29
1 แนวความคิดเกี่ยวกับชุมชนและแผนชุมชน แนวความคิดเกี่ยวกับชุมชน แนวความคิดเกี่ยวกับชุมชนไดปรากฏขึ้นมาหลายศตวรรษแลว ชุมชนเปนหนวยทางสังคม ที่เกี่ยวของกับประชากร ในผลงานเขียนของนักปรัชญาการเมืองโบราณสมัยกรีก ( Ancient Greek) ชื่อเพลโต (Plato) เรื่อง อุตมรัฐ (Republic) ชุมชนซึ่งเปนรัฐในอุดมคติ เปนสภาพของสังคมที่เลอ เลิศและมีแตความผาสุกจากการที่ผูปกครองเปนราชาปราชญ (Philosopher King) (วิรัช เตียวหงษา กุล, 2529 อางถึงในการุญ ไชยแขวง, 2541: 17) สวนในปจจุบัน จิตจํานงค กิติกีรติ (2536 อางถึง ในการุญ ไชยแขวง, 2541: 17) กลาวไววา แนวความคิดเกี่ยวกับชุมชน เปนแนวความคิดที่ประกอบ ไปดวยแนวความคิดในเชิงปรัชญา อุดมการณและวิธีการที่จะใหไดมาซึ่งชีวิตและความเปนอยูที่ดี ความหมายของชุมชน ในทางสังคมวิทยา พิจารณาจากพจนานุกรมศัพทสังคมวิทยาฉบับราชบัณฑิตสถาน พ.ศ. 2524 คําวา ชุมชน ( Community) หมายความถึง หมูชน หรือกลุมคนที่อาศัยอยูรวมกันเปนสังคม ขนาดเล็ก อาศัยอยูในบริเวณเดียวกันและมีผลประโยชนรวมกัน สวนสุวิทย ยิ่งวรพันธ (2512: 51) ชุมชน หมายความถึง กลุมชนที่อาศัยอยูรวมกัน โดยมีความรูสึกผูกพันเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน จะ โดยอาศัยหลักผูกพันในทางเชื้อชาติ เผาพันธุ ศาสนาเดียวกันซึ่งทําใหบุคคลมีความรูสึกเปนสวน หนึ่งของสังคมนั้น หรืออาศัยหลักความผูกพันหรือผลประโยชนทางเชื้อชาติ ศาสนา และ วัฒนธรรมรวมกันโดยอาศัยอยูในบริเวณพื้นที่ทางภูมิศาสตรเดียวกัน ตลอดจนการมีผลประโยชน ในทางการบริการสังคมรวมกัน สัญญา สัญญาวิวัฒน (2515: 19) กลาวไววา ชุมชนประกอบไปดวยประชาชนที่อาศัยอยู บนผืนแผนดินที่ตอเนื่องกันและเปนผูที่มีความสนใจรวมกับผูอื่นอยางนอย 10 อยางหรือมากกวา อันเห็นเหตุใหตองอาศัยอยูบนผืนดินนั้น ในทํานองเดียวกับอุทัย หิรัญโต (2526: 47 -48) ที่ระบุวา ชุมชนจะตองมีองคประกอบประกอบดวย (1) ประชาชนหรือคน ( People) (2) อาศัยอยูในบริเวณ หรือพื้นที่พื้นที่หนึ่ง ( Area ) (3) ผูคนที่อาศัยนั้นมีความสนใจรวมกัน ( Common Interest) (4) มี ปฏิสัมพันธกัน (Interaction) และ (5) มีความสัมพันธตอกัน (Relationship) This document was created with the trial version of Print2PDF! Once Print2PDF is registered, this message will disappear! Purchase Print2PDF at http://www.software602.com/

แนวคิดเกี่ยวกับชุมชนและแผนชุมชน

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: แนวคิดเกี่ยวกับชุมชนและแผนชุมชน

1

แนวความคิดเกี่ยวกบัชุมชนและแผนชุมชน

แนวความคิดเกี่ยวกับชุมชน

แนวความคิดเกี่ยวกับชุมชนไดปรากฏขึ้นมาหลายศตวรรษแลว ชุมชนเปนหนวยทางสังคมที่เกี่ยวของกับประชากร ในผลงานเขียนของนักปรัชญาการเมืองโบราณสมัยกรีก (Ancient Greek) ชื่อเพลโต (Plato) เรื่อง อุตมรัฐ (Republic) ชุมชนซึ่งเปนรัฐในอุดมคติ เปนสภาพของสังคมที่เลอเลิศและมีแตความผาสุกจากการที่ผูปกครองเปนราชาปราชญ (Philosopher King) (วิรัช เตียวหงษากุล, 2529 อางถึงในการุญ ไชยแขวง, 2541: 17) สวนในปจจุบัน จิตจํานงค กิติกีรติ (2536 อางถึงในการุญ ไชยแขวง, 2541: 17) กลาวไววา แนวความคิดเกี่ยวกับชุมชน เปนแนวความคิดท่ีประกอบไปดวยแนวความคิดในเชิงปรัชญา อุดมการณและวิธีการที่จะใหไดมาซึ่งชีวิตและความเปนอยูที่ดี

ความหมายของชุมชน

ในทางสังคมวิทยา พิจารณาจากพจนานุกรมศัพทสังคมวิทยาฉบับราชบัณฑิตสถาน พ.ศ.2524 คําวา ชุมชน (Community) หมายความถึง หมูชน หรือกลุมคนที่อาศัยอยูรวมกันเปนสังคมขนาดเล็ก อาศัยอยูในบริเวณเดียวกันและมีผลประโยชนรวมกัน สวนสุวิทย ยิ่งวรพันธ (2512: 51)ชุมชน หมายความถึง กลุมชนที่อาศัยอยูรวมกัน โดยมีความรูสึกผูกพันเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน จะโดยอาศัยหลักผูกพันในทางเชื้อชาติ เผาพันธุ ศาสนาเดียวกันซึ่งทําใหบุคคลมีความรูสึกเปนสวนหนึ่งของสังคมนั้น หรืออาศัยหลักความผูกพันหรือผลประโยชนทางเ ชื้อชาติ ศาสนา และวัฒนธรรมรวมกันโดยอาศัยอยูในบริเวณพื้นที่ทางภูมิศาสตรเดียวกัน ตลอดจนการมีผลประโยชนในทางการบริการสังคมรวมกัน

สัญญา สัญญาวิวัฒน (2515: 19) กลาวไววา ชุมชนประกอบไปดวยประชาชนที่อาศัยอยูบนผืนแผนดินที่ตอเนื่องกันและเปนผูที่มีความสนใจรวมกับผูอื่นอยางนอย 10 อยางหรือมากกวา อันเห็นเหตุใหตองอาศัยอยูบนผืนดินนั้น ในทํานองเดียวกับอุทัย หิรัญโต (2526: 47-48) ที่ระบุวา ชุมชนจะตองมีองคประกอบประกอบดวย (1) ประชาชนหรือคน (People) (2) อาศัยอยูในบริเวณหรือพื้นที่พื้นที่หนึ่ง (Area) (3) ผูคนที่อาศัยนั้นมีความสนใจรวมกัน (Common Interest) (4) มีปฏิสัมพันธกัน (Interaction) และ (5) มีความสัมพันธตอกัน (Relationship)

This document was created with the trial version of Print2PDF!

Once Print2PDF is registered, this message will disappear!

Purchase Print2PDF at http://www.software602.com/

Page 2: แนวคิดเกี่ยวกับชุมชนและแผนชุมชน

2

จีรพรรณ กาญจนจิตรา (2523) ใหความหมายของคําวา ชุมชน ไววาหมายถึงกลุมบุคคลหลาย ๆ กลุมที่มารวมกันอยูในอาณาเขตเดียวกัน และผูคนเหลานั้นมีการพบปะแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกัน มีการติดตอสังสรรคกัน มีผลประโยชนรวมกันและมีวัฒนธรรมอยางเดียวกนั

ทนงศักดิ์ คุมไขน้ําและคณะ (2534) กลาวไววา ชุมชนหมายความถึงกลุมคนที่อาศัยอยูรวมกันในที่ใดที่หนึ่ง โดยมีความรูสึกผูกพันเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน มีความรูสึกนึกคิดและสนใจในสิ่งใดสงหนึ่งหรือหลายอยางคลายกัน มีการปฏิบัติตอกันดวยความรูสึกวาแตละคนเปนสวนหนึ่งของสังคมนั้น

ประเวศ วะสี (2537: 20) เสนอวา ชุมชน เปนการรวมตัวกันของกลุมคนที่มีวัตถุประสงครวมกัน โดยอาจเปนการรวมตัวกันตามพื้นที่หรือมิใชตามพื้นที่ก็ได สมาชิกในชุมชนมีการกระทําตอกันและมีการจัดการ

ปรีชา นิพนธพิทยา (2536: 52) ใหความหมายของชุมชนวาเปน การอยูรวมกันของกลุมคนในพื้นที่ที่มีขอบเขตแนนอน หรือมีความผูกพันซึ่งกันและกัน อันเปนผลมาจากการมีกิจกรรมทางการผลิต มีวิธีการผลิตที่เหมือนหรือใกลเคียงกัน หรือเกื้อกูลกัน มีกิจกรรมทางสังคมและวัฒนธรรมที่เกิดจากความสัมพันธระหวางคนภายในกลุม และเกิดจากกลุมชาติพันธุ ประเพณี พิธีกรรม ความเชื่อเดียวกัน หรือใกลเคียงกัน และรวมกับความคิดทางการเมืองหรือมีกระบวนการในการตัดสินใจรวมกัน ในทัศนะของนักวิชาการตางประเทศ ความเปนชุมชน พิจารณาไดจากองคประกอบ 3 ประการไดแก (1) นิเวศวิทยาชุมชน (Local Ecology) ซึ่งเนนลักษณะของชุมชนที่อยูอาศัย (2) สังคมของชุมชน (Local Society) ซึ่งเนนลักษณะชุมชนที่มีโครงสรางแบบองครวม (Holistic Structure) เชน กลุมคนหรือสังคมที่สามารถตอบสนองความตองการรวมหรือผลประโยชนรวมของคนในชุชน และ (3) การกระทํารวมกันของบุคคล (Community Actions) ซึ่งเปนความพยายามรวมกันของสมาชิกในชุมชน เพื่อแกไขปญหาหรือแสดงออกซึ่งเอกลักษณทางวัฒนธรรมทางสังคมและความเปนปกแผนชองชุมชน (Kenneth Wilkinson , 1986 อางถึงในการุญ ไชยแขวง, 2541: 16) สวน วอสลี่ (Peter Worsley, 1988: 239-240 อางถึงในการุญ ไชยแขวง, 2541: 16) ไดสรุปคุณลักษณะรวม 3 ประการของชุมชนไววาประกอบดวย (1) ชุมชน เปรียบเสมือนการมีขอบเขต อาณาบริเวณ (Community as Locality) โดยเนนการตั้งถิ่นฐานที่มีอาณาเขตแนนอน เปนการเชื่อมโยงความสัมพันธระหวางที่ตั้ งชุมชนทางภูมิศาสตรและวิถีชีวิตของคนในชุมชน (2) ชุมชนเปรียบเสมือนระบบสังคมเล็ก ๆ สังคมหนึ่ง (Community as a Local Social System) เปนลักษณะความสัมพันธของสังคมที่เกิดขึ้นในสังคมเล็ก ๆ สังคมหนึ่ง และ (3) ชุมชนเปรียบเสมือนรูปแบบ

This document was created with the trial version of Print2PDF!

Once Print2PDF is registered, this message will disappear!

Purchase Print2PDF at http://www.software602.com/

Page 3: แนวคิดเกี่ยวกับชุมชนและแผนชุมชน

3

ของความสัมพันธ (Community as a Type of Relationship) ซึ่งเปนความรูสึกรวมทางเอกลักษณเฉพาะของคนในชุมชน

ประเภทของชุมชน

ในทางวิชาการนั้น การแบงประเภทชุมชนมีความแตกตางกันไปบางตามทัศนะของนักวิชาการแตละทาน เสริมศักดิ์ ศรีสันติสุข (2537: 10-13) ไดแบงชุมชนของไทยออกเปน 3 ลักษณะใหญ ๆ โดยอาศัยเกณฑกําหนดประกอบดวย (1) การแบงตามลักษณะการปกครอง (2) การแบงตามลักษณะกิจกรรมทางสังคม และ (3) แบงตามลักษณะความสัมพันธของบุคคลสังคม โดยลักษณะของชุมชนโดยอาศัยเกณฑการจัดแบงประเภทดังกลาวแลว สามารถสรุปดังนี้

1) แบงตามลักษณะการปกครอง (Administrative Unit) ซึ่งสามารถจัดแบงชุมชนออกได 6 ประเภทโดยอาศัยการพิจารณาจากลักษณะการปกครองของไทยตามพระราชบัญญัติการปกครองทองที่ พ.ศ.2457 ไดแก

1.1) ชุมชนหมูบาน หมายถึง หมูบานซึ่งประกอบไปดวยบานหลายบานในทองที่เดียวกัน โดยจัดอยูในความปกครองเดียวกันของหมูบานหนึ่ง โดยหากคนอาศัยอยูรวมกันมีมากแตจํานวนบานมีนอย ก็ใหถือเอาเกณฑจํานวนคนเปนสําคัญ กลาวคือ การมีประชาชนอยางนอย 200 คนก็สามารถจัดตั้งเปนหมูบานได และอยางนอยการจัดตั้งเปนหมูบานก็ควรมีไมนอยกวา 5 บาน โดยทั่วไปแลว ชุมชนประเภทนี้จะประกอบอาชีพเกษตรกรรม

1.2) ชุมชนเขตสุขาภิบาล 1 หมายถึง ชุมชนที่มีเนื้อที่ขอบเขตชุมชนไมนอยกวา 1-4 ตารางกิโลเมตร และควรมีรานคาไมต่ํากวา 10 ราน และประชาชนพักอาศัยอยูในเขตรวมกันไมนอยกวา 1, 500 คนโดยประมาณ

1.3) ชุมชนเทศบาลตําบล หมายถึง ชุมชนในเขตสุขาภิบาลที่มีความเจริญและมีความหนาแนนของประชาชนในระดับหนึ่ง และเปนชุมชนที่ยกฐานะมาจากสุขาภิบาล เพื่อความสะดวกในการจัดระบบบริการสาธารณะ เชน การกอสรางสาธารณูปโภค เปนตน และมกีารปกครองตนเองโดยรับการรับรองโดยกฎหมาย โดยทั่วไปแลวชุมชนเทศบาลตําบล มักเปนชุมชนขนาดใหญที่ตั้งอยูในเขตอําเภอ

1.4) ชุมชนเขตเทศบาลเมือง หมายถึง ชุมชนที่มีราษฎรรวมกันในทองที่ไมนอยกวา 10,000 คน มีคาเฉลี่ยความหนาแนนของประชากรไมนอยกวา 300 คนตอตารางกิโลเมตร และ

1 ปจจุบันหนวยการปกครองทองถิ่นรูปแบบสุขาภิบาล (Sanitary)

This document was created with the trial version of Print2PDF!

Once Print2PDF is registered, this message will disappear!

Purchase Print2PDF at http://www.software602.com/

Page 4: แนวคิดเกี่ยวกับชุมชนและแผนชุมชน

4

โดยทั่วไปแลว ชุมชนเขตเทศบาลเมืองจะตั้งอยูในเขตของตัวจังหวัด และเปนศูนยกลางของการบริหารสวนราชการตาง ๆ ระดับภูมิภาค

1.5) ชุมชนเขตเทศบาลนคร หมายถึง ชุมชนที่ยกฐานะขึ้นมาจากเทศบาลเมืองหรือชุมชนที่เทศบาลเมืองสามารถยกฐานะขึ้นไปไดโดยที่ทองที่นั้นจะตองมีประชากรตั้งแต 50,000 คนขึ้นไป และมีความหนาแนนของจํานวนประชากรไมนอยกวา 300 คนตอตารางกิโลเมตร

1.6) ชุมชนเขตกรุงเทพมหานคร หมายถึง ชุมชนที่ประชากรอาศัยอยูหนาแนนมาก แลเปนเอกนคร (Primate City) ซึ่งเปนเมืองที่มีขนาดใหญโตกวาเมืองในระดับรองลงไป ในชุมชนเขตกรุงเทพมหานครนี้ จัดเปนชุมชนที่มีการปกครองตนเองในรูปของการปกครองทองถิ่นรูปแบบพิเศษ มีการเลือกตั้งผูบริหารงาน และมีสมาชิกสภากรุงเทพมหานครที่มีที่มาจากการเลือกตั้งของประชาชน

2) แบงตามกิจกรรมทางสังคม (Social Activities) โดยสามารถจําแนกลักษณะของชุมชนตามเกณฑการจัดแบงนี้ออกไดเปนชุมชน 5 ลักษณะประกอบดวย

2.1) ชุมชนเกษตรกรรม หมายถึง ชุมชนที่ประชาชนสวนใหญที่พักอาศัยในชุมชนประกอบอาชีพเกษตรกรรม

2.2) ชุมชนศูนยการคา หมายถึง ชุมชนตามหัวเมืองตาง ๆ ที่เปนศูนยกลางทางการคา ซึ่งอาจจะเปนตัวอําเภอเมือง หรือตําบลที่เปนที่ตั้งของเทศบาลตําบลก็ได โดยมักมีรานคาจําหนายสินคาเพื่อใชในชีวิตประจําวัน มีตลาดสดจําหนายอาหารและผักสดตาง ๆ ในตอนเชา ชุมชนศูนยการคาจึงมักจะมีอยูทั่วไปในเขตเมืองตาง ๆ และเขตชุมชนหนาแนนในเขตอําเภอ

2.3) ชุมชนศูนยกลางขนสง หมายถึง ชุมชนที่เกิดขึ้นตามเสนทางคมนาคม หรือเสนทางขนสงทางรถยนต ทางเรือ หรือทางอากาศ โดยทั่วไปพบชุมชนลักษณะนี้ตามทางแยกที่เปนศูนยกลางการเดินทาง

2.4) ชุมชนเขตอุตสาหกรรม หมายถึง ชุมชนซึ่งตั้งอยูในเขตอุตสาหกรรมที่มีโรงงานอุตสาหกรรมตั้งอยู และที่พักของคนงานที่ทํางานในโรงงาน มักตั้งอยูในเ ขตของชุมชนอุตสาหกรรม

2.5) ชุมชนศูนยกลางของการใหบริการ หมายถึง ชุมชนที่ตั้งขึ้นเพื่อเปนศูนยกลางของการบริการตาง ๆ เชน ชุมชนในเขตตัวเมืองหาดใหญ จังหวัดสงขลา ซึ่งเปนชุมชนแหลงทองเที่ยวและการซื้อสินคา โดยในเขตตัวเมืองสงขลาจะแตกตางกับเขตอําเภอหาดใหญ โดยมีลักษณะเปนศูนยกลางสวนราชการของจังหวัด 3) แบงตามความสัมพันธของบุคคลในชุมชน (Social Relation) เปนการแบงประเภทของชุมชนอีกเกณฑหนึ่งที่อาศัยความสัมพันธทางสังคมเปนเงื่อนไข และเปนการมองในทัศนะของนัก

This document was created with the trial version of Print2PDF!

Once Print2PDF is registered, this message will disappear!

Purchase Print2PDF at http://www.software602.com/

Page 5: แนวคิดเกี่ยวกับชุมชนและแผนชุมชน

5

สังคมวิทยาที่มองลักษณะของความสัมพันธในสังคมทุกดาน ไมเพียงเฉพาะการเมืองการปกครอง หรือกิจกรรมทางสังคมเทานั้น หากแตยังรวมไปถึงความสัมพันธของของสถาบันตาง ๆ ตลอดจนลักษณะทางนิเวศวิทยาอีกดวย ลักษณะของชุมชนที่จัดแบงตามเกณฑนี้จําแนกออกไดเปน 2 ลักษณะคือ

3.1) ชุมชนชนบท เปนชุมชนที่มีความใกลชิดหรืออาศัยอยูในสภาพธรรมชาติ มักเปนชุมชนที่ประกอบอาชีพทางเกษตรกรรมเปนหลัก

3.2) ชุมชนเมือง เปนชุมชนที่มีความแตกตางจากชุมชนชนบท ประชาชนในเขตชุมชนเมืองมีความเปนอิสระในการประกอบอาชีพและมีการพักอาศัยกันอยูอยางหนาแนน และความสัมพันธภายในครอบครัวในชุมชนเมืงบวามีหลายกรณีที่ไมมากเทากับชุมชนชนบท

แนวความคิดเกี่ยวกับแผนชุมชน

แนวคิดในการจัดการทําแผนชุมชน นับไดวาเกิดขึ้นมาจากรากฐานความคิดที่รัฐบาลมุงใหการพัฒนาระดับจังหวัด เกิดขึ้นมาจากการมีสวนรวมในการกําหนดทิศทางของจังหวัดเอง และขยายลงไปสูระดับทองถิ่น ซึ่งที่ผานมาในระดับทองถิ่นเชนระดับตําบล ยังไมมีแผนงานอะไรเปนของตัวเอง อันจะสามารถสะทอนไดวาทองถิ่นหรือชุมชนในระดับตําบลนั้นจะพัฒนาไปในทิศทางใด โดยเฉพาะภายใตบริบทการปฏิรูปการเมืองตามนัยรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยฉบับป พ.ศ. 2540 ซึ่งเปนกฎหมายสูงสุดของประเทศที่ไดใหอํานาจและสิทธิชุมชนในการจัดการและพัฒนาทองถิ่นไดเอง ไมวาจะเปนเรื่องการดูแลรักษา ฟนฟูเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแ วดลอม ศิลปวัฒนธรรม ตลอดจนการศึกษา โดยรัฐจะเปนพี่เลี้ยงในการสนับสนุนในเรื่องของความรูทางวิชาการและงบประมาณเพื่อการดําเนินการ และตอมาแผนชุมชนไดรับการกลาวถึงในขัน้ตอนของการจัดทําแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 9 (พ.ศ.2545 -2549) ซึ่งเกิดจากกระบวนการประชาคมระดับทองถิ่น เวทีระดับจังหวัดมาสูการกําหนดวิสัยทัศนของจังหวัด และขยายครือขายไปสูระดับภูมิภาคเพื่อการยกรางขึ้น และผลจากการยกรางดังกลาว ไดมีประเด็นสําคัญเนนไปที่การสรางความเขมแข็งใหกับชุมชน และการพัฒนาเมืองใหนาอยู โดยเฉพาะกระบวนการพัฒนาชุมชนใหเขมแข็งที่เกิดจากพลังของประชาชนหรือคนในชุมชน รวมคิด รวมทํา รวมรับผิดชอบในการพัฒนา แกไขปญหาและสามารถดํารงชีวิตอยูไดอยางเทาทันการเปลี่ยนแปลง และเปนรากฐานที่มั่นคงของสังคม โดยสงเสริมการรวมตัวกันของชุมชนและประชาคมในการคนหาศักยภาพของชุมชน และสนับสนุนใหชุมชนจัดทําแผนชุมชนอยางมีสวนรวม เพื่อที่จะนําศักยภาพและปญหามาวิเคราะห กําหนดกิจกรรมดําเนินงานตามความสามารถของชุมชน และ

This document was created with the trial version of Print2PDF!

Once Print2PDF is registered, this message will disappear!

Purchase Print2PDF at http://www.software602.com/

Page 6: แนวคิดเกี่ยวกับชุมชนและแผนชุมชน

6

พึ่งพาทรัพยากรที่อยูเปนหลัก ตลอดจนใหมีการติดตามประเมินผลการพัฒนาโดยชุมชนรวมกับภาคีการพัฒนาในทองถิ่นจัดใหมีเวทีแลกเปลี่ยนประสบการณความคิดเห็นรวมกัน แลวสรุปบทเรียน และปรับระบบขอมูลพื้นฐานรวมท้ังตัวชี้วัดในการพัฒนาเปนระยะ (แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 9, 2545: 51-52) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติจึงกอรางสรางยุทธศาสตรในเชิงการจัดการพื้นที่ในมิติใหม ดวยการพัฒนากระบวนการชุมชนเขมแข็ง ภายใตกระบวนการมีสวนรวมของประชาชนในชุมชน ซึ่งกลายเปนเรื่องสําคัญในยุคสมัยปจจุบัน และไดปรากฎรูปธรรมของการดําเนินงานภายหลังจากคณะรัฐมนตรีไดมีมติเมื่อวันที่ 10 กันยายน 2545 ซึ่ งไ ด ให ค วา ม เ ห็ น ช อ บ ก ร อ บ ยุ ท ธ ศ า ส ต ร ใน ก า ร แ ก ไ ข ป ญ หา ค วา ม ย าก จ นต า ม ม ติคณะกรรมการนโยบายกระจายความเจริญไปสูภูมิภาคและทองถิ่น (กนภ.) ในการประชุมครั้งที่ 1/2545 เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม 2545 ตามที่สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (สศช.) เสนอและมอบหมายให สศช. เปนหนวยงานหลักในการประสานการจัดทําแผนปฏิบัติการเพื่อการแกไขปญหาควมยากจนรวมกับหนวยงานที่เกี่ยวของและภาคีในการพัฒนาตาง ๆ โดยเนนการแปลงกรอบยุทธศาสตรดังกลาวไปสูการปฏิบัติ โดยการจัดทําโครงการบูรณาการแผนชุมชนเพื่อความเขมแข็งของชุมชน และเอาชนะความยากจน เพื่อที่จะรวมพลังของทกุภาคสวนของสังคม อันไดแกภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม และเครือขายองคกรชุมชน รวมกันบูรณาการแผนชุมชนทุกตําบลทั่วประเทศ โดยใหชุมชนมีบทบาทในการขับเคลื่อนการพัฒนา สรางกระบวนการเรียนรู โดยใชทุนทางสังคม ทุนทางวัฒนธรรมและภูมิปญญาทองถิ่นเปนฐานในการพัฒนาชุมชนของตนเองไปสูเปาหมายที่ตองการ และกระทําผานกลไกผูประสานงานในพื้นทีท่ี่เรียกวา ภาคีการพัฒนา 5 หนวยงาน ไดแก กรมการพัฒนาชุมชน กรมสงเสริมการเกษตร กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กรมการศึกษานอกโรงเรียน และกรมกิจการพลเรือน กองบัญชาการทหารสูงสุด รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย ฉบับป พ.ศ.2540 และแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ซึ่งเปนกฎหมายและแผนสําคัญของการพัฒนาประเทศ เปนกลไกหลักในการสรางการมีสวนรวมของประชาชน และการใหอํานาจและสิทธิแกชุมชนในการจัดการและพัฒนาทองถิน่ไดอยางกวางขวาง โดยเฉพาะการจัดทําแผนโดยอาศัยการรับฟงความคิดเห็นและการใหชุมชนเขามีสวนรวมในการกําหนดเนื้อหา รวมทั้งทิศทางการพัฒนา

ความหมายของแผนชุมชน

สํานักงานคณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาต ิ(2546: 3) ไดกลาวถึงความหมายของแผนชุมชน ซึ่งเรียกวาเปนแผนชุมชนพึ่งตนเอง วาหมายถึง แผนการทาํงานหรือแผนปฏิบัติการของ

This document was created with the trial version of Print2PDF!

Once Print2PDF is registered, this message will disappear!

Purchase Print2PDF at http://www.software602.com/

Page 7: แนวคิดเกี่ยวกับชุมชนและแผนชุมชน

7

ชาวบาน ซึ่งสวนใหญพบวาเปนขอตกลงรวมกันของคนในชุมชนหรือหมูบาน วาจะทําอะไร เมือ่ไรและอยางไร โดยขอตกลงนี้มักจะไม เขียนกันในกระดาษเหมือนกับการทําแผนงานหรืองบประมาณของสวนราชการ ซึ่งเปนแบบฉบับที่คนภายนอกคุนเคย

เสรี พงศพิศ วิชิต นันทสุวรรณ และคณะ (ทีมงานมูลนิธิหมูบาน) (2545: 17) กลาวไววา แผนแมบทชุมชน (หรือแผนชุมชน) คือ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของชุมชน ที่ชุมชนรวมกนัพัฒนาขึ้นมาโดยกระบวนการเรียนรูที่ทําใหเขาใจศักยภาพที่เปนทุนที่แทจริงของตนเอง และพบแนวทางในการพัฒนาทุนดังกลาวไปสูการพึ่งตนเอง นอกจากนี้ เสรี พงศพิศ (อางถึงในพลเดช ปนประทีป, 2547: 7) ยังไดเสนอทัศนะไวดวยวา แผนชุมชนนั้นนับเปนแผนการดําเนินชีวิตของชุมชนที่ชุมชนจะตองลงมือกระทําเองทุกขั้นตอน ตั้งแตการเตรียมความคิด เตรียมชุมชน เตรียมทมีทํางาน สํารวจขอมูลและนําขอมูลมาวิเคราะหมาทําเปนแผน เปนโครงการและกิจกรรมการทําประชาพิจารณ แลวนําไปสูการปฏิบัติ

พรรณทิพย เพชรมาก (2547: 8) ใหทัศนะวา แผนชุมชน เปนการกําหนดอนาคต หรือความคาดหวังของชุมชนวาคนในชุมชนอยางจะใหชุมชนที่อยูอาศัยเปนอยางไรแทนที่สวนราชการจะคอยกําหนดใหเหมือนแตกอน เนื่องจากบางเรื่องคนในชุมชนเองจะรูดีกวาหนวยงานราชการที่จะเขามาอยูไมนานก็ยายออกไป ดังนั้น การพัฒนาหรือการแกไขปญหาของหมูบาน ของตําบลและทองถิ่นจึงตองอาจากคนในชุมชนเปนหลัก สวนราชการหรือคนอื่นที่อยูนอกชุมชนจะมีบทบาทในการเปนพี่เลี้ยงใหคําปรึกษาและชวยเหลือในสิ่งที่ชุมชนไมรู หรือในสิ่งที่ชุมชนทําไมได แผนชุมชนจึงเปนสิ่งที่คนในชุมชนคิดคนรวมกันวาจะทําใหอนาคตของชุมชนเปนไปอยางที่คาดหวังไดอยางไร

ประยงค รณรงค (2546: 117) ปราชญชาวบานซึ่งไดรับรางวัลแมกไซไซเมื่อหลายปที่ผานมา ไดกลาวถึงความหมายของแผนชุมชนวาเปนการเรียนรูของชุมชน โดยมีการเรียนรูของชุมชนเปนจุดเริ่มตนของการพัฒนากระบวนการแผนชุมชน โดยเปนเครื่องมือหนึ่งที่จะทาํใหคนในชมุชนไดมาเรียนรูรวมกัน อยางไรก็ตาม

แผนชุมชนในความหมายของแผนชุมชนบานหนองกลางดง สํานักงานกองทุนเพื่อสังคม (อางถึงใน วิเชียร พลสยม, 2547: 35) มีแงมุมที่ใกลเคียงกันกลาวเปนแผนของชุมชนหรือหมูบานที่ชาวบานไดรวมกันกําหนดวาชีวิตในวันนี้และวันขางหนาของพวกเขาและของลูกหลานจะเดินไปอยางไร รวมถึงกรแกไขปญหาที่เผชิญอยูในปจจุบันดวย โดยการกําหนดรวมกันออกมาวาเปนแผนงานที่สามารถปฏิบัติไดดวยชาวบานเอง และอาจพึ่งพาอาศัยภายนอกชุมชนเทาที่จําเปน ซึ่งที่ผานมาจะมีแตแผนงานที่ผูนําคิดใหและทําใหเทานั้น ชาวบานจึงขาดความรูสึกเปนเจาของ และขาดการใหความรวมมือ อีกทั้งสวนใหญผูนําชุมชนทองถิ่นมักไมไดสอบถามความคิดเห็นของชาวบาน

This document was created with the trial version of Print2PDF!

Once Print2PDF is registered, this message will disappear!

Purchase Print2PDF at http://www.software602.com/

Page 8: แนวคิดเกี่ยวกับชุมชนและแผนชุมชน

8

อันสงผลใหการแกไขปญหาไมตรงจุดและไมไดรับความรวมมือเทาที่ควร นอกจากนี้ เวทีระดมความคิดของคนภาคกลาง 8 จังหวัด (อางถึงในวิเชียร พลสยม, 2547: 35) ไดใหความหมายของแผนชุมชนวาเปนแผนที่ชาวบานจัดทําโดยชาวบาน เพื่อประโยชนของชาวบานดวยกระบวนการ 5 รวมคือ การรวมคิด รวมตัดสินใจ รวมตรวจสอบและรวมรับประโยชน เพื่อการพลิกฟนวิถีชีวิต สังคมและธรรมชาติในปจจุบันใหพนจากวิกฤตความยากจน

จากที่กลาวมาแลวขางตน สามารถสรุปความไดวา แผนชุมชน หมายถึง แผนการทํางานหรือแผนปฏิบัติการของชาวบาน อันเปนความมุงหวังของชุมชนวาคนในชุมชนอยางจะใหชุมชนที่ตนเองอาศัยเปนสมาชิกมีความเปนอยูอยางไร แทนที่จะใหสวนราชการมาเปนผูนําหรือกําหนดการพัฒนา เนื่องจากคนในชุมชนยอมรูจักชุมชนดีกวาคนที่อยูภายนอกชุมชน และดวยเหตนุี้เอง ทิศทางของการพัฒนาหรือการแกไขปญหาของทองถิ่น หรือของหมูบานและตําบล จึงตองมาจากคนในชุมชนเปนหลัก โดยที่สวนราชการหรือองคกรพัฒนาเอกชน จะมีบทบาทแตเพียงการสนับสนุนและสงเสริมสิ่งที่ชุมชนควรจะรู และพบวาสวนใหญเปนขอตกลงรวมของคนในชุมชนหรือหมูบาน วาจะทําอะไร เมื่อไร อยางไร ขอตกลงเหลานี้มักไมไดเขียนไวในกระดาษเหมือนการทําแผนงานหรือแผนงบประมาณ ตามแบบฉบับที่คนนอกเขาใจและคุนเคย จึงมีความจาํเปนอยางยิง่ที่ชุมชนและทองถิ่นจะตองมีแผนงานในระดับปฏิบัติการ เพื่อจะไดเปนแนวทางในการพัฒนาชุมชนหรือทองถิ่นของตัวเองใหเปนอยางที่เราตองการ และสามารถแกปญหาที่ชุมชนเผชิญอยูรวมกันได

ดังนั้น หากเราสามารถทําแผนปฏิบัติการจริงในระดับชุมชนขึ้นมาไดก็จะสามารถนําแผนปฏิบัติการนั้นมาเชื่อมตอกับแผนงานของชาติไดตอไป ยอมทําใหแผนพัฒนาชาติเปนแผนทีม่ีความสมบูรณและเกิดประโยชนตอคนไทยทุกคนอยางแทจริง

เปาหมายของการจัดทําแผนชุมชน

วิทยาลัยการจัดการทางสังคม (2546: 3) ไดระบุเปาหมายของการจัดทําแผนชุมชนไววาไมไดอยูที่การไดแผนงานจัดทําเปนเอกสารเลม ๆ แตเปาหมายของการจัดทําแผนชุมชนอยูที่การที่คนในชุมชนไดมารวมกันคิดวาทําอยางไรชุมชนจึงจะสามารถพึ่งตนเองได โดยการใชขอมูลของชุมชน โดยการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพของชุมชน โดยทุนทางสังคมและทรัพยากรที่ช ุมชนมีอยู มีการรวบรวมขอมูลและนําขอมูลของชุมชนมาวิเคราะหรวมกัน อันทําใหไดรูถึงสถานการณ โอกาส ขอดอยและศักยภาพของชุมชน เกิดการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นโดยมีขอมูลชุมชนเปน

This document was created with the trial version of Print2PDF!

Once Print2PDF is registered, this message will disappear!

Purchase Print2PDF at http://www.software602.com/

Page 9: แนวคิดเกี่ยวกับชุมชนและแผนชุมชน

9

ฐานรองรับ และทําใหชุมชนสามารถกําหนดแนวทางที่ชัดเจนออกมาไดวา การที่จะทําใหชุมชนและทองถิ่นพัฒนาไดอยางยั่งยืนและพึ่งตนเองได และนําไปสูสภาพความเขมแข็งของชุมชนนั้น ใครจะตองทําอะไร และจะมีการเชื่อมตอกับภายนอกอยางไร

การจัดทําแผนชุมชนนั้น มีเปาหมายอยูที่ความตองการใหสมาชิกที่มีอยูหลากหลายในชุมชนไดมีโอกาส และไดมารวมคิดรวมคนหาวาจะทําอยางไรชุมชนจะสามารถพึ่งตัวเองไดมากกวาที่จะพึ่งพาคนอื่น ซึ่งการที่ชุมชนจะรูวาตองพึ่งตัวเองไดนั้น จําเปนตองรูและมีขอมูลในเรื่องตาง ๆ เกี่ยวกับชุมชนในประการตาง ๆ ตอไปนี้

1) ขอมูลพื้นฐานของชุมชน ตลอดจนจุดเดนของชุมชน เชน ประวัติศาสตรชุมชน สภาพทางภูมิศาสตร ศิลปวัฒนธรรม ทรัพยากรธรรมชาติ บริการสาธารณะที่มีอยูในชุมชนจํานวนประชากร การประกอบอาชีพ จํานวนและปะเภทโรงงานรานคา กลุมตาง ๆ ที่มีอยูในชุมชนผูรูในดานตาง ๆ ที่ชุมชนมีอยู

2) ปญหาของชุมชน อาจจะแยกเปนปญหาเรงดวน ปญหาที่ตองใชระยะเวลาในการแกไข ปญหาที่ชุมชนแกไดเอง ปญหาที่ตองประสานความรวมมือหรือขอรับการสนับสนุนจากหนวยงานหรือบุคคลนอกชุมชน

3) ความมุงหวังของชาวบาน ที่มีตอ ชุมชนวาอยากจะเห็นชุมชนของตนเปนอยางไรในอนาคต

4) แผนงาน มาตรการ และรายละเอียดการดําเนินงาน ตลอดจนผูรับผิดชอบ ผูที่จะสนับสนุน เพื่อใหเกิดการปฏิบัติงานที่เปนจริง

อเนก นาคะบุตร (2545: 95) ชี้ใหเห็นไดวา กระบวนการจัดทําแผนชุมชน หรือที่เรียกกันวา แผนแมบทชุมชนนั้น มีหัวใจสําคัญอยูที่การนําขอมูลจาก 3 ประเภทของชุมชนที่ชุมชนเองจะตองคอย ๆ คนหา แลกเปลี่ยนและเรียนรูรวมกันประกอบดวย

ขอมูลชุดแรก เปนขอมูลของปญหาที่มีอยูหรือเกิดขึ้น ซึ่งโดยมากแลวสวนราชการจะใหชุมชน/ผูนําชุมชนทําอยูแลว

ขอมูลชุดที่ 2 เปนการคนหาทุนทางสังคมและจุดแข็งที่เปนจุดของความสําเร็จ โดยเปนเรื่องคนของชุมชนที่มีอยู เรื่องเกี่ยวกับสถานที่ที่ผูคนนับถือ และเรื่องอื่น ๆเชนทรพัยากรที่มอียูในทองถิ่น เปนตน โดยทั้งหมดจะถูกควบรวมขึ้นมาเพื่อทําใหเกิดการคนหาสิ่งที่เปนจุดแขง็ของชมุชนและทุนทางสังคมที่มีอยู และ

ขอมูลชุดที่ 3 เปนการคนหาทางเลือกในเรื่องของระบบเศรษฐกิจทองถิ่นโดยเฉพาะเรื่องตลาด การที่จะหาทางออกจากภาวะหนี้สินไปสูการจัดการเรื่องเศรษฐกิจทองถิ่น เรื่องของธุรกิจ

This document was created with the trial version of Print2PDF!

Once Print2PDF is registered, this message will disappear!

Purchase Print2PDF at http://www.software602.com/

Page 10: แนวคิดเกี่ยวกับชุมชนและแผนชุมชน

10

ชุมชน อุตสาหกรรมชุมชน ขอมูลทางเศรษฐกิจนี้ชาวบานจะตกลงกันอยางงาย ๆ และมาพบปะกนัอยางตอเนื่องเพื่อทําการแลกเปลี่ยนเรียนรูระหวางกัน

ผูมีสวนเกี่ยวของในการจัดทําแผนชุมชน

ในชุมชนหนึ่ง ๆ ยอมมีองคประกอบของคนที่หลากหลาย ดังนั้นการจัดทําแผนชุมชนจึงตองใหทุกคนที่มาจากหลากหลายอาชีพ ไมจํากัดฐานะ รวมทั้งกํานัน พัฒนากร ปศุสัตว เกษตร ตลอดจนผูนําทางศาสนาที่ชาวบานใหความเคารพ ไดเขามามีสวนรวมกําหนดทิศทางของชุมชนในเวทีเดียวกันเพื่อใหทุกสวนในชุมชนไดมาแลกเปลี่ยนขอมูลและไดมาพูดคุยกันอยางตอเนื่องก็จะทาํใหเกิดความรูสึกเปนเจาของและอยางทําอะไรดี ๆ ใหกับชุมชนเพื่อใหลูกหลานของตนไดรบัสิ่งดี ๆ ตามไปดวย

กระบวนการและขั้นตอนของการจัดทําแผนชุมชน

ปจจุบันพบวามีหลายหนวยงานที่ไดเขาไปสนับสนุนใหชุมชนรากหญาริเริ่มจัดทําแผนชุมชน รวมทั้งผลักดันสงเสริมใหชุมชนที่ไดดําเนินการในเรื่องแผนชุมชนไปแลวเปนที่รูจักและเปนตนแบบใหชุมชนอื่นไปศึกษาดูงาน

อยุธ ขําหาญ (2544: 20-23) ไดสรุปขั้นตอนในการจัดทําแผนชุมชน (แผนแมบทชุมชน) ไวดังตอไปนี้

ขั้นตอนที่หนึ่ง การเตรียมแกนนําและพื้นที่1) การเตรียมแกนนําและวิทยากรในการสรางกระบวนการเรียนรูรวมกันของคนในชุมชน

ซึ่งตองมีการเตรียมผูที่จะเปนผูนําชุมชนหรือแกนนําชุมชน ซึ่งเปนกลุมคนที่มีความมุงหวังที่จะพัฒนาชุมชน ไมจํากัดฐานะและสวนราชการ ไดแก กํานัน พัฒนากร ผูนําทางศาสนา ผูนาํชาวบาน โดยกลุมแกนนําตองทําความเขาใจรวมกันในแนวความคิด วิธีการและขั้นตอนในการทํางาน มีทิศทางการทํางานรวมกัน สําหรับวิทยากรควรเปนวิทยากรกระบวนการที่มีความสามารถในการจัดกระบวนการ มีความเขาใจในทักษะความชํานาญในเทคนิคการประชุมแบบมีสวนรวมตาง ๆ เชน เทคนิค A-I-C เทคนิค Future Search Conference เพื่อใหชุมชนหรือผูที่เขารวมในเวทีเกิดการเรียนรูรวมกัน

2) การเลือกพื้นที่ ควรเลือกชุมชนที่มีความพรอมโดยพิจารณาจากความกระตือรือรนของแกนนําชุมชน ความสนใจที่จะรวมงานและการมีแนวคิดที่จะพึ่งตนเองดวย

This document was created with the trial version of Print2PDF!

Once Print2PDF is registered, this message will disappear!

Purchase Print2PDF at http://www.software602.com/

Page 11: แนวคิดเกี่ยวกับชุมชนและแผนชุมชน

11

3) ศูนยเรียนรูตนแบบ เปนการคนหาชุมชนที่กิจกรรมการพัฒนาชุมชนมีความโดดเดนเปนชุมชนที่ไดรับความสนใจและมีผูมาศึกษาดูงานเรียนรู เพื่อนํามาเปนอยางสําหรับใชกับชุมชนอื่น

ขั้นที่สอง เวทีสรางความเขาใจ 1) คณะทํางานเลือกชุมชนแลวกําหนดจัดเวทีในตําบลหรือในชุมชน2) กลุมเปาหมายที่เขารวมเวที ควรจะมีหลากหลายกลุมอาชีพ หรือกลุมผลประโยชน โดย

ใหแตละกลุมสงตัวแทนเขารวมเวทีตามสัดสวน เปนบุคคลที่มีทิศนคติเชิงบวก มีความปรารถนาที่จะพัฒนาชุมชนเพื่อการพึ่งตนเอง

3) กําหนดการประชุมควรจะเปนวันเดียว มีระยะเวลาสอดคลองกับวิถีชีวิต ชุมชนเนื้อหาของการประชุมมีสาระสําคัญ 5 เรื่องประกอบดวย ความจําเปนที่จะตองมีแผนชุมชน ความหมายและความสําคัญของแผนชุมชน สภาพความเปนจริงของชุมชนในปจจุบัน ความมุงหวังตอชุมชนในอนาคต และการวางแผนเก็บขอมูลเพื่อจัดทําแนวทางการพัฒนา

ขั้นที่สาม การเก็บขอมูลเพื่อจัดทําแนวทางการพัฒนาชุมชน ในขั้นตอนนี้ ตัวแทนแตละชุมชนยอย จะเปนผูเสนอขอมูลในชุมชนยอยของตนเองเพื่อ

นํามาเสนอในที่ประชุม โดยมีกรอบประเด็นที่จะเก็บขอมูลประกอบดวย (1) ประวัติชุมชน (2) สภาพทางกายภาพของชุมชน (3) ประชากรและอาชีพของคนในชุมชน (4) การถือครองที่ดิน และที่ดินทํามาหากิน (5) สภาพหนี้สิน (6) การอพยพแรงงาน (7) ทรัพยากรที่สําคัญของชุมชน (8) กลุมหรือองคกรที่มีอยูภายในชุมชน (9) ปราชญ ผูรู ชางฝมือ (10) ความคิดเห็นของตน

ขั้นตอนที่ 4 เวทีวิเคราะหขอมูลชุมชน การดําเนินงานในขั้นตอนนี้ เปนขั้นตอนที่ใหแกนนําชุมชนเสนอผลการศึกษาเพือ่ใหแตละ

กลุมไดอธิบายใหความเห็นเพิ่มเติมเพื่อระดมความคิดในการกําหนดแนวทางการพัฒนาอยางไร เมื่อทุกกลุมไดนําเสนอเสร็จแลว วิทยากรกระบวนการนําขอมูลสังเคราะหเพื่อประมวลเปนแนวทางพัฒนาชุมชนแลว ใหสมาชิกที่เขาประชุมรวมกันพิจารณาจัดลําดับความสําคัญของแนวทางการพัฒนาแตละแนวทางเพื่อนําไปจัดทําโครงการและมอบหมายใหมีคณะทํางานรับผิดชอบแตละโครงการไปยกรางโครงการแลวนํามาเสนอตอที่ประชุมคราวตอไป

ขั้นที่ 5 วิเคราะหโครงการและกิจการทํางานในขั้นตอนนี้ คณะทํางานผูรับผิดชอบแตละโครงการนําเสนอโครงการตอที่ประชุม

พิจารณา พรอมทั้งกําหนดบุคคลผูรับผิดชอบแตละโครงการเพื่อดําเนินการตอไปขั้นที่ 6 การจัดทําเอกสารแผนชุมชนและการสนับสนุนงบประมาณ 1) การจัดทําเอกสารแผนชุมชนมีกรอบการนําเสนอขอมูลไดแก ชื่อแผนชุมชน ตําบลที่

เปนเจาของ ประวัติความเปนมาของชุมชน/ตําบล ขอมูลสําคัญของชุมชน ปญหาของชุมชน

This document was created with the trial version of Print2PDF!

Once Print2PDF is registered, this message will disappear!

Purchase Print2PDF at http://www.software602.com/

Page 12: แนวคิดเกี่ยวกับชุมชนและแผนชุมชน

12

ความมุงหวังของชุมชน ความมุงหวังของชุมชนในอีก 5-10 ปขางหนา แนวทางที่สําคัญในการพัฒนาและโครงการพัฒนาตาง ๆ

2) การแสวงหางบประมาณสนับสนุนโครงการที่ไดรับการบรรจุในแผน คณะทํางานผูรับผิดชอบโครงการ และแกนนําชุมชนตองมีความสามารถในการนําเสนอโครงการใหเปนที่ยอมรับของหนวยงานตาง ๆ ที่มีทุนสนับสนุน

ขั้นที่ 7 การติดตามผล การติดตามผลเปนขั้นตอนสุดทายเพื่อที่จะสรุปบทเรียนการทํางานตั้งแตขั้นตอนแรกจนถงึ

ขั้นตอนสุดทาย และตองมีการติดตามผลการดําเนินงานโครงการตาง ๆ อยางตอเนื่อง เพื่อสรุปผลการดําเนินงานตามโครงการตาง ๆ อยางตอเนื่อง และเพื่อสรุปผลการดําเนินงานและแกไขปรับปรุงขอบกพรองตาง ๆ ที่ดําเนินการตอบสนองความตองการของชุมชน

ในมุมมองที่ไมแตกตางกันในสาระสําคัญ วิทยาลัยการจัดการนวัตกรรมสังคม (2546: 4-5) ไดสรุปขั้นตอนและกระบวนการในการสงเสริมและสนับสนุนการจัดทําแผนชุมชนของหนวยงานที่เกี่ยวของตาง ๆ ไวดังนี้

1) ขั้นการเตรียมทีมผูกอการ ประกอบดวย 1.1) เตรียมทีม พัฒนาทีม ดวยการเรียนรูจากเอกสาร คูมือหรือไปศึกษาดูงานจากพื้นที่

จริง พรอมทําการประสานความรวมมือจากคนในชุมชน 1.2) เตรียมทีมวิทยากร โดยวิทยากรนับเปนหัวใจสําคัญของการขับเคลื่อนแผนชุมชน

โดยตองเปนผูที่มีประสบการณ อาจเปนปราชญหรือผูรูในทองถิ่น และตองเปดกวางสําหรับคนในทุกสาขาอาชีพ

1.3) เตรียมสื่อและเครื่องมือวิทยากร สื่อสําหรับวิทยากรเปนเครื่องมือที่สําคัญที่ชวยใหกระบวนการในการจัดทําแผนชุมชนเปนไปอยางเปนธรรมชาติและเขากับสถานการณของชุมชน

1.4) เตรียมประสานงาน เนื่องจากปจจุบันแผนชุมชนเปนกระแสใหญของประเทศ การจัดทําแผนชุมชนใหเกิดพลังจึงตองการการเชื่อมประสานทั้งกับชุมชนขางเคียง รวมทั้งองคการบริหารสวนตําบล แลวขยายสูระดับอําเภอ และจังหวัด เพื่อใหเกิดเปนเครือขาย อีกทั้งยังตองประสานภาครัฐ เพื่อรวมกันกําหนดทิศทางใหญใหเกิดเปนกระแสหลักของการพัฒนาประเทศแบบมีสวนรวมอยางแทจริง

2) เตรียมกระบวนการเรียนรู ซึ่งประกอบดวยการดําเนินการตางๆ คือ 2.1) หาแกนนํา สรางทีมงาน ที่จะชวยกันทําแผนชุมชน สรางความชัดเจนและทําความ

เขาใจรวมกัน

This document was created with the trial version of Print2PDF!

Once Print2PDF is registered, this message will disappear!

Purchase Print2PDF at http://www.software602.com/

Page 13: แนวคิดเกี่ยวกับชุมชนและแผนชุมชน

13

2.2) ทําความเขาใจในพื้นที่ ประสานความรวมมือทั้งกับคนในชุมชนและนอกชุมชน รวมถึงหนวยงานที่เกี่ยวของ โดยอาจทําพรอมกับการจุดประกายความคิดของคนในพื้นที่

2.3) จุดประกายความคิด เปนขั้นตอนของการกระตุนใหคนในชุมชนหันมาใหความสําคัญกับชุมชนของตนเอง โดยอาจจัดทําเปนเวทีกระตุนใหชุมชนตื่น และตระหนักถงึปญหาและวิกฤตที่เกิดขึ้น และเห็นความหวังของการอยูรวมกัน

2.4) ศึกษาประวัติศาสตรชุมชน เปนการศึกษาที่มาของชุมชน ทําใหสมาชิกของชุมชนไดเปนถึงที่มา ตัวตนที่แทจริงของชุมชน และเกิดความรักในชุมชนทองถิ่น โดยเชื่อมโยงคน 3 รุนประกอบดวย เด็ก ผูใหญและคนชรา เขาดวยกัน ซึ่งจะเปนพลังสําคัญในการนําพาใหสังคมพนวิกฤต

2.5) สํารวจ รวบรวมขอมูล กําหนดประเด็นที่อยากรูเพื่อเก็บขอมูล ทั้งนี้ การสํารวจขอมูลบางชุมชนอาจใชแบบสอบถาม บางชุมชนอาจจัดเปนเวทีหรือการพูดคุยซึ่งแตกตางกันไปตามแตละสภาพพื้นที่ และตองมีการจดบันทึกไวเพื่อที่จะไดนําขอมูลไปวิเคราะห และสังเคราะหตอไป

2.6) วิเคราะห สังเคราะหขอมูล ในขั้นตอนนี้ อาจหาวิธีใหสมาชิกในชุมชนไดรับรูรวมกัน และมีสวนรวมในการวิเคราะห สังเคราะห โดยอาจใชเวทีเปนเครื่องมือ

2.7) ยกรางแผนชุมชน โดยแบงแผนชุมชนออกเปน 3 ระดับ เพื่อใหงายตอการนําไปใช คือ ระดับที่ตนเองหรือชุมชนทําไดเอง ระดับที่ตองชวยกันทําหรือใหคนนอกชุมชนสนบัสนนุ และระดับที่ตองใชงบประมาณสนับสนุน

2.8) ประชาพิจารณแผนชุมชน เปดโอกาสใหสมาชิกในชุมชนไดรวมกันพิจารณาถึงความเปนไปไดและความเหมาะสมของการนําแผนไปสูการปฏิบัติ และจัดลําดับความสําคัญของแผน

2.9) ผลักดันแผนไปสูการปฏิบัติ เปนขั้นตอนของการที่จะทําใหเกิดแนวคิดที่เปน รูปธรรม ในขั้นตอนนี้ จะกอใหเกิดผลในการปฏิบัติโดยกิจกรรมที่กําหนดขึ้นมาตามแผนนั้น ควรเปนกิจกรรมทําไดดวยทุนของชุมชนที่มีมากอนหนานั้น

2.10) ติดตามประเมินผล เปนขั้นตอนที่จะตองติดตามดูวาแผนชุมชนที่ทํามาไดผลอยางไร เพื่อสรุปเปนบทเรียนนํากลับมาใชปรับปรุงหรือถอดเปนองคความรูใหกับชุมชนอื่นไดเรียนรูตอไป

คณะทํางานเตรียมวิทยากรโครงการบูรณาการแผนชุมชนเพื่อความเขมแข็งของชุมชนและเอาชนะความยากจนอยางยั่งยืน (อางถึงในวิเชียร พลสยม, 2547: 39-40) กลาววา กระบวนการจัดทําแผนชุมชนที่อาศัยการมีสวนรวมควรมีขั้นตอนการปฏิบัติดังตอไปนี้

This document was created with the trial version of Print2PDF!

Once Print2PDF is registered, this message will disappear!

Purchase Print2PDF at http://www.software602.com/

Page 14: แนวคิดเกี่ยวกับชุมชนและแผนชุมชน

14

1) การเตรียมวิทยากรกระบวนการ เพื่อเตรียมวิทยากรกระบวนการและจัดทําแผนดําเนินงานใหเปนไปดวยความเรียบรอย เกิดประสิทธิภาพและประสบผลสําเร็จ

2) การเตรียมชุมชนในการจัดทําแผนชุมชน เปนการเตรียมความพรอมใหกับประชาชน กลุมแกนนําชุมชน องคกรชุมชนและองคกรปกครองสวนทองถิ่นในแตละพื้นที่ ใหมีความเขาใจในแนวคิด กระบวนทัศน และกระบวนการจัดทําแผนชุมชน บทบาทความรับผิดชอบของฝาย ๆ ตลอดจนการสรางความผูกพันและการคนหาบุคคลที่อาสามาเปนกลุมแกนในการดําเนินงาน

3) การประเมินศักยภาพชุมชน เพื่อประเมินศักยภาพในการพัฒนาของชุมชน (หมูบาน/ตําบล) ในแงของโอกาส ภัยคุกคาม จุดแข็ง และขอจํากัดในการพัฒนาของชุมชน รวมทั้งทุนทางสังคม วัฒนธรรม ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอมของชุมชน

4) การกําหนดวิสัยทัศน แนวทาง และจุดมุงหมายในการพัฒนาชุมชน เปนการระดมพลัง ความผูกพัน ความเอื้ออาทร และความรักที่ประชาชนและครอบครัวมีตอกันและกัน และตอพื้นที่ชุมชน หมูบาน ตําบล มาสรางหรือกําหนดความมุงหวังในการพัฒนาชุมชน

5) การกําหนดยุทธศาสตรในการพัฒนาชุมชน เพื่อใหการพัฒนาชุมชนเปนไปตามวิสัยทัศนและบรรลุตามจุดมุงหมายของการพัฒนาชุมชนที่กําหนดไว จะตองมีการกําหนดยุทธศาสตรการพัฒนาที่เหมาะสมกับศักยภาพขีดความสามารถ และความพรอมของชุมชน โดยกลยุทธการพัฒนาจะเปนตัวเชื่อมระหวางวิสัยทัศน และจุดมุงหมายของการพัฒนา กับการกําหนดกิจกรรมการพัฒนาในแงของการกําหนดขอบเขตและลักษณะของการใชทรัพยากรตาง ๆ ในการพัฒนา

6) การกําหนดแผนงานโครงการกิจกรรมการพัฒนาชุมชน เปนการรวมกันกําหนดแผนงานโครงการกิจกรรมที่เหมาะสม เปนไปไดและสอดคลองกับภูมิปญญาทองถิ่นและกลยทุธที่วางไว เพื่อสานตอ เสริมสรางสิ่งที่ชุมชนทําไดดีอยูแลวใหดียิ่งขึ้น หรือเพื่อบรรเทาขอจํากัดและแกไขปญหาในดานตาง ๆ ของชุมชน

7) การจัดเวทีประชาพิจารณแผนชุมชน เพื่อใหประชาชนทั้งชุมชน องคกรปกครองสวนทองถิ่น และหนวยงานภาครัฐไดมารวมกันพิจารณาตามความเหมาะสม และความเปนไปไดของกรนําไปสูการปฏิบัติ รวมทั้งใหความเห็นชอบและรวมมือกันสงเสริมสนับสนุนแผนงานโครงการหรือกิจกรรมในแผนชุมชน

ทั้งนี้ ในขั้นตอนของการปฏิบัติ ทีมวิทยากรกระบวนการหรือวิทยากรกระบวนการสามารถประยุกตปรับกระบวนการจัดทําแผนชุมชนแบบมีสวนรวม ใหเปนไปตามความเหมาะสม สอดคลองกับสภาความเปนจริงของแตละพื้นที่ และใหชุมชนกําหนดและจัดทําแผนชุมชนใหเปนไปตามความตองการของชุมชน

This document was created with the trial version of Print2PDF!

Once Print2PDF is registered, this message will disappear!

Purchase Print2PDF at http://www.software602.com/

Page 15: แนวคิดเกี่ยวกับชุมชนและแผนชุมชน

15

กลาวโดยสรุปแลว การจัดทําแผนชุมชน ประกอบดวยขั้นตอนโดยสังเขปดังตอไปนี้ 1) จะตองจัดใหมีเวทีการเรียนรูรวมกันครั้งแรกกอน เพื่อทําความเขาใจถึงเปาหมายและ

วัตถุประสงคของการจัดทําแผนชุมชน โดยมีตัวแทนจากลุมตาง ๆ และสมาชิกชุมชนสนใจมาเขารวม

2) เมื่อเขาใจรวมกันแลวก็แบงคนทํางานออกเปนดาน ๆ เชน สวนแรกอาจจะออกไปสํารวจขอมูลจากหนวยราชการ บางสวนอาจจะออกไปสํารวจขอมูลของชุมชนในดานตาง ๆเพื่อนํามาใชในการคิดวางแผนและดําเนินการตอไปบางสวนอาจจะหาขอมูลจากหนวยราชการ บางสวนอาจจะตองเริ่มสํารวจใหม และบางสวนอาจทําสรุปประสบการณของชุมชนที่มีอยูแลว

3) เมื่อไดขอมูลจากการสํารวจแลวก็มาเสนอ เพื่อที่ทุกคนจะไดมาชวยกันคิดวาชุมชนของเรามีจุดเดนในดานไหนที่ควรจะพัฒนาตอไป หรือมีปญหาอะไรที่ตองรับแกไข ซึ้งทั้งจุดเดนและปญหาของชุมชนนั้นจะตองมองใหทะลุปรุโปรงวาเรื่องไหนมันไปกระทบกับเรื่องอะไรบาง

การบูรณาการแผนชุมชน

การบูรณาการแผนชุมชน (คณะทํางานประสานงาน โครงการบูรณาการแผนชุมชน, มปป. อางถึงในวิเชียร พลสยม, 2547: 43-44) หมายความถึง วิธีการรวมมือกันทํางานของหนวยงานตาง ๆ ที่สนับสนุนการพัฒนาภายนอกชุมชนทุกภาคสวน โดยยึดหลักการใชพื้นที่เปนตัวตั้งชุมชนเปนศูนยกลาง ชาวบานเปนเจาของเรื่อง โดยใชกระบวนการจัดทําแผนชุมชนเปนเครื่องมือในการดําเนินกิจกรรมพัฒนาใหเปนไปตามความตองการของประชาชนหรือของชุมชนมากกวาวัตถุประสงคของหนวยงานสนับสนุน โดยการบูรณาการนั้น มีทั้งการบูรณาการดานกลไก บุคคล กระบวนการและเครื่องมือ แผนงานและงบประมาณ ทั้งนี้ การบูรณาการแผนชุมชน มีหลักการสําคัญในประการตาง ๆ กลาวคือ

1) ใชพื้นที่เปนตัวตั้ง ชุมชนเปนศูนยกลาง ชาวบานเปนเจาของ ทําการพัฒนาใหเปนไปตามความตองการของชุมชนมากกวาตอบสนองความตองการของหนวยงานสนับสนุนภายนอก

2) รวมพลังทุกภาคสวนของสังคม ทั้งภาครัฐ ภาคประชาสังคม ภาคเอกชน และภาคีการพัฒนาอื่น ๆ สนับสนุนกระบวนทัศนและการบริหารการพัฒนารูปแบบใหม

3) การบูรณาการกระบวนการ บุคลากร แผนงาน และงบประมาณของหนวยงานสนับสนุน มุงสูการแกไขปญหาแบบองครวม โดยมีกลุมเปาหมายและพื้นทีเ่ปาหมายทีช่ัดเจน

ทั้งนี้ การบูรณาการแผนชุมชนมีวัตถุประสงคคือ

This document was created with the trial version of Print2PDF!

Once Print2PDF is registered, this message will disappear!

Purchase Print2PDF at http://www.software602.com/

Page 16: แนวคิดเกี่ยวกับชุมชนและแผนชุมชน

16

1) เพื่อเสริมสรางกระบวนการเรียนรูและพัฒนาขีดความสามารถของชุมชนในการจัดการพัฒนาและแกไขปญหาในทองถิ่นของตนเองในทุก ๆ ดาน ตามความตองการของชุมชน โดยใชกระบวนการจัดทําแผนชุมชนเปนเครื่องมือนําไปสูความเขมแข็ง

2) เพื่อบูรณาการการทํางานในแนวดิ่งและแนวราบระดับพื้นที่ของภาครัฐและภาคเอกชน ภาคประชาสังคม และเครือขายองคกรชุมชน ในการสนับสนุนการบูรณาการแผนชุมชน โดยใชพื้นที่เปนตัวตั้ง ชุมชนเปนศูนยกลางและคนในชุมชนเปนผูรับผิดชอบในการพัฒนาและการแกไขปญหาของตนเอง

ผูสนับสนุนงบประมาณในการจัดทําแผนชุมชน

การทําแผนชุมชน โดยหลักการแลวนับเปนความพยายามของชุมชนในการพึ่งตนเอง โดยใชวิธีการคิดรวมกัน ลงมือทํารวมกัน การทําแผนไมควรมีเปาหมายเพื่อจะพึ่งพาคนอื่น แตหากทําแผนของชุมชนออกมาได จะทําใหทุกคนรูวาถาเราตองการใหชุมชนเปนแบบที่เรามุงหวังไวนั้น เราจะตองทําอะไรกอนอะไรหลัง แลวคอยมาดูวาเรื่องไหนชุมชนสามารถทําไดเอง ซึ่งจากที่กลาวมาแลวจะเห็นไดวาการมีแผนชุมชนนั้น กอใหเกิดประโยชนกับทุกฝายทั้งในสวนของชุมชนเราเองและหนวยงานจากภายนอกที่ชุมชนเราตองประสานความรวมมือดวยในบางกิจกรรมที่ชุมชนของเราตองขอรับการสนับสนุนจากหนวยงานหรือบุคคลภายนอก เมื่อเราไปขอใหเขาชวยก็อยากชวยเพราะเรามีความคิดและแผนงานชัดเจน ทําใหคนที่อยูชวยรูวาควรจะชวยตรงไหน ชวยอยางไรจึงจะกอใหเกิดประโยชนสูงสุดหรือในกรณีที่หนวยงานไหนตองการจะมาชวยเหลือชุมชนของเราก็สามารถชวยไดถูกกับที่เราตองการ ไมใชชวยแลวชาวบานไมไดเรียนรูอะไรเลย

ขอบเขตเชิงพื้นที่ในการจัดทําแผนชุมชน

โดยทั่วไปแลว ขอบเขตของการจัดทําแผนชุมชนนั้น อาจจะใชขอบเขตของตําบลหรือการจัดทําแผนโดยอิงตามประเด็นปญหาที่สนใจ เชน เรื่องเกี่ยวกับปาไมและทรัพยากร เรื่องเกี่ยวกับอาชีพ เชน แผนเกษตรกรรมยั่งยืน เปนตน โดยขอดีของการทําแผนตามพื้นที่ของตําบล อาจจะไดเปรียบตรงที่วาสามารถผลักดันใหเปนแผนงานหนึ่งขององคการบริหารสวนตําบลได แตการทํา

This document was created with the trial version of Print2PDF!

Once Print2PDF is registered, this message will disappear!

Purchase Print2PDF at http://www.software602.com/

Page 17: แนวคิดเกี่ยวกับชุมชนและแผนชุมชน

17

แผนตามประเด็นปญหาที่สนใจก็จะดีในแงที่เราสามารถเชื่อมโยงเรื่องราวทั้งหมดที่สงผลกระทบตอเรื่องที่เราสนใจไดตรงกวา เชน ปญหาปาไมจะตองใชความรวมมือจากผูคนตลอดแนวเขตปา ซึ่งอาจจะเกี่ยวของกับหลายตําบล เปนตน

การทําแผนชุมชนจะเปนประโยชนแกทองถิ่น จะไดมีการพัฒนาอยางยั่งยืนโดยไมมีใครสั่งชุมชนจะทําเสร็จเมื่อไหร ขึ้นอยูกับความพรอมของชุมชนนั้น ๆ ขอสําคัญ คือ ความพรอมของคนในชุมชนในดานความรวมมือรวมใจกัน และควรเริ่มจากสิ่งที่จะทําไดเองกอน นอกจากนี้แลวในการกําหนดกิจกรรมก็จะตองมีการปรับปรุงขอมูลใหทันสมัยเหมาะสมกับสถานการณดวย

การเชื่อมโยงแผนชุมชนกับแผนพัฒนาของทางราชการ

ปจจุบันนโยบายของภาครัฐ ไดกําหนดการจัดทําแผนงาน/โครงการของทางราชการจะตองมาจากความตองการของชุมชนเปนหลัก และในการพัฒนาระดับพื้นที่ก็ตองยึดชุมชนเปนศูนยกลางการพัฒนา ดังนั้นแผนชุมชนที่จัดทําขึ้น จึงสามารถเสนอขอรับการสนับสนุนจากสวนราชการในกิจกรรมที่เราไมสามารถทําเองไดหรือตองการสนับสนุนบางสวน ก็มีโอกาสที่จะไดรับการสนับสนุนมากขึ้น โดยเสนอเขาเปนแผนขององคการบริหารสวนตําบล หรือแผนงาน/โครงการของราชการไดโดยผานคณะกรรมการพัฒนาอําเภอ แตถาสวนไหนเราทําเองหรือรวมกับเครือขายทําไดก็ทําเองตามศักยภาพของชุมชนที่มีอยู

ตัวอยางงานวิจัยที่เกี่ยวของ

เนื่องจากแผนชุมชนเปนเรื่องใหมขงการพัฒนาประเทศในบริบทสังคมไทย งานวิจัยเกี่ยวกับแผนชุมชน โดยเฉพาะแผนชุมชนขององคการบริหารสวนตําบลจึงมีไมมากนัก โดยปรากฎผลงานวิจัยที่มีจํานวนมากในการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับแผนพัฒนาตําบล และแผนพัฒนาลักษณะอื่นที่มิใชแผนชุมชน นอกจากนี้ ดวยเหตุที่ปริมาณงานวิจัยที่เปนวิทยานิพนธ/สารนิพนธ/ภาคนิพนธของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาของสถาบันตาง ๆ ที่ทําการศึกษาเกี่ยวกับแผนพัฒนาตําบลมีจํานวนมาก ในที่นี้ผูวิจัยจึงหยิบยกมากลาวถึงเฉพาะที่เกี่ยวของกับการใชประโยชนเปนกรอบความคิดของการดําเนินงานวิจัยเทาที่จําเปน โดยกลาวถึงการจัดทําแผนพัฒนาตําบล/แผนพัฒนาไวโดยสังเขป

สุริยันต ศรีจันทร (2523 : 59 อางถึงในชัชฤทธิ์ ปนารักษ ,2540 : 21) ไดวิจัยเรื่องบทบาทของคณะกรรมการสภาตําบลตอการวางแผนพัฒนาตําบล พบวา ความไมพรอมของ

This document was created with the trial version of Print2PDF!

Once Print2PDF is registered, this message will disappear!

Purchase Print2PDF at http://www.software602.com/

Page 18: แนวคิดเกี่ยวกับชุมชนและแผนชุมชน

18

คณะกรรมการสภาตําบลมีผลทําใหการวางแผนพัฒนาตําบลไมมีประสิทธิภาพ กลาวคือ คณะกรรมการสภาตําบลมีพื้นฐานทางการศึกษาต่ํา ขาดความรับผิดชอบ ไมกระตือรือรน มีอายุมากไมคลองตัวในการทํางาน มีขีดจํากัดในการวางแผนพัฒนาตําบล และสภาตําบลมีรายไดมีเพียงพอจะสนองตอความตองการของประชาชน

จิตรา พรหมชุติมา (2528 : 67 อางถึงในชัชฤทธิ์ ปนารักษ, 2540: 20) ศึกษาถึงบทบาทของสภาตําบล ในสวนที่เกี่ยวกับการจัดทําแผนพัฒนาชนบทของ 4 กระทรวงหลักพบวา ในทางปฏิบัติการมอบอํานาจหนาที่และความรับผิดชอบใหกับสภาตําบลมีอํานาจหนาที่ในการจัดทําแผนพัฒนาตําบล ในสวนที่เกี่ยวกับการจัดทําแผนพัฒนาชนบทของ 4 กระทรวงหลักอยางเต็มที ่ มีผลทําใหการบริหารการพัฒนาชนบท 4 กระทรวงหลัก บรรลุเปาหมายอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลตามที่รัฐบาลตั้งไว ซึ่งนําสูการกระจายความรับผิดชอบใหกับสภาตําบลในการเขามามีสวนรวมในการพัฒนาประเทศอีกดวย

เทวัญ สรรคนิกร (2538 : บทคัดยอ) ไดศึกษาวิจัยเรื่องปจจัยทางการบริหารที่มีผลตอประสิทธิภาพการวางแผนพัฒนาจังหวัด ศึกษากรณีจังหวัดยโสธร พบวาปจจัยสวนบุคคล อันไดแก เพศ อายุ ระดับการศึกษา ประสบการณในการจัดทําแผนพัฒนาจังหวัด หนวยงานทีส่ังกัด ตําแหนงและการฝกอบรมไมมีความสัมพันธกับประสิทธิภาพการวางแผนพัฒนาจังหวัด สําหรับปจจัยทางดานการบริหาร คือ ความสามารถในการประสานงาน การติดตามประเมินผลโครงการ ไมมีความสัมพันธกับประสิทธิภาพการวางแผนพัฒนาจังหวัดดวย เชนกัน แตระบบขอมูลเพื่อการวางแผนพัฒนาจังหวัดและขวัญกําลังใจในการปฏิบัติงานของผูรับผิดชอบงานวางแผนพัฒนาจังหวัด พบวามีความสัมพันธกับประสิทธิภาพการวางแผนพัฒนาจังหวัด

ประสงค พิฑูรกิจจา (2533 : 84 -86 ) ไดศึกษาวิจัยเรื่อง การวางแผนพัฒนาชนบทระดับจังหวัด ซึ่งพบวาปญหาในการวางแผนพัฒนาจังหวัดของคณะกรรมการพัฒนาชนบทระดับจังหวัด มีปญหาขนาดกลางคอนขางสูง ความสมบูรณของขอมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนอยูในระดับต่ํา ความรูความเขาใจของคณะกรรมการพัฒนาชนบทระดับจังหวัด ในการวางแผนอยูในขนาดปานกลาง การยืดหยุนในการกําหนดกรอบนโยบายจากสวนกลางอยูในขนาดปานกลาง การยึดถือหลักเกณฑรวมกันตาง ๆ อยูในขนาดสูงและมีหนวยงานดานการวางแผน โดยเฉพาะอยูในขนดสูง นอกจากนั้นจากการศึกษาความสัมพันธระหวางตัวแปรอิสระจํานวน 6 ตัว กับปญหาในการวางแผนพัฒนาชนบทของคณะกรรมการพัฒนาจังหวัด พบวามีตัวแปรเพียง 3 ตัว ที่มีความสัมพันธอยางแทจริงกับปญหาการวางแผนพัฒนาชนบทของคณะกรรมการพัฒนาชนบทในระดับอําเภอ คือ ความสมบูรณของขอมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนพัฒนาชนบทที่สูง จะมีผลทําใหปญหาในการวางแผนนอยลง ความยืดหยุนในการกําหนดกรอบนโยบายจากสวนกลางมีสูง จะมี

This document was created with the trial version of Print2PDF!

Once Print2PDF is registered, this message will disappear!

Purchase Print2PDF at http://www.software602.com/

Page 19: แนวคิดเกี่ยวกับชุมชนและแผนชุมชน

19

ผลทําใหปญหาในการวางแผนมีนอย และการมีหนวยงานดานการวางแผนโดยเฉพาะในระดับอําเภอ จะมีผลทําใหปญหาในการวางแผนมีนอย

เกรียงศักดิ์ เขียวยิ่ง และวิโรจน กฤษณะภูติ (2527 : 52) ไดทําการศึกษาเกี่ยวกับการพัฒนาการเมืองทองถิ่นระดับตําบลในจังหวัดขอนแกน ผลปรากฏวาความรูความเขาใจเกี่ยวกบัสภาตําบลของประชาชนในตําบลใหญหรือตําบลเล็กตางก็มีความรูจักสภาตําบลเทานั้นจะรูวาสภาตําบลทําหนาที่อะไร สําหรับการมีสวนรวมในการปกครองตนเองของประชาชนในตําบล พบวาในตําบลเล็กใหความรวมมือมากกวาในตําบลใหญ และประชาชนเกินกวาครึ่งหนึ่งในตําบลไมรูวามีการเลือกตั้งกรรมการสภาตําบล การเลือกผูทรงคุณวุฒิ ผลปรากฏวา กํานัน ผูใหญบาน เลือกเองเปนสวนใหญ ประชาชนมีสวนรวมนอยมาก

ศิริชัย นุชพงษ (2544) ไดทําการศึกษาปจจัยที่มีความสัมพันธกับการมีสวนรวมของคระกรรมการพัฒนาองคการบริหารสวนตําบล (อบต.) ในการจัดทําแผนพัฒนาขององคการบริหารสวนตําบลในเขตอําเภอนครหลวง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ผลการศึกษาพบวา ความรูความเขาใจของคณะกรรมการพัฒนาองคการบริหารสวนตําบลสวนใหญอยูในระดับนอย โดยพบวา สถานภาพทางการศึกษาของคณะกรรมการพัฒนาองคการบริหารสวนตําบลสวนใหญจบการศึกษาระดับประถมศึกษาเทานั้น และสวนมากแลวเคยมีสวนรวมในการจัดทําแผนพัฒนาไมเกิน 2 ครั้ง อันเปนสาเหตุสําคัญประการหนึ่งที่อาจทําใหประสิทธิภาพในการจัดทําแผนพัฒนาตําบลดอยลงไป ในดานการมีสวนรวมในการจัดทําแผนพัฒนาตําบล พบวา กลุมตัวอยางมีสวนรวมมากที่สุดในเรื่องการคัดเลือกโครงการและกิจกรรมที่จะบรรจุในแผนพัฒนาตําบล 5 ป การนําปญหาของหมูบานและตําบลไปหารือในที่ประชุมประชาคม และการกําหนหลักเกณฑในการจัดลําดับความสําคัญของโครงการ นอกจากนี้ ผูวิจัยไดมีขอเสนอแนะใหทําการสงเสริมความรูความเขาใจใหแกคณะกรรมการพัฒนาองคการบริหารสวนตําบลในเรื่องตาง ๆ ประกอบดวย (1) ประเภทของแผนที่ตองดําเนินการ (2) ลําดับขั้นตอนหรือกระบวนการในการจัดทําแผนพัฒนา (3) บทบาทหนาที่ของผูที่เกี่ยวของและกําหนระยะเวลาของการดําเนินการจัดทําแผนใหแลวเสร็จ (4) การกําหนดโครงการที่จะบรรจุลงในแผนพัฒนา 5 ป และ (5) การวางแผนพัฒนาที่ตองสอดคลองกับแผนระดับตาง ๆ และยังควรมีมาตรการในการสงเสริมความสามารถของบุคลากรที่เกี่ยวของในการจัดทําแ ผนพัฒนาองคการบริหารสวนตํ าบลอยางเ ปนรูปธรรม รวมทั้งการรณร งคแ ละประชาสัมพันธใหประชาชนเขามีสวนรวมในการจัดทําการประชาพิจารณรางแผนพัฒนาองคการบริหารสวนตําบลดวย

นงลักษณ รักราว ี(2545) ไดทําการศึกษาศักยภาพขององคการบริหารสวนตําบลการจัดทําแผนพัฒนาตําบลประจําป : ศึกษากรณีองคการบริหารสวนตําบลในเขตศูนยชวยเหลือทางวิชาการ

This document was created with the trial version of Print2PDF!

Once Print2PDF is registered, this message will disappear!

Purchase Print2PDF at http://www.software602.com/

Page 20: แนวคิดเกี่ยวกับชุมชนและแผนชุมชน

20

พัฒนาชุมชนเขตที่ 3 ผลการศึกษาที่นาสนใจพบวา ปญหาที่พบในการบริหารงานขององคการบริหารสวนตําบล โดยเฉพาะการจัดทําแผนพัฒนาตําบลประจําปคือการขาดความรูความเขาใจในเรื่องกฎระเบียบ หนังสือสั่งการที่ เกี่ยวของ การขาดกรประสานการนําแผนพัฒนาตําบลกับหนวยงานราชการอื่น ๆ รวมทั้งขาดการชี้แจงขอมูลการดําเนินโครงการใหประชาชนในพื้นที่ไดทราบกอนการดําเนินการ ผูวิจัยไดเสนอแนะไววา ควรที่จะมีการพัฒนากระบวนการเรียนรูของประชาชนในหมูบาน/ตําบล โดยใชกระบวนการประชาคมในการแกไขปญหาและกําหนดทิศทางการพัฒนาตําบลรวมกัน และควรมีการสนับสนุนใหมีการประเมินผลการดําเนินงานขององคการบริหารสวนตําบลจากแผนพัฒนาตําบลและขอบังคับงบประมาณรายจายประจําปของตําบล เพื่อเปนแนวทางในการวางแผนพัฒนาตําบลตอไป

อยุธ ขําหาญ (2544) ไดศึกษาเกี่ยวกับการมีสวนรวมของเกษตรกรลูกคาธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตรตอการจัดทําแผนแมบทชุมชน ศึกษาเฉพาะกรณีตําบลเขาคราม อําเภอเมือง จังหวัดกระบี่ พบวา ปจจัยที่มีผลตอการมีสวนรวมของกลุมตัวอยางตอการจัดทําแผนแมบทชุมชนไดแก ความคิดเห็นตอการจัดทําแผนแมบทชุมชนเกี่ยวกับการกําหนดอนาคตของชุมชน และการเขามามีสวนรวมในการจัดทําแผนแมบทชุมชน รวมทั้งการไดรับขาวสารจากปายประกาศ การฝกอบรมและจากเจาหนาที่ของรัฐที่แจงใหทราบเกี่ยวกับการจัดทําแผนแมบทชุมชน และยังไดเสนอแนะวา องคการบริหารสวนตําบล ควรมีบทบาทสําคัญในการประชาสัมพันธ เผยแพรความรูความเขาใจ และประโยชนของแผนแมบทชุมชนอีกดวย

จุไรรัตน อินทรโต (2545) ทําการศึกษามีสวนรวมของประชาชนในการจัดทําแผนชุมชนโดยใชกรณีศึกษาชุมชนในตําบลบางตาเถร อําเภอสองพี่นอง จังหวัดสุพรรณบุรี โดยผลการศึกษาพบวา กลุมตัวอยางที่ใชในการศึกษารวมทั้งสิ้นจํานวน 148 คน สวนใหญซึ่งเปนเกษตรกรมากที่สุด มีระดับของการมีสวนรวมในการจัดทําแผนชุมชนในระดับปานกลาง โดยปจจัยที่ทําใหประชาชนเขามามีสวนรวมแตกตางกันออกไปตามตามเหตุผลสวนบุคคลและปจจัยภายนอก เชน การเปนสมาชิกของกลุมทางสังคม การไดรับขอมูลขาวสารในเรื่องการจัดทําแผนชุมชน ความรูความเขาใจในเรื่องแผนชุมชน และการเห็นความสําคัญของปญหาในชุมชน ผูวิจัยไดทําการสดสอบสมมติฐานพบวา ปจจัยที่มีผลตอการมีสวนรวมของประชาชนในการจัดทําแผนชุมชนไดแก เพศ อาชีพ การเปนสมาชิกกลุมทางสังคม ความรูความเขาใจในเรื่องของแผนชุมชน และความคาดหวังตอผลประโยชนที่จะไดรับจากการเขารวมจัดทําแผนชุมชน มีอิทธิพลตอการมีสวนรวมในการจัดทําแผนชุมชนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ .05 สวนปจจัยเรื่องอายุ ระดับการศึกษา รายไดของครัวเรือนตอเดือน ระยะเวลาในการเขาพักอาศัยในเขตตําบลที่เปนพื้นที่ของการศึกษาและความศรัทธาตอผูนําทองถิ่น ไมมีอิทธิพลตอการมีสวนรวมในการจัดทําแผนชุมชนอยางมีนัยสําคัญทาง

This document was created with the trial version of Print2PDF!

Once Print2PDF is registered, this message will disappear!

Purchase Print2PDF at http://www.software602.com/

Page 21: แนวคิดเกี่ยวกับชุมชนและแผนชุมชน

21

สถิติที่ .05 และยังพบวา สิ่งที่เปนปญหาและอุปสรรคของการจัดทําแผนชุมชนคือการขาดความรวมมือของประชาชน การขาดความรูความเขาใจที่เรื่องแผน การขาดการประสานงาน ขาดความสามัคคี และเคยชินกับการรับความชวยเหลือจากภาครัฐ ประกอบกับงบประมาณที่มีอยูอยางจํากัด การขาดการประชาสัมพันธ ความไมโปรงใส ผลประโยชนและอิทธิพล และการเลนพรรคเลนพวก รวมทั้งการขาดความจริงจังในการทํางานและขาดความรับผิดชอบ ความยากจน และปญหาการศึกษานอย

โครงการวิจัยและพัฒนาขอมูลเศรษฐกิจระดับอําเภอ วิทยาลัยการจัดการทางสังคม (2546) ไดทําการวิจัยและถอดบทเรียนจากการระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดทําแผนชุมชนจากแกนนําชุมชนที่ผานการจัดทําแผนชุมชนจากเวที 4 ภาค พบวา

1) แผนชุมชนเปนเครื่องมือที่ชวยใหหลายคนไดมารวมคิด และทําใหมองเห็นปญหาและทางออกไดหลากหลายโดยทุกคนมีสวนรวม

2) สมาชิกในชุมชนตื่นตัวที่จะจัดการกับชุมชนของตนเอง พึ่งตนเองกอนที่จะคิดถึงคนอื่นหรือหนวยงานอื่น

3) การไดพบปะพูดคุยกัน ชวยสรางความรักความเขาใจระหวางกันใหเกิดขึ้น เห็นใจคนอื่นมากขึ้น

4) การจัดทําแผนชุมชนชวยใหชุมชนไดรูจักตนเองอยางชดัเจน โดยเขาใจปญหาที่เกิดขึ้น เห็นทั้งศักยภาพและทุนที่เปนตัวเงิน และทรัพยากรธรรมชาติ โดยเฉพาะทุนทางสังคม ผูคนเกิดจิตใจพรอมที่จะทุมเททํางานเพื่อชุมชนของตนเอง ซึ่งทุนเหลานี้นับวันจะมีความสําคัญอันนําไปสูแนวทางในการแกไขปญหาของชุมชนไดอยางแทจริง

5) แผนชุมชนเปนเครื่องมอืที่รอยรัดใหสมาชิกในชุมชนไดมารวมตัวกันอันนําไปสูความรวมมืออยางตอเนือ่ง การรวมตัวกันนี้สามารถขายแนวรวมออกไดอยางกวางขวาง โดยการทําแผนรวมกัน เชื่อมโยงแผนเขาดวยกัน จากแผนชุมชนเปนแผนตําบล สูแผนจังหวัดและแผนภาคในที่สุด

6) การทําแผนชุมชนทําใหชุมชนรูจักการจัดการโดยเฉพาะการทํางานเปนกลุมใหญ ไดรูวาการทํางานรวมกันตองอาศัยความรูความเขาใจมากยิ่งกวาการทํางานคนเดียว องคความรูในเรื่องนี้ ชุมชนเปนตนแบบที่ไดทําเรื่องชุมชนมากอน สามารถที่จะใชเปนแหลงเรียนรูที่สําคัญใหแกชุมชนอื่นที่สนใจได

7) การจัดทําแผนชุมชน เปนกระบวนการที่ชวยใหเกิดการเรียนรูรวมกันอยางเปนระบบ และเปนการเรียนรูอยางตอเนื่องตลอดชีวิต

เยาวนิจ กลั่นนุรักษ (2546) ไดทําการศึกษากระบวนการเรียนรูของประชาชนในการจัดทําแผนชุมชน ศึกษาเพาะกรณีพื้นที่ภาคเหนือ 3 จังหวัด ตาก กําแพงเพชร และพิจิตร วัตถุประสงค

This document was created with the trial version of Print2PDF!

Once Print2PDF is registered, this message will disappear!

Purchase Print2PDF at http://www.software602.com/

Page 22: แนวคิดเกี่ยวกับชุมชนและแผนชุมชน

22

ของการวิจัยครั้งนี้เปนไปเพื่อศึกษาถึงขั้นตอน วิธีการ และกระบวนการเรียนรูของประชาชนในการจัดทําแผนชุมชนของหนวยงานที่เกี่ยวของในพื้นที่ที่เปนกรณีศึกษา ศึกษาสถานการณของแผนชุมชน และเปรียบเทียบผลของกระบวนการเรียนรูของประชาชนในการจัดทําแผนชุมชนและสถานการณของแผนชุมชนในพื้นที่ดังกลาว โดยใชวิธีการรวบรวมขอมูลจากวิทยากรกระบวนการหรือทีมปฏิบัติการในพื้นที่จังหวัดที่มีการจัดทําแผนชุมชนแลว ผลการศึกษาพบวา

1) ในขั้นตอนของการเตรียมความพรอมทีมผูกอการพบวา วิธีการที่นํามาใชมากที่สุดคือ การฝกอบรมหรือใหความรูในการเปนวิทยากรกระบวนการ

2) ขั้นตอนของกระบวนการเรียนรูพบวา ทีมวิทยากรกระบวนการหรือทีมปฏิบัติการตําบล ดําเนินการจัดเวทีหรือสรางความเขาใจกับแกนนํา สมาชิกในชุมชน และองคการบริหารสวนตําบลอยูในระดับมากที่สุด

3) ในขั้นตอนของการติดตามขยายผลภายหลังจากมีการจัดทําแผนชุมชนแลวนั้นพบวา มีการติดตามวาแผนไดรับการนําไปปฏิบัติตามที่กําหนดไวหรือไม และมีการถอดบทเรียน ความรูที่ไดจาการจัดทําแผนชุมชนในระดับมาก

4) สถานการณของแผนชุมชนเมื่อพิจารณาจากประเด็นหลักพบวาคือ การมีกิจกรรมการพัฒนาเกดขึ้นจริงในระดับครัวเรือนหรือชุมชนทําเองในระดับมาก

โดยในงานวิจัยดังกลาว ไดมีขอเสนอแนะใหหนวยงานผูสนับสนุนงบประมาณ ควรนํานโยบายและแผนยุทธศาสตรของรัฐมาเปนตัวกําหนดทิศทาง แนวทางในการปฏิบัติและบูรณาการเขากับแผนพัฒนาชุมชน รวมทั้งการกําหนดแนวทางการสนับสนุนการจัดทําแผนชุมชนในพื้นที่ โดยอาจกําหนดเปนกรอบการดําเนินงานกวาง ๆ ไมกําหนดเปนขั้นตอนที่ตายตัว โดยใหแตละพื้นที่สามารถปรับเปลี่ยนไดตามสถานการณและตามความเหมาะสม นอกจากนี้ ยังควรมีการประเมินผลและการทบทวนการใชแผนชุมชนโดยเปดโอกาสใหทุกคนไดเขามามีสวนรวมอยางแทจริง

สากล ภูขันเงิน (2548) ไดทําการศึกษาการมีสวนรวมของประชาชนตําบลหนองใหญ อําเภอสะตึก จังหวัดบุรีรัมยในการจัดทําแผนพัฒนาองคการบริหารสวนตําบล ผลการศึกษาพบวา ความรูความเขาใจเกี่ยวกับแผนพัฒนาตําบลขององคการบริหารสวนตําบล ของกลุมตัวอยางในภาพรวมแลวอยูในระดับปานกลาง ในแงการมีสวนรวมในการจัดทําแผนพัฒนาองคการบริหารสวนตําบลของกลุมตัวอยางในภาพรวมพบวาอยูในระดับปานกลาง โดยสามารถเรียงลําดับกิจกรรมประกอบดวย การมีสวนรวมในการแสดงความคิดเห็น การรับรูติดตามขาวสาร การรวมรับประโยชน การรวมดําเนินการ การรวมตัดสินใจ การรวมกํากับติดตาม และการรวมรับผิดชอบ นอกจากนี้ ผูวิจัยไดมีขอเสนอแนะใหองคการบริหารสวนตําบลควรชี้แจงทําความเขาใจใหเห็นถึง

This document was created with the trial version of Print2PDF!

Once Print2PDF is registered, this message will disappear!

Purchase Print2PDF at http://www.software602.com/

Page 23: แนวคิดเกี่ยวกับชุมชนและแผนชุมชน

23

ความสําคัญของประเด็นการมีสวนรวมของประชาชนในการจัดทําแผนพัฒนาองคการบริหารสวนตําบลใหมากขึ้น และเปดโอกาสเพื่อใชชาวบานเขามามีสวนรวมในการกํากับติดตามประเมินผลการดําเนินงานโครงการ โดยอาจตั้งเปนคณะกรรมการตรวจสอบรวมกัน อันจะเปนการเสรมบทบาทของประชาชนในการติดตามตรวจสอบการปฏิบัติงานขององคการบริหารสวนตําบลโดยประชาชนใหมากขึ้น

เอกสารอางอิง

กรมการพัฒนาชุมชน. (2529). รายงานการวิจัยเรื่องปจจัยที่มีผลตอการมสีวนรวมของประชาชนในกระบวนการพัฒนา : กรณีศึกษาเฉพะ กพมส. กรุงเทพฯ: กองการวิจัยและประเมนิผล

กรมการพัฒนาชุมชน

กองราชการสวนตําบล, กรมการปกครอง. (2540). การจัดทําแผนพัฒนาตําบลขององคการบริหารสวน

ตําบล. กรุงเทพฯ: โรงพิมพสวนทองถิน่กีรติ บุญเจือ. (2525). วิธีการศึกษาทั่วไปแบบบูรณาการสมบูรณเริ่มตนที่มนุษยรูไดอยางไร.

กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช. โกวิทย กังสนันท. (2527). องคการและการบริหาร. กรุงเทพฯ: โรงพิมพกรมสรรพสามิตจุไรรัตน อินทรโต. (2545). การมีสวนรวมของประชาชนในการจัดทําแผนชุมชน : ศึกษาเฉพาะกรณี

ชุมชนในตําบลบางตาเถร อําเภอสองพี่นอง จังหวัดสุพรรณบุรี. ภาคนิพนธปริญญาพัฒนบริหารศาสตรมหาบัณฑิต (พัฒนาสังคม) สถาบันบัณฑิตพฒันบริหารศาสตร

จิตจํานงค กิติกีรติ. (2536). การพัฒนาชุมชน. กรุงเทพฯ: คุณพิณอักษรกิจเจิมศักดิ์ ปนทอง. 2525. การระดมประชาชนเพื่อการพัฒนาชนบท (อัดสําเนา) กรุงเทพฯ: คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตรจีรพรรณ กาญจนจิตรา. (2523). การพัฒนาชนบท. กรุงเทพฯ: โรงพิมพมหาวิทยาลัยรามคําแหง ชวาล แพรัตนกุล. (2526). เทคนิคการวัดผล. กรุงเทพฯ: สํานักทดสอบทางการศึกษาและจิตวิทยาลัย

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมติรชัชฤทธิ์ ปนารกัษ. (2540). ปจจัยที่มีความสัมพันธตอการมีสวนรวมของสมาชิกองคการบริหารสวน

This document was created with the trial version of Print2PDF!

Once Print2PDF is registered, this message will disappear!

Purchase Print2PDF at http://www.software602.com/

Page 24: แนวคิดเกี่ยวกับชุมชนและแผนชุมชน

24

ตําบล (อบต.) ในการจัดทําแผนพฒันาตําบล : ศึกษาเฉพาะกรณีองคการบริหารสวนตําบลใน

อําเภอภาชี จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. ภาคนิพนธปริญญาพัฒนบริหารศาสตรมหาบัณฑติ (พัฒนาสังคม) สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร

ชิรวัฒน นิจเนตร. (2542). การวางแผนการศึกษา. ภูเก็ต: สถาบันราชภัฎภูเก็ต ติน ปรัชญพฤทธิ.์ 2532. ภาวะผูนําและการมีสวนรวมพฤติกรรม ในองคการหนวยที่ 2 นนทบุร:ี มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชทวีทอง หงษวิวัฒน. 2527. การมีสวนรวมของประชาชน. ศูนยศึกษานโยบายสาธารณสุข มหาวิทยาลัยมหิดล----------. บรรณาธิการ 2527. นโยบาย และกลวิธีการมีสวนรวมของชุมชนใน ยุทธศาสตรการพัฒนาในปจจุบัน

การมีสวนรวมของประชาชนในการพัฒนา กรุงเทพฯ: ศักดิ์โสภณการพิมพ ทศพล กฤตยพิสิฐ. 2538. การมีสวนรวมของกํานันผูใหญบานเขตหนองจอกที่มีตอโครงการ/กิจกรรมการพัฒนา

ตามแนวทาง “บวร” และ “บรม” เพื่อสรางอุดมการณแผนดินธรรมแผนดินทอง . วิทยานิพนธสังคม

สงเคราะหศาสตรมหาบัณฑิต คณะสังคมสงเคราะหศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตรนงลักษณ รักราวี. (2545). ศักยภาพขององคการบริหารสวนตําบลการจัดทําแผนพัฒนาตําบลประจําป : ศึกษากรณี

องคการบริหารสวนตําบลในเขตศูนยชวยเหลือทางวิชาการพัฒนาชุมชนเขตที่ 3. ภาคนิพนธ

ปริญญาพัฒนบริหารศาสตรมหาบัณฑิต (พัฒนาสังคม), สถาบันบัณฑิตพัฒน บริหารศาสตร.ไพรัตน เตชะรินทร. (2526). “รูปแบบการจัดองคการบริหารงานพัฒนาชนบท” วารสารพัฒนา

ชุ ม ช น 22 11 (พฤศจิกายน)

---------. (2527). นโยบายและกลวิธีการมีสวนรวมของชนบทในยุทธศาสตรการพัฒนาในปจจุบัน. กรุงเทพฯ: ศูนยศึกษานโยบายสาธารณสุข มหาวิทยาลัยมหิดล

This document was created with the trial version of Print2PDF!

Once Print2PDF is registered, this message will disappear!

Purchase Print2PDF at http://www.software602.com/

Page 25: แนวคิดเกี่ยวกับชุมชนและแผนชุมชน

25

ปกรณ ปรียากร. (2530). ทฤษฎีและกลยุทธเกี่ยวกับการพัฒนา. กรุงเทพฯ: คณะรัฐประศาสนศาสตร สถาบัน

บัณฑิตพัฒนบริหารศาสตรประเวศ วะสี. 2540. ใน ประชาสังคม: ทัศนะนักคิดในสังคมไทย. ชูชัย ศุภวงศและยุวดี คาดการณไกล.

บรรณาธิการ. กรุงเทพฯ: มติชน ปาริชาติ วลัยเสถียร. 2541. เอกสารประกอบการศึกษาวิชา สค.651 ทฤษฎีและหลักการพัฒนาชุมชน. กรุงเทพฯ:

คณะสังคมสงเคราะหศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตรปรีชา นิพนธพิทยา. (2536). การสรางความสัมพันธกับชุมชน. กรุงเทพฯ: โรงพิมพคุรุสภาประเวศ วะสี. (2537). ยุทธศาสตรทางปญญาแหงชาติ. กรุงเทพฯ: สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัยประสงค พิทูรกิจจา. (2533). การวางแผนพัฒนาชนบทระดับจังหวัด. สารนิพนธปริญญารัฐศาสตรมหาบัณฑิต

คณะรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ยุทธนา ทรัพยสมบูรณ. (2538). ความรูความเขาใจและความพึงพอใจของประชาชนตอบริการ

สาธารณะที่ไดรับจากสุขาภิบาล : ศึกษาเปรียบเทียบสุขาภิบาลสองแหงในจังหวัดสกลนคร.

สารนิพนธมหาบณัฑิต สาขาการปกครอง คณะรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตรเยาวนิจ กลั่นนุรักษ. (2546). กระบวนการเรียนรูของประชาชนในการจัดทําแผนชุมชน : ศึกษาเฉพาะกรณีพื้นที่

ภาคเหนือ 3 จังหวัด ตาก กําแพงเพชร และพิจิตร. ภาคนิพนธปริญญาศิลปศาสตร มหาบัณฑิต (พัฒนา

สังคม) สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตรราชบัณฑิตยสถาน. (2524). พจนานุกรมศัพทสังคมวิทยา อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. กรุงเทพฯ: รุง

ศิลปการพิมพ วิเชียร พลสยม. (2547). กระบวนการจัดทําแผนแมบทชุมชนเพื่อเอาชนะความยากจนอยางยั่งยืน : ศึกษาเฉพาะ

This document was created with the trial version of Print2PDF!

Once Print2PDF is registered, this message will disappear!

Purchase Print2PDF at http://www.software602.com/

Page 26: แนวคิดเกี่ยวกับชุมชนและแผนชุมชน

26

กรณีตําบลเสียว กิ่งอําเภอโพธิ์ศรีสุวรรณ จังหวัดศรีสะเกษ. ภาคนิพนธหลักสูตรศิลปศาสตรมหา

บัณฑิต (พัฒนาสังคม) สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร วิชัย รูปขําดี. (2540). “การพัฒนาสังคม : แนวความคิดและการปฏิบัติในประเทศไทย.” วารสารพัฒนาสังคม 1

1 (ตุลาคม-ธันวาคม) วิทยาลัยการจัดการสังคม สถาบันพัฒนาองคกรชุมชน. (2546). แผนชุมชนฉบับประชาชน. กรุงเทพฯ: สถาบัน

พัฒนาองคกรชุมชนวิรัช เตียวหงษากุล. (2529). การพัฒนาชุมชนตามแนวความคิดนักปรัชญาตะวันตก. ขอนแกน: คณะ

มนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกนวีระพล สุวรรณนันต. (2524). หลักและเทคนิคการวางแผน. กรุงเทพฯ: ประยูรวงศ วันชัย วัฒนศัพท, ศุภณัฐ เพิ่มพูนวิวัฒน และ สุวธิดา ศรียพันธ. แปลและเรียบเรียง. (2547). เอกสาร

ประกอบการอบรมหลักสูตรการมีสวนรวมของประชาชนและการแกไขปญหาความขัดแยง เขียนโดย

James L. Creighton จัดโดยศูนยสันติวิธีและธรรมาภิบาล สถาบันพระปกเกลา วันที่ 2-4 พฤศจิกายน สัญญา สัญญาวิวัฒน. (2515). การพัฒนาชุมชน. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช สมศักดิ์ ศรสีันติสุข. (2537). สังคมวิทยา : หลักการศกึษาวิเคราะห และปฏิบัติงานชุมชน.

ขอนแกน: มหาวิทยาลัยขอนแกน สัมพันธ เตชะอธิก, วิเชียร แสงโชติ, มานะ นาคําและอกนิษฐ ปองภัย. 2540. การพัฒนาความ

เขมแข็งขององคกรชาวบาน. ขอนแกน: สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยของแกนสัมพันธ เตชะอธิก, อนุสรณ ไชยพานและพัชรา แสงวิเศษ. 2541. สรุปรายงานการสังเคราะหความเขมแข็งของ

ประชาคมตําบล กรณีศึกษา ตําบลหนองแจงใหญ อําเภอบัวใหญ จังหวัดนครราชสีมา . ขอนแกน:

สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยขอนแกน CAGINและสถาบันชุมชนทองถิ่นพัฒนา

This document was created with the trial version of Print2PDF!

Once Print2PDF is registered, this message will disappear!

Purchase Print2PDF at http://www.software602.com/

Page 27: แนวคิดเกี่ยวกับชุมชนและแผนชุมชน

27

สากล ภูขันเงิน. (2548). การมสีวนรวมของประชาชนตําบลหนองใหญ อําเภอสะตึก จังหวัดบุรีรัมยในการจัดทําแผนพัฒนาองคการบริหารสวนตําบล. ภาคนิพนธปริญญาพัฒนบริหารศาสตร

มหาบัณฑิต (พัฒนาสังคม), สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร.

เสริมศักดิ์ แนมใส. (2542). ประสิทธิผลของการดําเนินงานตามแผนพัฒนาตําบลของคณะกรรมการบริหารองคการบริหารสวนตําบล : ศึกษาเฉพาะกรณีองคการบริหารสวนตําบลในจังหวัดนราธิวาส. ภาคนิพนธหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (พัฒนาสังคม) สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหาร

ศาสตร

เสรี พงศพิศ และวิชิต นันทสุวรรณ. (2545). กระบวนการเรียนรูเพื่อพัฒนาที่ยั่งยืน. กรุงเทพฯ: เจริญวิทยการพิมพ

สุโขทัยธรรมาธิราช, มหาวิทยาลัย. (2541). การวางแผนพัฒนาโรงเรียน. พิมพครั้งที่ 16. นนทบุร:ี สํานักพิมพมหาวิทยาลัยสถโขทัยธรรมาธิราช

สุภาพร พิศาลบุตร. (2543). หลักการวางแผน. กรุงเทพฯ: ศูนยเอกสารและตํารา สถาบันราชภัฎสวนดุสติสมบัติ ธํารงธัญวงศ. (2540). “นโยบายสาธารณะและการวางแผน.” วารสารพัฒนบริหารศาสตร 37 1 (มกราคม-มีนาคม) สมพร แสงชัย. (2525). การวางแผนโครงการพัฒนา. กรุงเทพฯ: สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร

สุรัสวดี ราชกุลชัย. (2543). การวางแผนและการควบคุมทางการบริหาร. กรุงเทพฯ: โรงพิมพจามจุรี

สุวิทย ยิ่งวรพันธ. (2512). พัฒนาชนบท ในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพอักษรสาสน เสนห จามริก. 2527. นโยบาย กลวิธี การมีสวนรวมของประชาชนในการพัฒนาชุมชน. กรุงเทพฯ: ศูนยศึกษานโยบายสาธารณสุข มหาวิทยาลัยมหิดลสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ. (2543). รางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 9 (พ.ศ.2549-2549). เอกสารประกอบการสัมมนาระดมความคิดเห็นเรื่อง แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 9 กับการประสานไปสูการปฏิบัติ ณ ศูนยประชุมแหงชาติสิริกิติต กรุงเทพมหานคร, วันศุกรที ่15 ธันวาคม 2546

This document was created with the trial version of Print2PDF!

Once Print2PDF is registered, this message will disappear!

Purchase Print2PDF at http://www.software602.com/

Page 28: แนวคิดเกี่ยวกับชุมชนและแผนชุมชน

28

สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาต.ิ (2544). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 9. กรุงเทพฯ: สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม

แหงชาติ

---------. (2546). โครงการบูรณาการแผนชุมชนเพือ่ความเขมแข็งของชุมชนและเอาชนะความยากจน. กรุงเทพฯ: สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ

ศิรชิัย นุชพงษ. (2544). ปจจัยที่มีความสัมพันธกับการมสีวนรวมของคระกรรมการพัฒนาองคการบริหารสวนตําบล (อบต.) ในการจัดทําแผนพัฒนาขององคการบริหารสวนตําบลในเขตอําเภอนคร

หลวง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. ภาคนิพนธหลกัสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (พัฒนาสังคม) สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร

อคิน รพีพัฒน. (2527). การมีสวนรวมของชุมชนในการพัฒนาชนบทในสภาพสังคมและวัฒนธรรมไทยในการมีสวนรวมของประชาชนในการพัฒนา. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยมหิดล---------. (2527). “ทําไมตองพูดถึงการมสีวนรวมของประชาชน” ใน การมีสวนรวมของประชาชนใน การพัฒนา. กรุงเทพฯ: ศักดิ์โสภาการพิมพ.อนุชาติ พวงสําลี และกฤตยา อาชวนิจกุล. บรรณาธิการ. (2542). ขบวนการประชาสังคมไทย : ความเคลื่อนไหว ภาคพลเมือง. กรุงเทพฯ: โครงการวิจัยและพัฒนาประชาสังคม มหาวิทยาลัยมหิดลโอภาส ปญญา. บรรณาธิการ. 2542. ประชาคมรากหญา ขบวนการคนกลา สรางบาน วันใหม: ประสบการณจริงจากชุมชนเขมแข็งระดับตําบล 4 ภาค. กรุงเทพฯ: สถาบันชุมชนทองถิ่นพัฒนา อนันต เกตุวงศ. (2543). หลักและเทคนิคการวางแผน. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อยุธ ขําหาญ. (2544). การมีสวนรวมของเกษตรกรลูกคาธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตรตอการจัดทําแผนแมบทชุมชน : ศึกษาเฉพาะกรณีตําบลเขาคราม อําเภอเมือง จังหวัดกระบี่. ภาคนิพนธปริญญาพัฒนบริหารศาสตรมหาบัณฑิต (พัฒนาสังคม), สถาบันบณัฑิตพัฒน บริหารศาสตร.อุทัย หิรัญโต. (2526). สารานุกรมศัพทสังคมวิทยา-มานุษยวิทยา. กรุงเทพฯ: โตเกียวสโตรAnderson, Carl R. (1988). Management : Skills, Functions, and Organization Performance. 2 nd ed. Boston: Allyn and Bacon Arnstein, S. R. (1969). Ladder of Citizen Participation. New York: The American Institute of Planners

This document was created with the trial version of Print2PDF!

Once Print2PDF is registered, this message will disappear!

Purchase Print2PDF at http://www.software602.com/

Page 29: แนวคิดเกี่ยวกับชุมชนและแผนชุมชน

29

Atchison, Thomas J. and Hill, Winston W. (1978). Management Today : Managing Work in Organizations. New York: Harcourt Brace Javanovich, Inc., Cleland, David I and King, William R. (1968). System Analysis and Project Management. New York: McGraw-Hill Book CompanyHedgetts, Richard M., and Kuratko, Donald F. (1988). Management. 2nd ed. San Diego: Harcourt Brace JavanovichMaslow, A. H. 1970. Motivation and personality. 2nd. ed. New York: Harper and Row. Seligman, Adam B. 1992. The Ideas of Civil Society. New York. The Free PressShadid, W., Prints, W. and Was, P. J. M. (1982). “Access and Participation : A Theoretical Approach .” in Participation of the Poor in Development. editedUphoff, Norman T. (1981). Farmer’ s Participation in Project Formulation Design and Operation. Washington D.C.: The World Bank Waterston, Albert. (1971). Development Planning : Lessons of Experience. Baltimore and London : the Johts Hopking Press World Health Organization, (1981). Community Involvement in Health for Primary Health Care. Geneva: WHO

This document was created with the trial version of Print2PDF!

Once Print2PDF is registered, this message will disappear!

Purchase Print2PDF at http://www.software602.com/