7
ฐานข้อมูลเพื่อการรายงานสถานการณ์คุณภาพสิ่งแวดล้อมของประเทศ ช-๑๖ (12) การประเมินพื้นที่ศักยภาพแรข้อมูลตัวชี้วัด การประเมินพื้นที่ศักยภาพแรประเทศไทยมีการสารวจและประเมินศักยภาพทรัพยากรแร่มาอย่างต่อเนื่อง โดยใน พ.ศ. 2559 กรมทรัพยากรธรณี ได้ทาการสารวจและประเมินศักยภาพทรัพยากรแร่ ภายใต้โครงการเร่งจัดทา แนวเขตการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรณี จานวน 3 กิจกรรม ได้แก่ ( 1) การประเมินศักยภาพแหล่งหิน อุตสาหกรรมเพื่อการก่อสร้าง โดยจาแนกคุณภาพของหินตามคุณสมบัติทางกลศาสตร์จังหวัดราชบุรี เพชรบุรี ลพบุรี และสระบุรี (2) การสารวจและประเมินศักยภาพทรัพยากรธาตุหายากและธาตุกัมมันตรังสี แฝง ในพื้นที่ศักยภาพทางแร่สูงและพื้นที่แหล่งแร่ โดยดาเนินการสารวจระดับไพศาล 1 ในพื้นที่จังหวัด เพชรบุรี-ประจวบคีรีขันธ์ และการสารวจระดับรายละเอียด 2 ในพื้นที่จังหวัดเชียงราย และ ( 3) การประเมิน ปริมาณทรัพยากรแร่ตามระบบการจาแนกของสหประชาชาติ 2009 (UNFC-2009) (โพแทช-เกลือหิน) สามารถกาหนดรหัสแกน EFG 3 เบื้องต้นในพื้นที่แหล่งแร่จานวน 13 แหล่ง ได้แก่ จังหวัดชัยภูมิ จานวน 2 แหล่ง นครราชสีมา จานวน 4 แหล่ง อุดรธานี จานวน 3 แหล่ง ขอนแก่น จานวน 2 แหล่ง มหาสารคาม จานวน 1 แหล่ง และสกลนคร จานวน 1 แหล่ง 1 การสารวจระดับไพศาล หมายถึง การดาเนินงานสารวจเบื้องต้นในพื้นที่สารวจขนาดใหญ่ (มากกว่า 100 ตาราง กิโลเมตร) ที่คาดว่ามีแร่สะสมตัวอยู่ โดยอาจมีข้อมูลจากแผนที่ธรณีวิทยา มาตราส่วน 1 : 250 , 000 หรือ 1 : 1 , 000 , 000 และข้อมูลจากการแปลความหมายผลการบินสารวจธรณีฟิสิกส์ทางอากาศ เพื่อหาข้อมูลแหล่งแร่เบื้องต้น และ กาหนดขอบพื้นที่ศักยภาพทางแร2 การสารวจระดับรายละเอียด หมายถึง การดาเนินงานสารวจในพื้นที่สารวจขนาดเล็ก (น้อยกว่า 10 ตาราง กิโลเมตร) เป็นงานสารวจแร่เฉพาะแหล่ง ในบริเวณที่พบแร่แล้ว หรือในเขตพื้นที่แหล่งแร่ตามการสารวจขั้นกึ่ง รายละเอียด เพื่อหาขนาด ทิศทางการวางตัวของแหล่งแร่ และประเมินปริมาณทรัพยากรแร่ 3 รหัสแกน EFG เป็นการประเมินปริมาณทรัพยากรแร่ตามระบบการจาแนก ซึ่งใช้องค์ประกอบ 3 ด้าน คือ (1 ) ความ เป็นไปได้ทางเศรษฐกิจและสังคม (แกน E) ( 2) สถานภาพและความเป็นไปได้ของโครงการ (แกน F) และ ( 3) ความรู้ทางธรณีวิทยา (แกน G) โดยมีการเรียงเลขรหัสตามลาดับ

12) การประเมินพื้นที่ศักยภาพแร่ · 2017-09-25 · และข้อมูลจากการแปลความหมายผลการบินส

  • Upload
    others

  • View
    0

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: 12) การประเมินพื้นที่ศักยภาพแร่ · 2017-09-25 · และข้อมูลจากการแปลความหมายผลการบินส

ฐานข้อมูลเพื่อการรายงานสถานการณ์คุณภาพสิ่งแวดล้อมของประเทศ

ช-๑๖

(12) การประเมินพ้ืนท่ีศักยภาพแร่ ข้อมูลตัวชี้วดั “การประเมินพ้ืนที่ศักยภาพแร”่ ประเทศไทยมีการส ารวจและประเมินศักยภาพทรัพยากรแร่มาอย่างต่อเน่ือง โดยใน พ.ศ. 2559

กรมทรัพยากรธรณี ได้ท าการส ารวจและประเมินศักยภาพทรัพยากรแร่ ภายใต้โครงการเร่งจัดท า แนวเขตการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรณี จ านวน 3 กิจกรรม ได้แก่ (1) การประเมินศักยภาพแหล่งหินอุตสาหกรรมเพื่อการก่อสร้าง โดยจ าแนกคุณภาพของหินตามคุณสมบัติทางกลศาสตร์จังหวัดราชบุรี เพชรบุรี ลพบุรี และสระบุรี (2) การส ารวจและประเมินศักยภาพทรัพยากรธาตุหายากและธาตุกัมมันตรังสีแฝง ในพื้นที่ศักยภาพทางแร่สูงและพื้นที่แหล่งแร่ โดยด าเนินการส ารวจระดับไพศาล 1 ในพื้นที่จังหวัดเพชรบุรี-ประจวบคีรีขันธ์ และการส ารวจระดับรายละเอียด2 ในพื้นที่จังหวัดเชียงราย และ (3) การประเมินปริมาณทรัพยากรแร่ตามระบบการจ าแนกของสหประชาชาติ 2009 (UNFC-2009) (โพแทช-เกลือหิน) สามารถก าหนดรหัสแกน EFG3 เบื้องต้นในพื้นที่แหล่งแร่จ านวน 13 แหล่ง ได้แก่ จังหวัดชัยภูมิ จ านวน 2 แหล่ง นครราชสีมา จ านวน 4 แหล่ง อุดรธานี จ านวน 3 แหล่ง ขอนแก่น จ านวน 2 แหล่ง มหาสารคาม จ านวน 1 แหล่ง และสกลนคร จ านวน 1 แหล่ง 1 การส ารวจระดับไพศาล หมายถึง การด าเนินงานส ารวจเบื้องต้นในพื้นที่ส ารวจขนาดใหญ่ (มากกว่า 100 ตาราง

กิโลเมตร) ที่คาดว่ามีแร่สะสมตัวอยู่ โดยอาจมีข้อมูลจากแผนที่ธรณีวิทยา มาตราส่วน 1 : 250,000 หรือ 1 : 1,000,000 และข้อมูลจากการแปลความหมายผลการบินส ารวจธรณีฟิสิกส์ทางอากาศ เพื่อหาข้อมูลแหล่งแร่เบื้องต้น และก าหนดขอบพื้นที่ศักยภาพทางแร่

2 การส ารวจระดับรายละเอียด หมายถึง การด าเนินงานส ารวจในพื้นที่ส ารวจขนาดเล็ก (น้อยกว่า 10 ตารางกิโลเมตร) เป็นงานส ารวจแร่เฉพาะแหล่ง ในบริเวณที่พบแร่แล้ว หรือในเขตพื้นที่แหล่งแร่ตามการส ารวจขั้นก่ึงรายละเอียด เพื่อหาขนาด ทิศทางการวางตัวของแหล่งแร่ และประเมินปริมาณทรัพยากรแร่

3 รหัสแกน EFG เป็นการประเมินปริมาณทรัพยากรแร่ตามระบบการจ าแนก ซ่ึงใช้องค์ประกอบ 3 ด้าน คือ (1) ความเป็นไปได้ทางเศรษฐกิจและสังคม (แกน E) (2) สถานภาพและความเป็นไปได้ของโครงการ (แกน F) และ (3) ความรู้ทางธรณีวิทยา (แกน G) โดยมีการเรียงเลขรหัสตามล าดับ

Page 2: 12) การประเมินพื้นที่ศักยภาพแร่ · 2017-09-25 · และข้อมูลจากการแปลความหมายผลการบินส

ฐานข้อมูลเพื่อการรายงานสถานการณ์คุณภาพสิ่งแวดล้อมของประเทศ

ช-๑๗

แผนที่แสดงพ้ืนที่ส ารวจทรัพยากรแร่ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2554

Page 3: 12) การประเมินพื้นที่ศักยภาพแร่ · 2017-09-25 · และข้อมูลจากการแปลความหมายผลการบินส

ฐานข้อมูลเพื่อการรายงานสถานการณ์คุณภาพสิ่งแวดล้อมของประเทศ

ช-๑๘

ที่มา : กรมทรัพยากรธรณี (2559) แผนที่แสดงพ้ืนที่ส ารวจทรัพยากรแร่ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2555

Page 4: 12) การประเมินพื้นที่ศักยภาพแร่ · 2017-09-25 · และข้อมูลจากการแปลความหมายผลการบินส

ฐานข้อมูลเพื่อการรายงานสถานการณ์คุณภาพสิ่งแวดล้อมของประเทศ

ช-๑๙

ที่มา : กรมทรัพยากรธรณี (2559)

แผนที่แสดงพ้ืนที่ส ารวจทรัพยากรแร่ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2556

Page 5: 12) การประเมินพื้นที่ศักยภาพแร่ · 2017-09-25 · และข้อมูลจากการแปลความหมายผลการบินส

ฐานข้อมูลเพื่อการรายงานสถานการณ์คุณภาพสิ่งแวดล้อมของประเทศ

ช-๒๐

ที่มา : กรมทรัพยากรธรณี (2559)

แผนที่แสดงพ้ืนที่ส ารวจทรัพยากรแร่ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2557

Page 6: 12) การประเมินพื้นที่ศักยภาพแร่ · 2017-09-25 · และข้อมูลจากการแปลความหมายผลการบินส

ฐานข้อมูลเพื่อการรายงานสถานการณ์คุณภาพสิ่งแวดล้อมของประเทศ

ช-๒๑

ที่มา : กรมทรัพยากรธรณี (2559)

แผนที่แสดงพ้ืนที่ส ารวจทรัพยากรแร่ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2558

Page 7: 12) การประเมินพื้นที่ศักยภาพแร่ · 2017-09-25 · และข้อมูลจากการแปลความหมายผลการบินส

ฐานข้อมูลเพื่อการรายงานสถานการณ์คุณภาพสิ่งแวดล้อมของประเทศ

ช-๒๒

ที่มา : กรมทรัพยากรธรณี (2559)