69
n a nmjr=diu ururodoaoanru,iinur (SAR) vLL *dunrtfinuT fiuflug:ru i.r fi o drrin.nu ra ufi*udnrtiinurdt=nu fi nu1 u!A1 ta u I u1.re1loi1srtu da'oulxu e- fi nulutnfin lnucilu:u'tulfunl5Hlflu ;irfnururzufiufinrrfinurdr:nsfinuru=at rum I

a ururodoaoanru,iinur (SAR) *dunrtfinuT fiuflug:ru i.r In a nmjr=diu ururodoaoanru,iinur (SAR)*dunrtfinuT vLL fiuflug:rui.r fi o drrin.nu ra ufi*udnrtiinurdt=nu fi nu1 u!A1 ta u Iu1.re1loi1srtu

  • Upload
    others

  • View
    1

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

  • n a nmjr=diu ururodoaoanru,iinur (SAR)vLL

    *dunrtfinuT fiuflug:ru

    i.r fi o drrin.nu ra ufi*udnrtiinurdt=nu fi nu1 u!A1 ta u I

    u1.re1loi1srtu da'oulxue-

    fi nulutnfin lnucilu:u'tulfunl5Hlflu;irfnururzufiufinrrfinurdr:nsfinuru=at rum I

  • คำนำ

    รายงานเลมนี้จัดทำขึ้นจากการสังเคราะหเอกสารรายงานผลการประเมิน

    ตนเองของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษายะลา เขต 1

    เพื่อคนหาขอสรุปและใหขอเสนอแนะเชิงบริหารจัดการใหกับผูบริหารสถานศึกษา

    ในสังกัดและผูเกี่ยวของทั่วไป ซึ่งกอประโยชนตอการดำเนินงานตามระบบประกัน

    คุณภาพภายในสถานศึกษาตอไป

    ขอบคุณคณะครูบุคลากรและผูบริหารสถานศึกษาในสังกัดทุกคนที่ตั้งใจ

    ปฏิบัติงานอันเปนรองรอยหลักฐานที ่เปนประโยชนตอการประเมินภายใน

    ของสถานศึกษาซ่ึงเปนแหลงขอมูลสำคัญของการศึกษาคร้ังน้ี

    ขอบคุณคณะทำงานและผูเกี ่ยวของทุกคนที่ชวยเหลือในการวิเคราะห

    และบันทึกขอมูลทำใหการจัดทำรายงานเลมน้ีสำเร็จดวยดี

    คุณประโยชนของเอกสารเลมน้ีคือคุณคาของทานท้ังหลาย

    นางสาวอรวรรณ ปลองไหม

    ศึกษานิเทศก วิทยฐานะชำนาญการพิเศษ

    สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษายะลา เขต 1

    ผูรับผิดชอบและจัดทำรายงาน

    ค ำน ำ

    รายงานเล่มนี้จัดท าขึ้นจากการสังเคราะห์เอกสารรายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายะลา เขต 1 เพื่อค้นหาข้อสรุปและให้ข้อเสนอแนะเชิงบริหารจัดการให้กับผู้บริหารสถานศึกษาในสังกัดและผู้เกี่ยวข้องทั่วไป ซึ่งก่อประโยชน์ต่อการด าเนินงานตามระบบประกันคุณภาพภายในสถานศกึษาต่อไป ขอบคุณคณะครู บุคลากรและผู้บริหารสถานศึกษาในสังกัดทุกคนที่ตั้งใจปฏิบัติงาน อันเป็นร่องรอยหลักฐานที่เป็นประโยชน์ต่อการประเมินภายในของสถานศกึษา ซึ่งเป็นแหล่งข้อมูลส าคัญของการศกึษาครั้งนี ้ ขอบคุณคณะท างานและผูเ้กี่ยวข้องทุกคน ที่ช่วยเหลือในการวิเคราะห์และบันทึกข้อมูลท าใหก้ารจัดท ารายงานเล่มนีส้ าเร็จด้วยดี คุณประโยชน์ของเอกสารเล่มนีค้ือคุณค่าของท่านทั้งหลาย

    นางสาวอรวรรณ ปล้องไหม

    ศกึษานิเทศก์ วิทยะฐานะช านาญการพิเศษ ส านักงานเขตพืน้ที่การศกึษาประถมศึกษายะลา เขต 1

    ผูร้ับผิดชอบและจัดท ารายงาน

  • สารบัญ

    หน้า ค าน า ก สารบัญ ข สารบัญตาราง ง สารบัญภาพประกอบ จ ตอนที่ 1 บทน า 1 ความเป็นมาและความส าคัญ 1 วัตถุประสงค์ 2 ขอบเขตของการศกึษา 3 ประโยชน์ที่ได้รับ 4 ตอนที่ 2 หลักการและแนวคดิที่เกี่ยวข้องกับการประเมินภายในของสถานศึกษา 5 ความส าคัญของการประเมินภายใน 5 การประเมนิภายในกับการประกันคุณภาพการศกึษา 6 การประกันคุณภาพภายในของสถานศกึษา 6 การประเมนิภายในสถานศึกษา 8 ตอนที่ 3 การด าเนินการศึกษา 11 การก าหนดหัวข้อปัญหา 11 การก าหนดแหล่งขอ้มูล 12 การวิเคราะหแ์ละแปลความหมายข้อมูล 13 การน าเสนอ 14 ตอนที่ 4 ผลการสังเคราะห์คุณภาพมาตรฐานการศึกษา

    ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน 15

    ผลการสังเคราะหภ์าพรวมรายมาตรฐาน 15 ผลการสังเคราะหใ์นภาพย่อยของแตล่ะมาตรฐาน 16

  • สารบัญ

    หน้า ค าน า ก สารบัญ ข สารบัญตาราง ง สารบัญภาพประกอบ จ ตอนที่ 1 บทน า 1 ความเป็นมาและความส าคัญ 1 วัตถุประสงค์ 2 ขอบเขตของการศกึษา 3 ประโยชน์ที่ได้รับ 4 ตอนที่ 2 หลักการและแนวคดิที่เกี่ยวข้องกับการประเมินภายในของสถานศึกษา 5 ความส าคัญของการประเมินภายใน 5 การประเมนิภายในกับการประกันคุณภาพการศกึษา 6 การประกันคุณภาพภายในของสถานศกึษา 6 การประเมนิภายในสถานศึกษา 8 ตอนที่ 3 การด าเนินการศึกษา 11 การก าหนดหัวข้อปัญหา 11 การก าหนดแหล่งขอ้มูล 12 การวิเคราะหแ์ละแปลความหมายข้อมูล 13 การน าเสนอ 14 ตอนที่ 4 ผลการสังเคราะห์คุณภาพมาตรฐานการศึกษา

    ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน 15

    ผลการสังเคราะหภ์าพรวมรายมาตรฐาน 15 ผลการสังเคราะหใ์นภาพย่อยของแตล่ะมาตรฐาน 16

  • สารบัญ (ต่อ)

    หน้า ตอนที่ 5 ผลการสังเคราะห์การจัดกิจกรรมพัฒนามาตรฐานการศึกษา

    ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน 20

    มาตรฐานที่ 1 ด้านคุณภาพผูเ้รียน

    20

    มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการของผู้บริหารสถานศกึษา

    26

    มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรยีนเป็นส าคัญ

    29

    มาตรฐานที่ 4 ระบบการประกันคุณภาพภายในที่มีประสทิธิผล

    31

    ตอนที่ 6 จุดเด่น จุดที่ควรแก้ไข และแนวทางปรับปรุง 33 จุดเด่น 33 จุดที่ควรแก้ไข 35 แนวทางปรับปรุงการพัฒนาคุณภาพของสถานศกึษา 36 ตอนที่ 7 บทสรุปส าหรับผู้บริหารสถานศึกษา 37 บทสรุปจากการค้นพบ 37 ข้อเสนอแนะเชงิบริหารจากข้อค้นพบ 43 เอกสารอ้างอิง 45 ภาคผนวก 46 ผู้จัดท า 61

    สารบัญตาราง ตารางที่ หน้า

    1 จ ำนวนสถำนศึกษำทีม่ีระดับคุณภำพตำมรำยมำตรฐำนกำรศึกษำ 15 2 จ ำนวนสถำนศึกษำที่มีระดับคุณภำพต่ำงๆ ตำมมำตรฐำนย่อยที่ 1.1

    ผลสัมฤทธิ์ทำงวิชำกำรของผู้เรยีนตำมมำตรฐำนที่ 1 คุณภำพผู้เรยีน 16

    3 จ ำนวนสถำนศึกษำที่มีระดับคุณภำพต่ำงๆ ตำมมำตรฐำนย่อยที่ 1.2 คุณลักษณะอันพึงประสงคข์องผู้เรยีนตำมมำตรฐำนที่ 1 คุณภำพผู้เรยีน

    17

    4 จ ำนวนสถำนศึกษำที่มีระดับคุณภำพตำมมำตรฐำนที่ 2 กระบวนกำรบรหิำรและกำรจัดกำรของผู้บริหำรสถำนศึกษำ

    18

    5 จ ำนวนสถำนศึกษำที่มีระดับคุณภำพตำมมำตรฐำนที่ 3 กระบวนกำรจัดกำรเรียนกำรสอนที่สร้ำงโอกำสให้ผูเ้รียนทุกคนมีส่วนร่วม

    19

    6 จ ำนวนสถำนศึกษำที่มีระดับคุณภำพตำมมำตรฐำนที่ 4 ระบบกำรประกันคุณภำพภำยในที่มีประสิทธิผล

    19

    7 รอ้ยละสถำนศึกษำที่มีจดุเด่นด้ำนต่ำงๆ ของผู้เรยีน 33 8 รอ้ยละสถำนศึกษำที่มีจดุเด่นด้ำนต่ำง ของกำรบรหิำรจัดกำร 33 9 รอ้ยละสถำนศึกษำที่มีจดุเด่นด้ำนต่ำงๆ ของกำรจัดกำรเรยีนกำรสอน 34 10 รอ้ยละสถำนศึกษำที่มีจดุเด่นด้ำนต่ำงๆ ของกำรประกันคณุภำพภำยใน 34 11 รอ้ยละสถำนศึกษำที่มีจดุควรแก้ไขในประเดน็ต่ำงๆ 35 12 รอ้ยละสถำนศึกษำที่มีแนวทำงปรับปรุงในดำ้นต่ำงๆ 36

  • สารบัญ (ต่อ)

    หน้า ตอนที่ 5 ผลการสังเคราะห์การจัดกิจกรรมพัฒนามาตรฐานการศึกษา

    ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน 20

    มาตรฐานที่ 1 ด้านคุณภาพผูเ้รียน

    20

    มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการของผู้บริหารสถานศกึษา

    26

    มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรยีนเป็นส าคัญ

    29

    มาตรฐานที่ 4 ระบบการประกันคุณภาพภายในที่มีประสทิธิผล

    31

    ตอนที่ 6 จุดเด่น จุดที่ควรแก้ไข และแนวทางปรับปรุง 33 จุดเด่น 33 จุดที่ควรแก้ไข 35 แนวทางปรับปรุงการพัฒนาคุณภาพของสถานศกึษา 36 ตอนที่ 7 บทสรุปส าหรับผู้บริหารสถานศึกษา 37 บทสรุปจากการค้นพบ 37 ข้อเสนอแนะเชงิบริหารจากข้อค้นพบ 43 เอกสารอ้างอิง 45 ภาคผนวก 46 ผู้จัดท า 61

    สารบัญตาราง ตารางที่ หน้า

    1 จ ำนวนสถำนศึกษำทีม่ีระดับคุณภำพตำมรำยมำตรฐำนกำรศึกษำ 15 2 จ ำนวนสถำนศึกษำที่มีระดับคุณภำพต่ำงๆ ตำมมำตรฐำนย่อยที่ 1.1

    ผลสัมฤทธิ์ทำงวิชำกำรของผู้เรยีนตำมมำตรฐำนที่ 1 คุณภำพผู้เรยีน 16

    3 จ ำนวนสถำนศึกษำที่มีระดับคุณภำพต่ำงๆ ตำมมำตรฐำนย่อยที่ 1.2 คุณลักษณะอันพึงประสงคข์องผู้เรยีนตำมมำตรฐำนที่ 1 คุณภำพผู้เรยีน

    17

    4 จ ำนวนสถำนศึกษำที่มีระดับคุณภำพตำมมำตรฐำนที่ 2 กระบวนกำรบรหิำรและกำรจัดกำรของผู้บริหำรสถำนศึกษำ

    18

    5 จ ำนวนสถำนศึกษำที่มีระดับคุณภำพตำมมำตรฐำนที่ 3 กระบวนกำรจัดกำรเรียนกำรสอนที่สร้ำงโอกำสให้ผูเ้รียนทุกคนมีส่วนร่วม

    19

    6 จ ำนวนสถำนศึกษำที่มีระดับคุณภำพตำมมำตรฐำนที่ 4 ระบบกำรประกันคุณภำพภำยในที่มีประสิทธิผล

    19

    7 รอ้ยละสถำนศึกษำที่มีจดุเด่นด้ำนต่ำงๆ ของผู้เรยีน 33 8 รอ้ยละสถำนศึกษำที่มีจดุเด่นด้ำนต่ำง ของกำรบรหิำรจัดกำร 33 9 รอ้ยละสถำนศึกษำที่มีจดุเด่นด้ำนต่ำงๆ ของกำรจัดกำรเรยีนกำรสอน 34 10 รอ้ยละสถำนศึกษำที่มีจดุเด่นด้ำนต่ำงๆ ของกำรประกันคณุภำพภำยใน 34 11 รอ้ยละสถำนศึกษำที่มีจดุควรแก้ไขในประเดน็ต่ำงๆ 35 12 รอ้ยละสถำนศึกษำที่มีแนวทำงปรับปรุงในดำ้นต่ำงๆ 36

  • สารบัญภาพประกอบ ภาพประกอบที่ หน้า

    1 ความสัมพันธ์ขององค์ประกอบในการประกันคุณภาพใน ของสถานศกึษา

    7

    2 ขั้นตอนการด าเนินการศึกษา 11 3 กรอบความคิดของการด าเนินการศึกษา 12

    1

    ตอนที่ 1

    บทน ำ

    1. ควำมเป็นมำและควำมส ำคัญ

    พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 หมวด 6 กล่าวถึงการมีระบบประกันคุณภาพการศึกษาว่าประกอบด้วย ระบบการประกันคุณภาพภายใน และระบบการประกันคุณภาพภายนอก ให้ถือว่าการประกันคุณภาพภายในเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษาที่ต้องด าเนินการอย่างต่อเนื่อง ให้มีการจัดท ารายงานประจ าปีเสนอต่อหน่วยงาน ต้นสังกัด หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และเปิดเผยต่อสาธารณชน เพื่อน าไปสู่การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาและเพื่อรองรับการประกันคุณภาพภายนอก ในกรณีที่ผลการประเมินภายนอกของสถานศึกษาใดไม่ได้ตามมาตรฐานที่ก าหนด ให้ส านักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศกึษา (สมศ.) จัดท าขอ้เสนอแนะการปรับปรุงแก้ไขต่อหน่วยงานต้นสังกัด เพื่อให้สถานศึกษานั้นปรับปรุงแก้ไขภายในระยะเวลาที่ก าหนด หากมิได้ด าเนินการดังกล่าวให้ส านักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษารายงานต่อคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐานหรอืคณะกรรมการการอุดมศกึษาเพื่อด าเนนิการให้มีการปรับปรุงแก้ไข

    การประกันคุณภาพภายใน (Internal Quality Assurance : IQAas) จึงเป็นกลไกของการสร้างความมั่นใจ (Assure) ให้แก่ผู้รับบริการทั้งผู้เรียน ผู้ปกครอง ชุมชนและสังคมว่าสถานศึกษานั้นสามารถจัดการศึกษาให้มีคุณภาพได้ตามมาตรฐานที่ก าหนด โดยด าเนินการตามหลักการที่ส าคัญ 3 ประการคือ การกระจายอ านาจ (Decentralization) การมีส่วนร่วม (Participation) และการตรวจสอบได้ (Accountability) นอกจากนี้ การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา มีการด าเนินงานที่สัมพันธ์กัน 3 กระบวนการ คือ การประเมินคุณภาพ (Quality Assessment : QA) การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา (Quality Audit : QA) และการควบคุมคุณภาพ (Quality Control : QC)

    การประเมินภายในจึงเป็นหน้าที่ความรับผิดชอบที่สถานศึกษาต้องด าเนินการภายใต้บทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 มาตรา 5 วรรคหนึ่ง แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 และมาตรา 47 วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการได้ออกกฎกระทรวง ว่าด้วยการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561 ซึ่งก าหนดให้สถานศกึษาประเมินตนเองเป็นประจ าทุกปี

  • สารบัญภาพประกอบ ภาพประกอบที่ หน้า

    1 ความสัมพันธ์ขององค์ประกอบในการประกันคุณภาพใน ของสถานศกึษา

    7

    2 ขั้นตอนการด าเนินการศึกษา 11 3 กรอบความคิดของการด าเนินการศึกษา 12

    1

    ตอนที่ 1

    บทน ำ

    1. ควำมเป็นมำและควำมส ำคัญ

    พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 หมวด 6 กล่าวถึงการมีระบบประกันคุณภาพการศึกษาว่าประกอบด้วย ระบบการประกันคุณภาพภายใน และระบบการประกันคุณภาพภายนอก ให้ถือว่าการประกันคุณภาพภายในเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษาที่ต้องด าเนินการอย่างต่อเนื่อง ให้มีการจัดท ารายงานประจ าปีเสนอต่อหน่วยงาน ต้นสังกัด หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และเปิดเผยต่อสาธารณชน เพื่อน าไปสู่การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาและเพื่อรองรับการประกันคุณภาพภายนอก ในกรณีที่ผลการประเมินภายนอกของสถานศึกษาใดไม่ได้ตามมาตรฐานที่ก าหนด ให้ส านักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศกึษา (สมศ.) จัดท าขอ้เสนอแนะการปรับปรุงแก้ไขต่อหน่วยงานต้นสังกัด เพื่อให้สถานศึกษานั้นปรับปรุงแก้ไขภายในระยะเวลาที่ก าหนด หากมิได้ด าเนินการดังกล่าวให้ส านักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษารายงานต่อคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐานหรอืคณะกรรมการการอุดมศกึษาเพื่อด าเนนิการให้มีการปรับปรุงแก้ไข

    การประกันคุณภาพภายใน (Internal Quality Assurance : IQAas) จึงเป็นกลไกของการสร้างความมั่นใจ (Assure) ให้แก่ผู้รับบริการทั้งผู้เรียน ผู้ปกครอง ชุมชนและสังคมว่าสถานศึกษานั้นสามารถจัดการศึกษาให้มีคุณภาพได้ตามมาตรฐานที่ก าหนด โดยด าเนินการตามหลักการที่ส าคัญ 3 ประการคือ การกระจายอ านาจ (Decentralization) การมีส่วนร่วม (Participation) และการตรวจสอบได้ (Accountability) นอกจากนี้ การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา มีการด าเนินงานที่สัมพันธ์กัน 3 กระบวนการ คือ การประเมินคุณภาพ (Quality Assessment : QA) การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา (Quality Audit : QA) และการควบคุมคุณภาพ (Quality Control : QC)

    การประเมินภายในจึงเป็นหน้าที่ความรับผิดชอบที่สถานศึกษาต้องด าเนินการภายใต้บทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 มาตรา 5 วรรคหนึ่ง แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 และมาตรา 47 วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการได้ออกกฎกระทรวง ว่าด้วยการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561 ซึ่งก าหนดให้สถานศกึษาประเมินตนเองเป็นประจ าทุกปี

  • 3

    3. ขอบเขตของกำรศกึษำ

    1. ประชากร การศึกษาได้ก าหนดเก็บรวบรวมข้อมูลจากเอกสารรายงานผลการประเมินตนเอง

    ของสถานศึกษาในสังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายะลา เขต 1 ปีการศึกษา 2560 รวมจ านวนทั้งสิน้ 111 เล่ม ซึ่งเป็นประชากร

    2. เนือ้หา การศกึษาก าหนดเนื้อหาส าหรับการสังเคราะหไ์ว้ 2 ประเด็น คือ 1) ผลการประเมินแต่ละมาตรฐานการศกึษาขั้นพื้นฐาน 2) สภาพการด าเนินการเพื่อยกระดับแต่ละมาตรฐานการศกึษาขั้นพื้นฐาน

    3. ระยะเวลาด าเนินการ 3 เดือน (เมษายน-มิถุนายน 2561)

    4. นิยามศัพท์เฉพาะ 1) การสังเคราะห์ หมายถึง การวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) ซึ่งบรรยาย

    สรุปเชิงเนือ้หาเกี่ยวกับประเด็นที่ค้นพบจากเอกสารการประเมนิตนเองของสถานศกึษา

    2) การประเมินตนเอง หมายถึง การตรวจสอบประเมินภายใน (Internal Quality Audit) ของสถานศึกษา ซึ่งด าเนินการตามกฎกระทรวง ว่าด้วยการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 ลงวันที่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561

    3) มาตรฐานการศกึษาขั้นพื้นฐาน หมายถึง มาตรฐานการศึกษาตามประกาศของกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง ให้ใชม้าตรฐานการศกึษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ลงวันที่ 11 ตุลาคม พ.ศ.2559 มีจ านวน 4 มาตรฐาน คอื มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรยีน

    1.1 ผลสัมฤทธิท์างวิชาการของผู้เรยีน 1.2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผูเ้รียน

    มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการของผู้บริหารสถานศกึษา มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรยีนการสอนที่เน้นผู้เรยีนเป็นส าคัญ มาตรฐานที่ 4 ระบบการประกันคุณภาพภายในที่มีประสทิธิผล

    4) สถานศึกษา หมายถึง สถานศึกษาในสังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายะลา เขต 1 ประจ าปีการศึกษา 2560 จ านวน 111 โรงเรียน

    2

    การประเมนิตนเอง (Self-Assessment) อาจเรียกว่า การตรวจประเมินภายใน (Internal Quality Audit: IQA) เป็นการประเมินว่าผลงานหรือการปฏิบัติงานมีคุณสมบัติได้ตามเกณฑ์และมาตรฐานที่ก าหนดหรอืไม่ มีการอธิบายจุดแข็งหรือจุดอ่อนส าหรับปรับปรุงการปฏิบัติงาน มักด าเนินการระหว่าการท างาน (Formative Assessment) มากกว่าการประเมินหลังเสร็จสิ้นการท างานที่เป็นการประเมนิรวบยอด (Summative Assessment)

    การตรวจประเมินภายในเป็นภารกิจของบุคลากรทุกคน ต้องมีผู้บริหารสถานศึกษาเป็นผู้น า มีการเตรียมความพร้อม มีการจัดตั้งทีมงาน มีแบบตรวจสอบ มีการตรวจสอบ และมีการสรุปว่าการท ากิจกรรมต่างๆ ของสถานศึกษานั้นมีประสิทธิภาพ และสอดคล้องกับมาตรฐานการศกึษาหรอืไม่ มีจุดบกพร่องในเรื่องใด การตรวจสอบนีเ้ป็นไปอย่างอิสระ โปร่งใส เป็นกัลยาณมิตรที่มคีวามจรงิใจต่อการวิพากษ์วจิารณ์ใหค้ าแนะน า

    เมื่อตรวจสอบประเมินเสร็จสิ้นสถานศึกษาต้องจัดท าและส่งรายงานผลการประเมินตนเองให้แก่หน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานที่ก ากับดูแลสถานศึกษาเป็นประจ าทุกปี เพื่อจัดส่งให้ส านักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) ส าหรับใช้เป็นข้อมูลส าหรับการประเมนิคุณภาพภายนอก

    จึงนับได้ว่าการตรวจประเมินภายในเป็นกระบวนการส าคัญของการประกันคุณภาพการศกึษา หรอืการพัฒนาคุณภาพการศกึษา และมีความจ าเป็นอย่างยิ่งที่ต้องก าหนดให้มีการด าเนนิการในสถานศกึษา เพื่อให้ได้ข้อมูลที่แท้จริงส าหรับการปรับปรุงแก้ไขข้อบกพร่องต่อไป

    ดังนั้น รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาที่ส่งให้ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายะลา เขต 1 เป็นประจ าทุกปีจึงเป็นแหล่างข้อมูลส าคัญที่น่าสนใจ เมื่อน ามาสังเคราะห์การด าเนินงานประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาแล้ว ข้อสรุปน่าจะเป็นองค์ความรู้อันเป็นประโยชน์ส าหรับหน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานที่ก ากับดูแลสถานศึกษาต่างๆ เพื่อน าไปใช้ส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาระบบประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศกึษาให้เข้มแข็งตอ่ไป

    2. วัตถุประสงค์

    การสังเคราะหผ์ลการประเมินตนเองของสถานศกึษามีวัตถุประสงค์ 2 ประการดังนี้

    1) เพื่อศกึษาระดับผลการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศกึษาขั้นพื้นฐานเพื่อ การประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา

    2) เพื่อศกึษาการพัฒนามาตรฐานการศกึษาขั้นพื้นฐานเพื่อการประกันคุณภาพ ภายในของสถานศึกษา

  • 3

    3. ขอบเขตของกำรศกึษำ

    1. ประชากร การศึกษาได้ก าหนดเก็บรวบรวมข้อมูลจากเอกสารรายงานผลการประเมินตนเอง

    ของสถานศึกษาในสังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายะลา เขต 1 ปีการศึกษา 2560 รวมจ านวนทั้งสิน้ 111 เล่ม ซึ่งเป็นประชากร

    2. เนือ้หา การศกึษาก าหนดเนื้อหาส าหรับการสังเคราะหไ์ว้ 2 ประเด็น คือ 1) ผลการประเมินแต่ละมาตรฐานการศกึษาขั้นพื้นฐาน 2) สภาพการด าเนินการเพื่อยกระดับแต่ละมาตรฐานการศกึษาขั้นพื้นฐาน

    3. ระยะเวลาด าเนินการ 3 เดือน (เมษายน-มิถุนายน 2561)

    4. นิยามศัพท์เฉพาะ 1) การสังเคราะห์ หมายถึง การวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) ซึ่งบรรยาย

    สรุปเชิงเนือ้หาเกี่ยวกับประเด็นที่ค้นพบจากเอกสารการประเมนิตนเองของสถานศกึษา

    2) การประเมินตนเอง หมายถึง การตรวจสอบประเมินภายใน (Internal Quality Audit) ของสถานศึกษา ซึ่งด าเนินการตามกฎกระทรวง ว่าด้วยการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 ลงวันที่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561

    3) มาตรฐานการศกึษาขั้นพื้นฐาน หมายถึง มาตรฐานการศึกษาตามประกาศของกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง ให้ใชม้าตรฐานการศกึษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ลงวันที่ 11 ตุลาคม พ.ศ.2559 มีจ านวน 4 มาตรฐาน คอื มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรยีน

    1.1 ผลสัมฤทธิท์างวิชาการของผู้เรยีน 1.2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผูเ้รียน

    มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการของผู้บริหารสถานศกึษา มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรยีนการสอนที่เน้นผู้เรยีนเป็นส าคัญ มาตรฐานที่ 4 ระบบการประกันคุณภาพภายในที่มีประสทิธิผล

    4) สถานศึกษา หมายถึง สถานศึกษาในสังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายะลา เขต 1 ประจ าปีการศึกษา 2560 จ านวน 111 โรงเรียน

  • 5

    ตอนที่ 2

    หลักการและแนวคิด ที่เกี่ยวข้องกับการประเมินภายในของสถานศึกษา

    1. ความส าคัญของการประเมินภายใน

    “ ดีชั่วเพราะตัวท า สูงต่ าอยู่ที่ท าตัว ” เป็นค ำกล่ำวสะท้อนกำรประพฤติ กำรปฏิบัติของคนที่เป็นเหตุให้คนนั้นเป็นคนดีหรือคนช่ัว กำรที่จะเป็นคนดีหรือคนช่ัวมำกน้อยขึ้นอยู่กับกำรกระท ำนัน้ถูกต้องและเหมำะสมมำกน้อยเพียงใด

    “จงเตือนตนของตนให้พ้นผิด ตนเตือนจิตตนได้ใครจะเหมือน ตนเตือนตนไม่ได้ใครจะเตือน ตนแชเชือนใครจะช่วยให้ป่วยการ”

    กำรพิจำรณำกำรกระท ำของตนเองจึงเป็นกำรประเมินภำยใน ที่เป็นกำรตรวจสอบว่ำได้ปฏิบัตถิูกต้องหรอืเหมำะสมมำกน้อยเพียงใด

    กำรประเมนิภำยในเป็นกำรตรวจสอบและค้นหำข้อมูลข้อดีหรือข้อบกพร่องของตนเอง ซึ่งก่อใหเ้กิดแรงกระตุ้น 4 ประกำร ดังนี้

    1) ควำมมำนะพยำยำม 2) กำรยอมรับผลกำรกระท ำของตนเอง 3) กำรเปลี่ยนแปลง แก้ไข และกำรพัฒนำ 4) เต็มใจพัฒนำตนเองทีส่่งผลตอ่กำรปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของตนเอง

    กำรพัฒนำตนเองจำกกำรประเมินภำยในเป็นกระบวนกำรสร้ำงให้เห็นคุณค่ำตนเอง (Self-Esteem) ตำมขั้นตอนดังนี้

    1) กำรทบทวนไตรต่รองกำรปฏิบัติงำน (Revise) 2) กำรสะท้อนควำมคิด (Reflection) 3) กำรน ำไปสู่กำรพัฒนำ (Improvement) ภำระหน้ำที่ของตนอย่ำงตอ่เนื่อง

    สถำนศึกษำจึงเป็นองค์กรที่ต้องรู้จักประเมินภำยใน เพื่อเปลี่ยนกำรด ำเนินงำน ตำมบทบำทและภำรกิจให้ถูกต้องและเหมำะสมอันก่อใหเ้กิดกำรพัฒนำคุณภำพกำรศกึษำ

    4

    4. ประโยชน์ที่ไดร้ับ

    1) ผลการศึกษาท าให้ทราบข้อมูลเกี่ยวกับระดับคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา ขั้นพื้นฐานของสถานศึกษา

    2) ผลการศึกษาท าให้ทราบข้อมูลเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมต่างๆ เพื่อพัฒนาคุณภาพแตล่ะมาตรฐานการศกึษาขั้นพื้นฐานของสถานศึกษา

    3) เป็นแนวทางในการพัฒนาคุณภาพมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานส าหรับสถานศกึษา และหนว่ยงานตน้สังกัดหรอืหนว่ยงานที่ก ากับดูแลสถานศกึษา

    4) ผลการศึกษาเป็นแนวทางในการวิจัยเกี่ยวกับการพัฒนาคุณภาพมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานของผู้วิจัยทั่วไป สถานศึกษา และหน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานที่ก ากับดูแลสถานศกึษา

  • 5

    ตอนที่ 2

    หลักการและแนวคิด ที่เกี่ยวข้องกับการประเมินภายในของสถานศึกษา

    1. ความส าคัญของการประเมินภายใน

    “ ดีชั่วเพราะตัวท า สูงต่ าอยู่ที่ท าตัว ” เป็นค ำกล่ำวสะท้อนกำรประพฤติ กำรปฏิบัติของคนที่เป็นเหตุให้คนนั้นเป็นคนดีหรือคนช่ัว กำรที่จะเป็นคนดีหรือคนช่ัวมำกน้อยขึ้นอยู่กับกำรกระท ำนัน้ถูกต้องและเหมำะสมมำกน้อยเพียงใด

    “จงเตือนตนของตนให้พ้นผิด ตนเตือนจิตตนได้ใครจะเหมือน ตนเตือนตนไม่ได้ใครจะเตือน ตนแชเชือนใครจะช่วยให้ป่วยการ”

    กำรพิจำรณำกำรกระท ำของตนเองจึงเป็นกำรประเมินภำยใน ที่เป็นกำรตรวจสอบว่ำได้ปฏิบัตถิูกต้องหรอืเหมำะสมมำกน้อยเพียงใด

    กำรประเมนิภำยในเป็นกำรตรวจสอบและค้นหำข้อมูลข้อดีหรือข้อบกพร่องของตนเอง ซึ่งก่อใหเ้กิดแรงกระตุ้น 4 ประกำร ดังนี้

    1) ควำมมำนะพยำยำม 2) กำรยอมรับผลกำรกระท ำของตนเอง 3) กำรเปลี่ยนแปลง แก้ไข และกำรพัฒนำ 4) เต็มใจพัฒนำตนเองทีส่่งผลตอ่กำรปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของตนเอง

    กำรพัฒนำตนเองจำกกำรประเมินภำยในเป็นกระบวนกำรสร้ำงให้เห็นคุณค่ำตนเอง (Self-Esteem) ตำมขั้นตอนดังนี้

    1) กำรทบทวนไตรต่รองกำรปฏิบัติงำน (Revise) 2) กำรสะท้อนควำมคิด (Reflection) 3) กำรน ำไปสู่กำรพัฒนำ (Improvement) ภำระหน้ำที่ของตนอย่ำงตอ่เนื่อง

    สถำนศึกษำจึงเป็นองค์กรที่ต้องรู้จักประเมินภำยใน เพื่อเปลี่ยนกำรด ำเนินงำน ตำมบทบำทและภำรกิจให้ถูกต้องและเหมำะสมอันก่อใหเ้กิดกำรพัฒนำคุณภำพกำรศกึษำ

  • 7 ผูป้กครอง ชุมชนและสังคมว่ำสถำนศกึษำสำมำรถจัดกำรศกึษำให้มคีุณภำพได้ตำมมำตรฐำนที่ก ำหนด

    กำรด ำเนนิงำนประกันคุณภำพภำยในของสถำนศึกษำยึดหลักกำร 3 ประกำร ดังนี้ 1. การกระจายอ านาจ (Decentralization) เพื่อให้สถำนศึกษำมีอิสระ คล่องตัว และ

    สำมำรถตัดสินใจด ำเนินงำนกำรบริหำรจัดกำรด้ำนต่ำงๆ เพื่อให้ผู้สอนจัดกำรเรียนกำรสอนให้ผูเ้รียนบรรลุผลตำมจุดหมำยของหลักสูตรและสนองควำมตอ้งกำรของชุมชนและสังคม

    2. การมีส่วนร่วม (Participation) เพื่อให้ทุกภำคส่วนเข้ำมำมีส่วนร่วมในกำรพัฒนำคุณภำพผูเ้รียน โดยร่วมกันคิด ร่วมตัดสินใจ ร่วมสนับสนุน สง่เสริม และติดตำมตรวจสอบกำรด ำเนนิงำน ตลอดจนรว่มภำคภูมใิจในควำมส ำเร็จของสถำนศึกษำ

    3. การตรวจสอบได้ (Accountability) เพื่อแสดงถึงกำรบรรลุเป้ำหมำย (Goals) ซึ่ง บ่งชี้ให้เห็นว่ำสถำนศึกษำมีมำตรฐำนตำมที่ก ำหนดไว้ ผู้รับบริกำรและสังคมจึงต้องได้รับรู้ ติดตำมตรวจสอบได้ ร่วมทั้งมีกำรประชำสัมพันธ์ให้ทุกฝ่ำยได้รับรู้ เพื่อเป็นสัญญำประชำคมให้ทุกฝ่ำยที่เกี่ยวข้องมีทิศทำงกำรท ำงำนร่วมกันสู่เป้ำหมำยเดียวกัน

    กำรประกันคุณภำพภำยในสถำนศึกษำมีกำรด ำเนินงำนที่สัมพันธ์กัน 3 กระบวนกำร ซึงแสดงดว้ยภำพประกอบได้ดังนี้

    ภาพประกอบที่ 1 แสดงควำมสัมพันธ์ขององค์ประกอบในกำรประกันคุณภำพภำยใน ของสถำนศึกษำ 1. การประเมินภายใน เป็นกำรประเมินตนเอง เพื่อตรวจสอบคุณภำพตำมมำตรฐำน

    กำรศึกษำที่สถำนศึกษำก ำหนด ซึ่งด ำเนินกำรโดยสถำนศึกษำ หรือหน่วยงำนต้นสังกัดหรือ

    การประเมิน คุณภาพภายใน

    การติดตาม ตรวจสอบคณุภาพ

    การศึกษา

    การพัฒนาคุณภาพการศึกษา

    การประกันคุณภาพภายใน

    6

    2. การประเมินภายในกับการประกันคุณภาพการศึกษา

    รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงศึกษำธิกำรได้ออกกฎกระทรวง ว่ำด้วยกำรประกันคุณภำพกำรศึกษำ พ.ศ. 2561 เมื่อวันที่ 20 กุมภำพันธ์ พ.ศ. 2561 เพื่อให้เป็นไปตำมบทบัญญัติแห่งพระรำชบัญญัติกำรศึกษำแห่งชำติ พ.ศ. 2542 มำตรำ ๕ วรรคหนึ่ง แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 และมำตรำ 47 วรรคสอง แห่งพระรำชบัญญัติกำรศึกษำแห่งชำติ พ.ศ. 2542 ได้กล่ำวถึงกำรประเมนิภำยในของกำรประกันคุณภำพกำรศกึษำไว้ มีสำระส ำคัญดังนี้

    1) ให้สถำนศึกษำประเมินตนเอง จัดท ำและส่งรำยงำนผลกำรประเมินตนเองให้แก่หนว่ยงำนตน้สังกัดหรอืหนว่ยงำนที่ก ำกับดูแลสถำนศกึษำเป็นประจ ำทุกปี

    2) เมื่อหนว่ยงำนตน้สังกัดหรือหน่วยงำนที่ก ำกับดูแลสถำนศึกษำได้รับก็จัดส่งรำยงำนดังกล่ำวพร้อมกับประเด็นต่ำง ๆ ที่ต้องกำรให้มีกำรประเมินผลและกำรติดตำมตรวจสอบ ซึ่งรวบรวมได้จำกหน่วยงำนที่เกี่ยวข้องหรือจำกผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับสถำนศึกษำแห่งนั้นให้แก่ส ำนักงำนรับรองมำตรฐำนและประเมินคุณภำพกำรศึกษำ (องค์กำรมหำชน) เพื่อใช้เป็นข้อมูลและแนวทำงในกำรประเมนิคุณภำพภำยนอก

    3) เมื่อส ำนักงำนรับรองมำตรฐำนและประเมินคุณภำพกำรศึกษำ (องค์กำรมหำชน) ด ำเนินกำรประเมินผลและติดตำมตรวจสอบคุณภำพและมำตรฐำนกำรศึกษำของสถำนศึกษำ และจัดส่งรำยงำนผลกำรประเมินและกำรติดตำมตรวจสอบดังกล่ำว พร้อมข้อเสนอแนะให้แก่สถำนศึกษำและหน่วยงำนต้นสังกัดหรือหน่วยงำนที่ก ำกับดูแลสถำนศึกษำนั้นๆเพื่อให้สถำนศกึษำใช้เป็นแนวทำงในกำรปรับปรุงและพัฒนำคุณภำพกำรศกึษำ

    4) หลังจำกนั้นให้หนว่ยงำนตน้สังกัดหรือหน่วยงำนที่ก ำกับดูแลสถำนศึกษำนั้นติดตำมผลกำรด ำเนนิกำรปรับปรุงและพัฒนำคุณภำพกำรศกึษำของสถำนศึกษำตำมข้อเสนอแนะ เพื่อน ำไปสู่กำรพัฒนำคุณภำพและมำตรฐำนกำรศกึษำของสถำนศึกษำต่อไป

    เห็นได้ว่ำกำรประเมินภำยในของสถำนศึกษำตำมกฎกระทรวงดังกล่ำวเป็นขั้นตอนที่น ำไปสู่กำรประเมินคุณภำพภำยนอกจำกส ำนักงำนรับรองมำตรฐำนและประเมินคุณภำพกำรศึกษำ (องค์กำรมหำชน) ซึ่งน ำไปสู่กำรร่วมกันปรับปรุงและพัฒนำคุณภำพกำรศึกษำ เพื่อให้กำรด ำเนินงำนประกันคุณภำพกำรศึกษำมีประสิทธิภำพและเกิดประสิทธิผล

    3. การประกันคุณภาพภายในของสถานศกึษา

    กำรประกันคุณภำพภำยใน (Internal Quality Assurance) เป็นกลไกส ำคัญในกำรพัฒนำคุณภำพกำรศึกษำ เป็นกำรสร้างความมั่นใจ (Assure) ให้แก่ผู้รับบริกำร ทั้งผู้เรียน

  • 7 ผูป้กครอง ชุมชนและสังคมว่ำสถำนศกึษำสำมำรถจัดกำรศกึษำให้มคีุณภำพได้ตำมมำตรฐำนที่ก ำหนด

    กำรด ำเนนิงำนประกันคุณภำพภำยในของสถำนศึกษำยึดหลักกำร 3 ประกำร ดังนี้ 1. การกระจายอ านาจ (Decentralization) เพื่อให้สถำนศึกษำมีอิสระ คล่องตัว และ

    สำมำรถตัดสินใจด ำเนินงำนกำรบริหำรจัดกำรด้ำนต่ำงๆ เพื่อให้ผู้สอนจัดกำรเรียนกำรสอนให้ผูเ้รียนบรรลุผลตำมจุดหมำยของหลักสูตรและสนองควำมตอ้งกำรของชุมชนและสังคม

    2. การมีส่วนร่วม (Participation) เพื่อให้ทุกภำคส่วนเข้ำมำมีส่วนร่วมในกำรพัฒนำคุณภำพผูเ้รียน โดยร่วมกันคิด ร่วมตัดสินใจ ร่วมสนับสนุน สง่เสริม และติดตำมตรวจสอบกำรด ำเนนิงำน ตลอดจนรว่มภำคภูมใิจในควำมส ำเร็จของสถำนศึกษำ

    3. การตรวจสอบได้ (Accountability) เพื่อแสดงถึงกำรบรรลุเป้ำหมำย (Goals) ซึ่ง บ่งชี้ให้เห็นว่ำสถำนศึกษำมีมำตรฐำนตำมที่ก ำหนดไว้ ผู้รับบริกำรและสังคมจึงต้องได้รับรู้ ติดตำมตรวจสอบได้ ร่วมทั้งมีกำรประชำสัมพันธ์ให้ทุกฝ่ำยได้รับรู้ เพื่อเป็นสัญญำประชำคมให้ทุกฝ่ำยที่เกี่ยวข้องมีทิศทำงกำรท ำงำนร่วมกันสู่เป้ำหมำยเดียวกัน

    กำรประกันคุณภำพภำยในสถำนศึกษำมีกำรด ำเนินงำนที่สัมพันธ์กัน 3 กระบวนกำร ซึงแสดงดว้ยภำพประกอบได้ดังนี้

    ภาพประกอบที่ 1 แสดงควำมสัมพันธ์ขององค์ประกอบในกำรประกันคุณภำพภำยใน ของสถำนศึกษำ 1. การประเมินภายใน เป็นกำรประเมินตนเอง เพื่อตรวจสอบคุณภำพตำมมำตรฐำน

    กำรศึกษำที่สถำนศึกษำก ำหนด ซึ่งด ำเนินกำรโดยสถำนศึกษำ หรือหน่วยงำนต้นสังกัดหรือ

    การประเมิน คุณภาพภายใน

    การติดตาม ตรวจสอบคณุภาพ

    การศึกษา

    การพัฒนาคุณภาพการศึกษา

    การประกันคุณภาพภายใน

  • 9

    4) ลักษณะการตรวจประเมินที่ดี 4.1) ผูป้ระเมินเข้ำใจวัตถุประสงค์กำรประเมิน 4.2) มีกำรวำงแผนและเตรียมตัวกำรประเมนิที่ด ี 4.3) มีกำรแจ้งก ำหนดกำรประเมินไว้ล่วงหน้ำก่อนประเมิน 4.4) ผูป้ระเมินเป็นกลำงและเป็นอิสระ 4.5) ผูป้ระเมินมไีหวพริบและวำงตัวเหมำะสม

    5) มารยาทของผู้ตรวจประเมิน 5.1) ปฏิบัติหน้ำที่อย่ำงบริสุทธิใจ 5.2) ให้เกียติผูร้ับกำรประเมิน 5.3) สร้ำงบรรยำกำศเป็นกันเองและไม่รู้สกึว่ำก ำลังถูกจับผดิ 5.4) ฟังค ำอธิบำยของผู้รับกำรประเมินทีพ่ิสูจนด์้วยหลักฐำน 5.5) ตรงต่อเวลำตำมนัดหมำยและรักษำค ำพูด

    6) ขัน้ตอนการด าเนินการ กำรประเมินตนเอง (Self-Assessment) เป็นกำรประเมินว่ำผลงำนหรือกำรปฏิบัติงำน

    มีคุณสมบัติได้ตำมเกณฑ์และมำตรฐำนที่ก ำหนดหรือไม่ ที่มีกำรอธิบำยจุดแข็งหรือจุดอ่อนส ำหรับปรับปรุงกำรปฏิบัติงำน มักด ำเนินกำรประเมินระหว่ำงกำรท ำงำน (Formative Assessment) มำกกว่ำกำรประเมินรวบยอด (Summative Assessment) หลังกำรท ำงำน มีขัน้ตอนด ำเนินกำรดังนี ้

    6.1) แตง่ตัง้คณะกรรมกำรสร้ำงเครื่องมอืเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลทุกมำตรฐำนและทุกตัวบ่งชี ้

    6.2) แตง่ตัง้คณะกรรมกำรประเมินตนเอง ประกอบด้วย ผู้บริหำรสถำนศึกษำเป็นประธำน บุคลำกรจำกทุกฝ่ำยของโรงเรียนเป็นกรรมกำร และเลือกบุคลำกรผู้หนึ่งเป็นกรรมกำรและเลขำนุกำร

    6.3) อบรม/ท ำควำมเข้ำใจกำรปฏิบัติหน้ำที่ที่เกี่ยวกับประเมินตนเอง เช่น วิธีกำรประเมิน กำรใชเ้ครื่องมือที่เก็บรวบรวมข้อมูล ตลอดจนกำรสรุปผลกำรประเมนิ

    6.4) วำงแผนและก ำหนดระยะเวลำในกำรประเมินตนเองตลอดปี 6.5) จัดเตรียมเอกสำร อุปกรณ์ และเครื่องมือประเมินตำมที่ก ำหนด และควรแจ้ง

    ผูร้ับกำรประเมินล่วงหน้ำอย่ำงนอ้ย 2 สัปดำห์ 6.6) ด ำเนินกำรประเมิน โดยตรวจสอบข้อเท็จจริงและบันทึกลงในเครื่องมือที่

    ก ำหนดขึ้น

    8 หน่วยงำนที่ก ำกับดูแลสถำนศึกษำนั้น ๆ เพื่อน ำข้อมูลที่ได้ไปใช้วำงแผนพัฒนำกำรท ำงำนของสถำนศกึษำ

    2. การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา เป็นกำรติดตำมกำรด ำเนินงำนว่ำเป็นไปตำมที่ก ำหนดไว้หรือไม่ เพื่อตรวจสอบความก้าวหน้าในกำรด ำเนินงำนตำมระบบประกันคุณภำพภำยในสถำนศกึษำ

    3. การพัฒนาคุณภาพการศึกษา เป็นกำรด ำเนินงำนเพื่อพัฒนำกำรท ำงำน ทุกคนในสถำนศกึษำต้อง “มจีติส านึก” และ “รับผิดชอบ” ร่วมกัน ต้องบริหำรจัดกำรและจัดกำรเรียนกำรสอนใหม้ีประสิทธิภำพและเกิดประสิทธิผลที่ด ีเพื่อน ำไปสู่กำรพัฒนำมำตรฐำนกำรศกึษำ

    3. การประเมินภายในสถานศกึษา

    กำรประเมินภำยใน (Internal Evaluation) เป็นกระบวนกำรประเมินกำรด ำเนินงำน เพื่อให้ได้ข้อมูลมำใช้ส ำหรับปรับปรุงและพัฒนำกำรด ำเนินงำนให้บรรลุเป้ำหมำยที่ก ำหนดไว้ และให้ถือว่ำเป็นกำรตรวจสอบกำรท ำงำนของตนเอง (Self-Assessment) และถือว่ำเป็นกิจกรรมหนึ่งที่ต้องปฏิบัติอย่ำงตอ่เนื่องของสถำนศึกษำ

    1) วัตถุประสงค์การประเมินภายในสถานศึกษา 1.1) เพื่อตรวจสอบกำรปฏิบัติงำนตำมมำตรฐำนกำรศกึษำ 1.2) เพื่อรำยงำนผลกำรพัฒนำคุณภำพต่อสำธำรณชนและหนว่ยงำนที่เกี่ยวข้อง 1.3) เพื่อเตรียมควำมพร้อมรับกำรประเมินภำยนอกจำกองค์กรภำยนอก

    2) คุณสมบัติที่ดีของผู้ประเมินภายในสถานศึกษา 1.1) มีทักษะในกำรพูด กำรเขียน และสื่อสำรกับผูอ้ื่นได้ดี 1.2) มีควำมเข้ำใจเกี่ยวกับมำตรฐำนคุณภำพกำรศกึษำ 1.3) มีควำมรูเ้กี่ยวกับกำรตรวจสอบและกำรประเมนิภำยในเป็นอย่ำงดี 1.4) มมีนุษย์สัมพันธ์ที่ดี มีหลักกำร มีเหตุผล

    3) ปัจจัยความส าเร็จของการประเมินภายในสถานศึกษา 3.1) ควำมเป็นผูน้ ำฝำ่ยบริหำรของสถำนศึกษำ 3.2) ควำมสมบูรณ์ของหลักฐำนต่ำงๆ 3.3) ควำมเป็นอิสระของผูป้ระเมิน 3.4) ควำมรว่มมอืของสถำนศกึษำ 3.5) ควำมถูกต้อง ชัดเจนของกำรรำยงำนผลกำรประเมิน

  • 9

    4) ลักษณะการตรวจประเมินที่ดี 4.1) ผูป้ระเมินเข้ำใจวัตถุประสงค์กำรประเมิน 4.2) มีกำรวำงแผนและเตรียมตัวกำรประเมนิที่ด ี 4.3) มีกำรแจ้งก ำหนดกำรประเมินไว้ล่วงหน้ำก่อนประเมิน 4.4) ผูป้ระเมินเป็นกลำงและเป็นอิสระ 4.5) ผูป้ระเมินมไีหวพริบและวำงตัวเหมำะสม

    5) มารยาทของผู้ตรวจประเมิน 5.1) ปฏิบัติหน้ำที่อย่ำงบริสุทธิใจ 5.2) ให้เกียติผูร้ับกำรประเมิน 5.3) สร้ำงบรรยำกำศเป็นกันเองและไม่รู้สกึว่ำก ำลังถูกจับผดิ 5.4) ฟังค ำอธิบำยของผู้รับกำรประเมินทีพ่ิสูจนด์้วยหลักฐำน 5.5) ตรงต่อเวลำตำมนัดหมำยและรักษำค ำพูด

    6) ขัน้ตอนการด าเนินการ กำรประเมินตนเอง (Self-Assessment) เป็นกำรประเมินว่ำผลงำนหรือกำรปฏิบัติงำน

    มีคุณสมบัติได้ตำมเกณฑ์และมำตรฐำนที่ก ำหนดหรือไม่ ที่มีกำรอธิบำยจุดแข็งหรือจุดอ่อนส ำหรับปรับปรุงกำรปฏิบัติงำน มักด ำเนินกำรประเมินระหว่ำงกำรท ำงำน (Formative Assessment) มำกกว่ำกำรประเมินรวบยอด (Summative Assessment) หลังกำรท ำงำน มีขัน้ตอนด ำเนินกำรดังนี ้

    6.1) แตง่ตัง้คณะกรรมกำรสร้ำงเครื่องมอืเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลทุกมำตรฐำนและทุกตัวบ่งชี ้

    6.2) แตง่ตัง้คณะกรรมกำรประเมินตนเอง ประกอบด้วย ผู้บริหำรสถำนศึกษำเป็นประธำน บุคลำกรจำกทุกฝ่ำยของโรงเรียนเป็นกรรมกำร และเลือกบุคลำกรผู้หนึ่งเป็นกรรมกำรและเลขำนุกำร

    6.3) อบรม/ท ำควำมเข้ำใจกำรปฏิบัติหน้ำที่ที่เกี่ยวกับประเมินตนเอง เช่น วิธีกำรประเมิน กำรใชเ้ครื่องมือที่เก็บรวบรวมข้อมูล ตลอดจนกำรสรุปผลกำรประเมนิ

    6.4) วำงแผนและก ำหนดระยะเวลำในกำรประเมินตนเองตลอดปี 6.5) จัดเตรียมเอกสำร อุปกรณ์ และเครื่องมือประเมินตำมที่ก ำหนด และควรแจ้ง

    ผูร้ับกำรประเมินล่วงหน้ำอย่ำงนอ้ย 2 สัปดำห์ 6.6) ด ำเนินกำรประเมิน โดยตรวจสอบข้อเท็จจริงและบันทึกลงในเครื่องมือที่

    ก ำหนดขึ้น

  • 11

    ตอนที่ 3

    การด าเนินการศึกษา

    การศกึษาเป็นการสังเคราะหผ์ลการประเมินตนเองของสถานศกึษา สังกัดส านักงานเขตพืน้ที่การศกึษาประถมศกึษายะลา เขต 1 มีขัน้ตอนด าเนินการตามล าดับที่แสดงด้วยภาพประกอบได้ ดังนี้

    1. การก าหนดหัวข้อปัญหา

    2. การก าหนดแหล่งขอ้มูล

    3. การวิเคราะหแ์ละแปลความหมายข้อมูล

    4. การน าเสนอ

    ภาพประกอบที่ 2 แสดงขัน้ตอนการด าเนินการศกึษา

    1. การก าหนดหัวข้อปัญหา

    การศกึษาได้ก าหนดประเด็นปัญหาและนิยามของปัญหาที่ตอ้งการหาค าตอบเกี่ยวกับการประเมินตนเองเพื่อการประกันคุณภาพภายในสถานศกึษา ดังนี้

    1) ค าถามหลัก มีดังนี้ สถานศกึษามีการพัฒนามาตรฐานการศกึษาขั้นพื้นฐานเป็นอย่างไร

    2) ค าถามรอง มีดังนี้ 2.1) สถานศกึษามีมาตรฐานการศึกษาขั้นพืน้ฐานระดับใด 2.2) กิจกรรมพัฒนามาตรฐานการศกึษาขั้นพื้นฐานของสถานศกึษาอย่างไร

    การศกึษาหลักการและแนวคิดที่เกี่ยวข้องสามารถก าหนดเป็นแนวคิดส าหรับด าเนนิการสังเคราะหท์ี่แสดงดว้ยภาพประกอบได้ดังนี้

    10

    6.7) วิเครำะหแ์ละสรุปผลกำรประเมิน 6.8) เขียนรำยงำนผลกำรประเมินตนเอง 6.9) จัดส่งรำยงำนให้ผู้เกี่ยวข้อง หนว่ยงำนตน้สังกัด และสำธำรณชน

    7) เคร่ืองมือการประเมิน กำรประเมินตนเองของสถำนศึกษำนิยมใช้เครื่องมือ 6 ประเภท คือ มำตรส่วน

    ประมำณค่ำ (Rating Scale) แฟ้มผลงำน (Portfolios) แบบตรวจสอบรำยกำร (Checklist) อนุทิน (Journal) แบบสอบถำมปลำยเปิด (Open-end Questionnaire) และ กำรให้คะแนนแบบรูบริคส์ (Scoring Rubrics)

    กำรให้คะแนนแบบรูบริคส์ มีกำรก ำหนดเกณฑ์ส ำหรับกำรประเมิน ประกอบด้วย รำยกำรประเมินและระดับคุณภำพรำยกำรประเมิน ซึ่งอำจใช้เป็นเป้ำหมำยกำรปฏิบัติงำนได้อีกด้วย ผลกำรประเมินช่วยให้ผู้รับกำรประเมินรู้ข้อผิดพลำด มีจิตส ำนึกและควำมรับผิดชอบร่วมกันได้ด ี ข้อดอีีกประกำร คือ ใช้งำนได้ง่ำย อธิบำยเหตุผลได้ชัดเจน ตั้งเป้ำหมำยงำนที่ท ำได้ชัดเจน วิเครำะหง์ำนได้อย่ำงละเอียด แม่นย ำ ยืดหยุ่นได้

    กำรก ำหนดเกณฑ์กำรให้คะแนน (Scoring Rubrics) มี 2 แบบ คอื (1) กำรก ำหนดเกณฑ์โดยภำพรวม (Holistic Score) กำรประเมินผลงำนออกมำ

    เป็นระดับที่บอกผลตำมระดับกำรให้คะแนนเดียว เช่น กำรเล่ำนิทำน ผู้เรียนท ำได้ผลในระดับดีมำก พอใช้ หรอืต้องปรับปรุง เป็นต้น

    (2) กำรก ำหนดเกณฑ์โดยแบ่งเป็นประเด็นย่อย (Analytic Score) กำรประเมินจะแบ่งแต่ละประเด็นแสดงให้เห็นคุณภำพของผลงำนด้ำนต่ำงๆ เช่น กำรใช้จุดสร้ำงภำพ จะดูคุณภำพของงำนจำกควำมมีระเบียบ ควำมสะอำด ควำมประณีต สื่อสำรตรงประเด็น มีวัสดุตำมโจทย์ก ำหนด เป็นต้น

  • 11

    ตอนที่ 3

    การด าเนินการศึกษา

    การศกึษาเป็นการสังเคราะหผ์ลการประเมินตนเองของสถานศกึษา สังกัดส านักงานเขตพืน้ที่การศกึษาประถมศกึษายะลา เขต 1 มีขัน้ตอนด าเนินการตามล าดับที่แสดงด้วยภาพประกอบได้ ดังนี้

    1. การก าหนดหัวข้อปัญหา

    2. การก าหนดแหล่งขอ้มูล

    3. การวิเคราะหแ์ละแปลความหมายข้อมูล

    4. การน าเสนอ

    ภาพประกอบที่ 2 แสดงขัน้ตอนการด าเนินการศกึษา

    1. การก าหนดหัวข้อปัญหา

    การศกึษาได้ก าหนดประเด็นปัญหาและนิยามของปัญหาที่ตอ้งการหาค าตอบเกี่ยวกับการประเมินตนเองเพื่อการประกันคุณภาพภายในสถานศกึษา ดังนี้

    1) ค าถามหลัก มีดังนี้ สถานศกึษามีการพัฒนามาตรฐานการศกึษาขั้นพื้นฐานเป็นอย่างไร

    2) ค าถามรอง มีดังนี้ 2.1) สถานศกึษามีมาตรฐานการศึกษาขั้นพืน้ฐานระดับใด 2.2) กิจกรรมพัฒนามาตรฐานการศกึษาขั้นพื้นฐานของสถานศกึษาอย่างไร

    การศกึษาหลักการและแนวคิดที่เกี่ยวข้องสามารถก าหนดเป็นแนวคิดส าหรับด าเนนิการสังเคราะหท์ี่แสดงดว้ยภาพประกอบได้ดังนี้

  • 13

    โครงสรา้งของเอกสารรายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษามีหัวข้อดังนี้ (1) ปก (2) ค าน า (3) สารบัญ (4) ส่วนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐานของสถานศกึษา (5) ส่วนที่ 2 ผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศกึษา (6) ส่วนที่ 3 สรุปผลและข้อเสนอแนะจากการประเมินคุณภาพภายในของ

    สถานศกึษา (7) ส่วนที่ 4 ภาคผนวก

    3. การวิเคราะห์และแปลความหมายข้อมูล

    การศกึษาเป็นการสังเคราะหเ์ชงิคุณลักษณะ (Qualitative synthesis) ที่จัดกระท าข้อมูลในส่วนเนือ้หาสาระเฉพาะจากส่วนที่ 2 และ 3 ของเอกสารรายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึษา ซึ่งด าเนินการตามขั้นตอนดังนี้

    1) รวบรวมและลงรหัสเอกสารรายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึษา 2) สร้างฟอร์ม (Form) กรอกข้อมูลในโปรแกรม MS Excel 2007 3) คัดเลือก แต่งตั้ง และจัดประชุมปฏิบัติการคณะท างานเพื่อฝึกการบันทึกข้อมูล เมื่อ

    วันที่ 11-13 พฤษภาคม 2561 โดยด าเนินการ ดังนี้ (1) ฝกึอ่านเอกสารรายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึษา เพื่อวิเคราะห์

    เนือ้หา (Content Analysis) เป็นส่วนๆ ตามฟอร์มกรอกข้อมูล (2) ลงรหัสและบันทึกข้อมูลลงในฟอร์ม (3) ตรวจสอบความถูกต้องและครบถ้วนของขอ้มูล (4) วิเคราะห์ขอ้มูลโดยการแจงนับและจัดกลุ่มข้อความตามเนือ้หาที่เหมอืนกันและต่างกัน (5) ลงสรุปผลการวิเคราะหข์้อมูล โดยเขียนเรียบเรียงบรรยายปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นตามประเด็นปัญหาของการศกึษา

    12

    เอกสาร รายการผล การประเมนิ

    ภายใน ของสถานศกึษา

    การพจิารณา ระดับคุณภาพมาตรฐานการศึกษาขั้นพืน้ฐาน ของสถานศึกษา

    ผลการสังเคราะห์มาตรฐานการศกึษา ขั้นพื้นฐาน

    ของสถานศกึษา

    การพจิารณา จุดเหมอืน จุดต่าง

    กิจกรรมการพฒันามาตรฐานการศึกษา

    ขั้นพื้นฐาน ของสถานศึกษา

    ภาพประกอบที่ 3 แสดงกรอบความคิดของการด าเนินการศกึษา

    2. การก าหนดแหล่งข้อมูล

    1) แหลง่ขอ้มูล ข้อมูลของการศกึษาเพื่อสังเคราะห์ คือ เอกสารรายงานผลการประเมินตนเ�