35
1 2109101 วัสดุในงานวิศวกรรม สมบัติทางกลของวัสดุ (ครึ่งหลัง)

2109101 วัสดุในงานว ิศวกรรมpioneer.netserv.chula.ac.th/~psuvanch/101-49-1-4mech2c.pdf · การตกผลึกใหม (Recrystallization)

  • Upload
    others

  • View
    5

  • Download
    1

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: 2109101 วัสดุในงานว ิศวกรรมpioneer.netserv.chula.ac.th/~psuvanch/101-49-1-4mech2c.pdf · การตกผลึกใหม (Recrystallization)

1

2109101 วัสดุในงานวิศวกรรม

สมบัติทางกลของวัสดุ (ครึ่งหลัง)

Page 2: 2109101 วัสดุในงานว ิศวกรรมpioneer.netserv.chula.ac.th/~psuvanch/101-49-1-4mech2c.pdf · การตกผลึกใหม (Recrystallization)

2

เนื้อหา

การแปรรูปถาวรของโลหะผลึกเดี่ยว

การแปรรูปถาวรของโลหะที่มีหลายผลึก

การเพิ่มความแข็งแรงจากการเกิดสารละลายของแข็ง

การอบออนของโลหะที่ผานการขึ้นรูปเย็น

การแตกหักของโลหะ

ความลา

ความคืบ

Page 3: 2109101 วัสดุในงานว ิศวกรรมpioneer.netserv.chula.ac.th/~psuvanch/101-49-1-4mech2c.pdf · การตกผลึกใหม (Recrystallization)

3

การตอบสนองตอภารกรรมทางกล

เกิดการแปรรูปแบบอิลาสติก (ยืดหยุน)

เกิดการแปรรูปแบบพลาสติก (ถาวร)

เกิดการแตกหัก

Page 4: 2109101 วัสดุในงานว ิศวกรรมpioneer.netserv.chula.ac.th/~psuvanch/101-49-1-4mech2c.pdf · การตกผลึกใหม (Recrystallization)

4

การแปรรูปถาวรของโลหะผลึกเดี่ยว

Page 5: 2109101 วัสดุในงานว ิศวกรรมpioneer.netserv.chula.ac.th/~psuvanch/101-49-1-4mech2c.pdf · การตกผลึกใหม (Recrystallization)

5

การแปรรูปถาวรของโลหะผลึกเดี่ยว

การเคลื่อนตัวของอะตอมในระบบผลึก เปนการเคลื่อนตัวในโหมดสลิป (เลื่อนไถล) คือ ระนาบของอะตอมเลื่อนไถลจากกันเปนชั้น ๆ

ถึงแมวาแรงกระทําเปนแรงดึงก็ตาม จะมีระนาบอยางนอยหนึ่งระนาบที่รับสวนประกอบของแรงนี้ในแนวขนานกับระนาบ ทําใหเกิดแรงเฉือนขึ้น

Page 6: 2109101 วัสดุในงานว ิศวกรรมpioneer.netserv.chula.ac.th/~psuvanch/101-49-1-4mech2c.pdf · การตกผลึกใหม (Recrystallization)

6

การแปรรูปถาวรของโลหะผลึกเดี่ยว

ผลของโครงสรางผลึกFCC เหนียวสุด รองลงไปเปน BCC ซึ่งจะเหนียวที่อุณหภูมิสูง สวน HCP จะแปรรูปถาวรไดยากทุกอุณหภูมิ (ระนาบที่จะ slip ได = ระนาบโคลสแพ็กทิศทางที่จะ slip = ทิศทางที่ close-packed)

Page 7: 2109101 วัสดุในงานว ิศวกรรมpioneer.netserv.chula.ac.th/~psuvanch/101-49-1-4mech2c.pdf · การตกผลึกใหม (Recrystallization)

7

การแปรรูปถาวรของโลหะผลึกเดี่ยว

การสลิปหรือเลื่อนไถลออกจากกันของระนาบ ไมไดเปนการเลื่อนไถลในคราวเดียว ซึ่งตองใชแรงมาก

แตอาศัยกลไกการเคลื่อนที่ของดิสโลเคชัน ทําใหใชแรงนอยลง

Page 8: 2109101 วัสดุในงานว ิศวกรรมpioneer.netserv.chula.ac.th/~psuvanch/101-49-1-4mech2c.pdf · การตกผลึกใหม (Recrystallization)

8

การเคลื่อนที่ของ Edge Dislocation

Page 9: 2109101 วัสดุในงานว ิศวกรรมpioneer.netserv.chula.ac.th/~psuvanch/101-49-1-4mech2c.pdf · การตกผลึกใหม (Recrystallization)

9

ลักษณะเฉพาะของการแปรรูปถาวรในโลหะ (หลายผลึก)

เกิดจากการสลิป

โดยอาศัยกลไกการเคลื่อนที่ของดิสโลเคชัน

ดิสโลเคชัน ทําใหใชแรงนอยลง ในการแปรรูป

แตเมื่อขนาดการแปรรูปสูงขึ้น (ความเครียดมากขึ้น) ความหนาแนนดิสโลเคชันเพิ่มขึ้น จะทําใหดิสโลเคชันสงผลตานกันเอง ใชแรงสูงขึ้นอีก ปรากฏการณStrain Hardening หรือ Work Hardening

โลหะเกรนละเอียด มีความแข็งแรงสูงกวาเกรนหยาบ

Page 10: 2109101 วัสดุในงานว ิศวกรรมpioneer.netserv.chula.ac.th/~psuvanch/101-49-1-4mech2c.pdf · การตกผลึกใหม (Recrystallization)

10

ลักษณะเฉพาะของการแปรรูปถาวรในโลหะ (หลายผลึก)

โลหะเกรนละเอียด มีความแข็งแรงสูงกวาเกรนหยาบ

(สัญลักษณดิสโลเคชัน)

Page 11: 2109101 วัสดุในงานว ิศวกรรมpioneer.netserv.chula.ac.th/~psuvanch/101-49-1-4mech2c.pdf · การตกผลึกใหม (Recrystallization)

11

ผลของสารละลายของแข็ง

เมื่อดิสโลเคชันเคลื่อนที่มาพบอะตอมตัวถูกละลายจะเกิดแรงดึงดูดกันไวทําใหเคลื่อนตอไดยากขึ้น

โลหะผสม มีความแข็งแรงสูงกวาโลหะบริสุทธิ์

Page 12: 2109101 วัสดุในงานว ิศวกรรมpioneer.netserv.chula.ac.th/~psuvanch/101-49-1-4mech2c.pdf · การตกผลึกใหม (Recrystallization)

12

ปรากฏการณการคืนตัวและการตกผลึกใหม

หรือเรียกรวมวา การอบออน (Annealing)

เมื่อโลหะถูกขึ้นรูปเย็น จะเกิดความเครียดถาวร

มีดิสโลเคชันหนาแนนขึ้น

ความแข็งแรงสูงขึ้น

ความเหนียวลดลง

Page 13: 2109101 วัสดุในงานว ิศวกรรมpioneer.netserv.chula.ac.th/~psuvanch/101-49-1-4mech2c.pdf · การตกผลึกใหม (Recrystallization)

13

ปรากฏการณการคืนตัวและการตกผลึกใหม

นําโลหะที่ผานการขึ้นรูปเย็นแลวมาอบที่อุณหภูมิสูง (>0.3~0.7Tm)จะเกิด

การคืนตัว (Recovery)ลดความเครียดในเนื้อโลหะ

กําจัดความบกพรองในโครงสรางผลึกออก

ความเหนียวจะเพิ่มขึ้นอยางเห็นไดชัด

Page 14: 2109101 วัสดุในงานว ิศวกรรมpioneer.netserv.chula.ac.th/~psuvanch/101-49-1-4mech2c.pdf · การตกผลึกใหม (Recrystallization)

14

ปรากฏการณการคืนตัวและการตกผลึกใหม

การตกผลึกใหม (Recrystallization)เกิดผลึกใหมซึ่งมีลักษณะเปนผลึกที่ไมมีความเครียดเหลืออยู (Strain-free Grain)

ความแข็งแรงจะลดลง

ความเหนียวเพิ่มขึ้น

เนื้อโลหะกลับไปเหมือนตอนที่ยังไมถูกขึ้นรูปเย็นมา

Page 15: 2109101 วัสดุในงานว ิศวกรรมpioneer.netserv.chula.ac.th/~psuvanch/101-49-1-4mech2c.pdf · การตกผลึกใหม (Recrystallization)

15

ปรากฏการณการคืนตัวและการตกผลึกใหม

เกี่ยวกับการตกผลึกใหมโลหะตองถูกขึ้นรูปเย็นในปริมาณหนึ่ง จึงสามารถเกิดการตกผลึกใหมได

ปริมาณการขึ้นรูปเย็นยิ่งสูง อุณหภูมิการตกผลึกใหมยิ่งต่ําลง และขนาดเกรนสุดทายยิ่งละเอียด

Page 16: 2109101 วัสดุในงานว ิศวกรรมpioneer.netserv.chula.ac.th/~psuvanch/101-49-1-4mech2c.pdf · การตกผลึกใหม (Recrystallization)

16

การแตกหัก (Fracture)

การแตกหักแบบเหนียว (Ductile Fracture)

การแตกหักแบบเปราะ (Brittle Fracture)

Page 17: 2109101 วัสดุในงานว ิศวกรรมpioneer.netserv.chula.ac.th/~psuvanch/101-49-1-4mech2c.pdf · การตกผลึกใหม (Recrystallization)

17

การแตกหัก (Fracture)

Page 18: 2109101 วัสดุในงานว ิศวกรรมpioneer.netserv.chula.ac.th/~psuvanch/101-49-1-4mech2c.pdf · การตกผลึกใหม (Recrystallization)

18

การแตกหักแบบเหนียว

เกิดการแปรรูปถาวรกอนในระดับหนึ่ง (ถาเปนการทดสอบแรงดึง สังเกตจากการคอด)

เกิดชองวาง (Void) ในเนื้อโลหะ

ชองวางเชื่อมตอกันเปนแนวตั้งฉากทิศแรงดึง

การขาดสุดทายทํามุม 45°

รอยแตกแบบเหนียวมักเปน Cup and Cone

Page 19: 2109101 วัสดุในงานว ิศวกรรมpioneer.netserv.chula.ac.th/~psuvanch/101-49-1-4mech2c.pdf · การตกผลึกใหม (Recrystallization)

19

การแตกหักแบบเปราะ

Page 20: 2109101 วัสดุในงานว ิศวกรรมpioneer.netserv.chula.ac.th/~psuvanch/101-49-1-4mech2c.pdf · การตกผลึกใหม (Recrystallization)

20

การแตกหักแบบเปราะ

ไมมีหรือมีการแปรรูปถาวรนอยมากแตกหักดวยแรงดึงในลักษณะเนื้อโลหะแยกจากกันดวยแรงดึงตามระนาบเฉพาะที่เรียกวาCleavage Plane – เปนการแตกหักผานเกรน (Transgranular Fracture)ในโลหะบางชนิดมีจุดออนในขอบเกรนทําใหเกิดการแตกหักแบบเปราะระหวางเกรน(Intergranular Fracture)

Page 21: 2109101 วัสดุในงานว ิศวกรรมpioneer.netserv.chula.ac.th/~psuvanch/101-49-1-4mech2c.pdf · การตกผลึกใหม (Recrystallization)

21

การทดสอบแรงกระแทก(Impact Test)

เพื่อประเมินความแกรง Toughness ของวัสดุ

ประเมินความเปนวัสดุเปราะ/เหนียว อันนําไปสูความปลอดภัยในการใชงาน

Page 22: 2109101 วัสดุในงานว ิศวกรรมpioneer.netserv.chula.ac.th/~psuvanch/101-49-1-4mech2c.pdf · การตกผลึกใหม (Recrystallization)

22

การทดสอบแรงกระแทก

(Impact Test)

Page 23: 2109101 วัสดุในงานว ิศวกรรมpioneer.netserv.chula.ac.th/~psuvanch/101-49-1-4mech2c.pdf · การตกผลึกใหม (Recrystallization)

23

การทดสอบแรงกระแทก(Impact Test)

Page 24: 2109101 วัสดุในงานว ิศวกรรมpioneer.netserv.chula.ac.th/~psuvanch/101-49-1-4mech2c.pdf · การตกผลึกใหม (Recrystallization)

24

การทดสอบแรงกระแทก(Impact Test)

Page 25: 2109101 วัสดุในงานว ิศวกรรมpioneer.netserv.chula.ac.th/~psuvanch/101-49-1-4mech2c.pdf · การตกผลึกใหม (Recrystallization)

25

ผลของโครงสรางของโลหะตอสมบัติทางกล

ปจจัยของโครงสรางผลึกตอความเหนียว

โลหะ FCC เหนียวที่ทุกอุณหภูมิ

โลหะ BCC เหนียวที่อุณหภูมิสูง เปราะที่อุณหภูมิต่ํา

โลหะ HCP เปราะที่ทุกอุณหภูมิ

เหล็กที่อุณหภูมิหองเปน BCC การแปรรูปไมดีนักที่อุณหภูมิสูงเปน FCC การแปรรูปดีกวาการใชงานเหล็กที่อุณหภูมิต่ํามาก

Page 26: 2109101 วัสดุในงานว ิศวกรรมpioneer.netserv.chula.ac.th/~psuvanch/101-49-1-4mech2c.pdf · การตกผลึกใหม (Recrystallization)

26

ความลา (Fatigue)

ความเสียหายเนื่องจากการรับแรงกระทําซ้ํา ๆ เปนรอบ (Cyclic Load) ทั้งที่แรง (ความเคน) ในแตละรอบ ไมไดเกินกําลังวัสดุ แตเมื่อเวลา (จํานวนรอบ) ผานไป ก็เกิดความเสียหายได

Page 27: 2109101 วัสดุในงานว ิศวกรรมpioneer.netserv.chula.ac.th/~psuvanch/101-49-1-4mech2c.pdf · การตกผลึกใหม (Recrystallization)

27

ความลา (Fatigue)

กลไกของความลา

Page 28: 2109101 วัสดุในงานว ิศวกรรมpioneer.netserv.chula.ac.th/~psuvanch/101-49-1-4mech2c.pdf · การตกผลึกใหม (Recrystallization)

28

ความลา (Fatigue)

กลไกของความลาการเริ่มตนเกิดรอยแตก (Crack Initiation) เกิดบริเวณจุดออนโดยเฉพาะรอยตําหนิ รอยขูดขีด รอยบาก รองตาง ๆ ที่บริเวณผิว

การขยายตัวของรอยแตก (Crack Propagation) ภายใตแรงดึง ในแตละรอบ

การแตกหักในขั้นสุดทาย (Fracture)

Page 29: 2109101 วัสดุในงานว ิศวกรรมpioneer.netserv.chula.ac.th/~psuvanch/101-49-1-4mech2c.pdf · การตกผลึกใหม (Recrystallization)

29

S-N Curve จากการทดสอบความลา

โลหะประเภทเหล็ก, ทองแดง โลหะนอกกลุมเหล็กทั่วไป

(Fatigue Limit)

Page 30: 2109101 วัสดุในงานว ิศวกรรมpioneer.netserv.chula.ac.th/~psuvanch/101-49-1-4mech2c.pdf · การตกผลึกใหม (Recrystallization)

30

ความลา (Fatigue)

การออกแบบชิ้นงานที่รับแรงกระทําซ้ํา ๆ เปนรอบออกแบบใหความเคนไมเกิน Fatuige Limit หรือ Fatigue Strength แลวแตกรณี

เสริมสรางความแข็งใหผิวชิ้นงาน เชน ทําการชุบแข็งผิว (ปองกัน crack initiation)

ทําใหเกิดความเคนตกคางที่เปนแรงอัดบนผิวชิ้นงาน (ปองกันcrack initiation)

หลีกเลี่ยงจุดที่เกิดความเคนสูง เชน รอง รอยบาก รู บนผิวชิ้นงาน (ปองกัน crack initiation)

Page 31: 2109101 วัสดุในงานว ิศวกรรมpioneer.netserv.chula.ac.th/~psuvanch/101-49-1-4mech2c.pdf · การตกผลึกใหม (Recrystallization)

31

ความคืบ (Creep)

ปรากฏการณที่วัสดุยืดออกเองได (เกิดการแปรรูปถาวร) ภายใตแรงหรือความเคนคงที่ เมื่อเวลาผานไปนาน ๆ

เกิดที่อุณหภูมิสูง (>0.4Tm โดยประมาณ)

Page 32: 2109101 วัสดุในงานว ิศวกรรมpioneer.netserv.chula.ac.th/~psuvanch/101-49-1-4mech2c.pdf · การตกผลึกใหม (Recrystallization)

32

เสนโคงความคืบ (Creep Curve)

Page 33: 2109101 วัสดุในงานว ิศวกรรมpioneer.netserv.chula.ac.th/~psuvanch/101-49-1-4mech2c.pdf · การตกผลึกใหม (Recrystallization)

33

เสนโคงความคืบ (Creep Curve)

Page 34: 2109101 วัสดุในงานว ิศวกรรมpioneer.netserv.chula.ac.th/~psuvanch/101-49-1-4mech2c.pdf · การตกผลึกใหม (Recrystallization)

34

การทดสอบความคืบ

Creep Test สนใจคาอัตราการคืบตัวต่ําสุด(Minimum Creep Rate)

Stress-rupture Test สนใจเวลาสุดทาย

Page 35: 2109101 วัสดุในงานว ิศวกรรมpioneer.netserv.chula.ac.th/~psuvanch/101-49-1-4mech2c.pdf · การตกผลึกใหม (Recrystallization)

35

สมบัติทางกล (Mechanical Properties)

Mechanical Property

Stress

Strain and Deformation

Stress-Strain Relationship

Creep

Toughness

Fatigue

Hardness