79
1 ผลงานประกอบการพิจารณาประเมินบุคคล เพื่อแตงตั้งใหดํารงตําแหนงสําหรับผูปฏิบัติงานที่มีประสบการณ ตําแหนงประเภททั่วไป ตําแหนงพยาบาลวิชาชีพ 6 (ดานการพยาบาลวิสัญญี) เรื่องที่เสนอใหประเมิน 1. ผลงานที่เปนผลการดําเนินงานที่ผานมา เรื่อง การพยาบาลผูปวยที่ไดรับการระงับความรูสึกเพื่อผาตัดจัดกระดูก โหนกแกมหักใหเขาที่และใสเหล็กยึดดามกระดูก 2. ขอเสนอ แนวคิด วิธีการเพื่อพัฒนางานหรือปรับปรุงงานใหมีประสิทธิภาพมากขึ้น เรื่อง การจัดรถเตรียมอุปกรณและเครื่องมือสําหรับระงับความรูสึกผูปวยเด็ก เสนอโดย นางสาวสุกัญญา ประดิษฐ ตําแหนงพยาบาลวิชาชีพ 5 (ตําแหนงเลขทีรพจ. 873) ฝายการพยาบาล โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ สํานักการแพทย

6 ว ด านการพยาบาลว ิสัญญี) file/Personal/Succeed/RN/L6/0601.2... · ฟ นยื่น คอสั้น คางสั้น การประเมิน

Embed Size (px)

Citation preview

1

ผลงานประกอบการพิจารณาประเมินบุคคล

เพื่อแตงตั้งใหดํารงตําแหนงสําหรับผูปฏิบัติงานที่มีประสบการณ ตําแหนงประเภททั่วไป

ตําแหนงพยาบาลวิชาชีพ 6 ว (ดานการพยาบาลวิสัญญี)

เรื่องที่เสนอใหประเมิน

1. ผลงานที่เปนผลการดําเนินงานที่ผานมา เร่ือง การพยาบาลผูปวยที่ไดรับการระงับความรูสึกเพ่ือผาตัดจัดกระดูก โหนกแกมหักใหเขาที่และใสเหลก็ยึดดามกระดูก 2. ขอเสนอ แนวคิด วิธกีารเพื่อพัฒนางานหรือปรับปรุงงานใหมีประสิทธิภาพมากขึ้น เร่ือง การจัดรถเตรียมอุปกรณและเครื่องมือสําหรับระงับความรูสึกผูปวยเด็ก

เสนอโดย นางสาวสุกญัญา ประดิษฐ ตําแหนงพยาบาลวิชาชีพ 5 (ตําแหนงเลขที่ รพจ. 873)

ฝายการพยาบาล โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ สํานักการแพทย

2

ผลงานที่เปนผลการดําเนินงานที่ผานมา 1. ชื่อผลงาน การพยาบาลผูปวยที่ไดรับการระงับความรูสึกเพื่อผาตัดจดักระดกูโหนกแกมหักใหเขาที่และใสเหล็กยดึดามกระดูก 2. ระยะเวลาที่ดําเนินการ 5 วัน (วันที่ 9 สิงหาคม พ.ศ. 2553 - 13 สิงหาคม พ.ศ. 2553) 3. ความรูทางวิชาการหรือแนวคิดท่ีใชในการดําเนินการ 3.1 ความรูเกี่ยวกับกระดกูโหนกแกมหัก กระดูกโหนกแกม (zygomatic bone) เปนสวนประกอบของกระดูกใบหนา มีลักษณะนูนเดนและกวางที่สุดในบริเวณแกม เปนกระดูก 2 ช้ิน ซายและขวา จึงเกิดการบาดเจบ็ไดมากกวากระดูกใบหนาสวนอืน่ การบาดเจ็บมักเกิดจากการกระแทกโดยตรงบริเวณกระดูกโหนกแกม พบไดบอยจากอุบัติเหต ุที่เกิดขึ้นบนทองถนน หรือการถูกทํารายรางกาย อาการและอาการแสดงของกระดูกโหนกแกมหกั ไดแก บวม เขียวชํ้าบริเวณทีห่ัก และมีความผิดปกตขิองโครงหนา เชน ใบหนาผิดรูป รบกวนการมองเห็น เห็นภาพซอน (photophobia, diplo-pia,blurry vision)เลือดออกใตเยื่อบุตาขาว (periorbital and subconjunctival hemorrhage) ปวดและชาบริเวณเสนประสาท ใตกระบอกตา (intraorbital nerve distribution) ถากระดกูหักผานกระดกูขากรรไกรบน พบความผิดปกติของการเคลื่อนไหวใบหนา อาปากลําบาก การหายใจติดขัด และปวดจากการเกร็งกระตุกของกลามเนื้อ 3.2 การวินิจฉยั ไดจากการซักประวัติรวมกบัการตรวจรางกาย ดวูามีบาดแผลที่ตําแหนงใดบาง การมองเห็น และปฏิกิริยาตอแสง ระดับของลกูตาทั้ง 2 ขาง การเคลื่อนไหวของลูกตา ตรวจจมกู ตรวจรูปรางภายนอก คลําบริเวณจมูก ขอบตาและคางเพื่อหาตําแหนงจุดกดเจบ็ การเหลื่อมของกระดูก หรือเสียงกรอบแกรบ (crepitation) ใหผูปวยอาปากดูวามีอาการปวดหรือมีความผิดปกติในการอาปากหรือไม มีบาดแผลตําแหนงใด และการตรวจทางรังสี ภาพที่ใชดูกระดกูใบหนาหกัไดดีทีสุ่ด คือ ทา Water's view (parietoa-canthial projection)สามารถมองเห็นเงาขอบเบาตา และขอบบนของกระดูกสวนกลางใบหนาได 3.3 การรักษา การรักษาแบงเปน 2 ระยะ คอื การรักษาในระยะฉกุเฉิน ไดแก การชวยเหลือระบบทางเดินหายใจ รักษาภาวะช็อก รักษาบาดแผลตาง ๆ จากการบาดเจ็บ เมื่อผูปวยพนระยะวิกฤต การรักษาในระยะตอมา คือ การผาตัดจัดกระดกูใหเขาทีแ่ละใสเหล็กยดึดามกระดูกเพื่อเชื่อมกระดูกสวนที่หกัใหอยูนิ่งและสมานติดกัน

3

3.4 การพยาบาล การพยาบาลและการใหยาระงับความรูสึกผูปวยที่เขารับการผาตัดกระดูกโหนกแกมเลือกใชวิธีการระงับความรูสึกแบบทั่วรางกายรวมกับใสทอชวยหายใจ (general anesthesia with endotra-cheal tube) โดยแบงออกเปน 3 ระยะ คอื 3.4.1 การพยาบาลกอนการระงับความรูสึก มีขั้นตอนดังนี้ - การประเมนิสภาพผูปวยทางรางกาย ประกอบดวย การซักประวัติ ไดแก โรคประจําตัว การผาตัด การแพยาและอาหาร การใชยา การระงับความรูสึกของบุคคลในครอบครัว การเจบ็ปวยในอดีตและปจจุบัน การงดน้ําและอาหารกอนผาตัด (NPO) การจําแนกผูปวยตาม physical status classes ของสมาคมวิสัญญีแพทยอเมรกิัน (American Society of Anesthesiologists: ASA) แบงเปน 6 ระดับ ไดแก กลุมที่ 1 (ASA class1)ผูปวยมสุีขภาพแข็งแรงดี ไมมีความผิดปกติทางสรีรวิทยา กลุมที่ 2 (ASA class 2) ผูปวยมพียาธิสภาพของรางกายเล็กนอย เชน โรคความดันโลหิตสูงที่ควบคมุอาการไดด ีกลุมที่ 3 (ASA class 3) ผูปวยมี พยาธิสภาพของรางกายที่รุนแรงขึ้น และเปนอุปสรรคตอการดําเนินชวีิตของผูปวย เชน โรคเบาหวาน ที่มีภาวะแทรกซอน กลุมที่ 4 (ASA class 4) ผูปวยมพียาธิสภาพของรางกายรุนแรงมากและไมสามารถรักษา ใหอยูในสภาวะปกติโดยยาหรือการผาตัดและมีอันตรายตอชีวิต กลุมที่ 5 (ASA class 5) ผูปวยที่มีชีวิตอยูไดเพียง 24 ช่ัวโมง ไมวาจะไดรับการรักษาดวยยาหรือการผาตัด กลุมที ่6 (ASA class 6) ผูปวยสมองตายที่มารับการผาตัดเพื่อการบริจาคอวัยวะ หากผูปวยมาทําผาตดัแบบฉุกเฉนิจะใชอักษร E เพิ่มตามกลุมดงักลาว - การตรวจรางกายผูปวย โดยการประเมินความยากงายในการใสทอชวยหายใจ ไดแก ลักษณะฟนยื่น คอสั้น คางสั้น การประเมิน Mallampati classification แบงเปน 4 ระดับ คือ ระดับที ่1 เห็น uvula, pillars และ soft palate ระดบัที่ 2 เห็น pillars และ soft palate ระดับที ่3 เห็นเฉพาะ soft palate และ base of uvula ระดบัที่ 4 ไมเห็น soft palate เหน็เฉพาะ hard palate - การตรวจทางหองปฏิบัติการไดแก ความสมบูรณของเม็ดเลือด (CBC) และภาพรังสีทรวงอก - การประเมนิสภาพจิตใจโดยการสรางสัมพันธภาพกับผูปวยโดยการพดูคุยอธิบายขัน้ตอน การระงับความรูสึก และเปดโอกาสใหซักถามเพื่อคลายความวิตกกังวล - การเตรียมการงดน้ําและอาหารกอนผาตัด (NPO) อยางนอย 8 ช่ัวโมง ตรวจสอบการลงชื่อยินยอมรับการรักษาและการระงับความรูสึก - การเตรียมเครื่องมือ อุปกรณ เครื่องดมยาสลบ เครื่องระเหยยาดมสลบ เครื่องดูดเสมหะ อุปกรณในการใสทอชวยหายใจ เครื่องวัดความดันโลหติ เครื่องติดตามคลื่นไฟฟาหวัใจ เครื่องวัด ความอิ่มตัวของออกซิเจนในเม็ดเลือดแดง และวดัปริมาณคารบอนไดออกไซดในลมหายใจออก นอกจากนี้ตองเตรียมอุปกรณสําหรับใสทอหายใจลําบากที่จําเปนไดแก stylet,oral airway, nas-

4

al airway และ McCoy laryngoscope อุปกรณในการทํา cricothyroid puncture jetventilation และ fiberop-tic bronchoscope และอธิบายใหผูปวยทราบวาอาจตองมกีารเจาะคอหรือใสทอชวยหายใจขณะตืน่กรณีใสทอชวยหายใจลําบาก

3.4.2 การพยาบาลขณะระงบัความรูสึก แบงเปน 3 ระยะ คือ -ระยะนําสลบและการใสทอชวยหายใจ (induction and intubation) ใชยาระงับความรูสึกชนิดฉีดเขาหลอดเลือดดําหรือชนดิสูดดม - ระยะควบคุมระดับการสลบและเฝาระวัง (maintain) เปนการรักษาระดับความลึกของ การระงับความรูสึกใหอยูในระดับที่พอเหมาะกับการผาตัด - ระยะหยุดยาและฟนจากยาสลบ (reverse) เปนขั้นตอนทีท่ําใหผูปวยฟนจากยาสลบ ซ่ึงอาจตองทําการแกฤทธิ์ยาหยอนกลามเนื้อ และดูแลใหผูปวยตื่นดี หายใจดกีอนที่จะถอดทอชวยหายใจออก 3.4.3 การพยาบาลหลังระงับความรูสึกและพักฟน ดูแลใหผูปวยไดรับออกซิเจน ดูแลจัดทาใหผูปวยในขณะที่ยังไมรูสึกตัวเต็มที่ นับและสังเกตการหายใจ วัดและบันทึกสญัญาณชีพ สังเกตสีผิว ริมฝปาก เล็บของผูปวยวามีเขียวคลํ้าหรือไม สังเกต การเสียเลือดจากแผล ถามีมากตองแกไขและรายงานแพทย ดูแลการใหสารน้ําทางหลอดเลือดดํา ประเมินระดับความเจ็บปวดและดูแลใหยาบรรเทาปวด 3.4.4 ความรูเกี่ยวกับยาที่ใชในการระงับความรูสึก

-ไธโอเพนทาล (Thiopental) เปนยานําสลบ มีระยะเวลาการออกฤทธิ์ส้ันมากจากการกระจายของยาไปสูสมองสวนกลางไดเร็ว กดการหดตัวของกลามเนื้อหวัใจและทําใหหลอดเลือดสวนปลายขยาย กดการหายใจทั้งความลึกและอัตราการหายใจ ยาจะถูกทาํลายที่ตับและขับออกทางไต ขนาดที่ใช 3-5 มิลลิกรัมตอน้ําหนักตวั 1 กิโลกรัม ฉีดทางหลอดเลือดดํา ไมควรผสมรวมกับยานําสลบอื่นเพราะจะทําใหยาจะตกตะกอนได

- ซัคซินิลคอลีน (Succinylcholine) เปนยาหยอนกลามเนือ้ที่ออกฤทธิ์เร็ว หมดฤทธิ์เร็ว ชวยใหการใสทอชวยหายใจเปนไปไดอยางรวดเรว็ภายในเวลา 60-90 วินาที ผลขางเคียงคือ หัวใจเตนชาโดยเฉพาะในเด็กอาจมีผลทําใหหวัใจเตนผิดจังหวะหรือหยุดเตนได ระดับโปแตสเซยีมในเลือดเพิม่ขึ้น เพิ่มความดนัในลูกตา ขนาดที่ใช 1-2 มิลลิกรัมตอน้ําหนกัตัว 1 กิโลกรัม ฉีดทางหลอดเลือดดํา

- ซีสอะทราคูเรียม (cisatracurium) เปนยาหยอนกลามเนื้อ ออกฤทธิ์ปานกลาง ไมกระตุน การหลั่ง histamine มีผลตอการเปลี่ยนแปลงระบบไหลเวียนเลือดนอย การกําจัดโดยปฏิกิริยา Hofmannn elimination ขนาดที่ใช 0.1-0.15 มิลลิกรัมตอน้ําหนกัตัว 1 กิโลกรัม เพือ่ใชสําหรับหยอนกลามเนื้อในระหวางการทาํผาตัด

5

- มอรฟน (Morphine) ออกฤทธิ์กดระบบประสาท ระบบหายใจ ระบบหัวใจและหลอดเลือด ขนาดที่ใช 0.1-0.2 มิลลิกรัมตอน้ําหนกัตัว 1 กิโลกรัม เพือ่ลดอาการเจบ็ปวด ระวังในการใชในเดก็และผูสูงอายุเนื่องจากกดระบบประสาท ระบบหายใจ ระบบหัวใจและหลอดเลือดและออกฤทธิ์นาน ในผูปวยโรคหอบหืดเนื่องจากมีการหลั่ง histamine ทําใหพยาธิสภาพของโรคมากเปนขึ้น

- นีโอสติกมีน (neostigmine) เปนยาแกฤทธิ์ของยาหยอนกลามเนื้อนอนดีโพลาไรซิง ขนาด 0.04-0.08 มิลลิกรัมตอน้ําหนักตัว 1 กิโลกรัม ทางหลอดเลือดดํา ออกฤทธิ์ภายใน 2-5 นาที ทําใหหวัใจ เตนชาและเตนไมเปนจังหวะ จําเปนตองใหรวมกับยาอะโทรปน

- อะโทรปน (Atropine) กลุม anticholinergic ใชตานฤทธิ์ไมพึงประสงคของ Neostigmine ยามีฤทธิ์ตอหวัใจและกลามเนื้อเรียบของหลอดลม มักใชแกไขภาวะหวัใจเตนชา ขนาดที่ใช 0.01-0.02 มิลลิกรัมตอน้ําหนักตวั 1 กิโลกรัม ฉีดเขาหลอดเลือดดํา

- เซโวเรน (Sevorane) เปนของเหลวใส ไมมีสี มีกล่ินหอมออน ๆ ไมฉุน ไมระคายเคืองทางเดินหายใจ ใชนําสลบไดเร็ว ดวยความเขมขน 4-8 เปอรเซ็นต และคงระดับการสลบตอดวยความเขมขน 0.5-2 เปอรเซ็นต เสริมฤทธิ์ยาหยอนกลามเนื้อไดดี

- ไนตรัสออกไซด (nitrous oxide) เปนกาซไมมีสี กล่ินหอมเล็กนอย นําสลบไดเร็ว และทําใหผูปวยตื่นเร็ว เปนยาสลบที่มีฤทธิ์ออนมากไมสามารถบริหารจนถึงระดบัสลบลึกมากพอสําหรับการผาตัดไดจะตองบริหารรวมกับยาสลบอื่นเสมอ ระงับปวดไดดี ไมถูกทําลายในรางกาย ขับออกทางลมหายใจ 4. สรุปสาระสําคัญของเรื่องและขั้นตอนการดําเนินการ การบาดเจ็บทีใ่บหนาสวนใหญเกิดจากอุบตัิเหตุ เชน อุบตัิเหตุที่เกดิขึ้นบนทองถนน ที่พบไดบอยการรักษาตั้งแตเบื้องตนอยางรวดเรว็ จะชวยลดภาวะแทรกซอนตาง ๆ ลงไดมาก เชน ลดการผิดรูปรางของกระดูกใบหนา โดยประเมนิสภาพผูปวยตามระบบตาง ๆ ไดแก ระบบทางเดินหายใจ ระบบการไหลเวียนเลือด ระบบประสาทควบคุมบริเวณใบหนาและการมองเห็น รวมถึงการรักษาบาดแผลตาง ๆ จากการบาดเจ็บ เมื่อผูปวยไดรับการรักษาอยางปลอดภยัพนระยะวกิฤต การรักษาระยะตอมา คือ การผาตัดจัดกระดกูเขาที่และใสเหล็กยึดดามกระดูก ซ่ึงการผาตัดทุกรายตองไดรับการระงับความรูสึกแบบทั่วรางกายรวมกับใสทอชวยหายใจ ซ่ึงวสัิญญีพยาบาลจึงตองเตรียมเครื่องมือ และอุปกรณใหพรอมใช อยางเหมาะสมกับผูปวยทําใหผูปวยปลอดภัยและผานพนไปไดดวยด ี และในกรณีศกึษาเปนผูปวยชายไทยอายุ 18 ป มาดวยอุบตัิเหตุรถจักรยานยนตชน ไมสลบ ใบหนาดานขวามีรอยชํ้าที่โหนกแกม และรอบ ๆ เบาตา แพทยวินจิฉัยวากระดกูโหนกแกมขวาหัก จึงรับไวในโรงพยาบาลเพื่อผาตัดจัดกระดกูโหนกแกมขวาหกัใหเขาที่ และใสเหล็กยดึดามกระดูก (open reduction internal fixation with plate and screw at Rt. zygoma) ในวันที่ 10 สิงหาคม พ.ศ. 2553 ขั้นตอนการดําเนินการ

6

1) คัดเลือกกรณีศึกษาทีจ่ะทาํการศึกษา 2) เยีย่มผูปวยกอนใหการระงับความรูสึกที่หอผูปวย เพือ่ประเมินสภาพผูปวย และใหขอมูลในการปฏิบัติตัวกอนการระงับความรูสึกแบบทั่วรางกายโดยการซักประวัติโรคประจําตัว การผาตัดในอดีต การแพยาและอาหาร การระงับความรูสึกที่ผิดปกติของบุคคลในครอบครัว การประเมินความยากงายใน การใสทอชวยหายใจ อธิบายใหผูปวยทราบวาอาจตองมีการเจาะคอ หรือใสทอชวยหายใจขณะผูปวยตื่นกรณีใสทอชวยหายใจลําบาก อธิบายขั้นตอนวิธีการปฏิบัติตัวกอนการระงับความรูสึกแกผูปวย เชน การงดน้ําและอาหาร การฝกบริหารการหายใจ การฝกการไออยางมีประสิทธิภาพ 3) นําขอมูลของผูปวยมาวางแผนการระงบัความรูสึก รวมกับวิสัญญีแพทย 4) วันผาตดั ตรวจเยีย่มประเมินสภาพผูปวยเพื่อประเมินความพรอมสําหรับการระงับความรูสึก และผาตัดอีกครั้งที่หองผาตัดโดยซักถามเรื่องเวลางดน้ําและอาหาร เปนหวัด มนี้ํามูกหรือไม 5) เตรียมเครื่องมือในการระงับความรูสึก และอุปกรณการเฝาระวัง ไดแก เครื่องดมยาสลบ เครื่องระเหยยาดมสลบ เครื่องดูดเสมหะ laryngoscope bladeเบอร 4 hadle ทอชวยหายใจชนิด oral RAE เบอร 7.5 หนากากครอบหนาเบอร 4 หนากากครอบกลองเสียงเบอร 4 สายดูดเสมหะเบอร 14 เครื่องวัด ความดันโลหติแบบอัตโนมตัิ เครื่องวัดคาความอิ่มตัวของออกซิเจนในเม็ดเลือดแดง เครื่องติดตามคล่ืนไฟฟาหวัใจ เครื่องวดัปริมาณคารบอนไดออกไซดในลมหายใจออก และเตรยีมอุปกรณสําหรับ ใสทอหายใจยากที่จําเปนไดแก stylet, oral airway, nasal airway และ McCoy laryngoscope อุปกรณ ในการทํา cricothyroid puncture jetventilation และ fiberoptic bronchoscope 6) เตรียมยาที่ใชในการระงับความรูสึก ไดแก ไธโอเพนทาล ซัคซินิลคอลีน ซีสอะทราคูเรียม มอรฟน อะโทรปน และนีโอสติกมิน โดยคํานวณจากน้ําหนักตัวของผูปวย 7) ใหการระงบัความรูสึกแบบทั่วรางกายโดยวิธีใสทอชวยหายใจชนดิ oral RAE tube เบอร 7.5 และควบคุมการหายใจดวยเครื่องชวยหายใจอัตโนมัติ - ติดอุปกรณเฝาระวังสัญญาณชีพกอนระงบัความรูสึก และเฝาระวังสญัญาณชีพตลอดการผาตัดพรอมทั้งจดบันทึกสัญญาณชีพทุก 3-5 นาทีในแบบบันทึก - ใหมอรฟนลดความเจ็บปวด ฉีดไธโอเพนทาลจนผูปวยหลับแลวลองชวยหายใจทางหนากากสามารถชวยหายใจได ใหซัคซินิลคอลีนสําหรับใสทอชวยหายใจ - ระหวางผาตดัรักษาระดับความลึกของการสลบโดยใชกาซไนตรัส ออกซิเจน กาซเซโวเรน และยาหยอนกลามเนื้อซีสอะทราคูเรียม

7

- เสร็จผาตัด แกฤทธยาหยอนกลามเนื้อดวยอะโทรปนรวมกับนีโอสติกมิน เมื่อผูปวยหายใจดีสามารถทําตามคําสั่งไดพิจารณาถอดทอชวยหายใจ ยายผูปวยไปดูแลตอที่หองพักฟน 8) สังเกตอาการ บันทึกสัญญาณชีพหลังการระงับความรูสึกทุก 5 นาที ระหวางอยูในหองพักฟน ไมพบภาวะแทรกซอนหลังการระงับความรูสึก ประเมิน Postanesthetic recovery score (PAR score) ได 10 คะแนนคือ ขยับไดดีทั้งแขนและขา = 2 คะแนน หายใจไดดี = 2 คะแนน ความดันโลหิต ±20 เปอรเซ็นต ของกอนผาตัด = 2 คะแนน ปลุกตื่น =1 คะแนน หายใจไมใชออกซิเจนวดัออกซิเจนในเม็ดเลือดแดงได >92 เปอรเซ็นต = 2 คะแนน สงผูปวยกลับหอผูปวย 9) ติดตามเยีย่มหลังการระงับความรูสึกที่หอผูปวยรวม 3 คร้ัง ผูปวยไมมีภาวะแทรกซอนจากการระงบัความรูสึก หลังผาตัด 3 วัน แพทยอนุญาตใหกลับบาน ไดใหคําแนะนําในการปฏิบัติตน เนนใหเหน็ถึงความสําคัญของการมาตรวจตามนัดในวนัที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2553 5. ผูรวมดําเนนิการ ไมมี 6. สวนของงานที่ผูเสนอเปนผูปฏิบัติ ผูขอรับการประเมินเปนผูปฏิบัติรอยละ 100 โดยดําเนินการดังนี้

ผูปวยชายไทยอายุ 18 ป มาตรวจวนัที่ 9 สิงหาคม พ.ศ. 2553 ดวย 1 เดือน กอนมาโรงพยาบาล ประสบอุบัติเหตุรถจักรยานยนตชน ไมสลบ ใบหนาดานขวาพบมีรอยช้ําที่โหนกแกม และรอบ ๆ เบาตา แพทยตรวจรางกายและสงตรวจภาพรังสีทางคอมพิวเตอร วินิจฉยัวากระดูกโหนกแกมขวาหัก จึงรับไวที ่ตึกศัลยกรรมชาย (เลขที่ภายนอก 35731/53 เลขที่ภายใน 15621/53) เพือ่ผาตัดจัดกระดูกโหนกแกมขวาหักใหเขาที่และใสเหล็กยึดดามกระดูก (open reduction internal fixation with plate and screw at right zygoma)

วันที่ 9 สิงหาคม พ.ศ. 2553 เวลา 15.00 น. ไดตรวจเยีย่มผูปวยเพื่อประเมินสภาพ และเตรียม ความพรอมกอนการระงับความรูสึก ผูปวยรูสึกตัวดี ชวยเหลือตนเองได น้ําหนักตวั 50 กิโลกรัม สวนสูง 170 เซนติเมตร ปฏิเสธโรคประจําตัว ปฏิเสธการผาตัดและการระงับความรูสึกมากอน ปฏิเสธการแพยาและอาหาร ตรวจรางกายประเมินลักษณะทางกายวิภาคพบมีรอยชํ้าบริเวณโหนกแกมและรอบ ๆ เบาตาดานขวา ผูปวยบอกปวดรอบเบาตาเปนพกั ๆ ระดับความเจ็บปวดเทากับ 3 จาก 10 คะแนน การมองเห็นชัดเจน ผลการตรวจความเขมขนของเม็ดเลือดแดงได 37 เปอรเซ็นต ประเมินสภาพผูปวยจดัอยูใน ASA class 1 ประเมินความยากงายในการใสทอชวยหายใจดวยวิธี Mallampati classification จัดอยูในระดับที่ 1 สัญญาณชีพแรกรับ อุณหภมูิ 37 องศาเซลเซียส (คาปกต ิ36.5-37.5) ชีพจร 84 คร้ังตอนาที (คาปกติ 60-100คร้ังตอนาที) หายใจ 20 คร้ังตอนาที (คาปกติ 18-20 คร้ังตอนาที) ความดันโลหิต 112/61 มิลลิเมตรปรอท (คาปกติsystolic 120±20 / diastolic 80 ±20 มิลลิเมตรปรอท) ไดใหขอมูลและคําแนะนําแกผูปวย

8

และญาติโดยอธิบายใหทราบถึงขั้นตอนการปฏิบัติตัวกอน ขณะ และหลังการระงับความรูสึก ความสําคัญของการงดน้ําและอาหาร เปดโอกาสใหซักถามเพื่อชวยใหเขาใจตรงกนัและชวยคลายความวิตกกังวล วันที่ 10 สิงหาคม พ.ศ. 2553 ตรวจเยี่ยมอาการหนาหองผาตัดอีกครั้ง ผูปวยงดน้ําและอาหารรวมเวลา 10 ช่ัวโมง ทบทวนขั้นตอนวิธีการระงับความรูสึก และระยะเวลาที่คาดวาตองพกัฟนหลังการระงับความรูสึก ใหผูปวยทราบอีกครั้งเพื่อความเขาใจตรงกัน

เตรียมเครื่องมือในการระงับความรูสึกและอุปกรณการเฝาระวัง ไดแก laryngoscope bladeเบอร 4 hadle เครื่องดมยาสลบ เครื่องระเหยยาดมสลบ เครื่องดดูเสมหะ ทอชวยหายใจชนดิ oral RAE เบอร 7.5 หนากากครอบหนาเบอร 4 หนากากครอบกลองเสียงเบอร 4 สายดูดเสมหะเบอร 14 เครื่องวัดคาความอ่ิมตัวของออกซิเจนในเม็ดเลือดแดง เครื่องวัดความดันโลหิตแบบอัตโนมัติ เครื่องติดตามคลื่นไฟฟาหัวใจ เครื่องวดัปริมาณคารบอนไดออกไซดในลมหายใจออก และอุปกรณสําหรับใสทอหายใจยาก ท่ีจําเปนไดแก stylet, oral airway, nasal airway และ McCoy laryngoscope อุปกรณในการทํา cricothyro-id puncture jetventilation และ fiberoptic bronchoscope และเตรียมยาทีใ่ชในการระงับความรูสึก ไดแก ไธโอเพนทาล ซัคซินิลคอลีน ซีสอะทราคูเรียม มอรฟน อะโทรปน และนีโอสติกมิน โดยคํานวณจากน้ําหนกัตัวของผูปวย เพื่อใหการระงับความรูสึกแบบทั่วรางกายโดยวิธีใสทอชวยหายใจ

เวลา 9.00 น.ยายผูปวยเขาหองผาตัด จัดใหผูปวยนอนหงายราบ แขนแนบลําตัว ติดอปุกรณและเครื่องมือในการเฝาระวังผูปวยดวย เครื่องวัดความดันโลหิตอัตโนมัติวดัได 116/70 มิลลิเมตรปรอท เครื่องวัดชีพจรวัดได 98 คร้ังตอนาที ติดเครื่องติดตามคลื่นไฟฟาหัวใจ และความอิ่มตวัของออกซิเจน ในเม็ดเลือดแดงวัดได 100 เปอรเซ็นต ใหผูปวยสูดดมออกซิเจน 100 เปอรเซ็นต 6 ลิตรตอนาที จากนั้นใหมอรฟน 7 มิลลิกรัม ทางหลอดเลือดดาํ เพือ่ใหผูปวยลดความวิตกกังวลและลดความเจ็บปวด ตอมาฉีด ไธโอเพนทาล 300 มิลลิกรัมทางหลอดเลือดดํา รอจนผูปวยหลับแลวชวยหายใจทางหนากากสามารถชวยหายใจไดจึงใหซัคซินิลคอลีน 75 มิลลิกรัม ทางหลอดเลือดดําสําหรับใสทอชวยหายใจใชทอชวยหายใจชนิด oral RAE tube เบอร 7.5 ลึก 21 เซนติเมตร แลวฉดีลมเขาในกระเปาะ 5 มิลลิลิตร ตอทอชวยหายใจเขากับเครื่องดมยาสลบ ตรวจดูตําแหนงวาทอชวยหายใจอยูในตําแหนงที่เหมาะสมโดยฟงปอดใหไดยินเสียงลมหายใจเทากันสองขาง ยึดทอชวยหายใจดวยพลาสเตอร ควบคุมการหายใจดวยเครื่องชวยหายใจอัตโนมัติปริมาตร 500 มิลลิลิตร อัตราการหายใจ12 คร้ังตอนาที ใหออกซิเจนและไนตรัสออกไซดอัตราสวน 1 ตอ 1 ลิตรตอนาที เปดเซโวเรน 2 เปอรเซ็นต ใหยาหยอนกลามเนื้อซีสอะทราคูเรียม 6 มิลลิกรัมทางหลอดเลือดดํา หลังใสทอชวยหายใจ สัญญาณชีพอยูในเกณฑปกติ ความดนัโลหิตอยูในชวง 110/70-140/90 มิลลิเมตรปรอท อัตราการเตนของหัวใจ 78-108 คร้ังตอนาที ระดับคารบอนไดออกไซดในลมหายใจออก 30-34 มิลลิเมตรปรอท คาความอิ่มตัวของออกซิเจนในเม็ดเลือดแดง 100 เปอรเซ็นต เฝาระวังสัญญาณชีพทุก 3-5 นาที ในระหวางผาตัดไดรับสารน้ําเปน 5%DN/2 400 มิลลิลิตรทางหลอด

9

เลือดดํา เสียเลือดประมาณ 10 มิลลิลิตร สัญญาณชีพระหวางผาตัด ความดันโลหิต 120/70-140/90 มิลลิเมตรปรอท อัตราการเตนของหัวใจ 70-98 คร้ังตอนาที ความอิ่มตวัของออกซิเจนในเมด็เลือดแดง 100 เปอรเซ็นต เมื่อผาตัดเสร็จปดยาดมสลบคือเซโวเรน เมื่อผูปวยเริ่มหายใจปดไนตรัสออกไซด เปดออกซิเจน 100 เปอรเซ็นต ในอัตรา 6 ลิตรตอนาที ทําการแกฤทธยาหยอนกลามเนื้อดวยอะโทรปน 1.2 มิลลิกรัม รวมกับนีโอสติกมนิ 2.5 มิลลิกรัมทางหลอดเลือดดํา เมื่อผูปวยหายใจดี ปริมาตรการหายใจเขาแตละครั้งไมนอยกวา 300 มิลลิลิตร สามารถทําตามคําสั่งไดโดยลืมตา อาปาก ยกศีรษะคางไดนานกวา 30 วินาที กํามือไดแนน จึงพิจารณาถอดทอชวยหายใจ โดยกอนถอดทอชวยหายใจทําการดูดเสมหะในทอชวยหายใจ และในปากใหโลงกอน รวมระยะเวลาในการผาตัด 1 ช่ัวโมง 15 นาที หลังจากผาตัดเสรจ็สงผูปวยดแูลตอที่หองพักฟน ในหองพกัฟนไมพบภาวะแทรกซอนหลังการระงับความรูสึก เชน ไมเกิดภาวะทางเดนิหายใจอุดกัน้ ไมเกิดภาวะพรองออกซิเจน การไหลเวยีนเลือดคงที่ ประเมินความเจ็บปวด เทากับ 3 จาก 10 คะแนน แผลมีเลือดซึมเล็กนอย สัญญาณชีพอยูในเกณฑปกติ คือ ความดันโลหิตอยูในชวง 110/70-130/70 มิลลิเมตรปรอท อัตราการเตนของหัวใจ 70-80 คร้ังตอนาท ีอัตราการหายใจ 18-22 คร้ังตอนาที ความอิ่มตัวของออกซิเจนในเม็ดเลือดแดง 100 เปอรเซ็นต ประเมินผูปวยโดยใช Postanes-thetic recovery score (PAR score) เทากับ 10 คะแนนคือ แขนและขาขยบัไดดี = 2 คะแนน หายใจไดดี = 2 คะแนน ความดันโลหิต +20 เปอรเซ็นตของกอนผาตัด = 2 คะแนน ปลุกตื่น =1 คะแนน หายใจไมใชออกซิเจนวดัความอิ่มตัวของออกซิเจนในเม็ดเลือดแดงได >92 เปอรเซ็นต = 2 คะแนน จึงสงผูปวยกลับหอผูปวย จากการติดตามเยีย่มผูปวยหลังผาตัดวันที่ 1ผูปวยรูสึกตัวดี มีอาการระคายคอเล็กนอย แผลแหงดี ปวดแผลผาตดัพอทนได ระดับความเจ็บปวดเทากับ 4 จาก 10 คะแนน รับประทานอาหารได ไมมีคล่ืนไสอาเจียน หลังผาตัดวันที ่2 รูสึกตัวดี หนาตาสดชื่น อาการระคายคอดีขึ้น แผลแหงดี ปวดแผลเล็กนอย หลังผาตัดวันที ่3 ผูปวยรูสึกตวัดี แผลแหงดีปวดแผลเล็กนอย อาการระคายคอหายไป แพทยอนุญาตใหกลับบานไดในวนัที่ 13 สิงหาคม พ.ศ. 2553 และนัดมาตดัไหมวันที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2553 หลังผาตัดไดใหคําแนะนําในการปฏิบัติตนเมื่อกลับบานดังนี้ รับประทานยาพาราเซตามอล 500 มิลลิลิตร 2 เม็ดทุก 4-6 ช่ัวโมง เมื่อมีอาการปวดหรือมีไข อธิบายและแนะนําใหเห็นถึงความสําคัญของการมาตรวจตามนดั ในกรณีที่เกดิอาการผิดปกติ เชน มีเลือดออกมาก แผลอักเสบ ใหมารีบมาพบแพทยกอนวันนดั ผูปวยและญาติเขาใจสามารถตอบคําถามได 7. ผลสําเร็จของงาน ไดใหการพยาบาลในการบริการผูปวยระงบัความรูสึกเพือ่ผาตัด รวมถึงศึกษาติดตามและประเมินผลการพยาบาลเปนเวลา 5 วัน ทําการเยี่ยมผูปวยกอนการระงับความรูสึก 1 คร้ังที่หอผูปวย ดูแล เฝาระวังขณะใหการระงับความรูสึก และตดิตามเยีย่มหลังการระงับความรูสึกที่หองพักฟน และทีห่อผูปวยรวม 3 คร้ังพบปญหาทางการพยาบาลทั้งหมด 6 ขอ คือ ผูปวยมคีวามวิตกกังวลเกี่ยวกับการผาตัด

10

และการระงับความรูสึก เนื่องจากไมเคยผาตัดและระงับความรูสึกมากอน ผูปวยเสีย่งตอการเกิดภาวะพรองออกซิเจนเนื่องจากกลามเนื้อที่ใชในการหายใจถูกทําใหเปนอัมพาตชั่วคราวจากการใชยาหยอนกลามเนื้อเพื่อชวยในการใสทอชวยหายใจ ผูปวยเสี่ยงตอการเกิดภาวะทางเดินหายใจอุดกั้นเนื่องจากไดรับการระงบัความรูสึก ผูปวยไมสุขสบายจากอาการปวดแผลผาตัดเนื่องจากเนื้อเยือ่มีการฉีกขาดจากการผาตัด ผูปวยเสีย่งตอการติดเชื้อแผลผาตัด เนื่องจากมกีารบาดเจ็บของเนื้อเยื่อบริเวณผิวหนังจากการทําผาตัดจัดกระดกูโหนกแกมหกัใหเขาทีแ่ละใสเหล็กยดึดามกระดูก ผูปวยและครอบครวัขาดความรูในการปฏิบัติตัวเมื่อกลับบานเนื่องจากขาดความรูเกี่ยวกับการดูแลตนเองและการปองกันการติดเชื้อ ทุกปญหาไดรับการแกไข ผูปวยไมเกิดภาวะแทรกซอนจากการระงบัความรูสึก แพทยอนุญาตใหกลับบานไดในวันที่ 13 สิงหาคม พ.ศ. 2553 และนัดมาตดัไหมวนัที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2553 หลังผาตัดไดใหคําแนะนําในการปฏิบัติตนเมื่อกลับบาน ดงันี้ แนะนําใหรับประทานยาพาราเซตามอล 500 มิลลิลิตร 2 เม็ดทุก 4-6 ช่ัวโมงเมื่อมีอาการปวดหรือมีไข อธิบายและแนะนําใหเห็นถึงความสําคัญของการมาตรวจตามนดั ในกรณีที่มีอาการผิดปกติ เชน มีเลือดออก แผลอักเสบ ใหมารีบมาพบแพทยกอนวันนดั ผูปวยและญาติเขาใจสามารถตอบคําถามไดถูกตอง จึงทําใหมีผลสัมฤทธิ์ 8. การนําไปใชประโยชน

8.1 เพื่อเปนประโยชนในการพัฒนาตนเองจากการศกึษาคนควาความรูใชเปนแนวทางในการวางแผนใหการพยาบาล ผูปวยที่ไดรับการระงับความรูสึกเพื่อผาตัดกระดูกใบหนาหกั

8.2 สามารถนําความรูไปประยุกตใชเปนแนวทางในการพยาบาลผูปวยที่ไดรับการระงับความรูสึกเพื่อการผาตัดกระดูกใบหนาหักบริเวณอ่ืน ๆ ตอไป 9. ความยุงยาก ปญหา อุปสรรคในการดาํเนินการ

9.1 ผูปวยรายนี้มกีารบาดเจบ็บริเวณใบหนา การใสทอชวยชวยหายใจทางปากทําไดยากเนื่องจากเนื้อเยื่อบริเวณใบหนาและชองปากบวม ทาํใหผูปวยอาปากไดนอย ตองมีการประเมนิความยากงายกอนใสทอชวยหายใจ และตองเตรียมอุปกรณสําหรับใสทอชวยหายใจยากกอนเริ่มการระงับความรูสึกใหพรอมใชเชน เตรียมอุปกรณสําหรับใสทอหายใจยากไดแก stylet, oral airway, nasal airway และ McCoy laryngoscope อุปกรณในการทํา cricothyroid puncture jetventilation และ fiberoptic bronchoscope และอธิบายใหผูปวยทราบวาอาจมีการใสทอชวยหายใจขณะตืน่หรือมีการเจาะคอ กรณใีสทอชวยหายใจไมได

9.2 การผาตัดจัดกระดูกโหนกแกมหกัใหเขาที่ เปนการทําผาตัดบริเวณใบหนาจึงเปนบริเวณที่ศัลยแพทยและวิสัญญีพยาบาลใชพื้นที่รวมกัน การเฝาระวังทางเดินหายใจของผูปวยคอนขางยุงยาก ทอชวยหายใจอาจเกิดการหกั พับ งอ จากขยับ จากการถูกกดได ดังนัน้ ในผูปวยรายนี้จึงเลือกใช

11

ทอชวยหายใจชนิด oral RAE เนื่องจากมีรูปแบบโคงงอ แนบไปกับใบหนา ปองกับการหัก พับ งอ ได และเฝาระวังการเลื่อนหลุดของทอชวยหายใจจาก ระดับคารบอนไดออกไซดในลมหายใจออก คาความอิ่มตัวของออกซิเจนในเม็ดเลือดแดง สังเกตการเคลื่อนไหวของทรวงอกตลอดเวลาอยางตอเนื่อง 10. ขอเสนอแนะ

10.1 ควรเลือกใชทอชวยหายใจชนิด oral RAE เนื่องจากมีรูปแบบโคงงอ แนบไปกับใบหนา ปองกันการหกั พับ งอ ในการทําผาตัดกระดูกโหนกแกมหัก

10.2 ควรเตรียมอุปกรณสําหรับใสทอชวยหายใจยาก อุปกรณในการทํา cricothyroid puncture jetventilation และ fiberoptic bronchoscope ใหพรอมใชงานอยางทันทวงที

10.3 ควรอธิบายและใหขอมูลผูปวยวาอาจมีการใสทอชวยหายใจขณะตืน่ หรือมีการเจาะคอ กรณีใสทอชวยหายใจไมไดเพื่อใหผูปวยเขาใจและใหความรวมมือ

12

13

ขอเสนอ แนวคิด วิธีการเพื่อพัฒนางานหรือปรับปรงุงานใหมีประสิทธิภาพมากขึ้น ของ นางสาวสุกัญญา ประดิษฐ

เพื่อประกอบการแตงตั้งใหดาํรงตําแหนง พยาบาลวิชาชพี 6 ว (ดานการพยาบาลวิสัญญี) (ตําแหนงเลขที่ รพจ. 873) สังกัดฝายการพยาบาล โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ สํานักการแพทย เร่ือง การจัดรถเตรียมอุปกรณและเครื่องมอืสําหรับระงับความรูสึกผูปวยเด็ก หลักการและเหตุผล

การใหการระงบัความรูสึกเดก็เปนเรื่องละเอียดออนและทาทาย เนื่องจากเด็กไมใชผูใหญที่ยอสวน มีความแตกตางกนัทั้งกายวิภาคและสรีรวิทยา นอกจากนี้ในเด็กแตละชวงอายุก็ยังมีความแตกตางกนัทางสรีรวิทยาซึ่งทําใหมีความเสี่ยงตอการเกดิภาวะแทรกซอนที่ฉับพลันและเปนอันตรายไดโดยงาย การจัดเตรียมอุปกรณในการระงับความรูสึกใหพรอมใชจึงเปนสิง่สําคัญที่จะลดอุบัติการณไมพึงประสงคได

จากปญหาที่พบในหนวยงานวิสัญญีโรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษพบวาการจดัเตรียมอุปกรณสําหรับการระงับความรูสึกเด็กแตละครั้งมีความยุงยากและใชเวลานานประมาณ 30 นาที ในการเตรียมของใหครบและพรอมใช เนื่องจากอุปกรณมจีาํนวนมากและกระจายอยูตามสวนตาง ๆ ภายในหนวยงานวิสัญญี ดังนั้นผูขอรับการประเมินจึงเล็งเห็นความสําคัญในการจัดรถเตรียมอุปกรณและเครื่องมือสําหรับการระงับความรูสึกเด็กใหอยูจุดเดียวเพื่อความสะดวกและรวดเรว็ในการปฏิบัติงาน วัตถุประสงคและหรือเปาหมาย

1. เพื่ออํานวยความสะดวกแกวิสัญญีพยาบาลโรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษในการจัดเตรียมอุปกรณและเครื่องมือสําหรับระงับความรูสึกผูปวยเด็กไดอยางรวดเร็ว ครบถวน และมีประสิทธิภาพ

2. เพื่อใหจัดเตรียมอุปกรณและเครื ่องมือสําหรับระงับความรูสึกผูปวยเด็กไดอยางรวดเร็ว ครบถวนและมีประสิทธิภาพ กรอบการวิเคราะห แนวคิด/ขอเสนอ

เนื่องจากเด็กมคีวามแตกตางจากผูใหญทั้งกายภาพและสรีรภาพ การเลอืกใชอุปกรณสําหรับการระงับความรูสึกเด็กแตละครั้งจึงมีความยุงยากและใชเวลานานในการเตรียมของใหครบและพรอมใช เนื่องจากอุปกรณมีจํานวนมากและกระจายอยูตามสวนตาง ๆ ภายในหนวยงานวิสัญญี การจัดเตรยีมอุปกรณในการระงับความรูสึกใหพรอมใชจึงเปนสิ่งสําคัญที่จะลดอุบตัิการณไม พึงประสงค

14

ดังนั้นผูขอรับการประเมินจงึเสนอกลุมงานวิสัญญีใหจดัทํารถเตรียมอุปกรณและเครื่องมือสําหรับการระงับความรูสึกเด็กใหอยูจดุเดยีวเพื่อความสะดวกและรวดเร็วในการปฏิบัติงาน

ขั้นตอนการดําเนินงานและวธีิปฏิบัติงาน 1. เก็บรวบรวมขอมูล สถิติการจัดเตรียมอปุกรณและเครื่องมือสําหรับการระงับความรูสึกเด็ก

ในนวยงานวิสัญญีวิทยา โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ 2. ศึกษาและคนควาหาขอมลูตางๆจากตํารา เอกสารวชิาการ 3. นําแนวคิดในการจัดเตรียมอุปกรณและเครื่องมือสําหรับการระงับความรูสึกเด็กเสนอใน

การประชุมของหนวยงาน 4. จัดรถสําหรับเตรียมอุปกรณและเครื่องมอืที่ใชในการใสทอชวยหายใจเด็ก ซ่ึงประกอบดวย

4.1 ใบปดล้ินโรเบิรตชอว (Robertshaw blade) เบอร 0,1 และ 2 4.2 ใบปดล้ินมิลเลอร ( Miller blade) เบอร 0,1 และ 2 4.3 ใบปดล้ินแม็คอินทอช (Maintoch blade) เบอร 0,1 และ 2 4.4 ดามสําหรับถือใสใบปดล้ินทั้งแบบสั้นและยาว (Handle) 4.5 ทอเปดทางเดินอากาศทางปาก (Oral airway) เบอร 00,0,1 และ 2 4.6 ทอเปดทางเดินอากาศทางจมูก (Nasal airway) เบอร 00,0,1 และ 2 4.7 ทอชวยหายใจชนิดไมมกีระเปาะลม (Endotracheal tube ,non cuff) เบอร 2.5 – 6 4.8 ทอชวยหายใจชนิดมีกระเปาะลม (Endotracheal tube) เบอร 4.5 – 6 4.9 ทอชวยหายใจชนิดไมมกีระเปาะลม (Oral RAE ,non cuff) เบอร 2.5 – 6

4.10 ทอชวยหายใจชนิดมีกระเปาะลม (Oral RAE) เบอร 4.5 – 6 4.11 หนากากครอบกลองเสียง (Laryngeal mask airway,LMA) เบอร 1-3 4.12 หนากากครอบสําหรับเด็กเบอร 1-3 4.13 แกนนํารอง (Stylet) เสนผาศูนยกลางขนาด 2-5 มิลลิเมตร 4.14 ชุดอุปกรณในการเฝาระวังสําหรับเด็ก เชน เครื่องวัดความดันโลหิต วัดความ

อ่ิมตัวของออกซิเจนในเม็ดเลือดแดง แผนวัดคลื่นไฟฟาหัวใจ เปนตน 4.15 สายดูดเสมหะ (Suction) NO.6-12 4.16 ขอตอเชื่อม และขอตอปรับขนาดแบบตาง ๆ 4.17 ตัวกรองแบคทีเรีย (Bacteria filter) สําหรับเด็ก 4.18 พลาสเตอรติด ยึดทอชวยหายใจ 4.19 Corrugated tube 4.20 Jackson-Rees

15

แบบรายการประกอบคําขอประเมินบุคคล ของ

นางสาวสุกัญญา ประดิษฐ ตําแหนงพยาบาลวิชาชีพ 5 (ตําแหนงเลขที่ รพจ. 873)

ฝายการพยาบาล โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ สํานักการแพทย

ขอประเมินเพื่อแตงตั้งใหดํารงตําแหนง

พยาบาลวิชาชีพ 6 ว (ดานการพยาบาลวิสัญญ)ี

(ตําแหนงเลขที่ รพจ. 873)

ฝายการพยาบาล โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ สํานักการแพทย

แบบพิจารณาคุณสมบัตขิองบุคคล

ตอนที่ 1 ขอมูลสวนบุคคล

1. ช่ือ นางสาวสุกัญญา ประดษิฐ ตําแหนงพยาบาลวิชาชีพ 5 (ตําแหนงเลขที่ รพจ. 873) ฝายการพยาบาล โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ สํานักการแพทย

2. อัตราเงินเดือนปจจุบัน 13,160 บาท 3. ขอประเมินเพือ่แตงตั้งใหดํารงตําแหนงพยาบาลวิชาชีพ 6 ว (ดานการพยาบาลวิสัญญี) (ตําแหนงเลขที่ รพจ. 873) ฝายการพยาบาล โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ สํานักการแพทย

4. ประวัติสวนตวั เกิดวันที ่15 เดือนมกราคม พ.ศ. 2522 อายุราชการ 6 ป 7 เดือน (นับถึงเดือนเมษายน พ.ศ. 2554)

5. ประวัติการศกึษา คุณวุฒแิละวิชาเอก ปที่สําเร็จการศึกษา สถาบัน

พยาบาลศาสตรบัณฑิต 2545 วิทยาลัยพยาบาลเกื้อการุณย (สมทบมหาวทิยาลัยมหดิล)

ประกาศนยีบตัรวิสัญญีพยาบาล 2552 คณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล

6. ใบอนุญาตประกอบวชิาชีพ 6.1 ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ ช้ันหนึ่ง ใบอนุญาตที่ 4511169114 วันออกใบอนุญาต วันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2550 วันหมดอายุ วันที ่31 มีนาคม พ.ศ 2555 6.2 บัตรประจําตัวสมาชิกสภาการพยาบาล เลขที่สมาชิก 103837

วันออกบตัร วันที่ 22 มีนาคม พ.ศ.2550 วันบัตรหมดอายุ วนัที่ 21 มีนาคม พ.ศ.2555

ตอนที่ 1 ขอมูลสวนบุคคล (ตอ)

ประวัติการรับราชการ

7. วัน เดือน ป ตําแหนง อัตราเงินเดือน สังกัด 1 กันยายน 2547 พยาบาลวิชาชพี 3 7,260 ฝายการพยาบาล โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ สํานักการแพทย 1 กันยายน 2549 พยาบาลวิชาชพี 4 8,430 ฝายการพยาบาล โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ สํานักการแพทย 1 กันยายน 2551 พยาบาลวิชาชพี 5 10,190 ฝายการพยาบาล

โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ สํานักการแพทย 1 เมษายน 2554 พยาบาลวิชาชพี 5 13,160 ฝายการพยาบาล โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ สํานักการแพทย

8. ประวัติการฝกอบรมและดูงาน ป พ.ศ. วันที–่เดือน หลักสูตร สถาบัน 2550 24 มกราคม ประชุมวิชาการเฉพาะสาขา โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ

: เวทีแหงการเรียนรู รุนที่ 2 2550 3 สิงหาคม การปองกันและควบคุม โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ

การติดเชื้อในโรงพยาบาลรุนที่ 2 2551 22 กุมภาพนัธ ประชุมปรึกษาทางการพยาบาล โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ

(content conference) รุนที่ 2 2553 24-26 มีนาคม สัมมนาเพื่อพฒันาองคกรเรื่อง โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ

การเสริมสรางแรงจูงใจ ในการบริการที่เปนเลิศ รุนที่ 1

2553 8 เมษายน การปองกันและควบคุม โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ การติดเชื้อในโรงพยาบาล (Update in IC 2010) รุนที่ 2

ตอนที่ 1 ขอมูลสวนบุคคล (ตอ)

พ.ศ. วันที–่เดือน หลักสูตร สถาบัน

2553 6-7 พฤษภาคม ความกาวหนาทางการพยาบาล โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ มารดาและทารก

2553 29 มิถุนายน การบริหารความเสี่ยงในโรงพยาบาล

โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ

2553 3-4 กรกฎาคม การพัฒนาองคกรสมรรถนะสูง สํานักการพยาบาล ในงานการพยาบาลวิสัญญี กระทรวงสาธารณสุข รวมกบั ชมรมวิสัญญีพยาบาล แหงประเทศไทย

2554 19-20 มีนาคม ประชุมวิชาการราชวิทยาลัย ราชวิทยาลัยวสัิญญีแพทย วิสัญญีแพทยแหงประเทศไทย แหงประเทศไทย คร้ังที่ 73

2554 21-22 พฤษภาคม ความทาทายบนความหลากหลายในงานการพยาบาลวิสัญญี

สํานักการพยาบาล กระทรวงสาธารณสุข รวมกับ ชมรมวสัิญญีพยาบาลแหงประเทศไทย

9

ประสบการณในการปฏิบัติงาน

9.1 คณะทํางานพัฒนาคณุภาพบริการระดับหนวยงานหองผาตัด ตามคําสั่งฝายการพยาบาล ที่ 13/2550 ลงวันที่ 2 ตุลาคม พ.ศ. 2550 9.2 คณะทํางานดานการบรหิารเครื่องมือแพทยของหนวยงานวิสัญญีพยาบาล ตามคําสั่งฝายการพยาบาล ที่ 17/2552 ลงวันที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2552 9.3 คณะทํางานดานการบรหิารความเสี่ยงของหนวยงานวิสัญญีพยาบาล ตามคําสั่งฝายการพยาบาล ที่ 3/2553 ลงวันที่ 11 สิงหาคม พ.ศ. 2553

ตอนที่ 1 ขอมูลสวนบุคคล (ตอ)

- ขาพเจาขอรบัรองวาขอความที่แจงไวในแบบฟอรมนี้ถูกตองเปนความจริงทุกประการ และไดรับทราบหลักเกณฑและวิธีการประเมินบุคคลแลว

ตอนที่ 2 การตรวจสอบคุณสมบัติของบุคคล

1. คุณวุฒกิารศึกษา ( ) ตรงตามคุณสมบัติเฉพาะสําหรับตําแหนง ( ) ไมตรง แตไดรับการยกเวนจาก ก.ก. (ตามสําเนาเอกสาร........................ฉบับ) 2. ใบอนุญาตประกอบวชิาชีพ ( ) ตรงตามที่กําหนด (ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ ช้ันหนึง่) ( ) ไมตรงตามที่กําหนด แตไดรับการยกเวนจาก ก.ก. (ตามสําเนาเอกสาร..........ฉบับ) 3. ระยะเวลาการดํารงตําแหนงตามมาตรฐานกําหนดตําแหนง ( ) ครบ ( ) ไมครบ 4. ระยะเวลาขั้นต่ําในการดํารงตําแหนง หรือเคยดํารงตําแหนงในสายงานที่จะขอรับการคัดเลือก

(ใหรวมถึงการดํารงตําแหนงในสายงานอืน่ที่เกี่ยวของ หรือเคยปฏิบัตงิานอื่นที่เกีย่วของหรือเกื้อกลูดวย) ( ) ตรงตามที่ ก.ก. กาํหนด ( ) ไมตรง ( ) ไดรับการพิจารณาจาก อ.ก.ก. วิสามัญเกี่ยวกับการจัดสวนราชการ การกําหนดตําแหนง และคาตอบแทน คร้ังที่...../......... เมื่อวันที่.......................(ตามสําเนาเอกสาร.........ฉบับ) สรุปผลการตรวจสอบคุณสมบัติของบุคคล ( ) อยูในหลักเกณฑที่จะดําเนินการตอไปได ( ) ไมอยูในหลักเกณฑ (ระบุเหตผุล......................................................................)

แบบประเมินคุณลักษณะของบุคคล ช่ือผูขอรับการประเมิน นางสาวสุกัญญา ประดิษฐ เพื่อแตงตั้งใหดํารงตําแหนงพยาบาลวิชาชพี 6 ว (ดานการพยาบาลวิสัญญี)

รายการประเมิน

คะแนนเต็ม คะแนนที่ไดรับ

1. ความรับผดิชอบ พิจารณาจากพฤติกรรม เชน 15 ...14... 1.1 เอาใจใสในการทํางานที่ไดรับมอบหมาย และหรืองานที่เกี่ยวของ 1.2 ยอมรับผลงานของตนเองทั้งในดานความสําเร็จและความผิดพลาด 1.3 พัฒนาและปรับปรุงงานในหนาที่ใหดยีิ่งขึ้น และหรือแกไขปญหา หรือขอผิดพลาดที่เกิดขึ้น 1.4 อุทิศเวลาใหกับงานในความรับผิดชอบ 1.5 ชวยเหลืองานอื่นทั้งภายในและภายนอกองคกรทั้งงานโดยตรง และ งานที่เกี่ยวของ 2. ความคิดริเร่ิม พิจารณาจากพฤติกรรม เชน 15 …13… 2.1 คิดคนระบบ แนวทาง วธีิดําเนินการใหม ๆ เพื่อประสิทธิผลของงาน 2.2 แสดงความคิดเห็น ใหขอเสนอแนะอยางสมเหตุสมผล และ สามารถปฏิบัติได 2.3 แสวงหาความรูใหม ๆ เพิ่มเติมอยูเสมอโดยเฉพาะใน สายวิชาชีพและในสายงานของตน 2.4 ตรวจสอบ ปรับปรุง แกไข หรือดัดแปลงวิธีทํางานใหม ี ประสิทธิภาพและกาวหนาอยูตลอดเวลา 2.5 สนใจในงานที่ยุงยากซับซอน 2.6 มีความไวตอสถานการณหรือความฉับไวในการรับรูส่ิงเราภายนอก 3. การแกไขปญหาและการตัดสินใจ พิจารณาจากพฤติกรรม เชน 15 …13… 3.1 วิเคราะหหาสาเหตุกอนเสมอเมื่อประสบปญหาใด ๆ 3.2 วิเคราะหลูทางแกไขปญหาโดยมีทางเลือกปฏิบัติไดหลายวิธี 3.3 ใชขอมูลประกอบในการตัดสินใจและแกปญหา

3.4 เลือกทางปฏิบัติในการแกไขปญหาไดถูกตองเหมาะสม

รายการประเมิน

คะแนนเต็ม

คะแนนที่ไดรับ

4. ความสามารถในการสื่อความหมาย พิจารณาจากพฤตกิรรม เชน 15 …13… 4.1 ส่ือสารกับบุคคลตาง ๆ เชน ผูบังคบับัญชา เพือ่นรวมงาน ผูรับบริการ และผูเกีย่วของไดดี โดยเขาใจไดถูกตองตรงกนั 4.2 ถายทอดและเผยแพรความรูทางวิชาการใหผูอ่ืนเขาใจไดอยางชัดเจน โดยใชภาษาอยางถูกตองเหมาะสม 5. ความประพฤติ พิจารณาจากพฤติกรรม เชน 5.1 ปฏิบัติตามกฎ ระเบยีบ ขอบังคับของหนวยงานและสวนราชการ 10 ...10… 5.2 ปฏิบัติตามขอบังคับ ก.พ. วาดวยจรรยาบรรณของขาราชการ พลเรือนและวชิาชีพของตน 5.3 มีความประพฤติสวนตวัที่เหมาะสม 5.4 มีความซื่อสัตยสุจริต 6. การพัฒนาตนเอง พจิารณาจากพฤติกรรม เชน 10 …9... 6.1 แสวงหา ติดตาม ศึกษา คนควาหาความรูใหม ๆ หรือส่ิงที่เปน ความกาวหนาทางวิชาการ หรือวิชาชีพอยูเสมอ 6.2 สนใจและปรับตนเองใหกาวหนาทนัวิทยาการใหมๆ ตลอดเวลา 6.3 นําความรูและวิทยาการใหม ๆ มาประยุกตใชในการปฏิบัติงาน 7. การทํางานรวมกับผูอ่ืน พิจารณาจากพฤติกรรม เชน 10 …10... 7.1 ยอมรับฟงความคิดเหน็ของผูอ่ืน 7.2 ใหความรวมมือในการปฏิบัติงานกับผูอ่ืน 7.3 เคารพในสิทธิของผูอ่ืน 8. บุคลิกภาพ พิจารณาจากพฤติกรรม เชน 10 …10... 8.1 มีกิริยาวาจาสุภาพ ออนโยน 8.2 มีน้ําใจเอือ้เฟอเผ่ือแผ 8.3 ควบคุมอารมณได 8.4 มีความเปนผูนํา

รวม 100 92

ตอนที่ 2 สรุปความเห็นในการประเมิน

ความเห็นความเห็นของผูมีอํานาจสั่งบรรจุและแตงตัง้ตามมาตรา 28 (กรณีที่ความเห็นของผูบังคับบัญชา ทั้ง 2 ระดับ แตกตางกัน)

( ) ผานการประเมิน

เหตุผล......................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................... ( ) ไมผานการประเมิน

เหตุผล......................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................

(ลงชื่อ) ..........................................................ผูประเมิน (........................................................) (ตําแหนง)...................................................... (วันที)่ ................/...................../....................

แบบแสดงรายละเอียดการเสนอผลงาน ช่ือผูขอรับการประเมิน นางสาวสุกัญญา ประดิษฐ เพื่อแตงตั้งใหดํารงตําแหนงพยาบาลวิชาชพี 6 ว (ดานการพยาบาลวิสัญญี)

ตอนที ่1 หนาท่ีความรับผิดชอบ

1.หนาท่ีความรับผิดชอบปจจุบัน ปจจุบันดํารงตาํแหนงพยาบาลวิชาชีพ 5 (ตําแหนงเลขที่ รพจ. 873) ฝายการพยาบาล โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ สํานักการแพทย ปฏิบตัิงานประจําหนวยงานวิสัญญีวิทยา มีหนาที่ให การระงับความรูสึกแกผูปวยที่มาผาตัด และดูแลผูปวยภายหลังการระงับความรูสึกที่หองพักฟน ใหการ ระงับความรูสึกกับผูปวยทั้งในเวลาราชการ 08.00 - 16.00 น. นอกเวลาราชการ 16.00 - 24.00 น. และ 00.01 - 08.00 น. ไดรับมอบหมายใหปฏิบัติหนาที่ โดยแบงเปนงานดานบริการ ดานวิชาการ และ ดานบริหาร ดังนี ้

ดานบริการ ประเมินสภาพผูปวยกอนไดรับการระงบัความรูสึกจากแฟมประวัตผูิปวย ที่ทางหอผูปวย สงมาใหประเมินกอนการผาตัด และตรวจเยี่ยมผูปวยกอนการระงับความรูสึกเพื่อซักประวัต ิ ทําใหทราบ ถึงปญหาตาง ๆ เชน ภาวะเสีย่งจากการเจ็บปวย การรักษาที่ผูปวยไดรับ และภาวะแทรกซอนที่อาจเกดิขึ้น วางแผนใหการระงับความรูสึกโดยปรึกษารวมกับวิสัญญแีพทยและศัลยแพทย ประสานงานกับพยาบาลหองผาตัด และเจาหนาที่อ่ืน ๆ ในการเตรียมผูปวยใหพรอมทั้งทางดานรางกายและจติใจ จัดเตรียมเครื่องมือ อุปกรณและยาที่ใชในการระงับความรูสึกใหพรอม และมีประสิทธิภาพเพื่อใชงานไดอยางถูกตอง และปลอดภัย ดูแลและบํารุงรักษาเครื่องมือพิเศษอยางถูกวิธี ใหอยูในสภาพพรอมใชงานเสมอ ใหการระงับความรูสึกแกผูปวยแตละรายตามสภาพผูปวย และชนดิของการผาตัด ดงันี้ - การดมยาสลบโดยใสทอชวยหายใจ - การดมยาสลบโดยครอบหนากาก - การดมยาสลบโดยหนากากครอบกลองเสียง - การฉีดยาเขาทางหลอดเลือดดาํ - การฉีดยาเขาทางกลามเนื้อ - เฝาระวังอาการผูปวยที่ไดรับยาชาเฉพาะสวนหรือเฉพาะที ่ ใหการควบคุมดูแล สังเกตอาการเปลี่ยนแปลง พรอมทั้งลงบันทึกรายละเอียดผูปวยอยางใกลชิด ขณะทําการระงับความรูสึก วินิจฉยัปญหาที่เกดิขึ้นขณะระงับความรูสึก และใหการแกไขดวยวิธีการที่ถูกตอง

ตอนที ่1 หนาท่ีความรับผิดชอบ (ตอ)

รวดเร็วและปลอดภัยเปนผูชวยวิสัญญีพยาบาลในการระงับความรูสึกเชน รวมในการวินิจฉยั และแกไขปญหาที่เกิดขึ้นระหวางใหการระงบัความรูสึกแกผูปวย และชวยเหลืองานดานวิสัญญีใหลุลวงไปดวยด ีชวยเหลือผูปวยภาวะฉุกเฉิน ใสทอชวยหายใจแกผูปวยภาวะวิกฤต กรณีหยุดหายใจหรือ หวัใจหยุดเตน ตามหอผูปวยตาง ๆ ชวยเหลือการฟนคืนชพีกรณีจําเปนชวยดูแลผูปวยหลังการระงับความรูสึกในหองพักฟน สังเกตอาการ ใหการพยาบาล วินิจฉัย และแกไขปญหาทีเ่กิดขึ้น จนกวาผูปวยจะอยูในสภาพที่ปลอดภัยจึงสงกลับหอผูปวย ชวยวิสัญญีแพทยในการทําหตัถการอื่น ๆ เชน การเตรียมการฉีดสเตอรอยดเขาชั้นนอกไขสันหลัง (epidural steroid) การเตรียมการใสสายเขาหลอดเลือดดําใหญเพื่อใหสารน้ํา(central line) ปฏิบัติงานอื่น ๆ ที่ไดรับหมอบหมายจากผูบังคับบัญชา ดานวชิาการ ใหความรูแกวิสัญญพียาบาลใหม และเจาหนาทีอ่ื่น ๆ ในการปฐมนิเทศเกีย่วกับลักษณะงาน ความรับผิดชอบเพื่อการปฏิบัติงานเปนไปดวยด ี ใหคําแนะนําปรึกษาเกีย่วกบัการระงับความรูสึกทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติแกพยาบาลที่จะไปอบรมหลักสูตรพยาบาลวิสัญญี ใหความรูเกี่ยวกับวิธีการชวยเหลือผูปวยภาวะวิกฤต รวมทั้งวิธีการใชอุปกรณในการชวยหายใจใหแกพยาบาลในหนวยงานอื่นเพื่อนาํความรูไปชวยเหลือผูปวยไดอยางปลอดภัย รวมท้ังประชุมทางดานวิชาการสําหรับพยาบาลในหนวยงานอื่นเพื่อเพิ่มพูนความรูอยางตอเนื่อง จัดทําบอรดและเอกสารทางวิชาการ เชน แผนพับเผยแพรความรูความเขาใจในเรื่องการระงับความรูสึก เพือ่ใหประชาชนเกิดความรู ความเขาใจและสามารถปฏิบัติตนไดอยางถูกตองเมื่อมารับการระงับความรูสึกและแกไขปญหาทีเ่กิดขึ้นในผูปวยแตละรายเพือ่ใหการระงับความรูสึกไดอยางถูกตองและปลอดภยั เขารวม ศึกษาคนควา เพื่อทําวิจัยเกีย่วกับการระงับความรูสึกและวิชาชพีการพยาบาล โดยการรวบรวมขอมูลทางการแพทย และการพยาบาล รวมกันอภิปรายกับพยาบาลวิสัญญี ศึกษาวิธีการระงับความรูสึก และการแกปญหาที่อาจเกิดขึ้นในผูปวยแตละราย เพื่อใหการระงบัความรูสึกไดอยางถูกตองและปลอดภัย รวมประชุมวิชาการภายในหนวยงาน โดยมีการบรรยาย เกีย่วกับการระงับความรูสึก รวมทั้งการศึกษา แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกบัวิธีการระงับความรูสึกในผูปวยแตละราย ดานบริหาร รับนโยบายจากหวัหนากลุมงานวสัิญญี หัวหนาฝายการพยาบาล และหัวหนาพยาบาลวสัิญญี ผูบังคับบัญชาระดับเหนือขึน้ไป มีสวนรวมในการเสนอวิธีการปรับปรุงและวางแผนพัฒนางานดานวิสัญญ ีพยาบาลใหมีคณุภาพและไดมาตรฐานสอดคลองกับนโยบายของผูบริหาร รวมมือ และประสานงาน

ตอนที ่1 หนาท่ีความรับผิดชอบ (ตอ)

กับหนวยงานอื่น เพื่อความสําเร็จของงาน แกไขปญหาตาง ๆ และปรับปรุงงานใหบรรลุวัตถุประสงคตามที่กําหนด ควบคุม ตรวจสอบวัสดุอุปกรณ เครื่องมือเครื่องใชและบํารุงรักษาใหพรอมที่จะใชไดตลอดเวลา รวมทั้งศึกษาวธีิการใชเครื่องมือพิเศษตาง ๆ ใหชํานาญ 2. หนาท่ีความรับผิดชอบของตําแหนงท่ีจะแตงตั้ง (ตามที่ ก.ก. กําหนด) “เชนเดยีวกบัขอ 1”

ผลการปฏบิัตงิานยอนหลัง 3 ป สถิติปริมาณงาน

ลําดับที่

ลักษณะงาน

หนวยนับ

ป พ.ศ.2550

ป พ.ศ. 2551 1 ม.ค. – 30 ก.ย.

หนวยงาน เฉพาะตวั หนวยงาน เฉพาะตวั การพยาบาลผูปวยที่ไดรับการผาตัดรวม

แบงเปน ราย 6,807 - 6,379 -

1 การพยาบาลผูปวยผาตัดทางศัลยกรรมทั่วไป

ราย 881 74 892 46

2 การพยาบาลผูปวยผาตัดทางศัลยกรรมทวารหนกั

ราย 505 86 470 23

3 การพยาบาลผูปวยผาตัดทางศัลยกรรมชองทอง

ราย 333 45 437 21

4 การพยาบาลผูปวยผาตัดทางศัลยกรรมตกแตง

ราย 478 55 343 17

5 การพยาบาลผูปวยผาตัดทางศัลยกรรมปสสาวะ

ราย 354 93 364 18

6 การพยาบาลผูปวยผาตัดทางศัลยกรรมทรวงอก

ราย 6 - 25 1

7 การพยาบาลผูปวยผาตัดทางสูติกรรม -นรีเวชกรรม

ราย 2,156 240 2,083 104

8 การพยาบาลผูปวยผาตัดทางศัลยกรรมประสาท

ราย 203 39 150 8

9 การพยาบาลผูปวยผาตัดทางกระดูก และเขาเฝอก

ราย 944

98

806

40

10 การพยาบาลผูปวยผาตัดทางหู คอ จมูก ราย 195 27 157 8

11 การพยาบาลผูปวยผาตัดทางจักษ ุ ราย 752 85 652 32

ผลการปฏบิัตงิานยอนหลัง 3 ป สถิติปริมาณงาน (ตอ)

ลําดับ ที่

ลักษณะงาน หนวย นับ

ป พ.ศ. 2552 1 ต.ค. - 31 ธ.ค.

ป พ.ศ. 2553

หนวย งาน

เฉพาะ ตัว

หนวย งาน

เฉพาะ ตัว

1 2 3 4 5 6

จํานวนผูปวยรวมที่ไดรับการระงับความรูสึก แบงเปน การใหการระงบัความรูสึกโดยวิธีใสทอชวยหายใจ (general anesthesia intubation with endotracheal tube) 1.1 การระงับความรูสึกโดยวิธีใสทอชวยหายใจ

ผูปวยเพื่อผาตดัจัดกระดกูโหนกแกมหักใหเขาที่และใสเหล็กยึดดามกระดูก

1.2 อ่ืนๆ การใหการระงบัความรูสึกโดยวิธีสูดดมยาสลบ ทางหนากาก (general anesthesia with under mask) การใหการระงบัความรูสึกโดยวิธีสูดดมยาสลบ ทางหนากากครอบกลองเสียง (general anesthesia with laryngeal mask airway) การใหการระงับความรูสึกโดยวธีิ ฉีดยาเขาทาง หลอดเลือดดาํ ( intravenous anesthesia) การเฝาระวังผูปวยที่ไดรับการฉีดยาชาเขา ช้ันนอกไขสันหลังรวมกับมอรฟน (epidural morphine anesthesia) การเฝาระวังผูปวยที่ไดรับการฉีดยาชาเขาชัน้นอกไขสันหลังรวมกับการคาสาย (continuous epidural anesthesia)

ราย ราย

ราย

ราย ราย

ราย

ราย

ราย

ราย

1,559 489

21

468 9

56

268 3 7

- 24 3

21 1 2

12 - 1

6,297 2,016

21

1,995 26

296

1,061 - 2

- 79 2

77 1 9

37 - -

ผลการปฏบิัตงิานยอนหลัง 3 ป

สถิติปริมาณงาน (ตอ)

ลําดับ ที่

ลักษณะงาน หนวย นับ

ป พ.ศ. 2552 1 ต.ค. - 31 ธ. ค.

ป พ.ศ. 2553

หนวย งาน

เฉพาะ ตัว

หนวย งาน

เฉพาะ ตัว

7 8 9

10

11

12

13

การเฝาระวังผูปวยที่ไดรับการฉีดยาชาเขา ช้ันในไขสันหลัง (spinal anesthesia) การเฝาระวังผูปวยที่ไดรับการฉีดยาชาเขา ช้ันในไขสันหลังรวมกับมอรฟน (spinal morphine anesthesia) การเฝาระวังผูปวยที่ไดรับการฉีดยาชาเขา ช้ันในไขสันหลังรวมกับการฉีดยาชาเขาช้ันนอกไขสันหลัง (combined spinal epidural anesthesia) การเฝาระวังผูปวยที่ไดรับการฉีดยาชาเขาช้ันนอกไขสันหลังรวมกับการดมยาสลบ (combined epidural anesthesia with general anesthesia) การเฝาระวังผูปวยที่ไดรับการฉีดยาชาเขาเสนประสาทสวนปลาย (peripheral nerve block) การเฝาระวังผูปวยที่ไดรับการฉีดยาชาเขาเสนประสาทสวนปลายรวมกบัการดมยาสลบ (peripheral nerve block with general anesthesia) การเฝาระวังผูปวยที่ไดรับการฉีดยาชาเฉพาะที่รวมกับการดมยาสลบ (local anesthesia with general anesthesia)

ราย

ราย

ราย

ราย

ราย

ราย

ราย

210

321 1

13

64

39

13

11

15 -

1 3 2 1

833

1,130

16

247

190

162

-

43

60 1

11

10

9

-

ผลการปฏบิัตงิานยอนหลัง 3 ป

สถิติปริมาณงาน (ตอ)

ลําดับ ที่

ลักษณะงาน หนวย นับ

ป พ.ศ. 2552 1 ต.ค. - 31 ธ.ค.

ป พ.ศ. 2553

หนวย งาน

เฉพาะ ตัว

หนวย งาน

เฉพาะ ตัว

14

15

16 17

18

การเฝาระวังผูปวยหนักขณะผาตัดโดยไมไดรับการระงับความรูสึก (monitoring anesthetic care) การใสทอชวยหายใจในผูปวยที่มีปญหา หยุดหายใจ / หัวใจหยุดเตน (intubation) การชวยฟนคนืชีพในหอผูปวย (CPR) การเตรียมการฉีดสเตอรอยดเขาชั้นนอก ไขสันหลัง (epidural steroid) การเยี่ยมผูปวยกอนการระงับความรูสึก

ราย

ราย

ราย ราย

ราย

13

14 -

39

1,499

1 - - 2

78

106

70 3

139

5,925

5 3 - 5

311

หมายเหตุ - ปฏิบัติงาน ณ หองผาตัด : 1 กันยายน พ.ศ. 2547 - 30 มิถุนายน พ.ศ. 2551 - เรียนรูงานดานวิสัญญีพยาบาล : 1 กรกฎาคม - 30 กันยายน พ.ศ. 2551 - อบรมหลักสูตรวิสัญญีพยาบาล ณ : 1 ตุลาคม พ.ศ. 2551 - 30 กนัยายน พ.ศ. 2552 คณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาล - ปฏิบัติงาน ณ หนวยงานวสัิญญี : 1 ตุลาคม พ.ศ. 2552 จนถึงปจจุบัน

35

ขอรับรองวาเปนขอความถูกตองตรงตามความเปนจริงทุกประการ

หมายเหตุ

1. ผูบังคับบัญชาเหนือขึ้นไป 1 ระดับ ในชวงระหวางวันที่ 1 ม.ค. 2550 – 4 พ.ย. 2550 คือ นายสราวุธ สนธิแกว ปจจุบนัดํารงตําแหนงผูอํานวยการสํานักการแพทย 2. ผูบังคับบัญชาเหนือขึ้นไป 1 ระดับ ในชวงระหวางวันที่ 5 พ.ย. 2550 – 10 พ.ย. 2552 คือ นายสุรินทร กูเจริญประสิทธิ์ ปจจุบันดํารงตําแหนงรองผูอํานวยการสํานักการแพทย

36

ตอนที่ 2 ผลงาน

1. ผลงานที่เปนผลการดาํเนนิงานที่ผานมา ชื่อผลงาน การพยาบาลและการระงับความรูสึกผูปวย เพื่อผาตัดจัดกระดูกโหนกแกมหักใหเขาที่และใสเหล็กยึดดามกระดกู ชวงระยะเวลาที่ทําผลงาน 5 วัน (วันที่ 9 สิงหาคม พ.ศ. 2553 – 13 สิงหาคม พ.ศ. 2553) ขณะดํารงตําแหนง พยาบาลวิชาชีพระดับ 5 สังกัดฝายการพยาบาล โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ สํานักการแพทย

กรณีดําเนินการรวมกันหลายคนรายละเอียดปรากฏตามคํารับรองการจัดทําผลงานที่เสนอขอประเมิน

ผลสําเร็จของงาน (ระบุความสําเร็จเปนผลผลิต หรือผลลัพธ หรือประโยชนทีไ่ดรับ) จากกรณีศึกษา ผูปวยชายไทยอายุ 18 ป มาโรงพยาบาลดวย ประสบอุบัติเหตุรถจักรยานยนตชน ไมสลบ ใบหนาดานขวามีรอยเขียวชํ้าที่โหนกแกม และรอบ ๆ เบาตา แพทยทําการตรวจรางกาย สงตรวจภาพรังสีทางคอมพิวเตอรและวินจิฉัยวากระดูกโหนกแกมขวาหัก จําเปนตองไดรับการผาตัด จึงรับไวในโรงพยาบาลเพื่อรักษา และวางแผนผาตัดจัดกระดูกโหนกแกมขวาหกัใหเขาที ่ และใสเหล็กยึดดามกระดกูในวันที่ 10 สิงหาคม พ.ศ. 2553 เวลา 9.00 น. จากการเยี่ยมผูปวยเพื่อประเมินสภาพ และเตรียมความพรอมกอนการระงับความรูสึก ผูปวยรูสึกตัวดี ชวยเหลือตนเองได รางกายแข็งแรง ปฏิเสธโรคประจําตัว ปฏิเสธการแพยาและอาหาร ปฏิเสธการผาตัด และการระงบัความรูสึกมากอน ตรวจรางกายประเมินลักษณะทางกายวิภาคพบมีรอยเขยีวชํ้าทีใ่บหนาดานขวาบริเวณโหนกแกมและรอบ ๆ เบาตา ปวดรอบเบาตาเปนพัก ๆ คะแนนความเจ็บปวดระดับ 3 การมองเห็นชัดเจน วิสัญญีพยาบาลไดใหขอมูลและคําแนะนําแกผูปวยและญาติ โดยอธิบายในเรื่องขอควรปฏิบัติในการเตรียมตัวกอนการระงับความรูสึก อธิบายถึงวิธี และขั้นตอนการระงับความรูสึกที่ผูปวยจะไดรับ เปดโอกาสใหซักถามเพื่อชวยใหเขาใจ ชวยคลายความวิตกกังวลเรื่องการบาดเจบ็ และการระงบัความรูสึก ผูปวยรายนี้ไดรับการระงับความรูสึกทั่วรางกายโดยวิธีใสทอชวยหายใจ ไดใหการพยาบาลทั้ง กอน ขณะ และหลงัการระงับความรูสึก ทําการประเมินผลทางการพยาบาลเปนเวลา 5 วัน ทําการเยีย่มผูปวย กอนการระงับความรูสึก 1 คร้ังที่หอผูปวย เฝาระวังขณะใหการระงับความรูสึก และตดิตามเยีย่มหลัง การระงับความรูสึกที่หองพกัฟน และที่หอผูปวยรวม 3 คร้ัง พบปญหาทางการพยาบาลทั้งหมด 6 ขอ คือ 1. ผูปวยมีความวิตกกงัวลเกีย่วกับการผาตดั และการระงบัความรูสึกเนือ่งจากไมเคยผาตัด และระงบัความรูสึกมากอน

ตอนที่ 2 ผลงาน (ตอ)

2. ผูปวยเสี่ยงตอการเกิดภาวะพรองออกซิเจนเนื่องจากกลามเนื้อที่ใชในการหายใจถกูทําใหเปนอัมพาตช่ัวคราวจากการใชยาหยอนกลามเนื้อเพื่อชวยในการใสทอชวยหายใจ 3. ผูปวยเสี่ยงตอการเกิดภาวะทางเดินหายใจอุดกั้นเนื่องจากไดรับการระงับความรูสึก 4. ผูปวยไมสุขสบายจากอาการปวดแผลผาตัดเนื่องจากเนื้อเยื่อมีการฉกีขาดจากการผาตัด 5. ผูปวยเสี่ยงตอการติดเชื้อแผลผาตัด เนื่องจากมีการบาดเจ็บของเนื้อเยื่อบริเวณผิวหนังจากการ ทําผาตัดจัดกระดูกโหนกแกมหักใหเขาที่และใสเหล็กยึดดามกระดกูทําใหมีการบกุรุกของเชื้อโรค 6. ผูปวยและครอบครัวขาดความรูในการปฏิบัติตัวเมื่อกลับบานเนื่องจากขาดประสบการณ และความรูเกี่ยวกับการดแูลตนเองและการปองกันการติดเชื้อ ทุกปญหาไดรับการแกไข จนกระทั่งแพทยอนุญาตใหกลับบานวันที่ 13 สิงหาคม พ.ศ. 2553 ผูปวยไมเกิดภาวะแทรกซอนจากการระงับความรูสึกและการผาตัด สามารถกลับบานไดอยางปลอดภยั รวมระยะ เวลาผูปวยอยูในโรงพยาบาลทั้งหมด 5 วัน ไดใหคําแนะนําในการปฏิบัติตัวเมื่อกลับบาน ผูปวยและญาติเขาใจและสามารถปฏิบัติตัวไดอยางถูกตอง จึงทําใหมีผลสัมฤทธิ์ ประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับ 1. เปนการพฒันาตนเองโดยการศึกษาคนควาเพื่อเพิ่มพนูความรูและประสบการณ 2. ใชเปนแนวทางในการใหการพยาบาล ผูปวยที่ไดรับการระงับความรูสึก เพื่อผาตัดจัดกระดกูโหนกแกมหกัใหเขาที่และใสเหล็กยึดดามกระดกูใหมีประสิทธภิาพมากขึน้ 3. ผูปวยและญาติมีความรูเกี่ยวกับการปฏบิัติตัวกอน ขณะ และหลังการระงับความรูสึก เพื่อคลายความวิตกกังวลเกีย่วกับการระงับความรูสึก 4. ผูปวยและญาติเกิดความพึงพอใจและมั่นใจในการใหบริการของวสัิญญี 2. ขอเสนอ แนวคิด วิธีการเพื่อพัฒนางานหรือปรับปรงุงานใหมีประสิทธิภาพมากขึ้น ชื่อขอเสนอ การจัดรถเตรียมอุปกรณและเครื่องมือสําหรับระงับความรูสึกผูปวยเด็ก วัตถปุระสงค เพื่ออํานวยความสะดวกแกวิสัญญีพยาบาล โรงพยาบาลเจรญิกรุงประชารักษ ในการจัดเตรียมอุปกรณและเครื่องมือสําหรับระงับความรูสึกผูปวยเด็กไดอยางรวดเร็ว ครบถวน และมีประสิทธิภาพ

ตอนที่ 2 ผลงาน (ตอ)

เปาหมาย เพื่อจัดใหมีอุปกรณและเครื่องมือสําหรับระงับความรูสึกผูปวยเด็กที่ครบถวนและพรอมใช ประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับ 1. วิสัญญีพยาบาล โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ สามารถจัดเตรียมอุปกรณและเครื่องมือสําหรับระงับความรูสึกผูปวยเด็กไดอยางรวดเรว็ ครบถวน และมีประสิทธิภาพ 2. สะดวกแกการนํารถจัดเตรียมอุปกรณและเครื่องมือสําหรับระงับความรูสึกผูปวยเด็กไปใช 3. ทําใหมีรถสําหรับเตรียมอุปกรณและเครื่องมือระงับความรูสึกผูปวยเด็กประจําหนวยงานวิสัญญีวิทยา โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ

39

ตอนที่ 3 การรับรองผลงาน

1. คํารับรองของผูขอรับการประเมิน ขอรับรองวาผลงานดังกลาวขางตนเปนความจริงทุกประการ

40

เอกสารอางอิง

41

42

43

44

45

46

47

48

49

50

51

52

53

54

55

56

57

58

59

60

61

62

63

64

65

66

67

68

69

70

71

72

73

74

75

76

77

78

79