16
คณะกรรมการนักศึกษาเนติบัณฑิต สมัย58 สรุปวิชากฎหมายหนี1. ความหมายและลักษณะแหงหนีมาตรา 194 หนีคือ ความผูกพันในทางกฎหมายระหวางบุคคลสองฝาย โดยฝายหนึ่งเรียกวาเจาหนีและอีกฝายหนึ่งเรียกวาลูกหนีมีสิทธิเรียกรอง มูลแหงหนีหรือบอเกิดแหงหนีมีหนาที่ปฏิบัติการชําระหนี1.สัญญา (วัตถุแหงหนี) 2. ละเมิด 1. การกระทําการ 3. จัดการงานนอกสั่ง 2. การงดเวนการกระทํา 4. ลาภมิควรได 3. การสงมอบ 5. บทบัญญัติกฎหมาย หนี้ในธรรมหรือหนี้ธรรมดา หมายถึง หนี้ที่เจาหนี้ไมอาจบังคับใหลูกหนี้ปฏิบัติการชําระหนี้ได แตถาลูกหนี้ไดชําระหนี้ใหแกเจาหนี้แลวก็ เรียกคืนไมได เชน หนี้ที่ขาดหลักฐานเปนหนังสือ หนี้ที่ขาดอายุความเปนตน 2. ทรัพยซึ่งเปนวัตถุแหงหนีแบงออกเปน 2 กรณี ไดแก ทรัพยสินอื่น และ เงินตรา 2.1 กรณีทรัพยสินอื่นตามมาตรา 195 ถาระบุไวแตเพียงประเภท แลวไมอาจทราบไดโดย (1) สภาพแหงนิติกรรม หรือ (2) เจตนาของคูกรณี วาพึงเปนชนิด (คุณภาพของทรัพย)ใด ลูกหนี้จะตองสงมอบทรัพย ชนิดปานกลาง ขอสังเกต กรณีนี้ไมใชเรื่องเจาหนีหรือลูกหนี้เปนผูเลือก ทรัพยทั่วไปที่กลายเปนทรัพยเฉพาะสิ่งมี 2 วิธี ตามมาตรา 195 วรรคสอง คือ (1) ถาลูกหนี้ไดกระทําการอันตนจะพึงตองทํา เพื่อสงมอบทรัพยสิ่ง นั้นทุกประการแลว (2) ลูกหนี้ไดเลือกกําหนดทรัพยที่จะสงมอบ แลวดวยความยินยอมของเจาหนีขอสังเกต ผลของการเปน ทรัพยเฉพาะสิ่ง จะเกี่ยวกับปญหาการชําระหนี้เปนพนวิสัย เพราะหากยังไมเปนทรัพยเฉพาะสิ่ง จะอางวาการ ชําระหนี้เปนพนวิสัยไมได(.2046/2531) 2.2 กรณีเงินตรา มาตรา 196,197 (1) ถาหนี้เงินไดแสดงไวเปนเงินตางประเทศลูกหนี้จะสงใชเปนเงินไทยก็ได แตตองคิดอัตราแลกเปลี่ยนเงิน สถานทีและใน เวลาที่ใชเงิน(มาตรา196) การแสดงไว หมายถึง การกําหนดมูลคาของเงินที่จะตองสงใชกันแตมิไดระบุกันชัดวาตองสงมอบเงินตราสกุลใด อัตราแลกเปลี่ยนหมายถึง อัตราแลกเปลี่ยนกันไดโดยเสรีในเวลาที่ใชเงินจริงตามปกติคิดอัตราขายของธนาคารพาณิชยใน กรุงเทพมหานคร เพื่อความสะดวกในการบังคับคดี ใหคิดตามอัตราในวันที่อานคําพิพากษาของศาล(.3529/2542,.1909/2541,.4609/2540 ,.3529/2542) (2) ถาหนี้เงินซึ่งเงินตราชนิดนั้น ยกเลิกไมใชกันแลว ในเวลาที่จะตองสงเงิน ใหถือเสมือนหนึ่งวามิไดระบุไวใหใช เปนเงินตรา ชนิดนั้น (มาตรา147) ดังนั้นลูกหนี้ยังตองสงใชเงินชนิดที่ยังใชอยูตอไป เพราะไมเปนเหตุระงับแหงหนีเจาหนีลูกหนีหน

หนี้

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: หนี้

คณะกรรมการนักศึกษาเนติบัณฑิต สมัย58 สรุปวิชากฎหมายหนี ้

1. ความหมายและลักษณะแหงหนี้ มาตรา 194 หนี้ คือ ความผูกพันในทางกฎหมายระหวางบุคคลสองฝาย โดยฝายหนึ่งเรียกวาเจาหนี้ และอีกฝายหนึ่งเรียกวาลูกหนี้ มีสิทธิเรียกรอง มูลแหงหนี้ หรือบอเกิดแหงหนี้ มีหนาที่ปฏิบัติการชําระหนี้ 1.สัญญา (วัตถุแหงหนี้) 2. ละเมิด 1. การกระทําการ 3. จัดการงานนอกสั่ง 2. การงดเวนการกระทํา 4. ลาภมิควรได 3. การสงมอบ 5. บทบัญญัติกฎหมาย หนี้ในธรรมหรือหนี้ธรรมดา หมายถึง หนี้ที่เจาหนี้ไมอาจบังคับใหลูกหนี้ปฏิบัติการชําระหนี้ได แตถาลูกหนี้ไดชําระหนี้ใหแกเจาหนี้แลวก็เรียกคืนไมได เชน หนี้ที่ขาดหลักฐานเปนหนังสือ หนี้ที่ขาดอายุความเปนตน 2. ทรัพยซ่ึงเปนวัตถุแหงหนี้ แบงออกเปน 2 กรณี ไดแก ทรัพยสินอ่ืน และ เงินตรา 2.1 กรณีทรัพยสินอ่ืนตามมาตรา 195 ถาระบุไวแตเพียงประเภท แลวไมอาจทราบไดโดย

(1) สภาพแหงนิติกรรม หรือ (2) เจตนาของคูกรณี วาพึงเปนชนิด (คุณภาพของทรัพย)ใด ลูกหนี้จะตองสงมอบทรัพย ชนิดปานกลาง

ขอสังเกต กรณีนี้ไมใชเรื่องเจาหนี้ หรือลูกหนี้เปนผูเลือก ทรัพยทั่วไปที่กลายเปนทรัพยเฉพาะสิ่งมี 2 วิธี ตามมาตรา 195 วรรคสอง คือ (1) ถาลูกหนี้ไดกระทําการอันตนจะพึงตองทํา เพื่อสงมอบทรัพยสิ่ง นั้นทุกประการแลว (2) ลูกหนี้ไดเลือกกําหนดทรัพยที่จะสงมอบ แลวดวยความยินยอมของเจาหนี้

ขอสังเกต ผลของการเปน ทรัพยเฉพาะสิ่ง จะเกี่ยวกับปญหาการชําระหนี้เปนพนวิสัย เพราะหากยังไมเปนทรัพยเฉพาะสิ่ง จะอางวาการชําระหนี้เปนพนวิสัยไมได(ฏ.2046/2531) 2.2 กรณีเงินตรา มาตรา 196,197 (1) ถาหนี้เงินไดแสดงไวเปนเงินตางประเทศลูกหนี้จะสงใชเปนเงินไทยก็ได แตตองคิดอัตราแลกเปลี่ยนเงิน ณ สถานที่ และในเวลาที่ใชเงิน(มาตรา196) “การแสดงไว” หมายถึง การกําหนดมูลคาของเงินที่จะตองสงใชกันแตมิไดระบุกันชัดวาตองสงมอบเงินตราสกุลใด “อัตราแลกเปลี่ยน” หมายถึง อัตราแลกเปลี่ยนกันไดโดยเสรีในเวลาที่ใชเงินจริงตามปกติคิดอัตราขายของธนาคารพาณิชยในกรุงเทพมหานคร เพื่อความสะดวกในการบังคับคดี ใหคิดตามอัตราในวันที่อานคําพิพากษาของศาล(ฎ.3529/2542,ฎ.1909/2541,ฎ.4609/2540 ,ฎ.3529/2542) (2) ถาหนี้เงินซึ่งเงินตราชนิดนั้น ยกเลิกไมใชกันแลว ในเวลาที่จะตองสงเงิน ใหถือเสมือนหนึ่งวามิไดระบุไวใหใช เปนเงินตราชนิดนั้น (มาตรา147) ดังนั้นลูกหนี้ยังตองสงใชเงินชนิดที่ยังใชอยูตอไป เพราะไมเปนเหตุระงับแหงหนี้

เจาหนี ้ ลูกหนี ้หนี ้

Page 2: หนี้

3. วัตถุแหงหนี้ซ่ึงเลือกได มาตรา 198-202 3.1 วัตถุแหงหนี้ซึ่งเลือกได มีหลักเกณฑ ดังนี้ (1) หนี้นั้นมีการกระทําเพื่อชําระหนี้หลายอยาง

(2) ลูกหนี้ตองกระทําเพียงการใดการหนึ่งแตอยางเดียว ขอสังเกต 1. ไมใชบังคับกับกรณีที่ลูกหนี้ตองชําระหนี้แตเพียงอยางเดียว

2. ไมใชบังคับกับกรณีที่ลูกหนี้ตองชําระหนี้หลายอยางโดยชําระทุกอยาง 3. ไมใชบังคับกับกรณีที่ลูกหนี้ตองชําระหนี้ทีละอยางกอนหลังตามลําดับ ซึ่งสวนใหญเปนเรื่องหนี้ตามคําพิพากษา (ฎ.

752/2542**,ฏ.7827/2538) 3.2 ผูมีสิทธิเลือก มาตรา 198,201 วรรคสอง 1. เปนไปตามขอตกลง 2. ถาไมมีการตกลงกฎหมายใหลูกหนี้เปนผูมีสิทธิเลือก(มาตรา 198) 3. ถาตกลงใหบุคคลภายนอกเลือกแตไมอาจเลือกไดหรือไมเต็มใจเลือก กฎหมายใหลูกหนี้เปนผูเลือก(มาตรา 201วรรคสอง)

3.3 วิธีการเลือก มาตรา 199วรรคหนึ่ง,201วรรคสอง 1.กรณีลูกหนี้หรือเจาหนี้เปนผูเลือก ใหแสดงเจตนาแกคูกรณีฝายหนึ่ง(มาตรา 199 วรรคหนึ่ง) 2.กรณีบุคคลภายนอกเปนผูเลือกใหแสดงเจตนาแกลูกหนี้ และลูกหนี้จะตองแจงความนั้นแกเจาหนี้

3.4 กําหนดเวลาที่ตองเลือก มาตรา 200 1. กรณีมีกําหนดเวลาใหเลือก เมื่อครบกําหนดแลวฝายที่มีสิทธิเลือกไมเลือกใหสิทธิการเลือกตกไปอยูแกอีกฝายหนึ่ง(วรรคแรก) 2.กรณีไมมีกําหนดระยะเวลาใหเลือก เมื่อหนี้ถึงกําหนดชําระแลวฝายที่มีสิทธิเลือกไมเลือกฝายที่ไมมีสิทธิเลือกกําหนดเวลาพอสมควรบอกกลาวใหฝายที่มีสิทธิเลือกใชสิทธิเลือกภายในเวลาอันนั้น ถาครบกําหนดแลวไมเลือก ใหสิทธิเลือกตกเปนของฝายที่ไมมีสิทธิเลือกมาแตตน(วรรคสอง) 3.5 ผลการเลือก มาตรา199 วรรคสอง ใหถือวา การชําระหนี้ที่ไดเลือกนั้นเปนการชําระหนี้ที่ไดกําหนดใหทํามาตั้งแตตน (ต้ังแตกอหนี้ )

3.6 การชําระหนี้อยางหนึ่งอยางใดในหลายอยางที่ตองเลือกเปนวิสัยจะทําได (มาตรา202) ตองพนวิสัยกอนเลือก หลัก ลูกหนี้ตองชําระหนี้ดวยสิ่งที่ยังไมพนวิสัย ขอยกเวน ลูกหนี้เลือกชําระหนี้ดวยสิ่งที่พนวิสัยได ถาการพนวิสัยนั้นเกิดจากพฤติการณของฝายที่ไมมีสิทธิเลือก ขอสังเกต ถาเปนกรณีพนวิสัยภายหลังการเลือกตองบังตับตามเรื่องการชําระหนี้เปนพนวิสัย ตามมาตรา 217,218หรือ 219 แลวแตกรณี 4.กําหนดเวลาชําระหนี้ มาตรา 203 4.1 หนี้นั้นไมมีกําหนดเวลาชําระ และ ไมอาจอนุมานจากพฤติการณทั้งปวงได(วรรคหนึ่ง) ผล คือ 1. เจาหนี้มีสิทธิเรียกใหชําระหนี้ไดโดยพลัน(ทันทีที่กอหนี้)

2. ลูกหนี้ก็ยอมจะชําระหนี้ไดโดยพลันดุจกัน 4.2 หนี้มีกําหนดเวลาชําระ แตกรณีเปนที่สงสัย (วรรคสอง) กรณีเปนที่สงสัยนั้นหมายถึง สงสัยวากําหนดเวลาเปนประโยชนแกฝายใด

ผล คือ ใหเปนประโยชนแกลูกหนี้กลาวคือ 1. เจาหนี้จะเรียกใหชําระกอนครบกําหนดเวลาไมได 2. ลูกหนี้จะชําระหนี้กอนครบกําหนดเวลาได (ฎ.1062/2540 ประชุมใหญ**)

5. การบังคับชาํระหนี้ตามวัตถุแหงหนี้ มาตรา 213

Page 3: หนี้

วรรคหนึ่ง เจาหนี้มีสิทธิบังคับชําระหนี้ไดเมื่อลูกหนี้ไมชําระหนี้ใหเปนไปตามความประสงคอันแทจริงแหงมูลหนี้ โดยตองใชสิทธิทางศาล เวนแตสภาพแหงกนี้ไมเปดชอง นอกจากนี้เจาหนี้ยังมีสิทธิเรียกคาเสียหายไดดวย

วรรคสอง กรณีสภาพแหงหนี้ไมเปดชองใหบังคับชําระหนี้ 1. กรณี การการะทําที่ไมตองอาศัยความสามารถของลูกหนี้เฉพาะตัว เจาหนี้อาจรองขอตอศาลใหสั่งบุคคลภายนอกกระทําการ

ดังกลาวแทนลูกหนี้ โดยลูกหนี้เปนผูออกคาใชจาย แตถาเปนความสามารถเฉพาะตัวของลูกหนี้ เจาหนี้มีสิทธิเพียงเรียกรองคาเสียหายอันเกิดแตการไมชําระหนี้นั้น

2.กรณีเปนการกระทํานิติกรรม เจาหนี้อาจรองขอตอศาลใหสั่งใหถือเอาตามคําพิพากษาแทนการแสดงเจตนาของลูกหนี้ก็ได เชน การไถถอนจํานอง การจดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์ ดังนั้น ถาวัตถุแหงหนี้มิใชการบังคับใหทํานิติกรรม ก็จะรองขอใหศาลถือเอาคําพิพากษาแทนการแสดงเจตนาไมได เชน หนี้ตองคืนสลากกินแบงรัฐบาล (ฎ.3110/2539,ฏ.1060-1061/2540**)

นอกจากนี้ เจาหนี้ยังสามารถเรียกเอาคาเสียหายไดอีกตามวรรคสี่ (,ฎ.6705/2541**) 6. ลูกหนี้ผิดนดั

6.1 กรณีท่ีลูกหนี้ผิดนัด มาตรา 204,206 แบงไดเปน 2 กรณี ดังนี้ (1) ลูกหนี้ผิดนัดเพราะเจาหนี้ไดเตือนแลว (มาตรา 204 วรรคหนึ่ง) หลักเกณฑ มีดังนี้

1.หนี้ถึงกําหนดชําระแลว 2.เจาหนี้ ไดใหคําเตือนลูกหนี้แลว 3. ลูกหนี้ยังไมชําระหนี้

(2) ลูกหนี้ตกเปนผูผิดนัดโดยมิพักตอง เตือน (มาตรา204วรรคสอง ,206) กลาวคือ เมื่อหนี้ถึงกําหนดชําระแลว ลูกหนี้ยังไมชําระหนี้ ในหนี้ดังตอไปนี้

1.หนี้มีกําหนดเวลาชําระหนี้ไวตามวันแหงปฏิทิน 2.หนี้ที่มีขอตกลงบอกกลาวลวงหนาซึ่งอาจคํานวณนับไดตามปฏิทิน 3. หนี้ละเมิด

6.2 ขอแกตัวขอลูกหนี้วายังไมผิดนัด มาตรา 205 เนื่องจากมีพฤติการณที่ลูกหนี้ไมตองรับผิดชอบเกิดขึ้นเปนเหตุใหลูกหนี้ไมอาจชําระหนี้ไดทันกําหนดเวลาชําระ พฤติการณที่ลูกหนี้ไมตองรับผิดชอบ เชน เหตุสุดวิสัย อุบัติเหตุ หรือเจาหนี้ตกเปนผูผิดนัด หรือเหตุภายนอกตางๆ

6.3 ผลของการท่ีลูกหนี้ผิดนัด มาตรา 215,216,217,224,225 (1) เจาหนี้มี สิทธิเรียกเอาคาสินไหมทดแทน เพื่อ ความเสียหาย(มาตรา215) (2) ถาการชําระหนี้กลายเปนอันไรประโยชนแกเจาหนี้ เจาหนี้จะบอกปดไมรับชําระหนี้ และจะเรียก เอาคาสินไหม

ทดแทนได(มาตรา 216) (3) ถาการชําระหนี้ตกเปนพนวิสัย(ระหวางเวลาที่ลูกหนี้ผิดนัด) เจาหนี้มีสิทธิเรียกคาสินไหมทดแทนได เวนแตความ

เสียหายนั้นคงตองเกิดขึ้น แมไดชําระหนี้ทันเวลากําหนด (มาตรา217) (4) ถาหนี้เงินนั้น เจาหนี้มีสิทธิคิดดอกเบี้ย รอยละเจ็ดกึ่งตอป เวนแต จะเรียกดอกเบี้ยไดสูงกวานั้นแตจะคิดดอกเบี้ยซอน

ดอกเบี้ยในระหวางผิดนัดไมได (มาตรา224) (5) ถาหนี้เปนการสงมอบวัตถุ แลววัตถุเสื่อมเสียไปหรือราคาตกต่ํา เจาหนี้มีสิทธิเรียกดอกเบี้ยในเงินคาสินไหมทดแทน

ในอัตรารอยละ 7.5 ตอป (มาตรา 225) 7. เจาหนี้ผิดนดั 7.1 กรณี เจาหนี้ผิดนัด มาตรา 207,209,210 แบงได 3 กรณี ดังนี้

(1) เจาหนี้ไมรับชําระหนี้ (มาตรา207) หลักเกณฑมี ดังนี้ 1. ลูกหนี้ขอปฏิบัติการชําระนี้ ตามาตรา 208 วรรคหนึ่ง และ

Page 4: หนี้

2.เจาหนี้รับชําระหนี้ โดยปราศจากมูลเหตุจะอางตามกฎหมาย (2) เจาหนี้ไมกระทําการเพื่อรับชําระหนี้ (มาตรา209) หลักเกณฑ มีดังนี้

1.ตกลงกําหนดเวลาเปนแนนอนใหเจาหนี้กระทําการใด และ 2. เจาหนี้ไมกระทําการนั้นภายในกําหนดเวลา

(3) เจาหนี้ไมชําระหนี้ตางตอบแทน (มาตรา210) หลักเกณฑ มีดังนี้ 1.เปนหนี้ตางตอบแทน 2.เจาหนี้เตรียมพรอมรับชําระหนี้ และ 3.เจาหนี้ไมเสนอที่จะชําระหนี้ตอบแทนตามที่ตองทํา

7.2 ขอแกตัวของเจาหนี้ ท่ีวายังไมผิดนัด มาตรา 211,212 เหตุที่ไมถือวาเจาหนี้ตกเปนผูผิดนัด มี 2 กรณี คือ (1) ลูกหนี้มิไดอยูในฐานะที่จะสามารถชําระ หนี้ได(มาตรา211)

(2) เจาหนี้มีเหตุขัดของช่ัวคราวไมอาจรับชําระหนี้ได(มาตรา212) ในกรณีที่ (2.1) กรณีมิไดกําหนดเวลาชําระหนี้ ตามมาตรา203 วรรคหนึ่ง (2.2) กรณีกําหนดเวลาชําระหนี้และลูกหนี้มีสิทธิรับชําระหนี้ไดกอนกําหนดตามมาตรา 203วรรคสอง

เวนแต ลูกหนี้ไดบอกกลาวลวงหนาพอสมควรแลว 7.3 ผลของการท่ีเจาหนี้ผิดนัด มาตรา 221,330

(1 )กรณีเปนหนี้เงินเจาหนี้จะคิดดอกเบี้ยเจาหนี้ไมมีสิทธิคิดดอกเบี้ยในระหวางที่ผิดนัด (มาตรา221) (2) ความรับผิดของลูกหนี้เปนอันปลดเปลื้องไป เมื่อลูกหนี้ขอปฏิบัติการชําระหนี้โดยชอบแลว(มาตรา330) ขอสังเกต การที่เจาหนี้ผิดนัดไมเปนเหตุใหหนี้ระงับ ดังนั้นลูกหนี้ยังคงมีหนาที่ชําระหนี้ใหแกเจาหนี้อยูตอไป

8. การเรียกคาสินไหมทดแทน “คาเสียหาย” หมายถึง การชดใชเปนตัวเงินใหแกผูเสียสหายเพื่อความเสียหายอันไดกอขึ้น “คาสินไหมทดแทน หมายความถึง การชดใชเพื่อคาทดแทนความเสียหายอันไดกอขึ้นไมจําเปนวาตองเปนเงินเทานั้น

คาสินไหมทดแทน มาตรา 222 การเรียกคาสินไหมทดแทนเพื่อความเสียหาย แบงออกไดเปน 2 ประเภท คือ (1) ความเสียหายตามปกติ ( มาตรา222 วรรคหนึ่ง) เจาหนี้มีสิทธิเรียกรองจากลูกหนี้ได หากลูกหนี้ไมชําระหนี้นั้น (ฎ.255/2539,

ฎ.3587/2526,ฏ.3697/2524,ฏ.2339/2517) (2) ความเสียหายอันเกิดแตพฤติการณพิเศษ (มาตรา222วรรคสอง) เจาหนี้จะเรียกไดเมื่อคูกรณีที่เกี่ยวของไดคาดเห็นหรือ ควรจะไดคาดเห็นพฤติการณ เชนนั้นลวงหนากอนแลว เชน เบี้ยปรับ , คาปรับ (ฎ.556/2511**,ฎ.270/2521,ฎ.5581/2533) 8.2 ผูเสียหายมีสวนผิด (มาตรา 223) ถาผูเสียหายมีสวนผิดดวยจํานวนคาเสียหายก็ยอมลดลงตามสวนหรืออาจไมไดรับชดใชเลยก็ได แบงได 2 กรณี

(1) กรณีผูเสียหายมีสวนผิดอยางแทจริง (มาตรา 223 วรรคหนึ่ง) (2) กรณีถือวาผูเสียหายมีสวนผิด (มาตรา 223 วรรคสอง)

2.1 ละเลยไมเตือนใหลูกหนี้รูถึงอันตรายรายแรงผิดปกติ 2.2 ละเลยไมบําบัดปดปองหรือบรรเทาความเสียหายนั้น

9. การชําระหนี้เปนพนวิสัย (มาตรา 217,218,219) หมายความวา การชําระหนี้ที่ไมสามารถกระทําใหสําเร็จตามความประสงคอันแทจริงแหงมูลหนี้ได

กรณีทําไดแตเสียคาใชจายสูง ไมถือวาเปนพนวิสัย ฎ.2829/2522,ฎ.928/2521) กรณีไมกลาปฏิบัติการชําระหนี้ ไมถือวาเปนการพนวิสัย (ฏ.1185/2533) กรณีมิไดกําหนดใหสงมอบทรัพยสินจากที่ใด หากลูกหนี้ยังสามารถจัดหาจากแหลงอื่นได ก็ไมเปนการพนวิสัย (ฎ.5516/2537,ฎ.

3342/2532ฎ.2046/2531,ฎ.4341/2531)

Page 5: หนี้

9.1 การชําระหนี้พนวิสัยในระหวางที่ลูกหนี้ผิดนัด มาตรา 217 ลูกหนี้จะตองรับผิดชอบในความเสียหาย ที่เกิดแตความประมาทเลินเลอ หรืออุบัติเหตุ อันเกิดขึ้นในระหวางเวลาที่ผิดนัด เวนแต

ความเสียหายนั้น ก็คงเกิดขึ้นแมจะชําระหนี้ทันกําหนด 9.2 การชําระหนี้เปนพนวิสัยเพราะพฤติการณอันใดอันหนึ่งซึ่งลูกหนี้ตองรับผิดชอบ (ลูกหนี้ยังไมผิดนัด) มาตรา218

“พฤติการณที่ลูกหนี้ตองรับผิดชอบ” เชนลูกหนี้หรือตัวแทนของลูกหนี้กระทําการโดยจงใจหรือประมาทเลินเลอ (1) กรณีเปนพนวิสัยทั้งหมด ลูกหนี้ตองชดใชคาสินไหมทดแทนแกเจาหนี้ (2) กรณีพนวิสัยบางสวน และสวนที่เปนพนวิสัยกลายเปนประโยชนแกเจาหนี้

เจาหนี้มีสิทธิไมยอมรับชําระหนี้สวนที่เปนพนวิสัย และเรียกคาสินไหมทดแทนเพื่อการไมชําระหนี้ทั้งหมดทีเดียวได 9.3 การชําระหนี้กลายเปนพนวิสัยเพราะพฤติการณ ซึ่งลูกหนี้ไมตองรับ ผิดชอบ (ลูกหนี้ยังไมผิดนัด) มาตรา 219 พฤติการณที่ลูกหนี้ไมตองรับผิดชอบ อาจเกิดขึ้นจากการกระทําของลูกหนี้แตลูกหนี้ไมตองรับผิดชอบ เชนไมไดประมาทเลินเลอ หรือเกิดจากการกระทําของบุคคลภายนอกรวมทั้งการกระทําของเจาหนี้ หรือเกิดจากธรรมชาติก็ได (ฎ.1022/2539,ฏ.1718/2539,ฎ.7246/2538) ขอสังเกต ขอตกลงที่กําหนดใหลูกหนี้ตองรับผิด แมวาการชําระหนี้นั้นจะกลายเปนวิสัยโดยพฤติการณที่ลูกหนี้ไมตองรับผิดชอบ (ม. 219) เชนนี้เปนขอตกลงที่ใชบังคับได ไมถือวาขัดตอความสงบเรียบรอยหรือศีลธรรมอนัดีของประชาชน (ฎ. 1107/2525) 10. การรับชวงสิทธิ มาตรา 226ว.1,227,229,230 หมายถึง การที่บุคคลซึ่งมิใชเจาหนี้เดิมในมูลหนี้นั้นไดเขารับสิทธิของเจาหนี้เดิมที่มีอยูดวยอํานาจแหงกฎหมาย ซึ่งเมื่อเขารับชวงสิทธิแลวก็ชอบที่จะใชสิทธิทั้งหลายของเจาหนี้ รวมทั้งประกันแหงหนี้นั้นไดในนามของตนเอง เจาหนี้ มีสิทธิเรียกรอง ลูกหนี้ สวมสิทธิเจาหนี้ บุคคล = มาโดยบทบัญญัติกฎหมาย ลักษณะของการับชวงสิทธิ

1. เกิดขึ้นโดยผลของกฎหมาย 2. จํากัดเฉพาะที่กฎหมายบัญญัติไว เชน ป.พ.พ.มาตรา227,229,230,296,426,431,880 เปนตน 3. เกิดจากการชําระหนี้ของผูมีสวนไดเสีย 4. บุคคลอื่นเขาสวมสิทธิของเจาหนี้

10. การรับชวงสิทธิเกิดไดกรณีดังตอไปนี้ 10.1 ผูรับชวงสิทธิเปนลูกหนี้ ตามมาตรา 227 มี หลักเกณฑ ดังนี้

1. เจาหนี้ไดรับความเสียหาย 2. ลูกหนี้ชดใชคาสินไหมทดแทนใหแกเจาหนี้

ผล ลูกหนี้เขารับชวงสิทธิเจาหนี้ไปไลเบี้ยเอากับบุคคลภายนอกได ขอสังเกต - มูลหนี้เกิดจากสัญญาซื้อขายเสร็จเด็ดขาด ซึ่งกรรมสิทธิ์แหงทรัพยสินซื้อขายเปนของเจาหนี้แลว แตลูกหนี้ยังมีหนาที่ตองสงมอบทรัพยสินที่ซื่อขายใหแกเจาหนี้ ดังนั้นเจาหนี้ไดรับความเสียหายเกี่ยวกับทรัพยสินที่ซื้อขายแลวลูกหนี้ไดใชคาสินไหมทดแทนเพื่อความเสียหายแกเจาหนี้ ยอมเขารับชวงสิทธิของเจาหนี้ฟองบุคคลภายนอกที่ทําละเมิดนั้นได (ฎ.491/2539) - กรณีผูรับประกันเปนลูกหนี้ เมื่อไดชดใชคาเสียหายแกผูเอาประกันเจาหนี้แลว ยอมรับชวงสิทธิเรียกรองคาเสียหายจากบุคคลภายนอกผูทําละเมิดได (ฎ.103/2535)

- หากลูกหนี้ยังมิไดชดใชคาสินไหมทดแทนใหแกเจาหนี้ยอมไมใชผูเขารับชวงสิทธิ ฏ.6638/2540) 10.2 ผูรับชวงสิทธิเปนเจาหนี้ลําดับหลัง ตามมาตรา 229(1) มีหลักเกณฑ ดังนี้ 1. ลูกหนี้มีเจาหนี้หลายคน 2. เจาหนี้ลําดับหลังเขาไปใชหนี้ใหแกเจาหนี้ลําดับตนที่มีสิทธิไดรับชําระหนี้กอน

Page 6: หนี้

ผล เจาหนี้ลําดับหลังเขารับชวงสิทธิของเจาหนี้ลําดับตน 10.3 ผูรับชวงสิทธิเปนผูไดซึ่งอสังหาริมทรัพยติดจํานอง ตามมาตรา 299(2)มีหลักเกณฑดังนี้ 1. อสังหาริมทรัพยติดจํานอง 2. ผูไดไปเอาเงินราคาคาซื้อใชใหแกผูรับจํานอง

ผล ผูไดไปเขารับชวงสิทธิ โดยไดอสังหาริมทรัพยนั้นไปปลอดจํานอง (ฏ.2716/2525) 10.4 ผูรับชวงสิทธิเปนผูท่ีมีความผูกพันรวมกับผูอ่ืน ตามมาตรา 229(3) เชนลูกหนี้รวม มีหลักเกณฑดังนี้ 1. บุคคลภายนอกมีความผูกพันรวมกับผูอื่น 2. บุคคลนั้นมีสวนไดเสียดวยเขาใชหนี้

ผล บุคคลนั้นเขารับชวงสิทธิได **(ฏ.4574/2536,ฎ.2370/2526,ฎ.3716/2525) 10.5 ผูรับชวงสิทธิเปนผูจะตองเสี่ยงภัยเสียสิทธิในทรัพย ตามมาตรา 230 มีหลักเกณฑดังตอไปนี้ 1.เจาหนี้นําบังคับยึดทรัพย 2. ผูจะตองเสี่ยงภัยเสียสิทธิในทรัพยเขาชําระหนี้ใหแกเจาหนี้

ผล ผูจะตองเสี่ยงภัยเสียสิทธิในทรัพย เขารับชวงสิทธิของเจาหนี้ (ฎ.4362/2540,ฎ.4175/2539,ฎ.4838-4839/2540) หมายเหตุ บุคคลผูไดรับโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพยสินเปนผูเสี่ยภัยเสียสิทธิในทรัพยนั้น ขอสังเกต การเขารับชวงสิทธิตามมาตรา230นี้ จะตองไมทําใหเจาหนี้ไดรับความเสียหายดวย(ฎ.4838-48396/2540) ผลการรับชวงสิทธิ

1. ผูรับชวงสิทธิสามารถใชสิทธิตามมูลหนี้ไดในนามของตนเอง ไมวาจะบังคับชําระหนี้ เรียกคาเสียหายหรือเอาเบี้ยปรับถามีไดทั้งสิ้น

2. ผูรับชวงสิทธิไดมาเทาที่ไดชําระหนี้ ขอสังเกต ลูกหนี้รวมที่ชําระหนี้ใหแกเจาหนี้แลว ยอมรับชวงสิทธิมาไลเบี้ยแกลูกหนี้คนอื่นไดตามสวนเทานั้น(ฎ.4574/2536)

3. เรื่องกําหนดอายุความ ถารับชวงสิทธิตามมาตรา 227 ใหกําหนดอายุความตามมูลหนี้เดิม แตถารับชวงสิทธิตามมาตรา 229(3)ตองใชอายุความ 10 ป ตามมาตรา 193/30(ฎ.6246/2540)

4. ผูรับชวงสิทธิมีสิทธิไดรับดอกเบี้ยนับตั้งแตวันที่รับชวงสิทธิหากไมปรากฏแนนชัดวาไดชําระคาสินไหมทดแทนไปเมื่อใด(ฎ.916/2535)

5. ถาหนี้ที่รับชวงสิทธิมานั้นมีประกันดวยไมวาจะเปนประกันดวยบุคคลหรือทรัพย ผูรับชวงสิทธิมายอมไดประโยชนจาดประกันนั้นดวย(ฏ.2446/2525) 6. เมื่อมีการรับชวงสิทธิแลวเจาหนี้(เดิม)ไมมีสิทธิบังคับใหลูกหนี้ชําระหนี้ใหแกตนและลูกหนี้ก็จะชําระใหแกเจาหนี้(เดิม)ไมได (ฎ.2949/2524)

7.ผูรับชวงสิทธิมีสิทธิบังคับชําระหนี้แกบุคคลอื่น เชนลูกหนี้รวมไดดวย (ฎ.800/2533) 11. ชวงทรัพย มาตรา 226วรรคสอง ,228 ,231 ,232

ชวงทรัพย หมายถึง การเอาทรัพยสินอันหนึ่งเขาแทนที่ทรัพยสินอีกอันหนึ่งดวยอํานาจแหงกฎหมาย ในฐานะนิตินัยอยางเดียวกันกับทรัพยสินอันกอน ชวงทรัพยอาจเกิดขึ้นไดในกรณีตอไปนี้

11.1 ชวงทรัพยอันเนื่องจากการชําระหนี้พนวิสัย มาตรา 228 มี หลักเกณฑ ดังนี้ 1. การชําระหนี้เปนพนวิสัยเพราะพฤติการณที่บุคคลภายนอกตองรับผิดชอบ 2. ลูกหนี้ไดมาซึ่งของแทนหรือไดสิทธิเรียกรองคาสินไหมทดแทน

ผล เจาหนี้มีสิทธิเรียกของแทนหรือคาสินไหมทดแทนดังกลาวเสียเองไดในฐานะชวงทรัพย 11.2 ชวงทรัพยของเจาหนี้บุริมสิทธิ มาตรา 231

Page 7: หนี้

วรรคหนึ่ง และ หา เจาหนี้ผูรับจํานอง จํานํา หรือเจาหนี้บุริมสิทธิอาจใชสิทธิเรียกรองเอาคาสินไหนทดแทนจากบุคคลดังตอไปน้ีคือ 1. ผูรับประกันทรัพยสินดังกลาว 2. ผูที่บังคับซื้อทรัพยสินดังกลาว หมายถึงการเวนคืน 3. ผูที่ตองใชคาเสียหายแกเจาของทรัพยสินดังกลาว เพราะเหตุทรัพยสินนั้นทําลายหรือบุบสลาย

วรรคสองและวรรคสาม กรณีทรัพยสินไดเอาประกันภัยไว แยกพิจารณาเปน 2 กรณี ดังนี้ 1) กรณีอสังหาริมทรัพย และสังหาริมทรัพยที่อาจจํานองได ผูรับประกันภัยจะใชเงินใหแกผูเอาประกันภัยทันทีไมไดจนกวาจะได

บอกกลาวเจตนาใชเงินนั้นไปยังเจาหนี้ผูรับจํานองหรือเจาหนี้บุริมสิทธิแลว และมิไดรับคําคัดคานการใชเงินนั้นภายในเวลา 1 เดือนนับแตวันที่บอกกลาว หากทรัพยสินดังกลาวไดจดทะเบียนไว ณ หอทะเบียนที่ดินใหถือวาผูรับประกันภัยนั้นรูแลว

2) กรณีที่เปนสังหาริมทรัพยอื่น ผูรับประกันภัยจะใชเงินใหแกผูเอาประกันภัยโดยตรงก็ได เวนแตจะไดรูหรือควรจะไดรูวาอยูในบังคับจํานํา หรือบุริมสิทธิอยางอื่น วรรคสี่ ผูรับประกันภัยไมตองรับผิดตอเจาหนี้ผูรับจํานอง จํานําหรือบุริมสิทธิ ถาทรัพยสินอันไดเอาประกันภัยไวนั้นไดกลับคืนมา หรือไดจัดของอื่นแทนใหในลักษณะชวงทรัพย(ฏ.28072537) 12 การใชสิทธิเรียกรองของลูกหนี้ มาตรา 233-236 เปนบทบัญญัติที่ควบคุมกองทรัพยสินของลูกหนี้มิใหนอยถอยลง เปนเหตุใหเจาหนี้เสียหายในเวลาบังคับชําระหนี้

หนี้ ถึงกําหนดหรือไมไมสําคัญ หนี้ถึงกําหนดแลว ฟองโดยไมตองไดรับความยินยอมจากลูกหนี้ 12.1 หลักเกณฑการใชสิทธิเรียกรอง (มาตรา233) 1. ลูกหนี้ขัดขืนหรือเพิกเฉยไมยอมใชสิทธิเรียกรองของตนเอง 2. เจาหนี้เสียประโยชนจากการขัดขืนหรือเพิกเฉยดังกลาว 3. สิทธิเรียกรองนั้นมิใชเปนการของลูกหนี้โดยสวนตัว

ผล เจาหนี้ฟองลูกหนี้ของลูกหนี้เปนจําเลยเรียกชําระหนี้ได (ฎ.296/2534) **ขอสังเกต 1. หนี้ของเจาหนีจะเกิดขึ้นกอนหรือหลังหนี้ของลูกหนี้ก็ได

2. หนี้ของลูกหนี้ตองถึงกําหนดชําระแลว สวนหนี้ของเจาหนี้จะถึงกําหนดชําระหรือไมไมสําคัญ 3. เจาหนี้สามารถฟองลูกหนี้ของลุกหนี้ไดโดยไมตองไดรับความยินยอม

12.2 การฟองคดีของเจาหนี้ 1. เจาหนี้จะตองขอหมายเรียกลูกหนี้เขามาในคดีนั้นดวย (มาตรา 234) 2. เจาหนี้ฟองเรียกลูกหนี้ของลูกหนี้ไดเต็มจํานวนที่คางชําระลูกหนี้ (เดิม)(มาตรา 235) 3. ถาลูกหนี้ของลูกหนี้ชําระหนี้ตามที่ลูกหนี้(เดิม) คาวงชําระเจาหนี้ของเจาหนี้เปนอันระงับไป (มาตรา 235) (ฎ.132/2523,ฎ.

2018/2530, ฎ.1829/2519) 12.3 การยกขอตอสู มาตรา 236

หลัก จําเลย (ลูกหนี้ของลูกหนี้) มีขอตอสู ลูกหนี้(เดิม) อยูอยางไรก็ยกขึ้นตอสูเจาหนี้ไดทั้งนั้น ขอยกเวน ถาเปนขอตอสูซึ่งเกิดขึ้นตั้งแตยื่นฟองจะยกเปนขอตอสูไมได (ฏ.1748/2540) **ขอสังเกต ขอตอสูที่จะยกขึ้นตอสูนั้น อาจมีลักษณะดังตอไปนี้

1. ขอตอสูตามมูลหนี้ระหวางเจาหนี้กับลูกหนี้ 2. ขอตอสูตามมูลหนี้ระหวางลูกหนี้กับลูกหนี้ของลูกหนี้ ที่มีอยูกอนยื่นฟอง

เจาหนี ้ ลูกหนี ้ ลูกหนี้ของลูกหนี ้

Page 8: หนี้

1.3 การเพิกถอนการฉอฉล (มาตรา 237) เปนบทบัญญัติที่ควบคุมกองทรัพยสินของลูกหนี้อีกทางหนึ่ง ทํานิติกรรม ฟองเพิกถอน หลักเกณฑการเพิกถอนกลฉอฉล(มาตรา 237)

1. ลูกหนี้ทํานิกรรมอันมีวัตถุเปนสิทธิในทรัพยสิน เชน ปลดหนี้ ถาไมเกี่ยวกับสิทธิในทรัพยสิน เชนการจดทะเบียนรับบุตรบุญธรรม จดทะเบียนหยา เชนนี้เพิกถอนไมได 2. เจาหนี้เสียเปรียบเพราะการทํานิติกรรมนั้นและ 3. ผูไดลาภงอกตองรูถึงความที่เจาหนี้เสียเปรียบ หรือไดโดยเสนหา

ผล เจาหนี้รองขอใหศาลเพิกถอนนิติกรรมที่ลูกหนี้กระทําลงนั้นได แมวาหนี้ของเจาหนี้ยังไมถึงกําหนดชําระก็ตาม ขอสังเกต 1. หนี้ของเจาหนี้ตองเกิดขึ้นกอนการทํานิติกรรมของลุกหนี้กับผูไดลาภงอกดวย (ฎ.886/2515,ฎ.322/2526)

2. นิติกรรมที่เปนโมฆะเพราะเกิดจากการแสดงเจตนาลวง ไมตองมีการฟองขอใหเพิกถอน แมเจาหนี้จะเสียเปรียบ(ฎ.786/2528) 3. หนี้ภาษีอากรเกิดขึ้นในปที่ตองชําระ แมลูกหนี้ยังไมไดรับแจงการประเมินหากลูกหนี้ทํานิติกรรมใดทําใหกรมสรรพกร

เจาหนี้เสียเปรียบก็เพิกถอนการฉอฉลได (ฎ.5504/2533) 4. เจาหนี้ที่มีสิทธิฟองขอใหเพิกถอนฉอฉลไมจําตองเปนเจาหนี้ตามคําพิพากษา (ฎ.3726/2530,ฎ4462/2540,) 5.ลูกหนี้ผูทํานิติกรรมอันเปนการฉอฉลจะฟองขอเพิกถอนไมได บุคคลที่มีสิทธิฟองขอใหเพิกถอนไดคือเจาหนี้ (ฏ.261/2525) 6. กรณีผูทํานิติกรรมไมใชลูกหนี้ของเจาหนี้ เจาหนี้ก็ฟองขอใหเพิกถอนการฉอฉลไมได (ฎ3151/2540,ฎ790/2538,ฎ.

3090/2538,ฏ.3602/2530) 7. การทํานิติกรรมของลูกหนี้ตองเปนเหตุใหเจาหนี้เสียเปรียบหากเจาหนี้ไมเสียเปรียบก็เพิกถอนไมได

7.1 ลูกหนี้ขายที่ดินจํานอง เพื่อนําเงินมาชําระหนี้แกเจาหนี้ผูรับจํานองเชนนี้ เจาหนี้สามัญไมใชผูเสียเปรียบ ยอม เพิกถอนไมได เพราะเจาหนี้บุริมสิทธิยอมไดรับการชําระหนี้กอนเจาหนี้สามัญอยูแลว (**ฎ.2283/2539)

7.2 ลูกหนี้จดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์ในที่ดินใหแกบุคคลภายนอกที่มีสิทธิในที่ดินของลูกหนี้อยูกอนแลวภายหลังกอ หนี้กับเจาหนี้ ไมถือวาทําใหเจาหนี้เสียเปรียบ(ฎ.616/2514)

7.3 นิติกรรมที่ลูกหนี้ทํา หากเปนการกอประโยชนแกกองทรัพยสินของลูกหนี้แมเปนการโอนทรัพยสินไปก็ไมทําให เจาหนี้เสียเปรียบ (ฎ.1868-1869/2516)

8. การที่ลูกหนี้โอนทรัพยเฉพาะส่ิงไปใหบุคคลภายนอก เจาหนี้ยอมเพิกถอนไดเพราะอยูในฐานเสียเปรียบ แมวาฐานะทาง ทรัพยสินของลูกหนี้ยังดีอยู (**ฎ.4384/2540)

9. เจาหนี้มีสิทธิฟองขอใหเพิกถอนการฉอฉลได แมหนี้ของเจาหนี้ยังไมถึงกําหนดชําระแตถาหนี้นั้นมีเงื่อนไขบังคับกอน แลวลูกหนี้กระทํานิติกรรมในระหวางที่เงื่อนไขยังไมสําเร็จ ก็ถือไมไดวาเจาหนี้เปนผูเสียเปรียบ

10.ในกรณีลูกหนี้รวม หากลูกหนี้รวมคนใดทํานิติกรรมอันเปนการฉอฉล เจาหนี้มีสิทธิฟองใหเพิกถอนได แมวาลูกหนี้รวม คนอื่นจะอยูในฐานะที่ชําระหนี้ไดก็ตาม

13.2 การฟองใหเพิกถอนการฉอฉล 1. เจาหนี้ตองยื่นคําฟองตอศาล โดยฟองลูกหนี้และผูไดลาภงอกเปนจําเลยรวมกัน (ฎ.9693-9694/2539) 2. ถามีการโอนทรัพยสินตอไปใหบุคคลภายนอกอีก ก็ตองฟองบุคคลภายนอกนั้นเปนจําเลยดวย( ฎ.2345/2540) 3. การฟองคดีขอใหเพิกถอนนิติกรรม หากในระหวางการพิจารณาคดี จําเลยมาชําระหนี้ใหแกโจทกครบถวนแลว โจทกไมอยูในฐานะเปนเจาหนี้ที่จะขอใหศาลเพิกถอนตอไป (ฎ.882/2515) ศาลจึงตองจําหนายคดีออกจากสาระบบความ 13.3 ผลของการเพิกถอนการฉอฉล

เจาหนี ้ ลูกหนี ้ ผูไดลาภงอก

Page 9: หนี้

1. ตอลูกหนี้ ลูกหนี้ยอมกลับคืนสูฐานะเดิมไมตองผูกพันตามนิติกรรมนั้นตอไป 2. ตอเจาหนี้ เจาหนี้ทุกคนไดประโยชนจากการที่ทรัพยนั้นกลับคืนสูกองทรัพยสินของลูกหนี้(มาตรา 239) เวนแต เปนกรณีเจาหนี้

เปนผูซื้อทรัพยเฉพาะสิ่งที่ไดประโยชนแกเจาหนี้ผูเปนโจทกเพียงฝายเดียว 3. ตอผูรับนิติกรรม ผูรับนิติกรรมไมมีสิทธิตามนิติกรรมนั้นตอไป ไมอาจบังคับเอาแกลูกหนี้ไดและถาเปนผูรับนิติกรรมเปนผูซื้อ

ทรัพยสินจากหนี้ ยอมมีสิทธิเรียกเงินที่ไดชําระไปแลวคืนจากลูกหนี้ ฐานลาภมิควรได 4. ไมกระทบกระทั่งถึงสิทธิของบุคคลภายนอกที่สุจริต เสียคาตอบแทนกอนการฟองคดีขอใหเพิกถอน(มาตรา238) “บุคคลภายนอก” หมายถึง ผูที่ไดรับโอนทรัพยสินของลูกหนี้ตอจากผูทํานิติกรรมกับลูกหนี้ (ฎ.3180/2540) 13.4 อายุความเพิกถอนการฉอฉล (มาตรา 240) 1. อยาเกิน 1 ปนับแตเจาหนี้รูเหตุ หรือ 2. อยาเกิน 10 ปนับแตลูกหนี้ทํานิติกรรม 14. ลูกหนี้เจาหนี้หลายคน มาตรา 290 ,301 ,302 14.1 หนี้แบงชําระได (มาตรา 290) 1) กรณีลูกหนี้หลายคน แตละคนรับผิดเฉพาะสวนของตนเอง 2) กรณีเจาหนี้หลายคน แตละคนไดรับชําระหนี้เฉพาะสวนของตนเอง

14.2 หนี้แบงชําระไมได 1) กรณีลูกหนี้หลายคน ตองรับผิดอยางลูกหนี้รวม (มาตรา 301) 2) กรณีเจาหนี้หลายคน ตองชําระหนี้ใหเปนประโยชนแกเจาหนี้ทุกคนหรือวางทรัพยแทนการชําระหนี้( มาตรา 302)

15. ลูกหนี้รวม มาตรา 291-296 ลูกหนี้รวมอาจเกิดขึ้นไดโดยสัญญาหรือบทบัญญัติกฎหมาย เชน ป.พ.พ. ลักษณะละเมิด ครอบครัว มรดก 15.1 ลักษณะของลูกหนี้รวม (มาตรา 291)

1. หนี้รายเดียวมีลูกหนี้หลายคน 2.ลูกหนี้แตละคนจะตองรับผิดชําระหนี้แกเจาหนี้โดยสิ้นเชิงเพียงครั้งเดียว 3. เจาหนี้จะเรียกรองใหลูกหนี้คนใดรับผิดชําระหนี้โดยสิ้นเชิงหรือตามสวนแลวแตจะเลือกก็ได 15.2 ผลของการเปนลูกหนี้รวม 15.2.1 ผลระหวางเจาหนี้กับลูกหนี้รวม (มาตรา 292-295) 1. ประโยชนแกลูกหนี้รวมทุกคน ในกรณีที่ลูกหนี้รวมคนใดคนหนึ่ง (มาตรา 292)

ชําระหนี้ การทําการแทนชําระหนี้ วางทรัพย หักกลบลบหนี้(แตลูกหนี้รวมคนอื่นจะใชสิทธิหักกลบลบหนี้แทนไมได)

2.ประโยชนแกลูกหนี้รวมทุกคน ในกรณีเจาหนี้กระทํา ปลดหนี้ใหลูกหนี้รวมคนใดคนหนึ่ง (มาตรา293) ผิดนัดตอลูกหนี้รวมคนใดคนหนึ่ง (มาตรา295)

3. ประโยชนหรือโทษ เฉพาะตัวลูกหนี้คนใดคนหนึ่ง การใหคําบอกกลาว เชน บอกกลาว เชน บอกเลิกสัญญา การบังคับจํานอง การผิดนัด หมายถึงลูกหนี้คนหนึ่งคนใดผิดนัดตอเจาหนี้ การหยิบยกอางความผิดในการกระทําของลูกหนี้รวมคนหนึ่งคนใด

Page 10: หนี้

๑๐

การชําระหนี้พนวิสัยอันเนื่องมาจากตัวลูกหนี้ กําหนดอายุความหรืออายุความสะดุดหยุดลง (ฎ.6807/2537,ฎ.891/2540)

ขอสังเกต การที่ลูกหนี้รวมคนหนึ่งรับสภาพหนี้ ทําใหอายุความสะดุดหยุดลง เปนเรื่องสวนตัวของลูกหนี้รวมคนนั้น ไมมีผลถึงลูกหนี้รวมคนอื่น

แตถาลูกหนี้รวมคนหนึ่งชําระหนี้บางสวนแทนลูกหนี้รวมคนอื่นดวย ยอมทําใหอายุความสะดุดหยุดลง มีผลถึงลูกหนี้รวมคนอื่นๆดวย (มาตรา 292) (ฎ.588/2532,480/2506)

หนี้เกลื่อนกลืนกัน ทําใหหนี้ระงับเปนประโยชนเฉพาะตัวตอลูกหนี้รวมคนนั้นเทานั้น ขอสังเกต กรณีลูกหนี้รวมถูกฟองลมละลาย การพิจารณาวาลูกหนี้คนใดมีหนี้สินลนพนตัวหรือไม เปนเรื่องเฉพาะตัวของลูกหนี้รวม

คนนั้นเทานั้นดวย (ฎ.2875/2536) 15.2.2 ผลระหวางลูกหนี้รวมดวยกัน (มาตรา296)

1) ลุกหนี้รวมแตละคนรับผิดเทาๆกัน เวนแตจะตกลงกันไวเปนอยางอื่น 2) สวนที่เจาหนี้ไมสามารถเรียกเอาจากลูกหนี้รวมคนหนึ่งไดลูกหนี้รวมคนอื่นตองรับผิดชดใชแทน 3) สวนที่เจาหนี้ไดปลดหนี้ใหแกลูกหนี้รวมคนหนึ่งยอมตกเปนพับแกเจาหนี้

16. เจาหนี้รวม มาตรา 298-300 เจาหนี้รวมเกิดขึ้นได โดยสัญญาหรือบทบัญญัติกฎหมาย เชน ป.พ.พ. ลักษณะมรดก ก็ได 16.1 ลักษณะของเจาหนี้รวม(มาตรา 298)

1) หนี้รายเดียวมีเจาหนี้หลายคน 2) เจาหนี้คนใดคนหนึ่งมีสิทธิเรียกรองใหลูกหนี้ชําระหนี้ไดโดยสิ้นเชิงแตเพียงครั้งเดียว 3) ลูกหนี้จะชําระใหแกเจาหนี้คนใดคนหนึ่งก็ไดตามแตจะเลือก (ฎ.2847/2540)

16.2 ผลของการเปนเจาหนี้รวม 16.2.1 ผล ระหวางเจาหนี้รวมกับกับลูกหนี้ (มาตรา 299) 1) เจาหนี้รวมคนหนึ่งผิดนัดยอมเปนโทษแกเจาหนี้รวมทุกคน(มาตรา 299 วรรคหนึ่ง) ถาเปนหนี้เงิน เจาหนี้รวมไมมีสิทธิเรียก

ดอกเบี้ยตามมาตรา 221 2) หนี้เกลื่อนกลืนกันไประหวางเจาหนี้รวมคนหนึ่งกับลูกหนี้ หนี้ของลูกหนี้ยอมระงับ(มาตรา 299วรรคสอง) 3) ใหนํามาตรา 292,293,295 มาใชบังคับโดยอนุโลม – กรณีมาตรา 292,293 เปนผลตอเจาหนี้รวมทุกคน -- กรณีมาตรา 295 เปนผลเฉพาะตัวตอเจาหนี้รวม เชน ลูกหนี้ผิดนัดตอเจาหนี้รวมคนหนึ่ง ยอมเปนผลตอเจาหนี้รวมคนนั้นที่มี

สิทธิไดรับดอกเบี้ยในระหวางผิดนัด 16.2.2 ผลระหวางเจาหนี้รวมดวยกันเอง (มาตรา 300) เจาหนี้แตละคนชอบที่จะไดรับชําระหนี้เปนสวนเทาๆกัน เวนแตตกลงมัน

ไวเปนอยางอื่น 17. โอนสิทธิเรียกรอง มาตรา 303-311 การโอนสิทธิเรียกรอง เปนกรณีที่เจาหนี้ โอนสิทธิ ที่มีตอลูกหนี้ใหบุคคลหนึ่ง เรียกวาผูรับโอน โดยทางนิติกรรม โอน มีสิทธิเรียกรอง โดยนิติกรรม ขอสังเกต 1.ตองระมัดระวังในบางกรณีไมใชการโอนสิทธิเรียกรอง แตเปนเพียงหนังสือมอบใหรับเงินแทน (ฎ.653/2514) 2. ถาเปนกรณีเจาหนี้สละสิทธิเรียกรอง ก็ไมใชโอนสิทธิเรียกรอง (ฎ.330/2522)

เจาหนี ้ ลูกหนี ้

ผูรับโอน

Page 11: หนี้

๑๑

** 3. การตกลงซื้อขายสิทธิเรียกรองที่ผูซื้อไมสามารถบังคับลูกหนี้ใหชําระหนี้ได ไมใชการโอนสิทธิเรียกรอง จึงไมจําตองทําเปนหนังสือ (**ฎ.5466/2539) ** 4. การโอนสิทธิเรียกรองตามสัญญาตางตอบแทนจะใชวิธีแบบโอนสิทธิเรียกรอง ตาม ป.พ.พ. มาตรา 306ไมได (ฎ.2472/2519)

17.1 หลักเกณฑการโอนสิทธิเรียกรอง มาตรา 303 หลัก สิทธิเรียกรองโอนกันได ขอยกเวน 1.สภาพแหงสิทธิไมเปดชอง

2. คูกรณีตกลงหามโอน แตจะยกขึ้นตอสูบุคคลภายนอกผูสุจริตไมได 3. สิทธิที่ศาลยึดไมได(มาตรา 304) (ฎ3793/2535,ฎ.4837/2540)

17.2 วิธีการโอนสิทธิเรียกรองหรือโอนหนี้ 17.2.1 การโอนหนี้ท่ีตองชําระแกเจาหนี้คนหนึ่งโดยเฉพาะเจาะจง(มาตรา 306)

ขั้นตอนที่หนึ่ง การโอนตองทําเปนหนังสือระหวางเจาหนี้กับผูรับโอนาโดยไมตองไดรับความยินยอมจากลูกหนี้ “การทําเปนหนังสือ” แมลงลายมือช่ือผูโอนฝายเดียวก็เพียงพอแลว(ฎ.4139/2532)

ขั้นตอนที่สอง การยกขึ้นตอสู ตองมีการบอกกลาวการโอนเปนหนังสือไปยังลูกหนี้ หรือ ลูกหนี้ใหความยินยอมในการโอนเปนหนังสือ (ฎ.5561-5567/2530,ฎ.3973/2532)

อนึ่งถาลูกหนี้ชําระหนี้ใหแกเจาหนี้กอนขั้นตอนที่สองไปแลว ลูกหนี้ก็หลุดพนจากหนี้นั้น 1.การยกขอตอสูของลูกหนี้ท่ีมีตอเจาหนี้ขึ้นตอสูผูรับโอน (มาตรา 308)

1.1 กรณีลูกหนี้ใหความยินยอมในกานโอนโดยมิไดอืดเอื้อน เชนนี้ลูกหนี้จะยกขอตอสูที่มีตอผูโอนขึ้นตอสูผูรับโอนไมได 1.2 กรณีลูกหนี้ไดรับคําบอกกลาวการโอน เชนลูกหนี้ยกขอตอสูที่มีอยูกอนไดรับคําบอกกลาวขึ้นตอสูผูรับโอนได 1.3 กรณีลูกหนี้ไดรับคําบอกกลาวการโอน และลูกหนี้มีสิทธิที่จะหักกลบลบหนี้ไดอยูกอน แตหนี้นั้นยังไมถึงกําหนดในเวลาบอก

กลาวการโอน ลูกหนี้ก็แสดงเจตนาหักกลบหนี้ไปยังผูรับโอนได ถาสิทธิเรียกรองนั้นถึงกําหนดไมชากวาเวลาถึงกําหนดแหงสิทธิเรียกรองที่ไดโอนไป (ฎ.4392/2536) 2.ผลของการโอนสิทธิเรียกรอง

2.1 ผูรับโอนมีฐานะเปนเจาหนี้แทนเจาหนี้เดิม มีสิทธิเรียกรองใหลูกหนี้ชําระหนี้ได ลูกหนี้จะชําระหนี้ใหแกเจาหนี้เดิมไมได 2.2เจาหนี้ตามคําพิพากษาของเจาหนี้เดิม ไมมีสิทธิอายัดสิทธิเรียกรองที่ไดโอนไปแลวนั้นได 2.3ผูรับโอนมีสิทธิเหนือประกันแหงหนี้ที่ไดรับโอนมาดวย (มาตรา 305) โดยไมจําตองบอกกลาวใหผูประกันทราบ

(ฎ.5237/2538) 17.2.1 การโอนหนี้ท่ีตองชําระตามเขาสั่ง(มาตรา 309) ตองสลักหลังและสงมอบตราสารใหแกผูรับโอน โดยไมตองบอกกลาว

หรือไดรับความยินยอมจากลูกหนี้ 17.2.2 การโอนหนี้ท่ีตองชําระแกผูถือ(มาตรา 311)เปนตราสารที่ไมระบุช่ือผูทรง ตองสงมอบตราสารนั้น

ความระงับแหงหนี ้18.การชําระหนี้

18.1 ผูชําระหนี้ (มาตรา 214) หลัก บุคคลภายนอกเปนผูชําระได ขอยกเวน 1.สภาพแหงหนี้ไมเปดชอง

1. ขัดกับเจตนาที่คูกรณีแสดงไว 2. เปนผูไมมีสวนไดเสียและลูกหนี้ไมยินยอม (ฎ1588/2522) และถาบุคคลภายนอสัญญากับเจาหนี้วาจะชําระหนี้ของลูกหนี้ใหกับ

เจาหนี้ก็ตองรับผิดตามสัญญานั้น (ฎ2948/2535) 18.2 ผูรับชําระหนี้ มาตรา 315 ผูมีอํานาจรับชําระหนี้ ไดแก

Page 12: หนี้

๑๒

1. เจาหนี้ 2. ผูมีอํานาจรับชําระหนี้แทนเจาหนี้ เชน ตัวแทนเจาหนี้ ถาชําระหนี้ใหแกผูไมมีอํานาจรับชําระหนี้ การชําระหนี้นั้นจะสมบูรณ

เปนเหตุใหหนี้ระงับเมื่อเจาหนี้ใหสัตยาบันแลว 18.3 ผูครอง มาตรา 316 1. ชําระหนี้ใหแกผูครอบครองตามที่ปรากฏแหงสิทธิในมูลหนี้ ซึ่งมิใชเจาหนี้หรือผูมีอํานาจรับชําระหนี้แทนเจาหนี้ตามมาตรา

315 แตหมายถึง ผูที่ปรากฏไปดวยหลักฐานอันเปนที่ต้ังแหงสิทธิในมูลหนี้ 2. ผูชําระหนี้ไดกระทําการโดยสุจริต กลาวคือ ในขณะที่ทําการชําระหนี้ไมรูวาผูครอบครองตามปรากฏแหงสิทธิในมูลหนี้นั้น

มิใชเจาหนี้หรือผูมีอํานาจรับชําระหนี้ 18.4 ผูไมมีสิทธิไดรับชําระหนี้ มาตรา 317 การชําระหนี้ แกบุคคลผูไมมีสิทธิจะไดรับชําระหนี้ การชําระหนี้ยอมสมบูรณเพียง

เทาที่ตัว เจาหนี้ไดลาภงอกขึ้นแตการนั้น กลาวคือเทาที่เจาหนี้ไดรับประโยชนจากการปฏิบัติการชําระหนี้นั้น ดังนั้น เมื่อเจาหนี้ไดรับประโยชนจากกการชําระหนี้นั้นไวเทาใดแลว ก็ยอมมีผลสมบูรณเทานั้น

18.5 ผูถือใบเสร็จ มาตรา 318 การชําระหนี้ที่จะมีผลสมบูรณตามมาตรานี้ มีหลักเกณฑดังนี้ 1.เปนการชําระหนี้ใหแกผูถือใบเสร็จ 2. ผูชําระหนี้ไมรูวาผูถือใบเสร็จนั้นไมมีสิทธิไดรับชําระหนี้ และการไมรูมิไดเกิดจากความประมาทเลินเลอของตน แต

อยางไรก็ตาม ใบเสร็จที่กลาวถึงตามมาตรานี้ตองเปนใบเสร็จที่แทจริง หากเปนใบเสร็จปลอมแลว แม ผูชําระหนี้จะไมรูวาผูถือใบเสร็จนั้นไมมีสิทธิไดรับชําระหนี้ การไมรูนั้นมิไดเกิดจากความประมาทเลินเลอก็ตามการชําระหนี้นั้นก็ยอมไมสมบูรณ

18.6 การชําระหนี้อยางอื่นหรือการชําระหนี้บางสวน มาตรา 320 ,321 หลัก ลูกหนี้จะบังคับใหเจาหนี้รับชําระหนี้ในกรณีตอไปนี้ไมได

1. รับชําระหนี้บางสวน 2. รับชําระหนี้ผิดไปจากที่ตองชําระ (ฎ.5952/2533)

ขอยกเวน 1. กรณีที่เจาหนี้ยอมรับการชําระหนี้อยางอื่นแทนที่ไดตกลงกันไว หนี้นั้นเปนอันระงับ 2. กรณีลูกหนี้ไดกระทําการเพื่อเอาใจเจาหนี้โดยรับภาระเปนหนี้อยางใดอยางหนึ่งขึ้นใหม หากเปนที่สงสัยมิใหสันนิษฐานวาเปน

การกอหนี้ขึ้นใหมแทนการชําระหนี้เดิม 3. กรณีชําระหนี้ดวยต๋ัวเงิน ต๋ัวสัญญาใชเงิน หรือเช็ค หรือประทวนสินคา ไมวาดวยการโอนหรือสลักหลังนั้น เมื่อตราสาร

ดังกลาวไดใชเงินแลว หนี้จึงเปนอันระงับ ดังนั้น ถาหากยังมิไดใชเงินดังกลาวหนี้ไมเปนอันระงับ (ฎ.4643/2539,ฎ.3965/2531,ฎ.6028/2539,ฎ.2915/2524,ฎ.3553/2536)

18.7สภาพทรัพยท่ีใชชําระหนี้ มาตรา 323 1.กรณีถึงกําหนดเวลาที่จะตองสงมอบ บุคคลผูชําระหนี้ตองสงมอบทรัพยนั้นตามสภาพที่เปนอยูในเวลาที่จะตองสงมอบ 2. กรณียังไมถึงกําหนดเวลาที่ตองสงมอบ ลูกหนี้ตองรักษาทรัพยนั้นไวดวยความระมัดระวังอยางเชนวิญูชนพึงสงวนทรัพยสิน

ของตน จนกวาจะไดสงมอบ 18.8สถานที่ชําระหนี้ มาตรา 324 1. กรณีที่ทรัพยเปนทรัพยเฉพาะสิ่ง หากไมไดตกลงกันไวใหสงมอบกัน ณ สถานที่ใด ตองสงมอบทรัพยนั้น ณ สถานที่ที่ทรัพย

นั้นไดอยูในเวลาที่กอหนี้ 2. กรณีไมใชทรัพยเฉพาะสิ่ง หากไมไดตกลงกันไวใหสงมอบกัน ณ สถานที่ใด ตองสงมอบทรัพยนั้น ณ สถานที่ที่เปนภูมิลําเนา

ปจจุบันของเจาหนี้ (ฎ.685/2538) 18.9 คาใชจายในการชําระหนี้ มาตรา 325

หลักท่ัวไป ลูกหนี้พึงเปนผูออกคาใชจาย ขอยกเวน 1. กรณีมีการแสดงเจตนาเปนอยางอื่นก็ตองเปนไปตามนั้น

Page 13: หนี้

๑๓

2. คาใชจายนั้นมี จํานวนเพิ่มขึ้นเพราะเจาหนี้ยายภูมิลําเนาหรือเพราะการกระทําของเจาหนี้ประการอื่น เจาหนี้ตองเปนผูออกสวนที่เพิ่มขึ้น

18.10 หลักฐานการชําระหนี้ มาตรา326 1.กรณีชําระหนี้ทั้งหมด ผูชําระหนี้มีสิทธิดังนี้

1.1 ไดรับใบเสร็จรับชําระหนี้ 1.2 ไดรับเวนคืนเอกสารอันเปนหลักฐานแหงหนี้ 1.3 ไดขีดฆาเอกสารอันเปนหลักฐานแหงหนี้เสีย 1.4 ไดจดแจงการชําระหนี้ลงไวในเอกสารอันเปนหลักฐานแหงหนี้ซึ่งอยูกับเจาหนี้นั้น (ฎ.1872/2531)

บทสันนิษฐานของกฎหมาย มาตรา 237 ถาเจาหนี้ออกใบเสร็จรับเงินใหเพื่อระยะหนึ่งแลวโดยมิไดอิดเอื้อนใหสันนิษฐานไววาเจาหนี้ไดรับชําระหนี้เพื่อระยะกอนๆนั้นดวยแลว (ฎ.1215/2535) ขอสังเกต การออกใบเสร็จรับเงินหรือการเวนคืนเอกสารที่จะทําใหตองดวยขอสันนิฐานดังกลาวจะตองเปนการกระทําของเจาหนี้ ถาเจาหนี้ไมไดกระทําเชนนั้นก็นําบทบัญญัติดังกลาวมาใชบังคับไมได (ฎ.6594/2537) อยางไรก็ตามเจาหนี้สารมารถพิสูจนเปนอยางอื่นได(ฏ.4123/2540)

18.11 ลําดับการชําระหนี้ มาตรา328 ลําดับการจักสรรชําระหนี้ในกรณีที่ลูกหนี้มีหนี้สินหลายรายซึ่งเปนการชําระหนี้อยางเดียวกันโดยมูลหนี้หลายราย และการชําระหนี้นั้นไมพอที่จะปลดเปลื้องสินไดทุกราย หนี้รายใดจะไดปลดเปลื้องไปกอนใหพิจารณาดังนี้

1. ถาลูกหนี้ระบุลําดับการชําระหนี้สินไว ก็ยอมตองเปนไปตามลําดับที่ระบุไวนั้น 2. ถาลูกหนี้มิไดระบุลําดับการชําระหนี้สินไว ก็ตองพิจารณาตามลําดับของหนี้สินดังตอไปน้ีคือ

2.1 หนี้สินรายไหนถึงกําหนดกอน ก็ใหรายนั้นเปน อันไดเปลื้องไปกอน 2.2 การมีประกันนอยที่สุด กรณีถึงกําหนดชําระพรอมกัน 2.3 การที่ตกหนัก ที่สุด กรณีที่ถึงมีประกันเทากัน เชนมีดอกเบี้ยมาก 2.4 การเกาที่สุด กรณีตกหนักเทากัน เชน หนี้ใกลจะขาดอายุความ 2.5 การเกาเทา ๆ กัน ก็ใหหนี้สินทุกรายเปน อันไดเปลื้องไปตามสวนมากและนอยของหนี้นั้น (ฎ.6555/2538,ฎ.5636/2537,ฎ.

1045/2484) ขอสังเกต หนี้หลายรายลูกหนี้ชําระโดยไมระบุวาชําระรายใด ตองเอาชําระรายมราถึงกําหนดกอน ถาถึงกําหนดพรอมกัน ตองชําระหนี้รายที่ตกหนักแกลูกหนี้กอน 18.12 การจัดสรรชําระหนี้ มาตรา 329 กรณีลูกหนี้มีหนี้รายเดียวแตตองชําระหลายรายการในหนี้รายเดียว ซึ่งลูกหนี้ไมอาจชําระหนี้

ดังกลาวไดทั้งหมดในครั้งหนึ่งๆ กฎหมายไดจัดลําดับการชําระหนี้ใหลูกหนี้ดังตอไปนี้ คือ 1. คาฤชาธรรมเนียม 2. ดอกเบี้ยเปนลําดับตอมา และ 3. หนี้ประธานเปนลําดับสุดทาย

ถาลูกหนี้ระบุลําดับเปนอยางอื่น โดยเจาหนี้มิไดยินยอมดวย เชนนี้ เจาหนี้ยอมมีสิทธิบอกปดไมรับชําระหนี้ก็ได(ฎ756/2508,ฎ.4755-4756/2536,ฎ.5416/2540,ฎ.3055/2526)

บทบัญญัติมาตรา 329 มิใชกฎหมายอันเกี่ยวกับความสงบเรียบรอยของประชาชนคูกรณีตกลงแตกตางไปจารกที่กฎหมายบัญญัติได(ฎ.5007/2538) ขอสังเกต ถาบทบัญญัติของกฎหมายใดบัญญัติไวโดยเฉพาะใหจัดสรรการชําระหนี้อยางไรไวโดยเฉพาะก็ใชบังคับตามนั้น ไมตองใชมาตรา 329 (ฎ.1923/2541)

18.13 ผลของการปฏิบัติการชําระหนี้โดยชอบ มาตรา 330

Page 14: หนี้

๑๔

ลูกหนี้ไดขอปฏิบัติการชําระหนี้โดยถูกตองตามความประสงคอันแทจริงแหงมูลหนี้ แมเจาหนี้จะไมยอมรับชําระหนี้ ซึ่งไมเปนเหตุใหหนี้ระงับไปก็ตาม แตบรรดาความรับผิดชอบอันเกิดแตการไมชําระหนี้นั้นก็เปนอันปลดเปลื้องไปนับแตเวลาที่ขอปฏิบัติการชําระหนี้ ดังนั้น เจาหนี้จะเรียกรองคาสินไหมทดแทนเพื่อความเสียหายอันเกิดจากการไมชําระหนี้นั้นอีกไมได(ฎ3520/2538)

18.14 การวางทรัพย เมื่อมีการวางทรัพยแลวก็ทําใหลูกหนี้หลุดพนจากหนี้นั้น อนึ่งการวางทรัพยนั้นตองระบุไวดวยวาวางทรัพยเพื่อหนี้รายใด (ฏ.1497/2539) ในกรณีมูลหนี้อันหนึ่งมีสิทธิเรียกรองไดหลายอยาง การวางทรัพยตองระบุวาเปนการวางทรัพยเพื่อหนี้อันใด ซึ่งจะมีผลตอหนี้ตามที่ระบุไวเทานั้น เหตุที่จะทําใหเกิดการวางทรัพย ไดแก (ฎ.2759/2534)

18.14.1 เหตุท่ีจะวางทรัพย มาตรา 331 1. เจาหนี้บอกปดไมยอมรับชําระหนี้ 2. เจาหนี้สามารถจะรับชําระหนี้ได เชน เจาหนี้ตกเปนคนไรความสามารถ 3. บุคคลผูชําระหนี้ไม สามารถจะหยั่งรูถึงสิทธิ หรือไมรูตัว เจาหนี้ไดแนนอนโดยมิใชเปน ความผิดของตน เชนเจาหนี้ตายไปแลวมี

ทายาทรับมรดกหลายคน 18.14.2 สถานที่วางทรัพย มาตรา 333 ปจจุบันสํานักงานวางทรัพยแบงออกเปนสองสวน คือ 1. สวนกลาง คือสํานักงานวางทรัพยกลาง ต้ังอยูที่กรมบังคับคดี กระทรวงยุติธรรม 2. สวนภูมิภาค มีทั้งหมอ 9 ภาค ซึ่งตั้งอยูที่ตางจังหวัด

ผูวางตองบอกกลาวใหเจาหนี้ทราบการที่ไดวางทรัพยนั้นโดยพลัน 18.14.3 การถอนการวางทรัพย มาตรา 334 หลัก ลูกหนี้มีสิทธิจะถอนการวางทรัพยที่ไดวางไวตอสํานักงานวางทรัพยและเมื่อลูกหนี้ไดถอน ทรัพยแลวนั้น ถือเสมือนวามิไดวาง

ทรัพยไวเลย ผลก็คือลูกหนี้ยอมไมหลุดพน ขอยกเวน กรณีลูกหนี้ไมมีสิทธิถอนการวางทรัพย

(1) ถาลูกหนี้แสดงตอสํานักงานวางทรัพยวาตนยอมละสิทธิที่ จะถอน (2) ถาเจาหนี้แสดงตอสํานักงานวางทรัพยวาจะรับเอาทรัพยนั้น (3) ถาการวางทรัพยนั้นไดเปนไปโดยคําสั่งหรืออนุมัติของศาล และไดบอกกลาวความนั้นแกสํานักงานวางทรัพย

18.14.4 การขายทอดตลาดทรัพยท่ีวาง มาตรา 336 ใหสิทธิผูชําระหนี้ที่รับอนุญาตจากศาลนําทรัพยที่จะวางทรัพยไปขายทอดตลาดแลวนําเงินที่ไดจากการขายทอดตลาดมาวาวไวแทนที่ ในกรณีที่ทรัพยซึ่งวางมีลักษณะดังตอไปนี้

1. ไมควรแกการ จะวาง 2. พึงวิตกวาทรัพยนั้นเกลือกจะเสื่อมเสียหรือ ทําลาย หรือบุบสลาย 3.คารักษาทรัพยจะแพงเกินควร

18.14.5 กําหนดเวลาวางทรัพย มาตรา 339 เจาหนี้มีสิทธิในทรัพยที่วางตอสํานักงานวางทรัพยภายใน 10 ป นับแตไดรับคําบอกกลาวนั้น หากครบ 10 ป แลวเจาหนี้ไมใชสิทธิดังกลาวสิทธิของเจาหนี้นั้นก็เปนอันระงับสิ้นไป เมื่อสิทธิของเจาหนี้ระงับสิ้นไปแลวลูกหนี้ ก็มีสิทธิถอนทรัพยที่วางไวคืนมาได แมวาลูกหนี้จะเคยสละสิทธิถอนทรัพยนั้นแลวก็ตาม

19. ปลดหนี้ มาตรา 340 1. ตองแสดงเจตนาตอลูกหนี้ (ฎ.2432/2540) กรณีไมถือวาเปนการปลดหนี้

-- ตกลงเลิกสัญญา(ฎ.1129/2504) -- ประนอมหนี้ในคดีลมละลาย(ฎ.635/2522)

2. วิธีปลดหนี้ หลัก ทําไดดวยวาจา ขอยกเวน ถาหนี้นั้นมีหลักฐานเปนหนังสือ ตองทําดังนี้

Page 15: หนี้

๑๕

ทําเปนหนังสือ เวนคืนเอกสาร ขีดฆาเอกสาร (ฎ.7717/2538,ฎ.434/2536,ฎ.98/2540,ฎ.893/2540)

20. หักกลบลบหนี้ 20.1 หลักเกณฑหักกลบลบหนี้ มาตรา 341 หลักเกณฑหักกลบลบหนี้ มีดังนี้

1. บุคคลสองคนตางมีความผูกพันซึ่งกันและกันโดยมูลหนี้ 2. หนี้ทั้งสองรายมีวัตถุเปนอยางเดียวกัน เชน เปนหนี้เงินเหมือนกันโดยไมจําเปนตองมีจํานวนเทากัน 3. หนี้ทั้งสองรายนั้นถึงกําหนดชําระแลวในเวลาที่หักกลบลบหนี้ โดยไมจําเปนตองถึงกําหนดชําระหนี้พรอมกัน 4.สภาพแหงหนี้ทั้งสองรายเปดชองใหหักกลบลบหนี้ได 5. ลูกหนี้ฝายใดฝายหนึ่งแสดงเจตนาขอหักกลบลบหนี้ตออีกฝายหนึ่ง

ขอสังเกต 1. ลูกหนี้รวมจะเอาสิทธิเรียกรองของคนอื่นมาหักกลบลบหนี้กับเจาหนี้ไมได(ฎ241/2539) 2. บุคคลสองคนตางมีความผูกพันซึ่งกันและกัน เปนลูกหนี้เจาหนี้กัน หากเปนหนี้ฝายเดียวก็ไมใชกรณีหักกลบลบหนี้(ฎ.

9787/2539,ฎ.908/2532) 3. หนี้ที่จะนํามาหักกลบลบหนี้นั้นตองเปนหนี้ที่สามารถบังคับเอาแกกันไดดวย หากหนี้รายใดบังคับกันไมไดก็จะนํามาหักกลบ

ลบไมได(ฎ.5926/2533) 4. หนี้ที่ตองสงมอบทรัพยตางประเภท หรือตางชนิดกันนํามาหักกลบลบหนี้ไมได(ฎ.6006/2534) 20.2 วิธีหักกลบลบหนี้ มาตรา 342 ทําไดดวยคูกรณีฝายหนึ่งแสดง เจตนาแกอีกฝายหนึ่ง(แมอีกฝายไมยินยอมหนี้ก็ระงับ) (ฎ.

843/2516,3671/2535) การหักกลบลบหนี้นั้นมีผลยอนหลังขึ้นไปจนถึงเวลาที่หนี้ทั้งสองฝายนั้นอาจหักกลบลบหนี้กันไดเปนครั้งแรก คือเมื่อเวลาที่หนี้สองรายถึงกําหนดชําระ(ฎ.843/2516)

20.3 สิทธิเรียกรองที่มีขอตอสู มาตรา 344 สิทธิเรียกรองใดยังมีขอตอสูอยู จะเอามาหักกลบลบหนี้ไมไดเวนแต เปนเรื่องอายุความ (ฎ.2437/2525,ฎ.1285/2532,ฎ.1924/2541)

20.4หนี้หลายรายที่จะหักกลบลบหนี้ มาตรา 348 1. กรณีฝายผูขอหักหนี้ระบุถึงหนี้ที่จะหักกลบลบหนี้กันก็ตองเปนไปตามที่ระบุไวนั้น 2.กรณีฝายที่ผูที่ขอหักหนี้ไมไดระบุหนี้ที่จะหักกลบลบหนี้นั้น หรือมีการระบุไวแตคูกรณีอีกฝายทักทวงขัดของโดยไมชักชา โดย

นําบทบัญญัติมาตรา 328 วรรคสอง มาใชบังคับโดยอนุโลมกลาวคือ ใหนําหนี้รายที่ถึงกําหนดกอนมาหักกลบลบหนี้ ถาถึงกําหนดพรอมกันใหนําหนี้รายที่มีประกันนอยที่สุดมาหักกลบลบหนี้ ถามีประกันเทากัน ใหนําหนี้รายที่หนักที่สุดมาหักกลบลบหนี้ ถาหนักเทากัน ใหนําหนี้รายที่เกาที่สุดมาหักกลบลบหนี้และถาตกหนักเทากันอีกใหหักกลบลบหนี้ตามสวนมากนอยของหนี้เหลานั้น ถาฝายผูขอหักหนี้ยังเปนหนี้คาดอกเบี้ยและคาฤชาธรรมเนียมแกอีกฝายหนึ่งนอกจากชําระหนี้ประธาน แลวใหนําบทบัญญัติ มาตรา 329 มาใชบังคับโดยอนุโลมกลาวคือ ใหเอาคาฤชาธรรมเนียมมาหักกลบลบหนี้กอนแลวจึงเอาคาดอกเบี้ยและสุดทายเปนหนี้ประธานที่จะเอามาหักกลบลบหนี้นั้น (ฎ.2480/2517) 21. แปลงหนี้ใหม

21.1 หลักเกณฑการแปลงหนี้ใหม มาตรา 349 1.ตองมีหนี้เดิมผูกพันกันอยูโดยมูลหนี้อะไรก็ได(ฎ.1826/2529)

ขอสังเกต แมหนี้ขาดอายุความไปแลว ก็สามารถแปลงหนี้ใหมได (ฎ.5329/2538) 2. คูกรณีทําสัญญาเปลี่ยนแปลงสิ่งที่เปนสาระสําคัญแหงหนี้ โดยทําเปนสัญญาและตองแตกตางจากหนี้เดิม(ฎ.3369/2525,ฎ.

5791/2537,ฎ.1366/2493) สาระสําคัญแหงหนี้ ไดแก

Page 16: หนี้

๑๖

มูลแหงหนี้ ตัวเจาหนี้ลูกหนี้(ฎ.2331/2522) วัตถุแหงหนี้(ฎ.1008/2520) ทรัพยอันเปนวัตถุแหงหนี้(ฎ.1008/2496) เงื่อนไขแหงหนี้(มาตรา 349)

โดยทําใหหนี้ที่มีเงื่อนไขเปนไมมีเงื่อนไข หรือ เพิ่มเงื่อนไขเขาไปในหนี้ที่ไมมีเงื่อนไข หรือเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขเดิม(ฎ.1676/2540) กรณีไมถือวาเปนสาระสําคัญแหงหนี้

การเพิ่มหลักประกันแกหนี้ที่ไมมีหลักประกัน(ฎ.3052/2527) การเพิ่มวงเงินจํานอง(ฎ.1315/2532) ตกลงใหผอนชําระหนี้(ฎ.5866/2538) การเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ย(ฎ.1938/2540)

21.2 หนีใหมตองเกิดขึ้นโดยสมบูรณ มาตรา 351 หนี้เดิมไมระงับสิ้น เพราะ 1. หนี้ใหมมิไดเกิด มีขึ้น 2. หนี้ใหมยกเลิกเสียเพราะมูลแหงหนี้ไมชอบดวยกฎหมาย 3. เหตุอยางใดอยางหนึ่งอันมิรูถึงคูกรณี (ฎ.4424/2533) 21.2 วิธีการแปลงหนี้ใหม 1. โดยการเปลี่ยนตัวเจาหนี้ มาตรา 349 วรรคทาย (ฎ.4837/2540,ฎ.3757/2533) 2. การเปลี่ยนตัวลูกหนี้ มาตรา 350 (ฎ.6744/2538)

ถาบุคคลภายนอกทําสัญญากับลูกหนี้วาจะใชหนี้แทนลูกหนี้โดยไมทําสัญญากับเจาหนี้ ก็ไมเปนการแปลงหนี้ใหมโดยเปลี่ยนตัวลูกหนี้(ฎ339/2538,ฏ.2366/2517,ฎ.4041/2533) 21.3 ผลของการแปลงหนีใ้หม

1. หนี้เดิม เปนอันระงับไป หากมีหนี้หลายราย จะระงับในสวนที่มีการแปลงหนี้นั้น(ฎ.999/2532) 2. ประกันของหนี้เดิม (มาตรา 352)

- ค้ําประกัน ยอมระงับไปตามหนี้ประธาน - จํานอง,จํานํา ถาคูกรณีตกลงใหโอนไปดวยก็จะไปเปนประกันหนี้ใหม(ฎ.1949/2516)

- หนี้ใหม ผูกพันเจาหนี้และลูกหนี้ตอไป(ฎ.9121/2538) 22.หนี้เกล่ือนกลืนกัน

หนี้เกลื่อนกลืนกันเปนกรณีที่สิทธิและความรับผิดในหนี้ตกมาอยูแกบุคคลคนเดียวกัน เปนผลใหหนี้ระงับสิ้นไป เชน เจาหนี้ตายในขณะที่มีสิทธิเรียกรองตอลูกหนี้ ลูกหนี้นั้นก็เปนทายาทที่มีสิทธิรับมรดกในสิทธิเรียกรองดังกลาวจากเจาหนี้ เปนตน แตมีขอยกเวนคือ

1. เมื่อหนี้นั้นตกไปอยูในบังคับแหงสิทธิของบุคคลภายนอก 2. เมื่อสลักหลังตั๋วเงินกลับคืนมาตามมาตรา 917 วรรคสาม

“ ความสําเร็จ คือ เสนชัยของนักสู สู สู........สู “

สงวนลิขสิทธิ์ของนักศึกษาเนติบัณฑิต สมยั 58