27
~ 1 ~

document

  • Upload
    haque

  • View
    217

  • Download
    1

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: document

~ 1 ~

Page 2: document

~ 2 ~

สารบัญ

สวนท่ี 1 ความรูท่ัวไปเกีย่วกับกรุงเทพมหานคร ความรูท่ัวไปเกี่ยวกับกรุงเทพมหานคร 5 สัญลักษณประจํากรุงเทพมหานคร 5 คําขวัญของกรุงเทพมหานคร 5 วิสัยทัศน 5 ประวัติกรุงเทพมหานคร 5 การปกครอง 8 การบริหารราชการกรุงเทพมหานครในปจจุบัน 9 ระเบียบขาราชการกรุงเทพและบุคลากรกรุงเทพมหานคร พ.ศ.2554 11 สรุปสาระสําคัญขาราชการกรุงเทพมหานครและบุคลากรกรุงเทพมหานคร 40 แนวขอสอบระเบียบขาราชการกรุงเทพและบุคลากรกรุงเทพมหานคร พ.ศ.2554 44

สวนท่ี 2 ความรูความสามารถเฉพาะ ความรูเกี่ยวกับภาษีอากร 59 ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา 60 ภาษีเงินไดนิติบุคคล 83 ภาษีมูลคาเพิ่ม 107 ภาษีธุรกิจเฉพาะ 112 ภาษีเงินไดหัก ณ ท่ีจาย 140 อากรแสตมป 142 เลขประจําตัวผูเสียภาษี 150 สิทธิและหนาท่ีผูเสียภาษี 154 การอุทธรณภาษีอากรฯ 157มาตรการภาษีเพื่อสงเสริมการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี 162 นโยบายการจัดเก็บภาษี 168 วัตถุประสงคของการจัดเก็บภาษีอากร 170 หลักการจัดเก็บภาษีท่ีดี 170 ประเภทของภาษีอากร 172

สวนท่ี 3 กฎหมายท่ีเกี่ยวของ สรุประเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร และแกไขเพิ่มเติมฉบัท่ี 5 พ.ศ. 2550 174 แนวขอสอบสรุประเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร และแกไขเพิ่มเติมฉบัท่ี 5 187 ระเบียบกรุงเทพมหานครวาดวยวิธีปฏิบัติงานสารบรรณ พ.ศ.2546

และแกไขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี 3) พ.ศ.2551 199 แนวขอสอบระเบียบกรุงเทพมหานคร วาดวยวิธีปฏิบัติงานสารบรรณ

พ.ศ. 2546 และแกไขเพิ่มเติม 208 สรุประเบียบงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 และแกไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2548 แกไขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2548 220 แนวขอสอบ ระเบียบฯ งานสารบรรณ พ.ศ. 2526 แกไขเพิ่มเติม 235 พระราชบัญญัติกําหนดแผนและข้ันตอนการกระจายอํานาจใหแก

องคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ.2542 แกไขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2549 257 แนวขอสอบ พรบ. กําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครอง

สวนทองถิ่น พ.ศ. 2542 276

Page 3: document

~ 3 ~

พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผนดินพ.ศ. 2534 แกไขเพิ่มเติม ถึงฉบับท่ี 8 พ.ศ. 2553 289

แนวขอสอบ พรบ.ระเบียบบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. 2534 297 แนวขอสอบ รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 317 พระราชบัญญัติภาษีโรงเรือนและท่ีดิน พุทธศักราช 2475

แกไขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี 5) พ.ศ. 2543 334 แนวขอสอบ พระราชบัญญัติภาษีโรงเรือนและท่ีดิน พุทธศักราช 2475 350 สรุปสาระสําคัญ พระราชบัญญัติจัดระเบียบการจอดยานยนตรในเขตเทศบาล

และสุขาภิบาล พ.ศ. 2503 แกไขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2535 356 แนวขอสอบ พระราชบัญญัติจัดระเบียบการจอดยานยนตรในเขตเทศบาลและ

สุขาภิบาล พ.ศ. 2503 และแกไขเพิ่มเติม358 พระราชบัญญัติภาษีบํารุงทองท่ี พ.ศ. 2508 แกไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับท่ี 3) พ.ศ. 2543 360 แนวขอสอบพระราชบัญญัติภาษีบํารุงทองท่ี พ.ศ. 2508 383 สรุปสาระสําคัญของพระราชบัญญัติภาษปีาย พ.ศ. 2510

แกไขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2534 393 แนวขอสอบพระราชบัญญัติภาษีปาย พ.ศ. 2510 และแกไขเพิ่มเติม 399

Page 4: document

สัญ

ตรานี้กรติวงศเปพระราช2516

คํา

วสัิ

ทุกภาค

ปร

เมืองหลผูกลาวความสํา

ญลักษณปตราของกรรมศิลปากรปนตนแบบชบัญญัติเครื

ตนไมประ

าขวัญของชวยชุมชน

สัยทัศนกร“กรุงเทพมคสวนของสัง

ระวัติกรุงกรุงเทพมหลวงของประวากรุงเทพาคัญ มีผล

ความรูทั

ประจํากรงุรุงเทพมหารออกแบบโดบ เริ่มใชในปรื่องหมายร

จํากรุงเทพ

งกรุงเทพมแออัด ขจัด

รุงเทพมหหานครเปนงคม โดยชุม

เทพมหานหานครเปนอะเทศดวย นพมหานครคืตอเศรษฐกิ

ทั่วไปเก่ีย

ตราประจํ

งเทพมหาานคร เปนดยอาศัยภาป พ.ศาชการ พ.ศ

พมหานคร

มหานคร มลพิษ แก

หานคร นเมืองนาอยูมชนมีความ

นคร องคกรปกคนอกจากนี้ยัคือประเทศไกิจ สังคม ก

~ 4 ~

ยวกับ ก

จํากรุงเทพ

านคร นรูปพระอินทาพเขียนฝพ.2516 ศ. 2482 ฉบ

คือตนไทรย

กปญหารถติ

ยู ดวยการมเขมแข็ง คร

ครองสวนทยังเปนเมืองไทย กการเมือง แ

กรุงเทพม

พมหานคร

ทรทรงชางระหัตถของตามประกบับที่ 60 ล

ยอยใบแหล

ด ทุกชีวิตรื

รบริหารจัดกรอบครัวมีค

องถิ่นรูปแบศูนยกลางใการบริหารรและการปกค

มหานค

เอราวัณ พงสมเด็จกรมกาศสํานักนลงวันที่ 31

ลม (Ficus b

รื่นรมย

การที่ดีและความอบอุน

บบพิเศษ นทุกๆ ดานราชการกรุงครองประเท

คร

พระหัตถทรงมพระยานริศนายกรัฐมนต พฤษภาค

benjamina)

มีความรวมและสงบสุข

และหมายคนของประเทงเทพมหานทศ นับแตป

งสายฟา ศรานุวัดตรี ตามม พ.ศ.

มมือจาก”

ความถึงทศ จนมีนครจึงมีป 2325

Page 5: document

~ 5 ~

กรุงเทพมหานครไดมีการพัฒนาเปล่ียนแปลงรูปแบบการปกครอง และหรือการบริหารมาโดยตลอด ความเปนมาของการปกครองและการบริหารราชการ กรุงเทพมหานคร รวมถึงเหตุผลของการเปล่ียนแปลงและหรือการจัดตั้งองคกรในแตละรูปแบบ กอนที่จะเปนกรุงเทพมหานครในปจจุบัน สรุปไดตามลําดับดังนี้

1. การจัดรูปการปกครองแบบเวียง ตั้งแตตั้งกรุงรัตนโกสินทรฯ ในปพ.ศ. 2325 จนถึงตอนตนรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ไดดําเนินการปกครองแบบเดียวกับที่เปนอยูในสมัยกรุงศรีอยุธยา คือการปกครองแบบเวียง (หนวยหนึ่งของจตุสดมภ อันมีเวียง วัง คลัง นา) มีเสนาบดีกรมเวียงรับผิดชอบ

2. การจัดรูปการปกครองแบบมณฑลเทศาภิบาล ในป พ.ศ. 2437 (รัชกาลท่ี 5) ไดมีการปรับปรุงเปล่ียนแปลงการปกครองใหม โดยจัดการปกครอง

เปนรูปมณฑลใหมณฑลกรุงเทพขึ้นกับกระทรวงนครบาล มีเสนาบดีกระทรวงนครบาลปกครองบังคับบัญชา สวนมณฑลอื่นๆ ข้ึนกับกระทรวงมหาดไทย ตอมาในป พ.ศ. 2465 (รัชการที่ 6) ไดมีประกาศ รวมกระทรวงนครบาลเขากับกระทรวงมหาดไทย และใหสมุหพระนครบาลเปนหัวหนารับผิดชอบการดําเนินงานในกรุงเทพ เชนเดียวกับที่ใหสมุหเทศาภิบาลเปนหัวหนารับผิดชอบการดําเนินงานในมณฑลอื่นๆ

3. การจัดรูปการปกครองแบบจังหวัดและเทศบาล ภายหลังการเปล่ียนแปลงการปกครอง เมื่อป พ.ศ. 2475 ไดมีการตรากฎหมายสําคัญที่เกี่ยวของกับรูปแบบการปกครองอยู 2 ฉบับ คือพระราชบัญญัติวาดวยราชการบริหารแหงราชอาณาจักรสยาม พ.ศ.2476 และพระราช บัญญัติจัดระเบียบเทศบาล พ.ศ. 2476 ซึ่งทําใหมีการเปล่ียนแปลงรูปแบบการปกครองใหม โดยยุบมณฑลเทศาภิบาล และแบงสวนราชการออกเปนราชการบริหารสวนกลางราชการบริหารสวนภูมิภาค และราชการบริหารสวนทองถิ่น โดยผลแหงกฎหมายทั้งสองฉบับนี้พระนคร และธนบุรีตางมีฐานะเปนจังหวัด แบงการปกครองออกเปนอําเภอ และตําบลเชนเดียวกับจังหวัดอื่นทั่วประเทศ และในสวนของราชการบริหารสวนทองถิ่น ก็มีเทศบาลนคร กรุงเทพและเทศบาลนครธนบุรี มีองคการบริหารสวนจังหวัดและสุขาภิบาลเชนเดียวกับการ บริหารราชการสวนทองถิ่นในจังหวัดอื่นๆ ทั่วประเทศ

4. การจัดรูปการปกครองแบบนครหลวง เนื่องจากจังหวัดพระนครและจังหวัดธนบุรี มีความสัมพันธซึ่งกันและกันอยางใกลชิดท้ังในดานประวัติศาสตรและการปกครองมาชานาน การประกอบอาชีพของประชาชนก็ดําเนินไปในลักษณะที่เปนจังหวัดเดียวกัน และการจัดหนวยราชการสําหรับรับใช ประชาชนก็ไดกระทําในรูปใหมีหนวยราชการรวมกัน เชน การศาล การรับจดทะเบียนกิจกรรม บางประเภท จึงสมควรรวมจังหวัดพระนคร และจังหวัด

Page 6: document

~ 6 ~

สรุปสาระสําคัญ พระราชบัญญัติระเบียบขาราชกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2528

ที่มา : ศุภสรณ รุงโรจนวุฒิกุล

1. หลักการและเหตุผล คือ เนื่องจากไดมีการปรับปรุงการจัดระเบียบบริหาร

ราชการกรุงเทพมหานครขึ้นใหม สมควรปรับปรุงการบริหารงานบุคคลตามกฎหมายวาดวยระเบียบขาราชการกรุงเทพมหานครใหสอดคลองกันดวย จึงจําเปนตองตราพระราชบัญญัตินี้

2. สาระสําคัญ ในพระราชบัญญัติฉบับนี้กําหนดใหมีคณะกรรมการ

ขาราชการกรุงเทพมหานคร เรียกโดยยอวา "ก.ก." ทําหนาท่ีกําหนดหลักเกณฑและดําเนินการเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลของขาราชการกรุงเทพมหานคร ประกอบดวย

(1) รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย หรือรัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงมหาดไทยซึ่งไดรับมอบหมาย เปนประธานกรรมการ

(2) กรรมการโดยตําแหนง ประกอบดวย ปลัดกระทรวงมหาดไทย เลขาธิการ ก.พ. เลขาธิการ ก.ค. และอธิบดีกรมบัญชีกลาง

(3) กรรมการซ่ึงเปนผูแทนกรุงเทพมหานครจํานวนหาคน โดยประกอบดวย ผูวาราชการกรุงเทพมหานคร ปลัดกรุงเทพมหานคร ผูแทนขาราชการกรุงเทพมหานครสามัญ ซึ่งคัดเลือกกันเองจํานวนสองคน และผูแทนขาราชการครูกรุงเทพมหานครซึ่งคัดเลือกกันเองจํานวนหนึ่งคน

(4) กรรมการผูทรงคุณวุฒิจํานวนหาคน ซึ่งกรรมการตาม (1) (2) และ (3) ประชุมรวมกันคัดเลือกจากบุคคลซึ่งมีความรูความเชี่ยวชาญในดานการบริหารงานสวนทองถิ่น ดานการบริหารงานบุคคล ดานระบบราชการ ดานบริหารและการจัดการ หรือดานอื่นที่จะเปนประโยชนตอการบริหารงานบุคคลของกรุงเทพมหานคร

ใหผูวาราชการกรุงเทพมหานครดําเนินการใหขาราชการกรุงเทพมหานครคัดเลือกกันเองเปนผูแทนกรุงเทพมหานคร

ใหหัวหนาสํานักงานคณะกรรมการขาราชการกรุงเทพมหานครเปนเลขานุการ ก.ก. (มาตรา 15)

โดย ก.ก. มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี ้

Page 7: document

~ 7 ~

แนวขอสอบพระราชบัญญัติระเบียบขาราชการกรุงเทพมหานคร และบุคลากรกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2554

1.พระราชบัญญัติระเบียบขาราชการกรุงเทพมหานครและบุคลากรกรุงเทพมหานคร ฉบับท่ีใชอยูเปนฉบับ พ.ศ.ใด

ก. พ.ศ. 2552 ข. พ.ศ. 2553 ค. พ.ศ. 2554 ง. พ.ศ. 2555 ตอบ ค. พ.ศ. 2554 พระราชบัญญัติน้ีเรียกวา “พระราชบัญญัติระเบียบขาราชการกรุงเทพมหานครและ

บุคลากรกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2554”

2. พระราชบัญญัติระเบียบขาราชการกรุงเทพมหานคร และบุคลากรกรุงเทพมหานคร 2544 มีผลบังคับใชเม่ือใด ก. ต้ังแตวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา ข. ถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา ค. 7 วันหลังจากประกาศในราชกิจจานุเบกษา ง. 30 วันหลังจากประกาศในราชกิจจานุเบกษา ตอบ ข. ถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา

พระราชบัญญัติน้ีใหใชบังคับต้ังแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป 3. บุคคลซ่ึงไดรับการบรรจุและแตงต้ังใหรับราชการโดยไดรับเงินเดือนจากเงิน งบประมาณหมวดเงินเดือนของกรุงเทพมหานครหรือจากเงินงบประมาณหมวดเงินอุดหนุน ของรัฐบาลท่ีใหแกกรุงเทพมหานคร และกรุงเทพมหานครนํามาจัดเปนเงินเดือนของขาราชการกรุงเทพมหานคร หมายความถึงขอใด ก. ขาราชการกรุงเทพมหานคร ข. ขาราชการกรุงเทพมหานครสามัญ ค. ขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานคร ง. บุคลากรกรุงเทพมหานคร ตอบ ก. ขาราชการกรุงเทพมหานคร “ขาราชการกรุงเทพมหานคร” หมายความวา บุคคลซ่ึงไดรับการบรรจุและแตงต้ังใหรับราชการโดยไดรับเงินเดือนจากเงิน งบประมาณหมวดเงินเดือนของกรุงเทพมหานครหรือจากเงิน

Page 8: document

~ 8 ~

งบประมาณหมวดเงินอุดหนุน ของรัฐบาลท่ีใหแกกรุงเทพมหานคร และกรุงเทพมหานครนํามาจัดเปนเงินเดือนของขาราชการกรุงเทพมหานคร 4. ขาราชการกรุงเทพมหานครซึ่งรับราชการในสังกัดกรุงเทพมหานคร แตไมรวมถึงขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานครและขาราชการกรุงเทพมหานครในสถาบันอุดมศึกษา หมายความถึงขอใด ก. ขาราชการกรุงเทพมหานคร ข. ขาราชการกรุงเทพมหานครสามัญ ค. ขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานคร ง. บุคลากรกรุงเทพมหานคร

ตอบ ข. ขาราชการกรุงเทพมหานครสามัญ “ขาราชการกรุงเทพมหานครสามัญ” หมายความวา ขาราชการกรุงเทพมหานครซ่ึงรับ

ราชการในสังกัดกรุงเทพมหานคร แตไมรวมถึงขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานครและขาราชการกรุงเทพมหานครในสถาบันอุดมศึกษา 5. บุคคลซึ่งไดรับการจางตามสัญญาจางโดยไดรับคาตอบแทนจากเงินงบประมาณหมวดคาตอบแทนของกรุงเทพมหานคร หมายความถึงขอใด ก. บุคลากรกรุงเทพมหานคร ข. ลูกจางกรุงเทพมหานคร ค. พนักงานกรุงเทพมหานคร ง. ขาราชการและลูกจางกรุงเทพมหานคร ตอบ ค. พนักงานกรุงเทพมหานคร

“บุคลากรกรุงเทพมหานคร” หมายความวา ลูกจางกรุงเทพมหานครและพนักงานกรุงเทพมหานคร

“ลูกจางกรุงเทพมหานคร” หมาย ความวา บุคคลซึ่งไดรับการแตงต้ังใหปฏิบัติงานของกรุงเทพมหานครโดยไดรับคาจาง จากเงินงบประมาณหมวดคาจางของกรุงเทพมหานครหรือจากเงินงบประมาณหมวดเงินอุด หนุนของรัฐบาลท่ีใหแกกรุงเทพมหานคร และกรุงเทพมหานครนํามาจัดเปนคาจางของลูกจางกรุงเทพมหานคร

“พนักงานกรุงเทพมหานคร” หมายความวา บุคคลซ่ึงไดรับการจางตามสัญญาจางโดยไดรับคาตอบแทนจากเงินงบประมาณหมวดคาตอบแทนของกรุงเทพมหานคร

“หนวยงานการศึกษา” หมายความวา (1) สถานศึกษา (2) แหลงการเรียนรูตามประกาศกรุงเทพมหานคร (3) สวนราชการอื่นตามประกาศกรุงเทพมหานคร

Page 9: document

~ 9 ~

สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2528 และแกไขเพิ่มเติม ถึงฉบับที่ 5 พ.ศ.2550

พระราชบัญญัติน้ีเรียกวา “พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.

2528” ใชบังคับต้ังแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป ใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทยรักษาการตามพระราชบัญญัติน้ี

การบริหารกรุงเทพมหานคร

การบริหารกรุงเทพมหานคร ประกอบดวย (1) สภากรุงเทพมหานคร (2) ผูวาราชการกรุงเทพมหานคร

สภากรุงเทพมหานคร สภากรุงเทพมหานครประกอบดวย สมาชิกซ่ึงราษฎรเลือกต้ังมีจํานวนตามเกณฑท่ีกําหนด

ไว การเลือกต้ังสมาชิกสภากรุงเทพมหานครจะกระทําไดเม่ือไดมีพระราชกฤษฎีกากําหนดใหมีการเลือกต้ังแลว ในพระราชกฤษฎีกาน้ันใหระบุวันเลือกต้ังและระยะเวลารับสมัครเลือกต้ัง

การกําหนดเขตเลือกต้ัง ใหถือเกณฑราษฎรหนึ่งแสนคนเปนประมาณโดยพยายามจัดใหแตละเขตเลือกต้ังมีจํานวนราษฎรใกลเคียงกันเทาท่ีจะเปนไปได แตตองไมเปนการนําเอาพ้ืนท่ีของเขตหน่ึงไปรวมกับเขตอื่นหรือนําพ้ืนท่ีเพียงบางสวนของแขวงหนึ่งไปรวมกับแขวงอื่น

ในเขตเลือกต้ังหน่ึงใหมีสมาชิกสภากรุงเทพมหานครไดหน่ึงคน ถาเขตใดมีจํานวนราษฎรไมพอท่ีจะจัดใหเปนหน่ึงเขตเลือกต้ัง ก็ใหมีการเลือกต้ังสมาชิกสภากรุงเทพมหานครในเขตนั้นหน่ึงคนและใหถือเปนเขตเลือกต้ังหน่ึง

การกําหนดเขตเลือกต้ังใหคํานวณตามเกณฑจํานวนราษฎรตามหลักฐานการทะเบียนราษฎรท่ีกระทรวงมหาดไทยประกาศคร้ังสุดทายกอนวันประกาศพระราชกฤษฎีกาใหมีการเลือก ต้ังสมาชิกสภากรุงเทพมหานคร และใหทําเปนประกาศของกระทรวงมหาดไทย

หลักเกณฑและวิธีการของการกําหนดเขตเลือกต้ัง จํานวนแตกตางของราษฎรในแตละเขตเลือกต้ัง และวิธีการเลือกต้ังใหเปนไปตามกฎหมายวาดวยการเลือกต้ังสมาชิกสภา

กรุงเทพมหานคร และผูวาราชการกรุงเทพมหานคร บุคคลผูมีคุณสมบัติดังตอไปน้ี เปนผูมีสิทธิเลือกต้ัง

(1) มีสัญชาติไทย แตบุคคลผูมีสัญชาติไทยโดยการแปลงสัญชาติตองไดสัญชาติไทยมาแลวไมนอยกวาหาป

Page 10: document

~ 10 ~

(2) มีอายุไมตํ่ากวาสิบแปดปบริบูรณในวันท่ี 1 มกราคม ของปท่ีมีการเลือกต้ัง และ

(3) มีช่ืออยูในทะเบียนบานในเขตเลือกต้ังเปนเวลาติดตอกันจนถึงวันเลือกต้ังไม

นอยกวาเกาสิบวัน บุคคลตองหามมิใหใชสิทธิเลือกต้ังสมาชิกสภากรุงเทพมหานคร คือ

(1) วิกลจริตหรือจิตฟนเฟอนไมสมประกอบ (2) (ยกเลิก) (3) ภิกษุ สามเณร นักพรต หรือนักบวช (4) ตองคุมขังอยูโดยหมายของศาลหรือคําส่ังท่ีชอบดวยกฎหมาย (5) อยูในระหวางถูกเพิกถอนสิทธิเลือกต้ัง

ผูมีสิทธิสมัครรับเลือกต้ังเปนสมาชิกสภากรุงเทพมหานครตองมีคุณสมบัติดังตอไปน้ี

(1) มีสัญชาติไทยโดยการเกิด (2) อายุไมตํ่ากวายี่สิบหาปบริบูรณในวันเลือกต้ัง และ (3) มีช่ืออยูในทะเบียนบานในเขตกรุงเทพมหานครเปนเวลาติดตอกันจนถึงวัน

สมัครไมนอยกวาหน่ึงรอยแปดสิบวัน หรือมีช่ืออยูในทะเบียนบานในเขตกรุงเทพมหานคร และไดเสียภาษีตามกฎหมายวาดวยภาษีโรงเรือนและท่ีดิน หรือตามกฎหมายวาดวยภาษีบํารุงทองท่ีให

กรุงเทพมหานครในปท่ีสมัครหรือปกอนท่ีสมัครหน่ึงป บุคคลตองหามมิใหใชสิทธิสมัครรับเลือกต้ังเปนสมาชิกสภากรุงเทพมหานคร คือ

(1) ติดยาเสพติดใหโทษ (2) เปนบุคคลลมละลายซ่ึงศาลยังไมส่ังใหพนจากคดี (3) เปนบุคคลผูมีลักษณะตองหามมิใหใชสิทธิเลือกต้ัง (4) ตองคําพิพากษาใหจําคุก และถูกคุมขังอยูโดยหมายของศาล (5) เคยตองคําพิพากษาใหจําคุกต้ังแตสองปข้ึนไป โดยไดพนโทษมายังไมถึงหาป

ในวันเลือกต้ัง เวนแตความผิดอันไดกระทําโดยประมาท (7) เปนสมาชิกสภาซ่ึงมีหนาท่ีในทางนิติบัญญัติ สมาชิกสภาทองถิ่น คณะ

ผูบริหารทองถิ่น หรือผูบริหารทองถิ่น (8) เปนผูสมัครรับเลือกต้ังเปนสมาชิกสภาซ่ึงมีหนาท่ีในทางนิติบัญญัติ สมาชิก

สภาทองถิ่น คณะผูบริหารทองถิ่น หรือผูบริหารทองถิ่น (9) เปนขาราชการซึ่งมีตําแหนงหรือเงินเดือนประจํา

Page 11: document

~ 11 ~

แนวขอสอบพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร

พ.ศ. 2528 และแกไขเพิ่มเติม

1. พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร ฉบับปจจุบันท่ีใชเปนฉบับ พ.ศ.ใด ก. พ.ศ. 2528 ข. พ.ศ. 2536 ค. พ.ศ.2539 ง. พ.ศ.2542 2. พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.2528 แกไขเพิ่มเติมฉบับใด พ.ศ.ใด ก. (ฉบับท่ี 5) พ.ศ. 2550 ข. (ฉบับท่ี 4) พ.ศ. 2549 ค. (ฉบับท่ี 3) พ.ศ. 2546 ง. (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2542 3. พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.2528 ทรงตราขึ้นตามคําแนะนําและยินยอมของผูใด ก. รัฐมนตรี ข. วุฒิสภา ค. ประธานศาลฎีกา ง. รัฐสภา 4. ขอใดกลาวถูกตองเกี่ยวกับผูมีสิทธิเลือกต้ัง ก. ตองมีสัญชาติไทย หากเปนผูมีสัญชาติไทยโดยการแปลงสัญชาติตองไดสัญชาติไทยมาแลวไมนอยกวาหาป ข. มีอายุไมตํ่ากวาสิบแปดปบริบูรณในวันท่ี 1 มกราคม ของปท่ีมีการเลือกต้ัง ค. มีช่ืออยูในทะเบียนบานในเขตเลือกต้ังเปนเวลาติดตอกันจนถึงวันเลือกต้ังไมนอยกวาเกาสิบวัน ง. ถูกทุกขอ 5. บุคคลใดเปนเปนบุคคลตองหามมิใหใชสิทธิเลือกต้ังสมาชิกสภากรุงเทพมหานคร ก. วิกลจริตและฟนเฟอน ข. ภิกษุ สามเณร ค. ตองคุมขังโดยหมายศาล ง. ถูกทุกขอ 6. อายุของสภากรุงเทพมหานคร มีกําหนดวาระคราวละกี่ป ก. 2 ป ข. 3 ป ค. 4 ป ง. 5 ป

Page 12: document

~ 12 ~

7. การเลือกประชุมสมาชิกสภากรุงเทพมหานครอันเปนการเลือกต้ังท่ัวไป ใหผูใดทําการเรียกประชุมสภากรุงเทพมหานครในการประชุมสภาคร้ังแรก ก. ผูวาราชการจังหวัด ข. ปลัดกรุงเทพมหานคร ค. รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย ง. นายกรัฐมนตรี 8. ในหน่ึงปตองกําหนดใหมีสมัยประชุมสามัญของสภากรุงเทพมหานครอยางไร ก. ไมนอยกวาหน่ึงสมัย แตไมเกินสองสมัย ข. ไมนอยกวาสองสมัย แตไมเกินสามสมัย ค. ไมนอยกวาสองสมัย แตไมเกินส่ีสมัย ง. ไมนอยกวาสามสมัย แตไมเกินหาสมัย 9. ในการประชุมสามัญของสภากรุงเทพมหานครสมัยหน่ึงๆ มีกําหนดเวลากี่วัน ก. เจ็ดวัน ข. สิบหาวัน ค. สามสิบวัน ง. หกสิบวัน

10. การขอใหเรียกประชุมสภากรุงเทพมหานครเปนการประชุมสมัยวิสามัญได ตองมใสมาชิกสภากรุงเทพมหานครจํานวนไมนอยกวาเทาใด ก. ไมนอยกวาหน่ึงในสาม ข. ไมนอยกวาสองในสาม ค. ไมนอยกวาหน่ึงในสอง ง. ไมนอยกวาหน่ึงในส่ี 11.สมัยประชุมวิสามัญ มีกําหนดระยะเวลากี่วัน ก. เจ็ดวัน ข. สิบหาวัน ค. สามสิบวัน ง. ส่ีสิบหาวัน 12. การประชุมของสภากรุงเทพมหานครเปนการประชุมเปดเผย หากรองขอใหประชุมลับ ตองมีเสียงของสมาชิกสภากรุงเทพมหานคร จํานวนไมนอยกวาเทาใด ก. ไมนอยกวาหน่ึงในสอง ข. ไมนอยกวาหน่ึงในสาม ค. ไมนอยกวาหน่ึงในส่ี ง. ไมนอยกวาสองในสาม

Page 13: document

~ 13 ~

13. ในการตั้งกระทูถามผูวาราชการกรุงเทพมหานคร อันเกี่ยวกับงานในหนาท่ีของกรุงเทพ มหานคร ผูวาราชการกรุงเทพมหานครยอมมีสิทธิไมตอบเม่ือเห็นวาเร่ืองดังกลาวไมควรเปดเผย ดวยสาเหตุใด ก. ประโยชนสําคัญของกรุงเทพมหานคร ข. ความม่ันคงของกรุงเทพมหานคร ค. รายรับ-รายจายของกรุงเทพมหานคร ง. ข้ึนอยูกับวินิจฉัยของผูวาราชการกรุงเทพมหานคร 14. การขอเขาช่ือเสนอญัตติขอใหเปดอภิปรายท่ัวไป เพ่ือใหผูวาราชการกรุงเทพมหานครแถลงขอเท็จจริงหรือความคิดเห็นเกี่ยวกับการบริหารราชการกรุงเทพมหานครนั้น สมาชิกสภาจะตองมีคะแนนเสียงเทาไร ก. จํานวนไมนอยกวากึ่งหน่ึง ข. จํานวนไมนอยกวาหน่ึงในสาม ค. จํานวนไมนอยกวาสองในสาม ง. จํานวนไมนอยกวาสองในหา 15.ผูวาราชการกรุงเทพมหานครมีวาระอยูในตําแหนงคราวละกี่ป ก. สองป ข. สามป ค. ส่ีป ง. หาป 16. เม่ือผูวาราชการพนจากตําแหนงตามวาระ จะตองจัดใหมีการเลือกต้ังข้ึนใหม ภายในระยะเวลากี่วัน ก. ภายในสามสิบวัน ข. ภายในสี่สิบหาวัน ค. ภายในหกสิบวัน ง. ภายในเกาสิบวัน 17. รองผูวาราชการกรุงเทพมหานคร สามารถมีไดจํานวนไมเกินกวากี่คน ก. ไมเกินสองคน ข. ไมเกินสามคน ค. ไมเกินส่ีคน ง. ไมเกินหาคน 18. สมาชิกท่ีมาจากการเลือกต้ังสภาเขต มีจํานวนอยางนอยละเขตละกี่คน ก. สามคน ข. หาคน ค. เจ็ดคน ง. เกาคน

Page 14: document

~ 14 ~

19.ในกรณีท่ีไมมีผูดํารงตําแหนงปลัดกรุงเทพมหานคร ใหรองปลัดกรุงเทพมหานครเปนผูรักษาราชการแทน หากมีหลายคนใหดําเนินการอยางไร ก. ใหรองปลัดกรุงเทพมหานครลําดับท่ีหน่ึงรักษาราชการแทน ข. ใหรองปลัดกรุงเทพมหานครที่อาวุโสท่ีสุดตามระเบียบแบบแผนเปนผูรักษาราชการแทน ค. มติของที่ประชุมสภาออกเสียงใหรักษาราชการแทน ง. แลวแตกรณี 20.ในกรณีท่ีรองปลัดกรุงเทพมหานครมีแตไมอาจปฏิบัติราชการได ใหผูใดแตงต้ังผูอํานวยการสํานักหรือหัวหนาสวนราชการ เปนผูรักษาราชการแทน ก. ผูวาราชการกรุงเทพมหานคร ข. ปลัดกรุงเทพมหานคร ค. นายกรัฐมนตรี ง. สํานักงาน ก.พ.

21.ขอใดเปนอํานาจหนาท่ีของกรุงเทพมหานคร ก. จัดใหมีและบํารุงรักษาทางบก ทางน้ํา และทางระบายนํ้า ข. การปองกันและบรรเทาสาธารณภัย ค. การผังเมือง ง. ถูกทุกขอ

22. กรุงเทพมหานครอาจทํากิจการรวมกับบุคคลอื่นโดยกอต้ังบริษัทหรือถือหุนในบริษัทไดโดยกรุงเทพมหานครตองถือหุนเปนมูลคาเกินกวารอยละเทาใด ก. รอยละสามสิบ ข. รอยละส่ีสิบ ค. รอยละหาสิบ ง. รอยละหกสิบ

23. ในการที่กรุงเทพมหานครอาจทํากิจการรวมกับบุคคลอื่นน้ันจะตองไดรับความเห็นชอบจากผูใดกอน ก. มติเกินกวากึ่งหน่ึงของสมาชิกสภากรุงเทพมหานครทั้งหมด ข. รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย ค. นายกรัฐมนตรี ง. ถูกเฉพาะขอ ก. และ ขอ ข.

24. ในการจัดต้ัง สหการ น้ันจะกระทําไดโดยตราเปนกฎหมายใด ก. พระราชกฤษฎีกา ข. พระราชกําหนด ค. พระราชบัญญัติ ง. ขอบัญญัติ

Page 15: document

~ 15 ~

ระเบียบกรุงเทพมหานครวาดวยวิธีปฏิบัติงานสารบรรณ พ.ศ.2546 และแกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2551

โดยท่ีเปนการสมควรปรับปรุงวิธีปฏิบัติงานสารบรรณของกรุงเทพมหานครใหเหมาะสมยิ่งข้ึน อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 49 แหงพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.2528 ผูวาราชการกรุงเทพมหานครจึงกําหนดระเบียบข้ึนไว ดังตอไปนี้ ขอ 1 ระเบียบน้ีเรียกวา “ระเบียบกรุงเทพมหานครวาดวยวิธีฏิบัติงานสารบรรณ พ.ศ.

2546” ขอ 2 ระเบียบน้ีใหใชบังคับต้ังแตวันท่ี 1 มกราคม 2547 เปนตนไป ขอ 3 ใหยกเลิก 3 .1 ระเบียบกรุ ง เทพมหานครวาดวย วิธีปฏิบั ติ เกี่ ยวกับงานสารบรรณกรุงเทพมหานคร พ.ศ.2528 3.2 ระเบียบกรุ ง เทพมหานครวาดวย วิธีปฏิบั ติ เกี่ ยวกับงานสารบรรณกรุงเทพมหานคร (ฉบับท่ี 2) พ.ศ.2529 3 .3 ระเบียบกรุ ง เทพมหานครวาดวย วิธีปฏิบั ติ เกี่ ยวกับงานสารบรรณกรุงเทพมหานคร (ฉบับท่ี 3) พ.ศ. 2529 3 .4 ระเบียบกรุ ง เทพมหานครวาดวย วิธีปฏิบั ติ เกี่ ยวกับงานสารบรรณกรุงเทพมหานคร (ฉบับท่ี 4) พ.ศ. 2533 3 .5 ระเบียบกรุ ง เทพมหานครวาดวย วิธีปฏิบั ติ เกี่ ยวกับงานสารบรรณกรุงเทพมหานคร (ฉบับท่ี 5) พ.ศ. 2529 บรรดาระเบียบ ขอบังคับ หรือคําส่ังอื่นใด ในสวนท่ีไดกําหนดไวแลวในระเบียบน้ี หรือซ่ึงขัดหรือแยงกับระเบียบน้ี ใหใชระเบียบน้ีแทน ขอ 4 ในระเบียบน้ี “หนวยงาน” หมายความวา หนวยงานตามมาตรา 60 แหงพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.2528 และใหความรวมถึงการพาณิชยของกรุงเทพมหานครดวย “สวนราชการ” หมายความวา สวนราชการตามประกาศกรุงเทพมหานครเรื่อง การแบงสวนราชการภายในหนวยงานและการกําหนดอํานาจหนา ท่ีของสวนราชการกรุงเทพมหานคร “สวนราชการเจาของหนังสือ” หมายความวา หนวยงานหรือสวนราชการที่เปนเจาของหนังสือน้ัน

Page 16: document

~ 16 ~

“สวนราชการเจาของเร่ือง” หมายความวา หนวยงานหรือสวนราชการที่ออกหนังสือน้ัน ขอ 5 วิธีปฏิบัติงานสารบรรณของกรุงเทพมหานคร ใหถือปฏิบัติตามระเบียบน้ีและระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยงานสารบรรณ คําอธิบายซ่ึงกําหนดไวทายระเบียบ ใหถือวาเปนสวนประกอบท่ีใชในงานสารบรรณ และใหใชเปนแนวทางในการปฏิบัติ ขอ 6 ใหปลัดกรุงเทพมหานครรักษาการตามระเบียบน้ี และใหมีอํานาจตีความและวินิจฉัยปญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติตามระเบียบน้ี รวมทั้งการแกไขเพ่ิมเติมภาคผนวกและจัดทําคําอธิบายกับใหมีหนาท่ีดําเนินการฝกอบรมเกี่ยวกับงานสารบรรณ การตีความ การวินิจฉัยปญหา และการแกไขเพิ่มเติมภาคผนวกและคําอธิบายตามวรรคหน่ึง ปลัดกรุงเทพมหานครจะขอความเห็นจากคณะกรรมการวาดวยงานสารบรรณกรุงเทพมหา นคร เพ่ือประกอบการพิจารณาก็ได

หมวด 1 คณะกรรมการวาดวยงานสารบรรณกรุงเทพมหานคร

ขอ 7 ใหมีคณะกรรมการวาดวยงานสารบรรณกรุงเทพมหานคร ซ่ึงผูวาราชการกรุงเทพมหานครแตงต้ังและใหมีอํานาจหนาท่ีดังตอไปนี้ 7 .1 เสนอแนะการแก ไขป รับปรุงและพัฒนาระเบียบ น้ีตอผู ว า ราชการกรุงเทพมหานคร 7.2 เสนอความเห็นในการตีความ การวินิจฉัยปญหา การแกไขเพิ่มเติมภาคผนวกและคําอธิบายตามที่กําหนดไวในขอ 6 7.3 เสนอแนะการจัดวางระบบการเก็บรักษาหนังสือสําคัญดวยระบบตางๆ ตอปลัดกรุงเทพมหานคร เชน ระบบไมโครฟลม เปนตน 7.4 ใหความเห็นชอบในการเก็บรักษาหนังสือราชการท่ีเปนเอกสารสําคัญไวในระบบตามขอ 7.3 7 .5 พิจารณาดําเ นินการตามที่ผู ว าราชการกรุงเทพมหานคร หรือปลัดกรุงเทพมหานครมอบหมาย

หมวด 2 เลขที่หนังสือออก รหัสตัวพยัญชนะ และอักษรยอ

ขอ 8 เลขที่หนังสือออก ประกอบดวยรหัสตัวพยัญชนะแลวตอดวยเลขประจําของสวนราชการเจาของเรื่อง

Page 17: document

~ 17 ~

แนวขอสอบระเบียบกรุงเทพมหานคร วาดวยวิธีปฏิบัติงานสารบรรณ พ.ศ. 2546 และแกไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 3 พ.ศ. 2551

1. ระเบียบกรุงเทพมหานคร วาดวยวิธีปฏิบัติงานสารบรรณ ฉบับท่ีใชอยูเปนฉบับ พ.ศ.ใด ก. พ.ศ. 2543 ข. พ.ศ. 2544 ค. พ.ศ. 2545 ง. พ.ศ. 2546 2.ระเบียบกรุงเทพมหานคร วาดวยวิธีปฏิบัติงานสารบรรณ ฉบับแกไขปรับปรุงฉบับปจจุบัน เปนฉบับท่ีเทาใด ก. พ.ศ. 2549 ข. พ.ศ.2550 ค. พ.ศ. 2551 ง. พ.ศ. 2552 3.ระเบียบกรุงเทพมหานคร วาดวยวิธีปฏิบัติงานสารบรรณ ฉบับ พ.ศ. 2546 มีผลเร่ิมบังคับใชต้ังแตเม่ือใด ก. 1 มกราคม พ.ศ. 2546 ข. 15 เมษายน พ.ศ. 2546 ค. 1 มกราคม พ.ศ. 2547 ง. 15 มกราคม พ.ศ. 2547

4.“หนวยงาน” หมายถึงขอใดในระเบียบน้ี ก. หนวยงานตาม ม.60 แหง พรบ.ระเบียบบริหารราชการกรุงเทพ พ.ศ. 2528 ข. การพาณิชยของกรุงเทพมหานคร ค. กระทรวง ทบวง กรม ง. ถูกเฉพาะขอ ก. และขอ ข.

5. สวนราชการตามประกาศกรุงเทพมหานครเรื่อง การแบงสวนราชการภายในหนวยงานและการกําหนดอํานาจหนาท่ีของสวนราชการกรุงเทพมหานคร หมายความถึงขอใด ก. หนวยงาน ข. สวนราชการ ค. สวนราชการเจาของหนังสือ ง. สวนราชการเจาของเรื่อง 6. หนวยงานหรือสวนราชการที่เปนเจาของหนังสือน้ัน หมายความถึงขอใด ก. หนวยงาน ข. สวนราชการ ค. สวนราชการเจาของหนังสือ ง. สวนราชการเจาของเรื่อง

Page 18: document

~ 18 ~

7. “สวนราชการเจาของเรื่อง” หมายถึงหนวยงานใด ก. สวนราชการตามประกาศกรุงเทพมหานคร ข. หนวยงานหรือสวนราชการที่เปนเจาของหนังสือน้ัน ค. หนวยงานหรือสวนราชการที่ออกหนังสือน้ัน ง. ถูกทุกขอ 8.วิธีปฏิบัติงานสารบรรณของกรุงเทพมหานคร ใหถือปฏิบัติตามระเบียบใด ก. ระเบียบกรุงเทพมหานครวาดวยวิธีปฏิบัติงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 ข. ระเบียบกรุงเทพมหานครวาดวยวิธีปฏิบัติงานสารบรรณ พ.ศ. 2527 ค. ระเบียบกรุงเทพมหานครวาดวยวิธีปฏิบัติงานสารบรรณ พ.ศ. 2535 ง. ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยงานสารบรรณ 9.ผูรักษาการ ตามระเบียบกรุงเทพมหานครวาดวยงานสารบรรณ คือใคร ก. ปลัดกรุงเทพมหานคร ข. ผูวาราชการจังหวัด ค. หัวหนาหนวยสารบรรณกลาง ง. ประธานสภากรุงเทพมหานคร 10.อํานาจหนาท่ีของผูรักษาการตามระเบียบฉบับน้ีคือขอใด ก. ตีความและวินิจฉัยปญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติตามระเบียบน้ี ข. การแกไขเพิ่มเติมภาคผนวก ค. ดําเนินการฝกอบรมเกี่ยวกับงานสารบรรณ ง. ถูกทุกขอ 11.ผูแตงต้ังคณะกรรมการวาดวยงานสารบรรณกรุงเทพมหานครคือใคร ก. ปลัดกรุงเทพมหานคร ข. ผูวาราชการกรุงเทพมหานคร ค. หัวหนาหนวยสารบรรณกลาง ง. ประธานสภากรุงเทพมหานคร 12. “เลขที่หนังสือออก” ประกอบดวยรหัสตัวพยัญชนะแลวตอดวยเลขใด ก. เลขประจําของสวนราชการเจาของเรื่อง ข.เลขที่สงหนังสือ ค. เลขประจําหนวยงาน ง. ลําดับของประกาศกรุงเทพมหานคร

Page 19: document

~ 19 ~

13. ขอใดกลาวไมถูกตองเกี่ยวกับเลขประจําของสวนราชการ ก. เลขประจําของสวนราชการเจาของเรื่องประกอบดวยตัวเลขส่ีตัว ข. ตัวเลขสองตัวแรกใชสําหรับหนวยงาน ค. ตัวเลขสองตัวหลัง หมายถึง สวนราชการภายในหนวยงานระดับไมตํ่ากวากองหรือฝายแลวแตกรณี ง. ไมมีขอใดกลาวไมถูกตอง 14.เลขสองตัวหลังของเลขประจําของสวนราชการเจาของเรื่อง หมายถึงสวนราชการภายในหนวยงานระดับใด ก. ระดับไมตํ่ากวากอง หรือฝาย ข. ระดับไมตํ่ากวากระทรวง ค. ระดับไมตํ่ากวาทบวง ง. ระดับไมตํ่ากวาหนวยงาน 15.อักษรยอสภากรุงเทพมหานคร คือขอใด ก. สก. กทม. ข. ส.กทม. ค. สภา.กทม. ง. สก. 16.ขอใดเปนหนังสือราชการที่กําหนดใหทําเปนหนังสือภายใน ก. หนังสือติดตอภายในระหวางหนวยงานหรือสวนราชการในสังกัดกรุงเทพมหานคร ข. หนังสือท่ีกรุงเทพมหานครมีไปถึงรัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย ค. หนังสือท่ีผูวาราชการกรุงเทพหรือปลัดกรุงเทพมหานครมีไปถึงหนวยงานในสังกัด ง. ถูกทุกขอ 17. ช่ือสวนราชการเจาของหนังสือของหนวยงาน ใหตอทายดวยอะไรกอน ก. ช่ือหนวยงาน ข. วงเล็บช่ือสวนราชการ ค. เลขหมายโทรศัพท ง. เลขหมายโทรสารของสวนราชการ 18. ช่ือสวนราชการเจาของหนังสือของราชการ ใหตอทายดวยอะไรกอน ก. ช่ือสวนราชการ ข. วงเล็บช่ือสวน ฝาย กลุมงาน ค. เลขหมายโทรศัพท ง. เลขหมายโทรสารของสวนราชการ

Page 20: document

~ 20 ~

19.หนังสือท่ีผูวาราชการกรุงเทพมหานครหรือปลัดกรุงเทพมหานครมีไปถึงรัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย ช่ือสวนราชการเจาของหนังสือใหใชวาอะไร ก. กท. ตอดวยวงเล็บช่ือหนวยงาน เลขหมายโทรศัพท และเลขหมายโทรสาร ข. มท. ตอดวยวงเล็บช่ือหนวยงาน เลขหมายโทรศัพท และเลขหมายโทรสาร ค. กรุงเทพมหานคร ตอดวยวงเล็บช่ือหนวยงาน เลขหมายโทรศัพท และเลขหมายโทรสารของสวนราชการนั้น ง. กองกลาง ตอดวยวงเล็บช่ือหนวยงาน เลขหมายโทรศัพท และเลขหมายโทรสาร 20. หนังสือท่ีผูวาราชการกรุงเทพมหานคร มีไปถึงประธานสภากรุงเทพมหานครเปนหนังสือประเภทใด ก. หนังสือภายใน ข. หนังสือภายนอก ค. หนังสือดวน ง. หนังสือลับ 21. หนังสือของกรุงเทพมหานครที่รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทยเปนผูลงนาม ท่ีหนังสือออกใหใชรหัสใด ก. มท 0001/… ข. มท 0010/… ค. มท 0100/… ง. มท 1000/… ตอบ ค. มท 0100/… 22.หนังสือของกรุงเทพมหานครท่ีรัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทยเปนผูลงนามที่หนังสือออกน้ัน เลขทะเบียนหนังสือหนังสือสงใหออกเลขที่ใด ก. สํานักงานกรุงเทพมหานคร

ข. กรุงเทพมหานคร ค. กองกลาง สํานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย ง. หนวยสารบรรณกลาง 23.หนวยสารบรรณกลางของกรุงเทพมหานครและหนวยสารบรรณกลางของหนวยงาน ผูใดเปนผูกําหนดโดยทําเปนประกาศกรุงเทพมหานคร ก. ผูวาราชการจังหวัด ข. ปลัดกรุงเทพมหานคร ค. หัวหนาหนวยสารบรรณกลาง ง. ประธานสภากรุงเทพมหานคร

Page 21: document

~ 21 ~

สรุประเบียบงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 และแกไขเพ่ิมเติม พ.ศ. 2548

ความหมาย “งานสารบรรณ” หมายความวา งานที่เกี่ยวกับการบริหารงานเอกสาร เริ่มตั้งแตการจัดทําการรับ การสง การเก็บรักษา การยืม จนถึงการทําลาย

“หนังสือ” หมายความวา หนังสือราชการ “สวนราชการ” หมายความวา กระทรวง ทบวง กรม สํานักงาน หรือหนวยงานอื่น

ใดของรัฐทั้งในราชการบริหารสวนกลาง ราชการบริหารสวนภูมิภาค ราชการบริหารสวนทองถิ่น หรือในตางประเทศและใหหมายความรวมถึงคณะกรรมการดวย

“คณะกรรมการ” หมายความวา คณะบุคคลที่ไดรับมอบหมายจากทางราชการใหปฏิบัติงานในเรื่องใด ๆ และใหหมายความรวมถึงคณะอนุกรรมการ คณะทํางาน หรือคณะบุคคลอื่นที่ปฏิบัติงานในลักษณะเดียวกัน

ปลัดสํานักนายกรัฐมนตรีรักษาการตามระเบียบนี้

ชนิดของหนังสือ หนังสือราชการ คือ เอกสารที่เปนหลักฐานในราชการ ไดแก

1. หนังสือที่มีไปมาระหวางสวนราชการ 2. หนังสือที่สวนราชการมีไปถึงหนวยงานอื่นใดซึ่งมิใชสวนราชการ หรือที่มี

ไปถึงบุคคลภายนอก 3. หนังสือที่หนวยงานอื่นใดซึ่งมิใชสวนราชการ หรือที่บุคคลภายนอกมีมาถึง

สวนราชการ 4. เอกสารที่ทางราชการจัดทําข้ึนเพื่อเปนหลักฐานในราชการ 5. เอกสารที่ทางราชการจัดทําข้ึนตามกฎหมาย ระเบียบ หรือขอบังคับ

หนังสือ มี 6 ชนิด คือ 1. หนังสือภายนอก 2. หนังสือภายใน 3. หนังสือประทับตรา

Page 22: document

~ 22 ~

4. หนังสือส่ังการ 5. หนังสือประชาสัมพันธ 6. หนังสือที่เจาหนาที่ทําข้ึน หรือรับไวเปนหลักฐานในราชการ

หนังสือภายนอก หนังสือภายนอก คือ หนังสือติดตอราชการท่ีเปนแบบพิธีโดยใชกระดาษตราครุฑ

เปนหนังสือติดตอระหวางสวนราชการ หรือสวนราชการมีถึงหนวยงานอื่นใดซึ่งมิใชสวนราชการ หรือที่มีถึงบุคคลภายนอก

หนังสือภายใน หนังสือภายใน คือ หนังสือติดตอราชการที่เปนแบบพิธีนอยกวาหนังสือภายนอก

เปนหนังสือติดตอภายในกระทรวง ทบวง กรม หรือจังหวัดเดียวกัน ใชกระดาษบันทึกขอความ

หนังสือประทับตรา หนังสือประทับตรา คือ หนังสือที่ใชประทับตราแทนการลงชื่อของหัวหนาสวน

ราชการระดับกรมข้ึนไป โดยใหหัวหนาสวนราชการระดับกอง หรือผูที่ไดรับมอบหมายจากหัวหนาสวนราชการระดับกรมข้ึนไป เปนผูรับผิดชอบลงชื่อยอกํากับตรา หนังสือประทับตราใหใชไดทั้งระหวางสวนราชการกับสวนราชการ และระหวางสวนราชการกับบุคคลภายนอก เฉพาะกรณีที่ไมใชเรื่องสําคัญ ไดแก

1. การขอรายละเอียดเพิ่มเติม 2. การสงสําเนาหนังสือ ส่ิงของ เอกสาร หรือบรรณสาร 3. การตอบรับทราบท่ีไมเกี่ยวกับราชการสําคัญ หรือการเงิน 4. การแจงผลงานที่ไดดําเนินการไปแลวใหสวนราชการที่เกี่ยวของทราบ 5. การเตือนเรื่องที่คาง 6. เรื่องซึ่งหัวหนาสวนราชการระดับกรมข้ึนไปกําหนดโดยทําเปนคําส่ัง ใหใชหนังสือ

ประทับตรา หนังสือประทับตรา ใชกระดาษตราครุฑ

Page 23: document

~ 23 ~

แนวขอสอบพระราชบัญญัติภาษีบํารุงทองที่ พ.ศ. 2508 แกไขเพ่ิมเติมถึง (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2543

.4. ผูแตงตั้งคณะกรรมการใหมีหนาที่พิจารณาการตีราคาปานกลาง คือผูใด ก. รัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลัง ข. รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย ค. ผูวาราชการจังหวัด ง. ปลัดอําเภอ ตอบ ค. ผูวาราชการจังหวัด

ใหผูวาราชการจังหวัดแตงตั้งคณะกรรมการขึ้นคณะหนึ่งใหมีหนาท่ีพิจารณาการตีราคาปานกลาง 5. คณะกรรมการพิจารณาการตีราคาปานกลาง ในเขตองคการบริหารสวนจังหวัด ประกอบดวยผูใด

ก. ปลัดจังหวัด ข. เจาพนักงานท่ีดินจังหวัด ค. นายอําเภอทองที่ที่ไดรับมอบหมาย ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ ในเขตองคการบริหารสวนจังหวัดประกอบดวย ปลัดจังหวัด เจาพนักงานที่ดินจังหวัด

นายอําเภอทองที่ ผูซึ่งนายกองคการบริหารสวนจังหวัดมอบหมายหนึ่งคน และผูทรงคุณวุฒิสองคนซึ่งไดรับเลือกจากสภาองคการบริหารสวนจังหวัด

6. คณะกรรมการพิจารณาตีราคาปานกลางของที่ดินทุกรอบระยะเวลากี่ป ก. หนึ่งป ข. สองป ค. สามป ง. ส่ีป

ตอบ ง. สี่ป ใหคณะกรรมการพิจารณาตีราคาปานกลางของที่ดินทุกรอบระยะเวลาสี่ป

7. ภายในเดือนใดของปที่จะครบรอบระยะเวลาสี่ป ใหคณะกรรมการยื่นรายงานการตีราคาปานกลางของที่ดิน ก. เดือนสิงหาคม ข. เดือนกันยายน ค. เดือนตุลาคม ง. เดือนพฤศจิกายน

ตอบ ค. เดือนตุลาคม

Page 24: document

~ 24 ~

8. ใหคณะกรรมการย่ืนรายงานการตีราคาปานกลางของที่ดินตอผูใด เมื่อครบรอบระยะเวลาสี่ป ก. ปลัดจังหวัด ข. เจาพนักงานท่ีดินจังหวัด

ค. ผูวาราชการจังหวัด ง. ปลัดอําเภอ ตอบ ค. ผูวาราชการจังหวัด 9. การประกาศราคาปานกลางที่ดินเมื่อครอบระยะเวลาส่ีป จะตองประกาศภายในระยะเวลาใดนับแตวันที่ไดรับรายงานจากคณะกรรมการ ก. เจ็ดวัน ข. สิบหาวัน ค. สามสิบวนั ง. ส่ีสิบหาวัน ตอบ ค. สามสิบวัน 10. การประกาศราคาปานกลางของที่ดินนั้น จะตองประกาศไวที่ใด ก. ณ ศาลากลางจังหวัด ข. ที่วาการอําเภอ ค. สํานักงานเทศบาล ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ

ภายในเดือนตุลาคมของปที่จะครบรอบระยะเวลาสี่ป ตามมาตรา 16 ใหคณะกรรมการย่ืนรายงานการตีราคาปานกลางของที่ดินตอผูวาราชการจังหวัดแสดงราคาปานกลางของที่ดินทุก ๆ หนวย และใหผูวาราชการจังหวัดประกาศราคาปานกลางของท่ีดินนั้นไว ณ ศาลากลางจังหวัด ที่วาการอําเภอ สํานักงานเทศบาล สํานักงานสุขาภิบาล และท่ีตําบลแหงทองที่นั้น ภายในสามสิบวันนับแตวันที่ไดรับรายงานจากคณะกรรมการ 11. ถาเจาของที่ดินไมเห็นพองดวยกับราคาปานกลางของที่ดิน เจาของที่ดินมีสิทธิอุทธรณการตีราคาปานกลางของที่ดินตอผูใด

ก. ปลัดจังหวัด ข. เจาพนักงานท่ีดินจังหวัด ค. ผูวาราชการจังหวัด ง. ปลัดอําเภอ ตอบ ค. ผูวาราชการจังหวัด

12. การย่ืนอุทธรณ ถาเจาของที่ดินไมเห็นพองดวยกับราคาปานกลางของที่ดิน เจาของที่ดินมีสิทธิอุทธรณภายในระยะเวลาใด ก. เจ็ดวัน ข. สิบหาวัน ค. สามสิบวัน ง. ส่ีสิบหาวัน

Page 25: document

~ 25 ~

แนวขอสอบพระราชบัญญัติภาษีปาย พ.ศ. 2510 แกไขเพ่ิมเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2534

3. เจาของปายมีหนาที่เสียภาษีปายโดยเสียภาษีอยางไรในปที่สอง ก. เปนรายงวดๆ ละ 1 เดือน ข. เปนรายงวดๆ ละ 3 เดือน ค. เปนรายงวดๆ ละ 6 เดือน ง. เปนรายป

ตอบ ง. เปนรายป ใหเจาของปายมีหนาที่เสียภาษีปายโดยเสียเปนรายป ยกเวนปายที่เริ่มติดตั้งหรือ

แสดงในปแรกใหเสียภาษีปายตั้งแตวันเริ่มติดตั้งหรือแสดงจนถึงวันสิ้นปและใหคิดภาษีปายเปนรายงวด งวดละสามเดือนของป โดยเริ่มเสียภาษีปายตั้งแตงวดที่ติดตั้งปายจนถึงงวดสุดทายของป 5. การย่ืนแบบแสดงรายการภาษีปาย ใหเจาของปายซึ่งจะตองเสียภาษีปาย ภายในเดือนใดของป ก. มกราคม ข. มีนาคม ค. เมษายน ง. มิถุนายน

ตอบ ข. มีนาคม ใหเจาของปายซึ่งจะตองเสียภาษีปาย ย่ืนแบบแสดงรายการภาษีปายตามแบบและ

วิธีการท่ีกระทรวงมหาดไทยกําหนด ภายในเดือนมีนาคมของป 6. ในกรณีที่มีการโอนปาย ใหผูรับโอนแจงการรับโอนเปนหนังสือตอพนักงานเจาหนาท่ี ภายในกี่วันนับแตวันรับโอน ก. เจ็ดวัน ข. สิบหาวัน ค. สามสิบวัน ง. ส่ีสิบหาวัน

ตอบ ค. สามสิบวัน ในกรณีที่มีการโอนปาย ใหผูรับโอนแจงการรับโอนเปนหนังสือตอพนักงานเจาหนาท่ี

ภายในสามสิบวันนับแตวันรับโอน

Page 26: document

~ 26 ~

7. ถาภาษีปายที่ตองชําระมีจํานวนตั้งแตเทาใดข้ึนไป ผูมีหนาที่เสียภาษีปายจะขอผอนชําระเปนสามงวด งวดละเทา ๆ กันก็ได ก. หนึ่งพันบาท ข. สองพันบาท ค. สามพันบาท ง. หกพันบาท ตอบ ค. สามพันบาท

ถาภาษีปายที่ตองชําระมีจํานวนตั้งแตสามพันบาทข้ึนไป ผูมีหนาที่เสียภาษีปายจะขอผอนชําระเปนสามงวด งวดละเทา ๆ กันก็ได โดยแจงความจํานงเปนหนังสือใหพนักงานเจาหนาที่ทราบกอนครบกําหนดเวลาชําระภาษี 8. ผูใดแจงขอความอันเปนเท็จ เพื่อหลีกเล่ียงการเสียภาษีปาย ตองระวางโทษอยางไร

ก. จําคุกไมเกินหนึ่งป หรือปรับตั้งแตหนึ่งพันบาทถึงหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ ข. จําคุกไมเกินหนึ่งป หรือปรับตั้งแตสองพันบาทถึงสองหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ ค. จําคุกไมเกินหนึ่งป หรือปรับตั้งแตหาพันบาทถึงหาหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ ง. จําคุกไมเกินหนึ่งป หรือปรับตั้งแตหกพันบาทถึงหกหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ ตอบ ค. จําคุกไมเกินหนึ่งป หรือปรับตั้งแตหาพันบาทถึงหาหม่ืนบาท หรือทั้ง

จําทั้งปรับ 9. ในเขตกรุงเทพมหานคร หากมีการกระทําผิดท่ีมีโทษปรับหรือจําคุก ใหผูใดเปนผูมีอํานาจเปรียบเทียบปรับ ก. ผูวาราชการจังหวัด ข. กรมบัญชีกลาง ค. สํานักงบประมาณ ง. กระทรวงการคลัง ตอบ ก. ผูวาราชการจังหวัด ในเขตกรุงเทพมหานคร ใหผูวาราชการกรุงเทพมหานครหรือผูซึ่งผูวาราชการกรุงเทพมหานครมอบหมาย เปนผูมีอํานาจเปรียบเทียบ

ในเขตราชการสวนทองถิ่นอื่นยกเวนเขตกรุงเทพมหานคร ใหผูบริหารทองถิ่นหรือผูซึ่งผูบริหารทองถิ่นมอบหมายของแตละเขต เปนผูมีอํานาจเปรียบเทียบ 10. เมื่อผูตองหาไดชําระเงินคาปรับตามที่เปรียบเทียบภายในระยะเวลาใดนับแตวันที่มีการเปรียบเทียบ ใหถือวาคดีเลิกกันตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ก. เจ็ดวัน ข. สิบหาวัน

Page 27: document

~ 27 ~

ส่ังซื้อไดท่ี www.SheetRam.com

โทรศัพท : 02-7230950,02-5141422,

085-9679080,085-9993722,085-9993740

แจงการโอนเงิน พรอมช่ือ และอเีมลลที ่

LINE ID : sheetram โทรศัพท : 02-7230950,02-5141422,085-9679080,

085-9993722,085-9993740