19
เฟียเจต์ (Piage

เฟียเจท์

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: เฟียเจท์

เฟ ียเจต ์ ( P ia g e

t )

Page 2: เฟียเจท์

ทฤษฎีเก ี ่ยว ก ับพ ัฒนาการเชาวน์ป ัญญาที ่ผ ู ้ เข ียนเห ็นว ่าม ี

ประโยชน์ ส ำาหร ับคร ู ค ือทฤษฎีของนักจ ิตว ิทยาชาว สว ิส

ชื ่อ เพ ียเจต ์ ( P iaget) ที ่จร ิงแล ้วเพ ียเจต ์ได ้ร ับปร ิญญาเอก

ทางว ิทยาศาสตร ์ สาขาส ัตว ิทยา ที ่มหาว ิทยาล ัย Neuchatel

ประเทศสว ิสเซอร ์แลนด์ หลังจากได้ร ับปร ิญญา

เอก ในปี ค . ศ . 1918 เพ ียเจต ์ได ้ ไปทำางานกับบ ีเนต ์ ( B inet) และ

ซีโม ( S imon) ผู ้ซ ึ ่งเป ็นผ ู ้แต ่ง ข้อสอบเชาวน์ข ึ ้น เป ็นคร ั ้งแรก

เพ ียเจต ์ม ีหน้าท ี ่ทดสอบเด ็กเพ ื ่อจะหาปทัสถาน ( Norm) สำาหร ับเด ็กแต ่ละว ัย

Page 3: เฟียเจท์

เฟียเจต์พบคำำตอบของเด็กน่ำสนใจมำก โดยเฉพำะคำำตอบของเด็กที่เยำว์วัยเพรำะมักจะตอบผิด แต่เมื่อเพียเจต์ได้วิเครำะห์คำำตอบที่ผดิเหล่ำนั้นก็พบว่ำคำำตอบของเด็กเล็กที่ต่ำงไปจำกคำำตอบของเด็กโตเพรำะมีควำมคิดที่ต่ำงกัน คณุภำพของคำำตอบของเด็กที่วัยต่ำงกัน มักจะแตกต่ำงกัน แต่ไม่ควรที่จะบอกว่ำเด็กโตฉลำดกว่ำเด็กเล็ก หรือคำำตอบของเด็กเล็กผิด กำรทำำงำนกับนำยแพทย์บีเนต์ระหว่ำงปีค.ศ.1919 ถึง ค.ศ.1921 เปน็จุดเริ่มต้นของควำมสนใจเพียเจต์เก่ียวกับพัฒนำกำรเชำวน์ปญัญำ

Page 4: เฟียเจท์

เพ ียเจต ์ (Piaget) ได ้ศ ึกษำเก ี ่ยวก ับพ ัฒนำกำรทำงด ้ำนควำมคิดของเด ็กว ่ำม ีข ั ้นตอนหรือกระบวนกำรอย ่ำงไร ทฤษฎีของเพ ียเจต ์ต ั ้งอย ู ่บนรำกฐำนของทั ้งองค ์ประกอบที ่ เป ็นพ ันธ ุกรรม และส ิ ่งแวดล ้อม

Page 5: เฟียเจท์

เฟียเจท์อธบิำยว่ำ กำรเรียนรู้ของเด็กเปน็ไปตำมพัฒนำกำรทำงสติปญัญำ ซึ่งจะมพีัฒนำกำรไปตำมวัยต่ำง ๆ เป็นลำำดับขั้น พฒันำกำรเปน็สิ่งที่เปน็ไปตำมธรรมชำติ ไม่ควรที่จะเร่งเด็กให้ข้ำมจำกพัฒนำกำรจำกขั้นหนึ่งไปสูอ่ีกขั้นหนึ่ง เพรำะจะทำำให้เกิดผลเสียแก่เด็ก แต่กำรจัดประสบกำรณ์ส่งเสริมพัฒนำกำรของเด็กในช่วงที่เด็กกำำลังจะพฒันำไปสู ่ขั้นที่สงูกว่ำ สำมำรถช่วยให้เด็กพฒันำไปอยำ่งรวดเร็ว

Page 6: เฟียเจท์

อย่ำงไรก็ตำม เพยีเจตเ์นน้ควำมสำำคัญของกำรเข้ำใจธรรมชำตแิละพฒันำกำรของเด็กมำกกว่ำกำร กระตุน้เด็กใหมี้พฒันำกำรเร็วขึ้น เพยีเจต์สรุปวำ่ พฒันำกำรของเดก็สำมำรถอธิบำยได้โดยลำำดับระยะพฒันำทำงชวีวิทยำทีค่งที ่แสดงให้ปรำกฏโดยปฏิสมัพนัธ์ของเด็กกบัสิ่งแวดลอ้ม

Page 7: เฟียเจท์

เพียเจต์กล่ำวว่ำ ระหว่ำงระยะเวลำตั้งแต่ทำรกจนถึงวัยรุ่น คนเรำจะคอ่ยๆสำมำรถปรับตัวเข้ำกับสิง่แวดล้อมได้มำกขึ้นตำมลำำดับขั้น โดยเพยีเจต์ได้แบ่งลำำดับขั้นของพฒันำกำรเชำวน์ปญัญำของมนุษย ์ไว้ 4 ขัน้ ซึ่งเป็นขั้นพัฒนำกำรเชำวน์ปญัญำ ดังนี้

Page 8: เฟียเจท์

•ขั ้นท ี ่1 ขั ้นประสาทร ับร ู ้และการ เคล ื ่อนไหว (Sensorimotor)

แรกเก ิด - 2 ขวบ ขั้นนี้เริ่มตั้งแต่แรกเกิดจนถึง 2 ปี พฤติกรรม

ของเด็กในวัยนี้ขึ้นอยู่กับกำรเคลื่อนไหวเปน็ส่วนใหญ่ ในวัยนี้เด็กแสดงออกทำงด้ำนร่ำงกำยให้เห็นว่ำมีสติปญัญำด้วยกำรกระทำำ เด็กสำมำรถแก้ปัญหำได้ แม้ว่ำจะไม่สำมำรถอธิบำยได้ด้วยคำำพูด เด็กจะต้องมีโอกำสที่จะปะทะกับสิ่งแวดล้อมด้วยตนเอง

Page 9: เฟียเจท์

•ขั ้นท ี ่2 ข ั ้นก ่อนปฏิบ ัต ิกำรคิด (Preoperational) อำย ุ18 เด ือน - 7 ป ี

เด็กก่อนเข้ำโรงเรียนและวัยอนุบำล มีระดับเชำวน์ปญัญำอยู่ในขั้นนี้ เด็กวัยนีม้ีโครงสร้ำงของสติปญัญำ(Structure) ที่จะใช้สญัลักษณ์แทนวัตถุสิง่ของที่อยู่รอบๆตัว ได้ หรือ มีพัฒนำกำรทำงด้ำนภำษำ เด็กวัยนี้จะเริ่มด้วยกำรพูดเป็นประโยคและเรียนรู้คำำต่ำงๆเพิ่มขึ้น เด็กจะได้รู้จักคดิ ขั้นนี ้แบง่ออกเป็นขั้นย่อยอีก 2 ขั้น คอื

Page 10: เฟียเจท์

1.ข ั ้นก ่อนเก ิดส ังก ัป (Preconceptual Thought)

เป็นขั้นพัฒนำกำรของเด็กอำยุ 2-4 ป ี เปน็ชว่งที่เด็กเริ่มมีเหตุผลเบือ้งต้น สำมำรถจะโยงควำมสมัพันธ์ระหว่ำงเหตุกำรณ์ 2 เหตุกำรณ์ หรือมำกกว่ำมำเปน็เหตุผลเก่ียวโยงซึ่งกันและกัน แต่เหตุผลของเด็กวัยนี้ยังมีขอบเขตจำำกัดอยู่ เพรำะเด็กยังคงยึดตนเองเปน็ศูนย์กลำง คอืถือควำมคดิตนเองเปน็ใหญ่ และมองไม่เห็นเหตุผลของผูอ้ื่น ควำมคิดและเหตุผลของเด็กวัยนี้ จึงไม่ค่อยถูกต้องตำมควำมเป็นจริงนัก แต่พัฒนำกำรทำงภำษำของเด็กเจริญรวดเร็วมำก

Page 11: เฟียเจท์

2. ขั ้นการคิดแบบญาณหยั ่งร ู ้ น ึกออกเองโดย ไม่ใช ้เหต ุผล ( Intuitive Thought)

เป็นขั้นพัฒนำกำรของเด็ก อำยุ 4-7 ปี ขั้นนี้เด็กจะเกิดควำมคดิรวบยอดเก่ียวกับสิ่งต่ำงๆ รวมตัวดีขึ้น เริ่มมีพัฒนำกำรเก่ียวกับกำรอนุรักษ์ แต่ไม่แจ่มชดันัก สำมำรถแก้ปญัหำเฉพำะหน้ำได้โดยไม่คดิเตรียมล่วงหน้ำไว้ก่อน รู้จักนำำควำมรู้ในสิง่หนึ่งไปอธิบำยหรือแก้ปญัหำอื่นและสำมำรถนำำเหตุผลทั่วๆ ไปมำสรุปแก้ปญัหำ โดยไม่วิเครำะห์อย่ำงถ่ีถ้วนเสียก่อน กำรคดิหำเหตุผลของเด็กยังขึ้นอยู่กับสิง่ที่ตนรับรู้ หรือสมัผัสจำกภำยนอก

Page 12: เฟียเจท์

•ขั ้นท ี ่3 ข ั ้นปฏิบ ัต ิกำรค ิดด ้ำนร ูปธรรม (Concrete Operations)(อำย ุ 7 - 11 ป ี)

พฒันำกำรทำงด้ำนสติปัญญำและควำมคิดของเด็กวัยนี้แตกต่ำงกันกับเด็กในข้ัน Preperational มำก เด็กวัยนี้จะสำมำรถสร้ำงกฎเกณฑ์ และตั้งกฎเกณฑ์ ในกำร แบ่งสิ่งแวดล้อมออกเป็นหมวดหมูไ่ด้ คือ เด็กจะสำมำรถทีจ่ะอ้ำงอิงด้วยเหตุผลและไมข้ึ่นกบักำรรับรู้จำกรูปร่ำงเทำ่นั้น เด็กวัยนี้สำมำรถแบ่งกลุ่มโดยใช้เกณฑ์หลำยๆอยำ่ง และคิดยอ้นกลับ (Reversibility) ได้ ควำมเข้ำใจเกี่ยวกับกิจกรรมและควำมสัมพนัธ์ของตัวเลขก็เพิ่มมำกข้ึน

Page 13: เฟียเจท์

•ขั ้นท ี ่4 ข้ันปฏบิัติกำรคิดด้วยนำมธรรม (Formal Operations)อำย ุ 12 ป ีข ึ ้นไป

ในข้ันนีพ้ัฒนำกำรเชำวนป์ัญญำและควำมคิดเห็นของเด็กเป็นข้ันสดุยอด คือ เด็กในวัยนีจ้ะเริ่มคิดเป็นผู้ใหญ ่ควำมคิดแบบเด็กสิ้นสุดลง เด็กสำมำรถทีจ่ะคิดหำเหตุผลนอกเหนือไปจำกข้อมลูที่มอียู ่สำมำรถทีจ่ะคิดเป็นนกัวิทยำศำสตร์ สำมำรถที่จะตั้งสมมตุิฐำนและทฤษฎแีละเหน็ว่ำควำมจริงทีเ่ห็นด้วยกบักำรรับรู้ไม่สำำคัญเทำ่กับกำรคิดถึงสิ่งทีอ่ำจเป็นไปได้(Possibility

Page 14: เฟียเจท์

พัฒนำกำรทำงกำรรู้คดิของเด็กในชว่งอำยุ 6 ปแีรกของชีวิต ซึ่งเพียเจต์ ได้ศึกษำไว้เปน็ประสบกำรณ์ สำำคญัที่เด็กควรได้รับกำรส่งเสริม มี 6 ขั้น ได้แก่

5.ขั้นควำมรู้แตกต่ำง (Absolute Differences) 6.ขั้นรู้สิ่งตรงกันข้ำม (Opposition) 7.ขั้นรู้หลำยระดับ (Discrete Degree) 8.ขั้นควำมเปลี่ยนแปลงต่อเนือ่ง (Variation)9.ขั้นรู้ผลของกำรกระทำำ (Function)6. ขั้นกำรทดแทนอย่ำงลงตัว (Exact Compensation)

Page 15: เฟียเจท์

กระบวนกำรทำงสติป ัญญำมีล ักษณะดังน ี ้

3)กำรซึมซับหรือกำรดูดซึม (assimilation) เป็นกระบวนกำรทำงสมองในกำรรับประสบกำรณ์ เรื่องรำว และข้อมลูต่ำง ๆ เข้ำมำสะสมเกบ็ไว้เพือ่ใช้ประโยชนต์่อไป

2. กำรปรับและจัดระบบ (accommodation) คือ กระบวนกำรทำงสมองในกำรปรับ ประสบกำรณ์เดิมและประสบกำรณ์ใหมใ่หเ้ข้ำกันเป็นระบบ

3. กำรเกิดควำมสมดุล (equilibration) เป็นกระบวนกำรที่เกิดข้ึนจำกข้ันของกำรปรับ หำกกำรปรับเป็นไปอยำ่งผสมผสำนกลมกลืนก็จะมคีวำมสมดุลข้ึน หำกไม่สำมำรถปรับประสบกำรณ์ใหมแ่ละประสบกำรณ์เดิมใหเ้ข้ำกันได้ ก็จะเกดิควำมไมส่มดุลข้ึน ซึ่งจะเกดิควำมขัดแยง้ทำงปัญญำข้ึนในตัวบุคคล

Page 16: เฟียเจท์

กำรนำำไปใช้ในกำรจ ัดกำรศึกษำ / กำรสอน

1.เมือ่ทำำงำนกับนกัเรียน ผู้สอนควรคำำนงึถึงพฒันำกำรทำงสติปํญญำของนักเรียนดังต่อไปนี้

1.1)นักเรียนทีม่อีำยเุทำ่กันอำจมข้ัีนพฒันำกำรทำงสติปัญญำทีแ่ตกต่ำงกัน

1.2)นักเรียนแต่ละคนจะได้รับประสบกำรณ์ 2 แบบคือ1.2.1>ประสบกำรณ์ทำงกำยภำพ (physical experiences) จะเกิดข้ึนเมือ่นักเรียนแต่ละคนได้ปฏสิัมพนัธ์กับวัตถุต่ำง ในสภำพแวดล้อม โดยตรง1.2.2>ประสบกำรณ์ทำงตรรกศำสตร์ (Logicomathematical experiences) จะเกิดข้ึน เมือ่นกัเรียนได้พฒันำโครงสร้ำงทำงสติปัญญำให้ควำมคิดรวบยอดทีเ่ป็นนำมธรรม

Page 17: เฟียเจท์

2.หลักสตูรที่สร้ำงขึ้นบนพื้นฐำนทฤษฎีพัฒนำกำรทำงสติปญัญำของเพียเจต์ ควรมีลักษณะดังต่อไปนี้คือ

1.เน้นพัฒนำกำรทำงสติปัญญำของผู้เรียนโดยต้องเน้นให้นักเรียนใชศ้ักยภำพของตนเองให้มำกที่สุด2.เสนอกำรเรียนกำรเสนอที่ให้ผูเ้รียนพบกับควำมแปลกใหม่3.เน้นกำรเรียนรู้ต้องอำศัยกิจกรรมกำรคน้พบ4.เน้นกิจกรรมกำรสำำรวจและกำรเพิ่มขยำยควำมคดิในระหว่ำงกำรเรียนกำรสอน5.ใช้กิจกรรมขัดแย้ง (cognitive conflict activities) โดยกำรรับฟังควำมคดิเห็นของผู้อื่นนอกเหนือจำกควำมคดิเห็นของตนเอง

Page 18: เฟียเจท์

3.กำรสอนทีส่่งเสริมพัฒนำกำรทำงสติปัญญำของผู้เรียนควรดำำเนนิกำรดังต่อไปนี้

1) ถำมคำำถำมมำกกว่ำกำรใหค้ำำตอบ2) ครูผู้สอนควรจะพูดให้นอ้ยลง และฟงัใหม้ำกข้ึน3) ควรให้เสรีภำพแก่นกัเรียนทีจ่ะเลือกเรียนกิจกรรมต่ำง ๆ4) เมือ่นกัเรียนใหเ้หตุผลผิด ควรถำมคำำถำมหรือจัดประสบกำรณ์ใหน้กัเรียนใหม ่5) ชี้ระดับพฒันำกำรทำงสติปัญญำของนกัเรียนจำกงำนพฒันำกำรทำงสติปัญญำข้ันนำมธรรมเพื่อดูว่ำนักเรียนคิดอย่ำงไร6) ยอมรับควำมจริงทีว่่ำ นกัเรียนแต่ละคนมอัีตรำพัฒนำกำรทำงสติปัญญำทีแ่ตกต่ำงกัน7) ผู้สอนต้องเข้ำใจว่ำนกัเรียนมคีวำมสำมำรถเพิ่มข้ึนในระดับควำมคิดข้ันต่อไป8) ตระหนักว่ำกำรเรียนรู้ทีเ่กิดข้ึนเพรำะจดจำำมำกกว่ำทีจ่ะเข้ำใจ เป็นกำรเรียนรู้ทีไ่มแ่ทจ้ริง (pseudo learning)

Page 19: เฟียเจท์

4.ในขั้นประเมินผล ควรดำำเนินกำรสอนต่อไปนี้

1) มีกำรทดสอบแบบกำรให้เหตุผลของนักเรียน2) พยำยำมให้นักเรียนแสดงเหตุผลในกำรตอนคำำถำมนั้น ๆ3) ต้องช่วยเหลือนักเรียนทีมีพัฒนำกำรทำงสติปญัญำตำ่ำกว่ำเพื่อร่วมชั้น