาร ssaalliiccyylliicc ๒๕๐๒๕๐ mmgg//ll มีประสิทธิภาพในการป้องกันการเกิดโรคขั้วหมีประสิทธิภาพในการป้องกันการเกิดโรคขั้วหวีเน่าวีเน่าของกล้วยหอมทองได้ดีของกล้วยหอมทองได้ดี ท าให้ปลอดสารเคมีที่เป็นพิษท าให้ปลอดสารเคมีที่เป็นพิษ

นอกจากการใช้สารปลอดภัยแล้วนอกจากการใช้สารปลอดภัยแล้ว การจัดการที่ดีตั้งแต่ก่อนการเก็บเกี่ยวก็เป็นสิ่งที่ส าคัญการจัดการที่ดีตั้งแต่ก่อนการเก็บเกี่ยวก็เป็นสิ่งที่ส าคัญ ควรควร เก็บต้นกล้วยที่ตายเก็บต้นกล้วยที่ตาย เศษซากพืชที่เป็นโรคเศษซากพืชที่เป็นโรค ควรน าไปท าลายนอกแปลงปลูกควรน าไปท าลายนอกแปลงปลูก เพ่ือลดปริมาณเชื้อราที่เป็นสาเหตุส าคัญเพ่ือลดปริมาณเชื้อราที่เป็นสาเหตุส าคัญของโรคขั้วของโรคขั้วหวีเน่าหวีเน่า ซึ่งผลการวิจัยสามารถช่วยเหลือเกษตรกรสร้างผลิตผลกล้วยหอมทองที่ปลอดโรคซึ่งผลการวิจัยสามารถช่วยเหลือเกษตรกรสร้างผลิตผลกล้วยหอมทองที่ปลอดโรค มีคุณภาพดีมีคุณภาพดี อายุอายุการเก็บรักษายาวนานขึ้นเป็นการเพ่ิมศักยภาพในการส่งออกกล้วยหอมทองของประเทศไทยการเก็บรักษายาวนานขึ้นเป็นการเพ่ิมศักยภาพในการส่งออกกล้วยหอมทองของประเทศไทย และมีมูลค่าของรายได้และมีมูลค่าของรายได้เพ่ิมข้ึนมากกว่าเดิมเพ่ิมข้ึนมากกว่าเดิม ((อ้างอิง...อ้างอิง...โดยกลุ่มพัฒนาเทคโนโลยีการเผยแพร่โดยกลุ่มพัฒนาเทคโนโลยีการเผยแพร่ ส านัส านักพัฒนาการถ่ายทอดเทคโนโลยีกพัฒนาการถ่ายทอดเทคโนโลยี กรมส่งเสริมการเกษตรกรมส่งเสริมการเกษตร))

ภาคผนวกที่ 5 ภาคผนวกที่ 5 ประเด็นการเรียนรู้ประเด็นการเรียนรู้

1) การปลูกและการปฏิบัติดูแลรักษากล้วยหอมทอง

2) การวางแผนการผลิต

2) การใช้สารเคมีป้องกันก าจัดโรคและแมลงศัตรูกล้วยหอมทอง

3) การป้องกันและก าจัดโรคขั้วเน่ากล้วยหอมทอง

4) การยืดอายุกล้วยหอมทองหลังการเก็บเก่ียว

5) เครือข่ายการตลาดกล้วยหอมทองเพ่ือการส่งออก

”””””””””””””””””””””””””””””””””

Page 10: สร้างเครือข่ายระบบการตลาดกล้วยหอมทองเพื่อส่งออกssnet.doae.go.th/wp-content/uploads/2014/12/... ·

1100

ค าน าค าน า

กิจกรรมจัดท าจุดเรียนรู้การควบคุมศัตรูกล้วยหอมทองหลังการเก็บเกี่ยว เป็นกิจกรรมย่อยภายใต้กิจกรรมหลัก ลดความเสี่ยงเกษตรกรจากการระบาดศัตรูพืช โครงการพัฒนาคุณภาพสินค้าสู่มาตรฐาน ประจ าปีงบประมาณ 2559 โดยมีกองส่งเสริมการอารักขาพืชและจัดการดินปุ๋ย กรมส่งเสริมการเกษตร เป็นผู้รับผิดชอบดูแลการด าเนินงาน ที่มุ่งเน้นเป้าหมายด้านการส่งเสริมสนับสนุนการสร้างคุณภาพมาตรฐานผลผลิตกล้วยหอมทอง การควบคุมศัตรูพืชก่อนและหลังการเก็บเกี่ยว การควบคุมสารพิษตกค้างในผลผลิตให้เป็นที่ยอมรับของตลาดสากล ตลอดจนการเชื่อมโยงเครือข่ายระบบการตลาดเพ่ือการส่งออก ตามนโยบายกรมส่งเสริมการเกษตร ด้านการผลิตสินค้าเกษตรสู่ Smart Product

ส าหรับคู่มือการด าเนินงานจัดท าจุดเรียนรู้การควบคุมศัตรูกล้วยหอมทองหลังการเก็บเก่ียว เล่มนี้จัดท าข้ึนเพ่ือวัตถุประสงค์ให้เจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรในระดับอ าเภอ จังหวัด และเขตในพื้นที่เป้าหมายใช้เป็นคู่มือประกอบการด าเนินงานจัดท าจุดเรียนรู้การควบคุมศัตรูกล้วยหอมทองหลังการเก็บเกี่ยว ซึ่งมีกระบวนงานและกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง รวม 4 กิจกรรม ได้แก่ 1) จัดเตรียมจัดท าจุดเรียนรู้ 2) จัดการเรียนรู้ให้เกษตรกร 3) การสร้างเครือข่ายระบบการตลาดกล้วยหอมทองเพ่ือการส่งออก 4) การติดตามและประเมินผล

กรมส่งเสริมการเกษตรโดยกองส่งเสริมการอารักขาพืชและจัดการดินปุ๋ย หวังเป็นอย่างยิ่งว่าคู่มือการด าเนินงานจัดท าจุดเรียนรู้การควบคุมศัตรูกล้วยหอมทองหลังการเก็บเกี่ยวนี้จะเป็นประโยชน์ต่อผู้ด าเนินงานทุกๆส่วน และหากมีข้อบกพร้อง ข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์เพิ่มเติม โปรดได้แจ้งให้คณะผู้จัดท าได้ทราบด้วยเพ่ือการปรับปรุงให้สมบูรณ์ ต่อไป

คณะผู้จัดท า ตุลาคม 2558

Page 11: สร้างเครือข่ายระบบการตลาดกล้วยหอมทองเพื่อส่งออกssnet.doae.go.th/wp-content/uploads/2014/12/... ·

1111

คู่มือการด าเนินงาน

จุดเรียนรู้การควบคุมศัตรูกล้วยหอมทองหลังการเก็บเกี่ยว ปี 2559

กลุ่มจดัการศัตรูพืชหลังการเกบ็เกี่ยว กองส่งเสริมการอารักขาพืชและจัดการดินปุ๋ย กรมส่งเสริมการเกษตร ตลุาคม 2558