84
แสง- สี กับพื้นที่ใหมในงานแฟนตาซีของขาพเจา โดย นายฑีฆวุฒิ บุญวิจิตร วิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศิลปมหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตรกรรม ภาควิชาจิตรกรรม บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปการศึกษา 2553 ลิขสิทธิ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

ณฑ 2553 - SU...เส นทางศ ิลปะ ขอขอบพระคุณ อ.เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน อ.กมล ทัศนาญชลีครูสังคม

  • Upload
    others

  • View
    1

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ณฑ 2553 - SU...เส นทางศ ิลปะ ขอขอบพระคุณ อ.เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน อ.กมล ทัศนาญชลีครูสังคม

แสง- สี กับพื้นท่ีใหมในงานแฟนตาซีของขาพเจา

โดย นายฑีฆวุฒิ บญุวิจิตร

วิทยานิพนธนีเ้ปนสวนหนึง่ของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศิลปมหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตรกรรม ภาควิชาจิตรกรรม

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปการศึกษา 2553

ลิขสิทธ์ิของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

Page 2: ณฑ 2553 - SU...เส นทางศ ิลปะ ขอขอบพระคุณ อ.เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน อ.กมล ทัศนาญชลีครูสังคม

แสง- สี กับพื้นท่ีใหมในงานแฟนตาซีของขาพเจา

โดย นายฑีฆวุฒิ บญุวิจิตร

วิทยานิพนธนีเ้ปนสวนหนึง่ของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศิลปมหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตรกรรม ภาควิชาจิตรกรรม

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปการศึกษา 2553

ลิขสิทธ์ิของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

Page 3: ณฑ 2553 - SU...เส นทางศ ิลปะ ขอขอบพระคุณ อ.เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน อ.กมล ทัศนาญชลีครูสังคม

ELECTRIC LIGHT IN MY NEW FANTASY SPACE

By Theekawut Boonvijit

A Thesis Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for the Degree MASTER OF FINE ARTS

Department of Painting Graduate School

SILPAKORN UNIVERSITY 2010

Page 4: ณฑ 2553 - SU...เส นทางศ ิลปะ ขอขอบพระคุณ อ.เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน อ.กมล ทัศนาญชลีครูสังคม

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร อนุมัติใหวิทยานิพนธเร่ือง “ แสง- สี กับพื้นท่ีใหมในงานแฟนตาซีของขาพเจา ” เสนอโดย นายฑีฆวุฒิ บุญวิจิตร เปนสวนหน่ึงของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศิลปมหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตรกรรม

……........................................................... (ผูชวยศาสตราจารย ดร.ปานใจ ธารทัศนวงศ)

คณบดีบัณฑติวิทยาลัย วันท่ี..........เดอืน.................... พ.ศ...........

อาจารยท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ ศาสตราจารยอิทธิพล ตั้งโฉลก คณะกรรมการตรวจสอบวทิยานิพนธ .................................................... ประธานกรรมการ (ผูชวยศาสตราจารยไพโรจน วังบอน) ............/......................../.............. .................................................... กรรมการ .................................................... กรรมการ (อาจารยอํามฤทธ์ิ ชูสุวรรณ) (ผูชวยศาสตราจารยนาวิน เบียดกลาง) ............/......................../.............. ............/......................../.............. .................................................... กรรมการ .................................................... กรรมการ (อาจารยทรงไชย บัวชุม) (ศาสตราจารยอิทธิพล ตั้งโฉลก) ............/......................../.............. ............/......................../..............

Page 5: ณฑ 2553 - SU...เส นทางศ ิลปะ ขอขอบพระคุณ อ.เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน อ.กมล ทัศนาญชลีครูสังคม

50001202 : สาขาวิชาจิตรกรรม คําสําคัญ : แฟนตาซี/แสง-สี/จิตใตสํานึก ฑีฆวุฒิ บุญวจิิตร : แสง- สี กับพื้นท่ีใหมในงานแฟนตาซีของขาพเจา. อาจารยท่ีปรึกษาวิทยานพินธ : ศ.อิทธิพล ตั้งโฉลก. 73 หนา. การจัดทําวิทยานิพนธ “แสง-สี กับพื้นท่ีใหมในงานแฟนตาซีของขาพเจา” นี้ขาพเจาเร่ิมความบันดาลใจจากความสนใจในความงดงามของแสง-สี ของแสงไฟในยามราตรี ขาพเจาตองการแสดงใหเห็นวาแสงไฟประดิษฐนี้เปนปจจัยที่กําหนด พฤติกรรม กิจกรรม และวิถีชีวิตมนุษยข้ึนใหม วิถีชีวิตท่ีดํารงอยูภายใตสภาพแวดลอมใหมหรือพื้นท่ีใหมอันเกิดจาก แสง-สี ประดิษฐ เปนภาพสะทอนที่เกิดข้ึนกับมนุษยในยุคปจจุบันท่ีเกิดความลุมหลง หลงใหลในภาพมายาแหงความงดงามแหงแสง - สี ยามราตรีนี้ โดยขาพเจาไดนําเสนอผลงานการสรางสรรคผานงานจิตรกรรม 2 มิติ ในรูปแบบจินตนาการแหงความคิดฝน (Fantasy Style)โดยอางอิงจากโลกแหงความเปนจริงผสมผสานกับความคิดและความรูสึกภายในจิตใจของขาพเจาผานการใชส่ือสัญลักษณในภาษาของจิตรกรรม เพื่อแสดงสาระ ความหมายที่มีความสัมพันธกับเนื้อหา (Content) และอารมณความรูสึกภายในจิตใตสํานึกของขาพเจา ภาควิชาจติรกรรม บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปการศึกษา 2553 ลายมือช่ือนักศึกษา........................................ ลายมือช่ืออาจารยท่ีปรึกษาวทิยานิพนธ ........................................

Page 6: ณฑ 2553 - SU...เส นทางศ ิลปะ ขอขอบพระคุณ อ.เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน อ.กมล ทัศนาญชลีครูสังคม

50001202 : MAJOR : PAINTING KEY WORD : FANTASY/ELECTRIC LIGHT/SUBCONSCIOUS THEEKAWUT BOONVIJIT : ELECTRIC LIGHT IN MY NEW FANTASY SPACE. THESIS ADVISOR : PROF.ITHIPOL THANGCHALOK. 73 pp. In the creation of this thesis “Electric light in my new fantasy spaces”, I was inspired by the beautifulness of light and color at the time of the night. I would like to show that these invented lights are the factor which specifies behavior, activity, and new way of human-life. This way of human-life in the new environment, invented light and color environment, is the reflection of human in the present, the period which is full of passion of light and color Maya at night. I would like to present my creative idea through 2 dimension painting in the style of Fantasy in reference of the real world, mixed with my though and my subconscious feeling. In addition, I use the symbol in paintings to show the meaning of relation between content and my subconscious feeling Department of Painting Graduate School, Silpakorn University Academic Year 2010 Student's signature ........................................ Thesis Advisor's signature ........................................

Page 7: ณฑ 2553 - SU...เส นทางศ ิลปะ ขอขอบพระคุณ อ.เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน อ.กมล ทัศนาญชลีครูสังคม

  ฉ

กิตติกรรมประกาศ  ขาพเจาขอนอมรําลึกถึงคุณพระศรีรัตนตรัย และผูมีพระคุณอันประเสริฐยิ่งอันไดแก บิดา มารดา และครอบครัวของขาพเจาท่ีคอยเล้ียงดูสนับสนุน และเปนกําลังใจใหขาพเจาไดใชชีวิตในเสนทางศิลปะ ขอขอบพระคุณ อ.เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน อ.กมล ทัศนาญชลี ครูสังคม ทองมี ครูพรพรหม ตะพรหม และ คณาจารยคณะจิตรกรรม ประติมากรรมและภาพพิมพ มหาวิทยาลัยศิลปากร อาจารยภาควิชาจิตรกรรม อาจารยท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ ศ.อิทธิพล ตั้งโฉลก ผศ.นาวิน เบียดกลาง อาจารยทรงไชย บัวชุม ดร.เตยงาม คุปตะบุตร ท่ีเปนตนแบบและเปนครูท่ีดีและเปนผูใหองควิชาความรูในเสนทางสายศิลปะแกขาพเจา ขอขอบพระคุณ มูลนิธิรัฐบุรุษ พลเอก เปรม ติณสูลานนท และมูลนิธิซิเมนตไทย ท่ีไดมอบทุนสรางสรรควิทยานิพนธแกขาพเจา ขอขอบพระคุณ ดร.สาธิต-คุณรัชณีวรรณ อุทัยศรี ดร.จุไรพร คลายจําแลง และมูลนิธิยุวพัฒน ท่ีไดใหโอกาสในการศึกษาและเปนกําลังใจในการศึกษาแกขาพเจาเสมอมา และขอขอบคุณเพื่อนๆรุน59 รวมถึง รุนพี่รุนนองในคณะจิตรกรรม ประติมากรรม และภาพพิมพ มหาวิทยาลัยศิลปากร และทายท่ีสุดขอขอบคุณศิลปะท่ีทําใหขาพเจามีความสุขในทุกๆวันของชีวิต

Page 8: ณฑ 2553 - SU...เส นทางศ ิลปะ ขอขอบพระคุณ อ.เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน อ.กมล ทัศนาญชลีครูสังคม

สารบัญ หนา 

บทคัดยอภาษาไทย .................................................................................................................... ง บทคัดยอภาษาอังกฤษ ............................................................................................................... จ กิตติกรรมประกาศ ..................................................................................................................... ฉ สารบัญภาพ .............................................................................................................................. ฌ บทท่ี  1 บทนํา ............................................................................................................................. 1 ความเปนมาและความสําคัญของโครงการ .......................................................... 2 ความมุงหมายและวัตถุประสงคของการสรางสรรค ............................................ 3 สมมุติฐานของการการสรางสรรค ....................................................................... 4 ขอบเขตการการสรางสรรค .................................................................................. 4 ข้ันตอนของการการสรางสรรค ............................................................................ 4 วิธีการสรางสรรค ................................................................................................. 5 แหลงขอมูล .......................................................................................................... 6 อุปกรณท่ีใชในการสรางสรรค ............................................................................. 7

2 ขอมูลท่ีเกี่ยวของกับการสรางสรรคผลงาน ..................................................................... 8 อิทธิพลจากแนวคิดทางศิลปะ .............................................................................. 8

อิทธิพลจากทฤษฎีจิตวิเคราะห (Psychoanalysis) ................................................. 10 อิทธิพลจากความบันดาลใจในศิลปกรรม ............................................................ 11 อิทธิพลจากการศึกษาในเร่ืองทฤษฎีของสี-แสง ................................................... 15 อิทธิพลจากความบันดาลใจในพุทธศาสนา .......................................................... 16 อิทธิพลจากความความบันดาลใจในส่ิงแวดลอมในปจจบัุน ................................ 18

3 การกําหนดรูปแบบและวิธีการในการสรางสรรค ........................................................... 20 การกําหนดแนวเร่ือง ............................................................................................ 20

การกําหนดรูปแบบในงานจติรกรรม ................................................................... 21 ทัศนธาตุท่ีใชในการสรางสรรค ........................................................................... 21

Page 9: ณฑ 2553 - SU...เส นทางศ ิลปะ ขอขอบพระคุณ อ.เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน อ.กมล ทัศนาญชลีครูสังคม

บทท่ี หนา วิธีการสรางสรรค ................................................................................................. 28 เทคนิควิธีการในการสรางสรรคผลงาน ............................................................... 28

4 การดําเนินการสรางสรรคผลงานวิทยานิพนธ ................................................................ 38 การสรางสรรคและการพัฒนาผลงานกอนวิทยานิพนธระยะท่ี 1 ......................... 38

การสรางสรรคและการพัฒนาผลงานกอนวิทยานิพนธระยะท่ี 2 ......................... 40 การสรางสรรคผลงานวิทยานิพนธ ....................................................................... 46

5 บทสรุป ........................................................................................................................... 65 บรรณานุกรม .......................................................................................................................... 66 ภาคผนวก ............................................................................................................................... 67 ประวัติผูวจิัย ........................................................................................................................... 70

 

Page 10: ณฑ 2553 - SU...เส นทางศ ิลปะ ขอขอบพระคุณ อ.เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน อ.กมล ทัศนาญชลีครูสังคม

สารบัญภาพ ภาพที ่ หนา 1 ภาพผลงานของ Marc chagall , The birthday, 1915 . ........................................ 12   2 ภาพผลงานของPaul Delvaux, All the Light, 1936 ............................................ 13 3 ภาพผลงานของ Gustav Klimt, Portrait of Fritza Riedler, 1906 ........................ 14 4 ภาพแสดงการผสมสีแสง ................................................................................... 16 5 ภาพ อิทธิพลจากความบันดาลใจในส่ิงแวดลอมในปจจุบัน .............................. 18 6 ภาพขอมูลจากความบันดาลใจในส่ิงแวดลอมในปจจุบัน .................................. 18 7 ภาพขอมูลจากความบันดาลใจในส่ิงแวดลอมในปจจุบัน .................................. 19 8 ภาพขอมูลจากความบันดาลใจในส่ิงแวดลอมในปจจุบัน .................................. 19 9 ภาพรายละเอียดของรูปทรง(Figurative) ............................................................ 22 10 ภาพรายละเอียดการแสดงพื้นผิวท่ีเกิดจากเทคนิคสีน้ํามัน ................................. 25 11 ภาพรายละเอียดการแสดงพื้นผิวท่ีหยาบจากเทคนิคสีน้ํามัน .............................. 26 12 ภาพรายละเอียดการแสดงพื้นผิวท่ีแตกตางของวัตถุแตละชนดิ ......................... 26 13 ภาพรายละเอียดการแสดงพื้นผิว ........................................................................ 27 14 ภาพอุปกรณการสรางสรรค ............................................................................... 30 15 ภาพรางผลงาน ................................................................................................... 30 16 ภาพรางผลงาน ................................................................................................... 31 17 ภาพรางผลงาน ................................................................................................... 31 18 ภาพการใชโปรแกรมตกแตงภาพ(Photoshop)ในคอมพิวเตอร .......................... 32 19 ภาพการจัดแสงถายภาพจากแบบจริง ................................................................. 32 20 ภาพการจดัแสงถายภาพจากแบบจริง ................................................................. 33 21 ภาพข้ันตอนการเขียนสีน้ํามัน ............................................................................ 33 22 ภาพข้ันตอนการรางภาพดวยเทคนิคการบีบเสนสี .............................................. 34 23 ภาพเทคนิคการสรางพื้นผิวดวยเกรียง ................................................................ 34 24 ภาพข้ันตอนการสรางพื้นผิว ............................................................................... 35 25 ภาพข้ันตอนการสรางพื้นผิว ............................................................................... 35 26 ภาพข้ันตอนการสรางพื้นผิวดวยทรายผสมกับ Medium Gel ............................. 36

Page 11: ณฑ 2553 - SU...เส นทางศ ิลปะ ขอขอบพระคุณ อ.เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน อ.กมล ทัศนาญชลีครูสังคม

ภาพท่ี หนา 27 ภาพข้ันตอนการสรางพื้นผิวดวยการผสมทราย ......................................................... 36 28 ภาพข้ันตอนการเก็บรายละเอียดผลงาน ..................................................................... 37 29 ภาพผลงานกอนวิทยานิพนธระยะท่ี 1 ช้ินที ่1 .......................................................... 39 30 ภาพผลงานกอนวิทยานิพนธระยะท่ี 1 ช้ินที ่2 ........................................................... 39 31 ภาพผลงานกอนวิทยานิพนธระยะท่ี 2 ช้ินที ่1 ........................................................... 41 32 ภาพผลงานกอนวิทยานิพนธระยะท่ี 2 ช้ินที ่2 ........................................................... 42 33 ภาพผลงานกอนวิทยานิพนธระยะท่ี 2 ช้ินที ่3 ........................................................... 43 34 ภาพผลงานกอนวิทยานิพนธระยะท่ี 2 ช้ินที ่4 .......................................................... 44 35 ภาพผลงานกอนวิทยานิพนธระยะท่ี 2 ช้ินที ่5 ........................................................... 45 36 ภาพผลงานกอนวิทยานิพนธระยะท่ี 2 ช้ินที ่6 ........................................................... 46 37 ภาพรายละเอียดผลงานวิทยานิพนธช้ินที่ 3 ................................................................ 51 38 ภาพรายละเอียดผลงานวิทยานิพนธช้ินที่ 4 ................................................................ 53 39 ภาพรายละเอียดผลงานวิทยานิพนธช้ินที่ 4 ................................................................ 53 40 ภาพรายละเอียดผลงานวิทยานิพนธช้ินที่ 4 ................................................................ 54 41 ภาพรายละเอียดผลงานวิทยานิพนธช้ินที่ 4 ................................................................ 54 42 ภาพผลงานวิทยานิพนธช้ินท่ี 1 .................................................................................. 57 43 ภาพผลงานวิทยานิพนธช้ินท่ี 2 .................................................................................. 58 44 ภาพผลงานวิทยานิพนธช้ินท่ี 3 .................................................................................. 59 45 ภาพผลงานวทิยานิพนธช้ินท่ี 4 .................................................................................. 60 46 ภาพผลงานวิทยานิพนธช้ินท่ี 5 .................................................................................. 61 47 ภาพผลงานวิทยานิพนธช้ินท่ี 6 .................................................................................. 62 48 ภาพผลงานวิทยานิพนธช้ินท่ี 7 .................................................................................. 63 49 ภาพผลงานวิทยานิพนธช้ินท่ี 8 .................................................................................. 64

Page 12: ณฑ 2553 - SU...เส นทางศ ิลปะ ขอขอบพระคุณ อ.เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน อ.กมล ทัศนาญชลีครูสังคม

1

 

บทท่ี 1

บทนํา กิจกรรมในโลกสมัยกอนมักจะหยุดลงกอนท่ีพระอาทิตยจะตกดิน เม่ือโลกเร่ิมมืด ความเงียบเขามาปกคลุม มนุษยก็เร่ิมพักผอนและเขานอน เม่ือพระอาทิตยข้ึนในวันใหม แสงสวางมาเยือนอีกคร้ังมนุษยก็เร่ิมทํากิจกรรมตอ เกิดเปนวงจรของชีวิตท่ีมีความมืดและแสงสวางของกลางวันและกลางคืนเปนตัวกําหนดจังหวะความส้ันยาวของกิจกรรม เม่ือเราเร่ิมมีไฟประดิษฐจากหลอดไฟฟามาใช ใหความสวางในเวลากลางคืน แสงสวางประดิษฐไดสรางพ้ืนท่ีใหม กิจกรรมใหม ชุมชนใหม เชนตลาดโตรุงท่ีเราสามารถแวะหาทานขาวไดตลอดคืน และสถานร่ืนเริงในตอนกลางคืนท่ีทําใหเราสามารถเจอคนอ่ืนๆนอกเหนือจากท่ีเราเจอในตอนกลางวัน เปนตน แสงไฟฟาทําใหเกิดส่ิงใหมๆ ทําใหกิจกรรมบางอยางของเรากอนหนานี้ ท่ีเกิดข้ึนเฉพาะในเวลากลางวันก็สามารถเกิดข้ึนในเวลากลางคืนได อาจกลาวไดวา การเปล่ียนแปลงในลักษณะนี้ทําใหวิถีชีวิตและสภาพแวดลอมของเราเปล่ียนไปอยางส้ินเชิง1 แสง-สี ถือเปนพลังงานหรือมวลสารหนึ่งท่ีมีความสําคัญตอชีวิตมนุษย ไมวาจะเปนแสงและสีจากธรรมชาติ เชน แสงจากดวงอาทิตย พระจันทร หรือสีตางๆ ของดอกไม ใบไม แสงทําใหมนุษยไดดํารงอยูภายใตความสมดุลแหงการดําเนินชีวิต และแสงยังสรางความร่ืนรมยและความงดงามผานสายตาท่ีมองเห็น โดยเฉพาะแสง-สี ซ่ึงมาจากหลอดไฟที่มนุษยไดสรางข้ึนนี้ ไดดึงดูดใหขาพเจาเขาไปสัมผัสกับสถานท่ีตางๆ ซ่ึงมีความงดงามของแสงสีเปนตัวนําทางใหเกิดความสวางและเปลงรัศมีอยูทามกลางพ้ืนท่ีในความมืดมิด ใหเกิดความสะดุดตาใหมนุษยเขาไปสัมผัสและคนหาในสถานท่ีนั้นๆ แสง-สีดังกลาว เปนส่ิงท่ีขาพเจาเกิดความประทับใจและหลงใหลในความงามท่ีมองเห็นแสง-สีในแตละพื้นท่ีหรือสถานที่ ลวนสงผลตอความรูสึกของขาพเจา และขาพเจาเห็นวาแสง-สีเปนตัวกําหนดพฤติกรรม กิจกรรมใหมของมนุษย หรือเปนความงดงามในส่ิงแวดลอมแบบใหมในยุค                                                            

 1เตยงาม คุปตะบุตร, “แสงและพื้นท่ีในงานจิตรกรรมของฑีฆวุฒิ,” ใน เสนทางสูศิลปะ

THE WAY TO ART , การแสดงศิลปกรรม เสนทางสูศิลปะ THE WAY TO ART ของนักศึกษาศิลปมหาบัณฑิต สาขาจิตรกรรม คณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ มหาวิทยาลัยศิลปากร ณ หอศิลปวัฒนธรรมแหงกรุงเทพ , 5-19 มิถุนายน 2552 ( ม.ป.ท.,2552), 22.

 

1

Page 13: ณฑ 2553 - SU...เส นทางศ ิลปะ ขอขอบพระคุณ อ.เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน อ.กมล ทัศนาญชลีครูสังคม

2

 

สมัยปจจุบัน ดังนั้นความงดงามของแสง-สี จึงถูกนํามาใชในเทศกาล งานร่ืนเริงตางๆ หรือแมกระท่ังในสถานบันเทิงตางๆ เพ่ือเปนแรงดึงดูดใหมนุษยนําพาตนเองไปสูสถานท่ีท่ีมีแสง-สีนั้น ซ่ึงปจจุบันอาจกลายเปนสัญลักษณใหมนุษยผูหลงใหลในชีวิตยามค่ําคืน เดินเขาหา จนกลายเปนความเคยชิน แมวามนุษยอาจเกิดความฉงน และไมเคยตระหนักวา เรานําพาตนเองมาอยู ณ ท่ีนี้ไดอยางไร ดังนั้นแสง-สี อาจเปนเพียงส่ิงลอ ท่ีอยูใกลตัวมนุษยเพื่อสรางความงดงาม ความเพลิดเพลิน ความสนุกสนานแกชีวิตยามราตรีของมนุษยในยุคปจจุบัน ความเปนมาและความสําคัญของโครงการ ความสนใจในแสง-สี ยามราตรีดังท่ีขาพเจาไดกลาวขางตนนี้ ทําใหขาพเจาไดเกิดแรงบันดาลใจในการสรางสรรคผลงานวิทยานิพนธ “แสง-สี กับพื้นท่ีใหมในงานแฟนตาซีของขาพเจา” เพื่อแสดงถึงความงดงามของแสง-สี ในยามคํ่าคืนท่ีสงผลเกี่ยวของกับกิจกรรม การดํารงอยูของมนุษย และส่ิงแวดลอมในยุคปจจุบัน ทามกลางความหลากหลายของแสง-สีนั้นๆ ผานกระบวนการความคิด อารมณความรูสึกภายในของขาพเจา นํามาสรางสรรคผลงานในรูปแบบแฟนตาซี การสรางสรรคผลงานวิทยานิพนธชุดนี้ขาพเจาไดแสดงความรูสึกของจิตใตสํานึกออกมา โดยขาพเจาไดอางอิงเร่ืองราวเนื้อหาจากโลกแหงความเปนจริงผสมผสานกับโลกแหงความฝน ดังนั้นพื้นท่ีใหม ในผลงานของขาพเจาจึงมีลักษณะของการอยูในสภาวะก่ึงจริง กึ่งฝน เปนพื้นท่ีใหมท่ีเกิดข้ึน คือพื้นท่ีท่ีขาพเจาเรียกมันวา “พื้นท่ีแหงความฝน”(Fantasy Space)ท่ีไมสามารถเห็นไดในโลกแหงความเปนจริง เปนพื้นท่ีท่ีมีความหมายเฉพาะของขาพเจาเอง เปนเสมือนพื้นท่ีท่ีใหขาพเจาสามารถระบาย พรรณนาความรูสึกภายในจิตใจของขาพเจา และทําใหขาพเจาไดสํารวจตัวตนของขาพเจา อันเปนผลพวงมาจากสภาวการณส่ิงแวดลอมในปจจุบันท่ีสงผลกระทบตอความคิด อารมณความสึกท่ีตกผลึกอยูภายในจิตใจของขาพเจา โดยขาพเจามีพื้นฐานความเช่ือในการสรางสรรคท่ีออกมาจากจิตใตสํานึกนี้เพราะเปนจินตนาการซ่ึงมีคุณคา และมีความจริงแท ตอการสรางสรรคศิลปะบริสุทธ (Pure Art) ความมุงหมายและวัตถุประสงคของการสรางสรรค การสรางสรรควิทยานิพนธ แสง-สี กับพื้นท่ีใหมในงานแฟนตาซีของขาพเจา นี้ขาพเจาเร่ิมความบันดาลใจจากความสนใจในความงดงามของ แสง-สี ในตอนกลางคืน และแสงไฟแสง-สี นี้ไดสรางพื้นท่ีใหมใหเกิดข้ึน และเปนตัวกําหนดกิจกรรมใหม ขาพเจาตองการแสดงใหเห็นวา แสงไฟประดิษฐเปนปจจัยท่ีกําหนด พฤติกรรม กิจกรรม และวิถีชีวิตมนุษยข้ึนใหม วิถีชีวิตท่ีดํารงอยูภายใตสภาพแวดลอมใหมหรือพื้นท่ีใหมอันเกิดจาก แสง-สี ประดิษฐ ท่ีขาพเจาตองการนําเสนอ

Page 14: ณฑ 2553 - SU...เส นทางศ ิลปะ ขอขอบพระคุณ อ.เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน อ.กมล ทัศนาญชลีครูสังคม

3

 

ถึง ภาพสะทอนท่ีเกิดข้ึนกับมนุษยในปจจุบันท่ีเกิดความหลง หลงใหลในภาพมายาแหงความงดงาม ภายใตอิทธิพลแหงแสง - สี ยามราตรีนี้ โดยขาพเจาไดนําเสนอออกมาในงานจิตรกรรม 2 มิติ ในรูปแบบจินตนาการแหงความคิดฝน (Fantasy Style)โดยอางอิงจากความเปนจริงผสมผสานกับความคิดความรูสึกภายในของขาพเจา ผานการใชส่ือสัญลักษณในภาษาของจิตรกรรม เพื่อแสดงสาระท่ีมีความสัมพันธกับแนวความคิด (concept) และ อารมณความรูสึกภายในจิตใจของขาพเจา การสรางสรรควิทยานิพนธ “แสง-สี กับพื้นท่ีใหมในงานแฟนตาซีของขาพเจา” ขาพเจามีจุดมุงหมายในประเด็นตอไปนี้ 1. ขาพเจามุงประเด็นสรางสรรคความงดงามในแสง-สี ของไฟฟาท่ีเกิดข้ึนจากการประดิษฐของมนุษยซ่ึงสงอิทธิพลตอความรูสึก พฤติกรรม กิจกรรม วิถีชีวิตใหม ท่ีดํารงอยูภายใตสภาพแวดลอม หรือพื้นท่ีใหม อันเกิดจาก แสง-สี ของไฟประดิษฐ 2. ขาพเจามุงประเด็นท่ีจะสรางความสัมพันธระหวางเนื้อหา รูปแบบ และเทคนิควิธีการในงานจิตรกรรมของขาพเจา ในแนวความคิดท่ีสะเทือนความรูสึกจากความงดงามในมายาภาพแหงแสง-สี อันเปนสภาวการณของส่ิงแวดลอมรอบตัวในปจจุบัน 3. หานัยยะความหมายในรูปทรงตางๆ ท่ีเปนสัญลักษณ (Symbolic) และส่ือแทน (Representation) เพ่ือแสดงความหมายท่ีมีความสัมพันธกับเนื้อหา (Content) ใหกับผลงานการสรางสรรค และเสมือนการคนหา พิจารณาและตรวจสอบตัวตนภายในท่ีมาจากสภาวะจิตใตสํานึกของขาพเจา สมมุติฐานของการการสรางสรรค สมมุติฐานในการสรางสรรคของขาพเจาคือ การสรางความสัมพันธและความเปนไปไดของการสรางสรรค บนพื้นฐานของแนวความคิดท่ีเกี่ยวกับอิทธิพลแหง แสง-สีท่ี กําหนดพื้นท่ีใหมในวิถีชีวิตมนุษย อิทธิพลแหงแสง-สีของไฟประดิษฐจะสงผลตอการกําหนดพื้นท่ีใหม กิจกรรม พฤติกรรม ของมนุษย และสงผลตอความรูสึกภายในจิตใจของขาพเจาไปในทิศทางใดไดบาง ในงานจิตรกรรมลักษณะจินตนาการแหงความคิดฝน(Fantasy Style) ท่ีเปนลักษณะการแสดงออกมาจากจิตใตสํานึกของขาพเจา นาจะมีความสัมพันธและสงเสริมเช่ือมโยงกันในสวนของเนื้อหา รูปแบบ และเทคนิคทางจิตรกรรม ภายในผลงานของขาพเจาไดอยางมีเอกภาพและสงผลตอความเปนอัตลักษณ และเอกลักษณในการสรางสรรคของขาพเจา

Page 15: ณฑ 2553 - SU...เส นทางศ ิลปะ ขอขอบพระคุณ อ.เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน อ.กมล ทัศนาญชลีครูสังคม

4

 

ขอบเขตการการสรางสรรค การสรางสรรควิทยานิพนธ “แสง-สี กับพื้นท่ีใหมในงานแฟนตาซีของขาพเจา” ชุดนี้ จะเปนการนําเสนอเนื้อหาทางความคิดท่ีเกี่ยวกับ แสง-สีท่ีกําหนดพื้นท่ีใหม อันเปนแสง- สี ของไฟประดิษฐยามราตรีท่ีสงผลตอความรูสึกสะเทือนใจแกขาพเจา และขาพเจามุงประเด็นศึกษา แสง-สี ของไฟฟาประดิษฐในยามราตรีเทานั้น ขอบเขตของรูปแบบ การสรางสรรคท่ีเปนลักษณะสวนตัวของขาพเจาเปนจินตนาการแหงความคิดฝน (fantasy Style) ในจิตรกรรม 2 มิติท่ีผสมผสานกับท่ีมาจากการอางอิงความเปนจริงในส่ิงแวดลอมปจจุบัน ขอบเขตของเทคนิค วิทยานิพนธชุดนี้ จะเปนการสรางความสัมพันธใหเทคนิคทางจิตรกรรมสงเสริมกันในกับทัศนธาตุ เพื่อใหเกิดความหมายท่ีสัมพันธกับเนื้อหาความคิด รูปแบบ และเทคนิคจิตรกรรม2มิติเพื่อใหเกิดเอกภาพในการสรางสรรค ขั้นตอนของการการสรางสรรค โครงสรางของข้ันตอนในการสรางสรรคมีลําดับดังตอไปนี้ 1. ขาพเจาเร่ิมศึกษาในเร่ืองของเร่ืองแสง-สีจากไฟฟาประดิษฐในยามราตรีท่ีเขามามีปฏิสัมพันธ และกอใหเกิดส่ิงแวดลอมใหม พื้นท่ีใหม กิจกรรมใหม และสงผลตออารมณความรูสึกของมนุษยในปจจุบัน การศึกษาหาขอมูลนี้ไดมาจากหลากหลายทิศทาง ท้ังจากประสบการณในชีวิตประจําวัน จากสถานท่ีจริง รวมทั้งขอมูลจากแหลงสารสนเทศในทุกๆดานของส่ือประเภทตางๆ 2. เม่ือขาพเจาไดแรงบันดาลใจและขอมูลขางตนแลว ก็จะนํามาวิเคราะหและสังเคราะหใหเกิดเปนมโนภาพข้ึนมาอยางคราวๆ โดยเร่ิมจากการสรางภาพราง (Sketch) ท่ีเกิดจาการใชเขียนเสนอยางรวดเร็ว เพื่อการทํางานรวมกันระหวางระบบความคิด ความรูสึกและการปลดปลอยจินตนาการอยางอิสระ หลังจากนั้นจึงนําขอมูลและภาพรางดังกลาวสูกระบวนการตกแตงภาพทางคอมพิวเตอร(Photoshop) 3. เม่ือไดภาพรางแลว ก็ขาพเจาจะนํามาขยายเปนผลงานจริง (บนผืนผาใบ) และใชการสรางสรรคดวยเทคนิคเฉพาะตัวทางจิตรกรรมของขาพเจา 4. ขาพเจาจะกลับมาวิเคราะห รูปทรงและสัญลักษณตาง ๆท่ีเกี่ยวของกันระหวางเนื้อหา ความคิดและความรูสึกของขาพเจา เพื่อศึกษานัยยะและความหมายของส่ิงตางๆ ท่ีเกิดข้ึนในภายหลังเม่ือผลงานเสร็จสมบูรณ เพื่อหาแนวทางในการพัฒนาผลงานการสรางสรรคในระยะตอไป

Page 16: ณฑ 2553 - SU...เส นทางศ ิลปะ ขอขอบพระคุณ อ.เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน อ.กมล ทัศนาญชลีครูสังคม

5

 

วิธีการสรางสรรค เม่ือขาพเจาเกิดความคิด ความรูสึกกับเร่ืองราวหรือสถานท่ีท่ีสะเทือนความรูสึกของขาพเจาแลว ขาพเจาจะมีมโนภาพเกิดข้ึนอยางคราวๆในหวงความคิดฝน ข้ันตอนตอไปในการสรางสรรคผลงานคือการถายทอดความคิด ความรูสึกภายในจิตใจของของขาพเจาใหออกมาเปนรูปธรรมผานผลงานในรูปแบบจิตรกรรมสองมิติ เทคนิควิธีการในการสรางสรรคผลงาน 1. การสรางผลงานภาพรางตนแบบ 1.1 เม่ือจินตนาการเกิดเปนมโนภาพอยางคราวๆในหวงความคิดฝนของขาพเจาแลว ขาพเจาจะใชวิธีการวาดเสนลงบนกระดาษในการสรางรูปทรงใหเกิดเปนรูปธรรม เพราะการวาดเสนบนกระดาษเปนกระบวนการที่รวดเร็ว และบริสุทธ์ิใจ สามารถถายทอดความคิดฝนออกมาจากภายในไดอยางตรงไปตรงมา 1.2 เม่ือขาพเจาถายทอดมโนภาพอยางคราวๆลงบนกระดาษแลว หากจินตภาพท่ีเกิดมีลักษณะของรูปทรงท่ีมีท่ีมาจากความจริง ขาพเจาจะใชวิธีการถายรูปจากตนแบบจริงโดยการจัดแสงใหเปนไปตามจินตนาการของขาพเจา เชนในผลงานวิทยานิพนธช้ินท่ี5 ของขาพเจามีรูปทรงเหมือนจริงของกระตาย ขาพเจาก็ใชวิธีการจัดแสงสีและถายรูปทาทางตางๆของกระตายเพื่อใหไดทาทางและทิศทางของแสงเงาตามท่ีขาพเจาตองการ 1.3 เม่ือขาพเจาไดกําหนดรูปทรงท่ีตองการไวในแบบรางแลวและถายรูปขอมูลของรูปทรงตางๆแลว ข้ันตอนตอไปจึงเปนการนําภาพตามแบบรางและขอมูลภาพถายมาใชโปรแกรมการตกแตงภาพ(Photoshop)ในคอมพิวเตอร แบบรางจากโปรแกรมการตกแตงภาพนี้ไดตอบสนองและรองรับจินตนาการท่ีตรงตามจุดมุงหมายในการสรางสรรคของขาพเจา เพราะแสงสีท่ีเกิดจากภาพในคอมพิวเตอรนี้ มีความสอดคลองกับแสงสีจากแสงไฟท่ีขาพเจาสนใจ เพราะมีพื้นฐานของหลักการผสมสีแบบเดียวกับสีแสง(ไฟฟา) ซ่ึงตางจากการผสมสีท่ีเกิดจากเนื้อสี (Pigment) ซ่ึงหลักการการผสมของสีท่ีเปนเนื้อสี(Pigment)นั้นใหผลออกมาอีกรูปแบบหนึ่ง ดังนั้นในผลงานจิตรกรรมของขาพเจาเสมือนการยอนแยงแปรผันในการใชสี กลาวคือการใชสีท่ีเปนเนื้อสี(Pigment) เพื่อเขียนสีของแสงไฟสังเคราะห(Artificial Light) 2. การสรางผลงานจิตรกรรมบนผาใบ 2.1 เม่ือขาพเจาไดภาพรางตนแบบแลว ขาพเจาจึงขยายแบบรางลงบนผาใบหรือผลงานจริง ขาพเจาจะเร่ิมจากการรองพื้นผาใบดวยสีน้ําเงินอมเขียวโทนเขมและจะระบายแบบ

Page 17: ณฑ 2553 - SU...เส นทางศ ิลปะ ขอขอบพระคุณ อ.เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน อ.กมล ทัศนาญชลีครูสังคม

6

 

หยาบๆใหเกิดพ้ืนผิวของฝแปรงท่ีเพ่ือสรางบรรยากาศโดยรวมของภาพท่ีใหความรูสึกถึงชวงเวลาตอนกลางคืน 2.2 ลําดับตอไปขาพเจาก็เขียนภาพของรูปทรงคน และสัตว ดวยเทคนิคสีน้ํามันกอน สวนใดท่ีจะตองใชเทคนิคสีน้ํามันก็ตองเขียนใหเสร็จเปนข้ันตอนแรก และไมไดกําหนดตายตัววาจะตองตรงตามแบบราง อาจปรับเปล่ียนในรายละเอียดไดตามความเหมาะสมตามผลงานช้ินนั้น ๆ 2.3 ข้ันตอนตอไปเปนการวาดรูปทรงท่ีอยูในระยะท่ีไกลออกไปโดยวิธีการสรางสรรคของขาพเจาขาพเจาจะเขียนจากระยะหนาไปจนถึงระยะหลังสุด 2.4 เม่ือเขียนสีน้ํามันในภาพท่ีไดแบงสวน รูปของคน สัตว วัตถุส่ิงของ เสร็จแลว พื้นที่ในภาพท่ีเหลือคือสวนท่ีเปนพื้น และ วัตถุตางๆ หรือเปนพื้นหลังท้ังหมดของภาพ พื้นท่ีเหลานี้ ขาพเจาจะใชสีท่ีเกิดจากการผสม Medium Gel และ Medium Gel ผสมกับทราย เพื่อนําไปสรางใหเกิดเปนพื้นผิว ตามตองการ สีนี้จะมีคุณสมบัติท่ีเขมขน หนานูนมากกวาปกติ ขาพเจาจึงใชวิธีการพอกสีลงไปตามพ้ืนท่ีท่ีกําหนดใหเปนพื้นผิวของวัตถุตางๆ 2.5 เม่ือสวนท่ีเขียนสีน้ํามันกับสวนพื้นผิวเสร็จแลว ภาพมันจะมีความขัดแยงในเร่ืองของการแบงแยกรูปทรงตาง ๆ กันอยางรุนแรง ดังนั้นขาพเจาจึงใชการตกแตงภาพและบรรยากาศโดยรวมดวยการกําหนดแสงและเงา เพื่อสรางความกลมกลืนและสรางความสัมพันธภายในภาพภาพใหเปนเอกภาพมากข้ึน 2.6 หลังจากนั้นจึงใช “ Gloss Varnish ” ท่ีเปนชนิดเคลือบสีน้ํามันทาในสวนของพื้นท่ีท่ีเขียนดวยสีน้ํามัน และ“ Gloss Varnish ” ท่ีเปนชนิดเคลือบสีอะครีลิคทาลงไปในพ้ืนท่ีท่ีเขียนดวยสีอะครีลิค เพื่อรักษาผิวหนาผลงานใหคงทน และสรางความเงาใหสมํ่าเสมอท่ัวท้ังภาพ แตจะเวนในสวนท่ีเปนผิวหยาบจากการผสมดวยทรายไวเพื่อแสดงพื้นผิวท่ีใหความรูสึกดานและหยาบไว จึงเปนอันเสร็จสมบูรณของวิธีการสรางจิตรกรรมของขาพเจา แหลงขอมูล หนังสือศิลปะ, ทฤษฎีสีแสง,หนังสือจิตวิทยา รูปถายคน, สัตว, ส่ิงของ วัตถุจริงตาง ๆ เชน ส่ิงของเคร่ืองใชตาง ๆ หอศิลป แกลเลอร่ี นิทรรศการ อินเตอรเนต แหลงขอมูลจากสถานท่ีจริง ท่ีสามารถกระตุนความคิดและอารมณความรูสึก

Page 18: ณฑ 2553 - SU...เส นทางศ ิลปะ ขอขอบพระคุณ อ.เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน อ.กมล ทัศนาญชลีครูสังคม

7

 

อุปกรณท่ีใชในการสรางสรรค โครงไม พื้นผาใบ พูกัน เกรียง สีน้ํามัน,สีอะคริลิค , ส่ือผสมสีอะครีลิค, อะคริลิคเคลือบเงา คอมพิวเตอร ภาพถาย ตนแบบจริงของวัตถุส่ิงของ

Page 19: ณฑ 2553 - SU...เส นทางศ ิลปะ ขอขอบพระคุณ อ.เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน อ.กมล ทัศนาญชลีครูสังคม

8

 

บทท่ี 2

ขอมูลท่ีเก่ียวของกับการสรางสรรคผลงาน แนวทางการสรางสรรคของขาพเจานั้น มีท่ีมาจากสองประการคือ ประการแรกมาจากความคิดอารมณความรูสึกภายในของขาพเจาหรือจากจิตใตสํานึกของขาพเจา ประการท่ีสองมาจากส่ิงแวดลอมรอบตัวทางกายภาพของขาพเจาในปจจุบัน สองส่ิงนี้ไดนําไปสูการสรางสรรควิทยานิพนธ “แสง-สี กับพื้นท่ีใหมในงานแฟนตาซีของขาพเจา” และนอกเหนือจากส่ิงสําคัญสองประการนี้แลวการสรางสรรคของขาพเจายังมีองคประกอบอ่ืนๆ ท่ีสงผลตอแนวความคิดและรูปแบบในการสรางสรรค ซ่ึงขาพเจาไดหาความสัมพันธขององคประกอบในดานตางๆของขอมูล เพื่อท่ีจะสามารถนํามาสนับสนุนในการสรางสรรคผลงานของขาพเจา โดยนําขอมูลตางๆที่ขาพเจาคนควา วิเคราะหนี้มาจาก แนวคิดทางปรัชญาทางศิลปะ หลักการของจิตวิเคราะห ศิลปะในลัทธิท่ีขาพเจาสนใจ หลักความเช่ือในพุทธศาสนา และหลักการของการของแสงสี รวมท้ังอิทธิพลจากส่ิงแวดลอมรอบตัวท่ีขาพเจาเห็นวา มีความเกี่ยวโยงและมีอิทธิพลตอการสรางสรรคของขาพเจา ดังจะกลาวถึงรายละเอียดของสวนตางๆ ดังตอไปนี้ อิทธิพลจากแนวคิดทางศิลปะ ในปจจุบันความหมายทางศิลปะน้ันขยายขอบเขตกวางไกลออกไปมาก เนื่องจากการสรางสรรคของศิลปนในยุคปจจุบันไดทําลายขอบเขต ระบบ กฎเกณฑ ท่ีเคยมีอยูเดิมใหหายไป จนในปจจุบันนี้การหานิยามความหมายจึงข้ึนอยูกับทัศนคติและแนวทางการสรางสรรคสวนบุคคลไปแลว และในทัศนคติและแนวทางสรางสรรคสวนตัวของขาพเจานั้น นิยามความหมายทางศิลปะท่ีขาพเจาเห็นสอดคลองและยึดถือมาโดยตลอด ไดแกแนวคิดดังตอไปนี้ ศิลปะคือความงาม ในศิลปะความงามเปนพื้นฐานข้ันตน งานศิลปะท่ีดีจะใหความพอใจในความงามแกผูดูในข้ันแรก หรืออาจกลาวไดอีกนัยหนึ่งวา งานศิลปะท่ีดีจะใหความพอใจจากการประสานสัมพันธกันในรูปทรง ความงามในศิลปะแบงออกเปน2ประเภท คือ ความงามทางกายภาพ (Physical Beauty) ซ่ึงไดแก ความงามของรูปทรงที่กําหนดดวยเร่ืองราว หรือท่ีเกิดจากการประสานกันของทัศนธาตุ และความงามทางใจ(Moral Beauty) ซ่ึงไดแก ความรูสึกหรืออารมณท่ี

 

8

Page 20: ณฑ 2553 - SU...เส นทางศ ิลปะ ขอขอบพระคุณ อ.เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน อ.กมล ทัศนาญชลีครูสังคม

9

 

แสดงออก ในงานศิลปะช้ินหนึ่งๆ จึงมีความงามทั้งสองประเภทรวมกันอยู ความงามในศิลปะคือ ลักษณะสวนตัวของศิลปน เปนอารมณท่ีสะเทือนใจของศิลปนท่ีแสดงออกในงานศิลปะ2 ศิลปะคือการแสดงออก (Art as Expression) ศิลปะจะตองแสดงสวนท่ีอยูภายในจิตใจไดแก อารมณ (Emotion) ความรูสึก(Feeling) อาจรวมไปถึงการแสดงออกของมโนคติ(Idea)และความคิด(Thought)อีกดวย3 ศิลปะคือความสมปรารถนา (Art as Wish-fulfillment) ศิลปะและความฝนลวนเปนการแสดงออกของความปรารถนาท่ีถูกเก็บไวในจิตไรสํานึก ความปรารถนาบางอยางเราไมสามารถจะทําใหสมหวังไดในความเปนจริงเพราะอาจขัดตอระเบียบประเพณีของสังคม มนุษยจึงหาทางออกดวยการแสดงออกในความฝนและในศิลปะเปนการแสดงออกที่แฝงอยูในเหตุการณหรือรูปทรงท่ีเปนสัญลักษณ ไมใชการแสดงออกอยางตรงไปตรงมา ศิลปนใชความปรารถนาที่ซอนเรนของเขาสรางความคิดฝนและจินตนาการท่ีนาต่ืนเตนแลวแปลความหมายออกมาเปนงานศิลปะ การแสดงออกของความฝนและจิตไรสํานึกนี้ เปนความพยายามท่ีจะแสดงโลกภายในของจิตออกมาในรูปของโลกภายนอกโดยปราศจากการควบคุมดวยเหตุผล บางคร้ังก็ฝนทั้งท่ีตายังลืมอยู ท่ีเรียกกันวาฝนกลางวัน หรือฝนเฟอง(Day Dream) การฝนกลางวันหรือความคิดฝนนี้ทางจิตวิทยาถือวาเปนจินตนาการชนิดหนึ่ง เปนจินตนาการท่ีไดรับการกระตุนจากความปรารถนาบางอยางในจิตไรสํานึก ศิลปนอาจแสดงรูปคน ส่ิงของ หรือเหตุการณในลักษณะท่ีผิดไปจากสภาพความเปนจริงท่ัวๆไป ดังปรากฏในผลงานศิลปะลัทธิเหนือความจริง หรืองานแบบเหนือจริง(Surrealism)4 ศิลปะคือประสบการณ (Art as Experience) ประสบการณคือการมีชีวิตท่ีสัมพันธกับส่ิงแวดลอม การมีปฏิกิริยากับส่ิงแวดลอมทําใหเรามีความคิดและอารมณซ่ึงเปนประสบการณ เรามีประสบการณมากมายในชีวิตประจําวัน แตเปนประสบการณธรรมดาไมเปนแกนสาร เราลืมมันไดงาย แตบางคร้ังเรามีประสบการณท่ีสําคัญนาพอ เราจะจําไวเปนพิเศษ ประสบการณนั้นไดอยางฝงใจ แบบนี้เรียกวา ประสบการณแท ประสบการณแทนั้นมีระเบียบ มีเอกภาพ ทุกสวนทุกตอนมีความหมาย มีความสําคัญ มีอารมณท่ีเดนชัด มีโครงสรางตลอดท่ัวประสบการณนั้น เชน ความกดดัน ความออนหวานนุมนวล และความกลัวเปนตน5 จอหน ดิวอ้ี (John Dewey) นักปรัชญาอเมริกัน ไดกลาวถึง “ ประสบการณแท ” ในชีวิตประจําวันท่ีสงผลตอความรูสึกของมนุษยไดเปน                                                            

2 ชลูด นิ่มเสมอ, องคประกอบของศิลปะ (กรุงเทพฯ : อมรินทรพร้ินต้ิงแอนดพับลิชช่ิง,

2553), 13.    

3เร่ืองเดียวกัน, 14.

4เร่ืองเดียวกัน, 17.

5 เร่ืองเดยีวกัน, 20.

Page 21: ณฑ 2553 - SU...เส นทางศ ิลปะ ขอขอบพระคุณ อ.เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน อ.กมล ทัศนาญชลีครูสังคม

10

 

อยางดี และเปนส่ิงสําคัญยิ่งตอคนทํางานศิลปะ ในเร่ืองของการสรางแรงจูงใจ แรงสะเทือนใจศิลปนจึงนําสภาวะเหลานี้ออกมาสรางสรรคเปน งานศิลปกรรม ท่ีมีเอกลักษณเฉพาะตัวท่ีแตกตางกันออกไป ในการสรางสรรคของขาพเจา “ ประสบการณ ” เปนส่ิงสําคัญและขาพเจาพยายามที่จะถายทอดถึงประสบการณแท เพราะขาพเจาเห็นวาเปนประสบการณท่ีมีคุณคา มีแกนสารในตัวของมันเองซ่ึงเปนประสบการณท่ีมี “ สาระ” ดังนั้นการไดไปสัมผัสและมีปฏิสัมพันธกับสถานท่ีจริงเพื่อใหเกิดประสบการแทจึงเปนสวนสําคัญในการสรางสรรค อิทธิพลจากทฤษฎีจิตวิเคราะห (Psychoanalysis) เนื่องจากการสรางสรรคของขาพเจานั้นตองอาศัยอารมณความรูสึกภายในและจิตใตสํานึกในการสรางสรรค ดังน้ันการทําความเขาใจในเร่ืองจิตวิเคราะหจึงเปนส่ิงสําคัญท่ีควรศึกษา นักจิตวิทยาท่ีสําคัญคือ ซิกมันด ฟรอยด (Sigmund Freud) ริเร่ิมแนวความเร่ืองจิตวิเคราะห ดวยวิธีการศึกษาความผิดปกติทางจิตหรือระบบประสาทของคนไขของเขาและหาทางรักษาดวยวิธีทางการแพทย ซ่ึงเรียกวาจิตวิเคราะห (Psychoanalysis) วิธีท่ีฟรอยดใชในการวิเคราะหรักษาคนไขสวนใหญไดแก การกระตุนใหผูปวยไดคิด ไดพูด หรือระบายความรูสึกตางๆที่นึกข้ึนไดหรืออยากพูดออกมา วิธีนี้ฟรอยดเรียกวาความสัมพันธอยางมีอิสระ (Free-association) โดยต้ังขอสังเกตวาปญหาทางจิตของคนมีความสัมพันธกันในแบบมีเหตุและผล โดยมีสาเหตุข้ึนมากอนและจะมีผลตามมากับเหตุนั้น ท้ังนี้โดยผูปวยเองก็ไมเคยรูตัวหรือนึกถึงวงจรเชนนี้มากอน จิตวิทยากลุมนี้ไดแบงลักษณะของจิตออกเปน 3 สวนคือ 1. จิตสํานึก (Conscious) เปนสวนของจิตท่ีแสดงออกโดยการรูตัวอยูตลอดเวลา 2. จิตใตสํานึก (Subconscious) เปนจิตสวนท่ีไมสามารถแสดงพฤติกรรมท่ีมองเห็นได เชน ความกดดันตางๆในจิตใจ 3. จิตไรสํานึก (Unconscous) เปนสวนหนึ่งของจิตใจท่ีมิไดแสดงพฤติกรรมออกมาอยางจงใจ เปนพฤติกรมท่ีเราไมสามารถควบคุมได เชน การฝน (Dream) ฟรอยดยังกลาวถึงโครงสรางบุคลิกภาพ (Structure of Personality) มีสวนประกอบ 3ประการคือ 1. อิด (Id) เปนสวนแสดงพฤติกรรมตามความตองการข้ันพื้นฐานของมนุษยตามความตองการท่ีแทจริง เปนพฤติกรรมดิบท่ียังไมไดขัดเกลา 2. อีโก (Ego) เปนสวนแสดงพฤติกรรมไดอยางเหมาะสม เปนเหตุเปนผล อีโกเปนตัวประนีประนอมระหวางอิดและซุปเปอรอีโก

Page 22: ณฑ 2553 - SU...เส นทางศ ิลปะ ขอขอบพระคุณ อ.เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน อ.กมล ทัศนาญชลีครูสังคม

11

 

3. ซุปเปอรอีโก (Superego) เปนสวนแสดงพฤติกรรมตางๆ ออกมาตามคานิยมท่ีสังคมยอมรับและยึดถือปฏิบัติตาม เชน การเคารพเช่ือฟงผูใหญ พฤติกรรมตางๆของมนุษยจะตองมีอีโก (Ego) เปนตัวประสานระหวางอิดและซุปเปอรอีโก โครงสรางท้ัง 3 ประการนี้สวนใดมีอยูในตัวมากก็จะแสดงพฤติกรรมออกมาตามสวนนั้น อิทธิพลและความบันดาลใจในศิลปกรรม “ธรรมชาติของมนุษยท่ีจะเรียนรูและเอาอยางส่ิงท่ีดีกวามาใช การเรียนรูแลว “คิดตอ”นั้นทําใหโลกเราเจริญข้ึนอยางรวดเร็ว ...ในประเทศตะวันตกการติดอิทธิพลจากผูอ่ืนเปนเร่ืองธรรมดา และมักจะทํากันอยางเปดเผยถึงกับท่ีศิลปนจํานวนไมนอยประกาศไวในแนวความคิดของการสรางสรรค ซ่ึงเม่ือมองในเชิงวิชาการนี้คือการ “อางอิง” อีกแบบหนึ่ง”6 อิทธิพลทางศิลปกรรมท่ีขาพเจามีความสนใจนั้นขาพเจาไดนําลัทธิทางศิลปะมาอางอิงมีอยูสองลัทธิดวยกัน คือ ลัทธิเหนือจริง (Surrealism) และศิลปะแฟนตาสติก (Fantasticism) และซ่ึงในแตละลัทธิดังกลาวลวนมีรูปแบบที่เฉพาะในแตละลัทธินั้นๆ แตในแนวทางการสรางสรรคของขาพเจานั้น ขาพเจาไดซึมซับในผลงานของศิลปนท่ีขาพเจาช่ืนชอบ และไดนําอิทธิพลบางประการในลัทธินั้นๆมาประยุกตใชใหสอดคลองเหมาะสม และสรางความสัมพันธกับการสรางสรรคของขาพเจาดังนี้ 1. ศิลปะเหนือจริง (Surrealism) มีความหมายวา “เหนือความจริง” เพราะศิลปะแนวนี้ถายทอดเร่ืองราวท่ีเหนือธรรมชาติ ถายทอดส่ิงท่ีอยูในความฝนออกมา ศิลปะเหนือจริงนี้มีความสําคัญอยูท่ีการแสดงออกของจิตใตสํานึก(Subconscious) อยางอิสระปราศจากการควบคุมของเหตุผล มีความฝนและอารมณ จินตนาการ หลักการของเซอเรียลิสม คือ จินตนาการเปนสวนสําคัญของการแสดงออก จินตนาการคือจิตไรสํานึก(Unconscious) และจิตไรสํานึกเปนภาวะของความฝน ท่ีมีขบวนการตอเนื่องกันซ่ึงนําไปสูการสรางสรรคงานศิลปะได ส่ิงท่ีเราเห็นจากโลกภายนอกขณะตื่น เปนเพียงปรากฏการณ ทางการแทรกแซงความงามของพวกเขาคือความมหัศจรรย ความมหัศจรรยเพียงอยางเดียวท่ีสามารถสรางศิลปะใหสมบูรณได และยังใหความรูสึกท่ีเต็มไปดวยความหมายตอความรูสึกของมนุษย งานชนิดนี้พัฒนาขึ้นมาในยุโรป ไดรับอิทธิพลมาจากยุค Romantic และมีความเกี่ยวของและพัฒนาพรอมกับแนวคิด ทฤษฎีจิตวิเคราะห (Psychoanalysis) ของซิกมันด ฟรอยด (Sigmund Freud) ซ่ึงศิลปนท่ีขาพเจาช่ืนชอบในลัทธินี้ไดแก มารก ชากัลล

                                                            

6 อิทธิพล ตั้งโฉลก, แนวทางการสอนและสรางสรรคจิตรกรรมข้ันสูง (กรุงเทพฯ :

อมรินทรพร้ินต้ิงแอนดพับลิชช่ิง, 2550), 17.

Page 23: ณฑ 2553 - SU...เส นทางศ ิลปะ ขอขอบพระคุณ อ.เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน อ.กมล ทัศนาญชลีครูสังคม

12

 

(Marc Chagall) และความเหนือจริง (surrealism) นี้ไดปรากฏในการสรางสรรคผลงานของขาพเจาเชนการสรางรูปทรงท่ีผิดเพี้ยนไปจากความเปนจริง และอยูในสภาวการณท่ีเกินจริง แปลกแยกปราศจากเหตุและผล

ภาพท่ี 1 ภาพผลงานของ Marc chagall , The birthday, 1915 ท่ีมา : Karl Ruhrberg, Art of the 20 th century(India : Taschen, 2005), 92.

  2. ศิลปะแฟนตาสติก (Fantastic Art) ขาพเจามีความช่ืนชอบในศิลปะแนวแฟนตาซีโดยเฉพาะผลงานของ Paul Delvaux ธาตุความเปนแฟนตาสติกมากมายปรากฏอยูในภาพท่ีสรางสรรคของ Paul Delvaux ท้ังเนื้อหาท่ีคลุมเครือ องคประกอบภาพท่ีกระจัดกระจาย ภาพคนท่ีไมสมจริง สีอันกลมกลืนท่ีเปนผลมาจากการเลือกสรรอยางประณีต การจัดแสงแบบออมๆ แมกระท่ังช่ือภาพ “แสงท้ังมวล” มนตขลังของภาพนี้เกิดจากบรรยากาศอันคลุมเครือ ในทางตรงกันขามส่ิงท่ีคนพบกลับเปนปริศนาแหงความเปนแฟนตาสติก แสงคือปจจัยสําคัญท่ีทําใหเกิดความรูสึกเชนนี้ แมวา “ไฟท้ังหมด” จะถูกทําใหสองสวางแตก็ไมอาจรูท่ีมาของแสงคืออะไร และมันนาจะสองไปยังท่ีใด ความนาเคลือบแคลงของสถานท่ีแหงนี้ทําใหผูชมรูสึกเหมือนกําลังมองดูฉากละครอันแหวกแนวท่ีสะทอนความไรสาระของชีวิต ทุกส่ิงไมเปนเชนท่ีเห็น ทุกส่ิงผุดจากเงาท่ีเกิดจากการสาดสองของแสง เพียงเพื่อท่ีจะหายลับกลับไปสูความมืดอีกคร้ังหนึ่ง

Page 24: ณฑ 2553 - SU...เส นทางศ ิลปะ ขอขอบพระคุณ อ.เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน อ.กมล ทัศนาญชลีครูสังคม

13

 

ภาพท่ี 2 ภาพผลงานของPaul Delvaux, All the Light, 1936. ท่ีมา : วอลเตอร ซูเรียน, ศิลปะแฟนตาสติก (กรุงเทพฯ : เดอะเกรทไฟนอารท, 2552), 77. 3. ศิลปะแบบอารตนูโว (Art Nouveau ) “ไมมีภาพเหมือนตัวเอง ผมไมสนใจจะวาดภาพตัวเอง แตสนใจท่ีจะนําคนอ่ืนมาเปนแบบโดยเฉพาะผูหญิง แตความสนใจน้ีก็ยังไมมาก ถาเปรียบเทียบกับความสนใจกับปรากฏการณอ่ืน หากใครตองการรูเร่ืองราวของผม-ในฐานะศิลปน ซ่ึงเปนสถานะเดียวท่ีนาสนใจ-ก็ควรดูภาพเขียนของผมใหลึกซ้ึงใชภาพเหลานั้นเปนส่ือท่ีจะเขาใจความเปนผม และความตองการของผม” กุสตาฟ คลิมท7 ศิลปนกุสตาฟ คลิมท เกิดเม่ือ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2405 ถึงแกกรรม 6 กุมภาพันธ พ.ศ. 2461 เปนจิตรกรชาวออสเตรียและมัณฑนากรหัวกาวหนาแหงออสเตรียในชวงปลายคริสตศตวรรษท่ี 19 อันเปนชวงเวลาท่ีศิลปะแนวใหม หรือ Art Nouveau กําลังงอกงามในยุโรป ผลงานของเขาแสดงใหเห็นถึงจุดเหล่ือมระหวางศิลปะประยุกต ท่ีสรางเพื่อการตกแตง กับงานวิจิตรศิลปท่ีศิลปนสรางข้ึนเพื่อเสนอสาระและคุณคาในตัวงาน “เขาลดทอนรายละเอียดรางกายเหลือเพียงเปนสวนประดับตกแตง ดูบริสุทธ์ิ แตก็มีการจัดวางอยางงดงาม การจัดการกับผิวนอกของภาพอยางประณีตนี้ทําใหคลิมทเปนศิลปนท่ีประสบความสําเร็จในการนําขนบนิยมของศิลปะเอเชียตะวันออกซ่ึงนิยมกันอยูในยุโรปสมัยนั้นมาปรับใช

                                                            

 7 วอลเตอร ซูเรียน, ศิลปะแฟนตาสติก ( กรุงเทพฯ : เดอะเกรทไฟนอารท, 2552), 40.

Page 25: ณฑ 2553 - SU...เส นทางศ ิลปะ ขอขอบพระคุณ อ.เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน อ.กมล ทัศนาญชลีครูสังคม

14

 

ภาพนี้มีการจัดวางองคประกอบแบบแฟนตาสติคในแงท่ีเปนภาพ 2 มิติ มีโครงสรางรูปลักษณภายนอกท่ีมิไดซุกซอนความลับใดไวมองเผินๆความพิเศษอยูท่ีฉากหลังคือหองท่ีเปนช้ันเชิงลดหล่ัน ทําใหรางของสตรีในภาพ ดูจะแผกระจายกินพื้นท่ีออกไป ทําใหภาพนี้เปนการจับคูระหวางองคประกอบท่ีขัดแยง ซ่ึงแมวาผูชมจะพยายามพิจารณาเขาถึงสถานท่ีในภาพนี้อยางไรก็ไมมีวันประสบความสําเร็จเพราะส่ิงท่ีปรากฏคือความเปน 2 มิติ ความเปนสถานท่ีท่ีปราศจากจุดเร่ิมตนและจุดจบ ไรทางเขาและทางออก สถานท่ีท่ีไมมีท่ีอยู”8 ซ่ึงในการสรางสรรคของขาพเจานี้มีลักษณะของความเปน 2 มิติคลายลักษณะผลงานของคลิมทผสมผสามอยูดวย ซ่ึงความเปน 2 มิตินี้สามารถอางอิงถึงความเปนแฟนตาซีไดดี ซ่ึงเปรียบเสมือนมิติท่ีหลุดจากโลกความเปนจริงอันมิสามารถท่ีจะสัมผัสถึงจุดเร่ิมตนและจุดจบในสถานท่ีแหงความฟุงฝนของขาพเจา ภาพท่ี 3 ภาพผลงานของ Gustav Klimt, Portrait of Fritza Riedler, 1906. ท่ีมา : Gilles Néret, Klimt (Germany : Taschen, 2003), 61.                                                             

8เร่ืองเดียวกัน.

Page 26: ณฑ 2553 - SU...เส นทางศ ิลปะ ขอขอบพระคุณ อ.เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน อ.กมล ทัศนาญชลีครูสังคม

15

 

อิทธิพลจากการศึกษาในเร่ืองทฤษฎีของสี-แสง แสงสามารถแบงตามลักษณะของแหลงกําเนิดแสงได 2 ประเภทหลักๆ คือ 1. แสงธรรมชาติ (Natural Light) คือแสงธรรมชาติเปนแสงท่ีเกิดจากดวงอาทิตย 2. แสงประดิษฐ (Artificial Light) แสงประดิษฐเปนแสงจากแหลงกําเนิดแสงท่ีมนุษยสรางข้ึนเพื่อใหเกิดความสวางในการใชงานและดําเนินชีวิตของมนุษย แสงประดิษฐซ่ึงอาศัยพลังงานไฟฟาเปนแหลงพลังงานสําคัญ นั้นมีรูปแบบท่ีไดพัฒนาใหมีความสวยงามและประสิทธิภาพมากข้ึนในปจจุบัน แสงประดิษฐนั้นมีสีสันท่ีหลากหลายเปนเทคโนโลยีท่ีทันสมัยจึงสามารถนํามาสรางบรรยากาศไดตามความตองการ และนํามาประดับประดาตกแตงในชวงเทศกาลตางๆ ไดเปนอยางดี จากทฤษฎีการการหักเหของแสงของ ของนิวตัน และจากสามเหล่ียมสี CIE พบวา แสงสีเปนพลังงานเพียงชนิดเดียวท่ีปรากฎสี จากดานท้ัง 3 ดานของรูปสามเหล่ียมสี CIE นักวิทยาศาสตรไดกําหนดแมสีของแสงไว 3 สีคือ สีแดง (Red) สีเขียว (Green) และสีน้ําเงิน (Blue) แสงท้ังสามสี เม่ือนํามาฉายสองรวมกันจะทําใหเกิดสีตาง ๆ ข้ึนมาคือ แสงสีแดง + แสงสีเขียว = แสงสีเหลือง (Yellow) แสงสีแดง + แสงสีน้ําเงิน = แสงสีแดงมาเจนตา (Magenta) แสงสีน้ําเงิน+ แสงสีเขียว = แสงสีฟาไซแอน (Cyan) และถาแสงสีท้ังสามสีฉายรวมกันจะไดแสงสีขาว หรือไมมีสี เราสามารถสังเกตแมสีของแสงไดจากโทรทัศนสี หรือจอคอมพิวเตอรสี โดยใชแวนขยายสองดูหนาจอจะเห็นเปนแถบสีแสงสวาง3 สีคือ แดง เขียว และน้ําเงิน นอกจากน้ีเราจะสังเกตเห็นวา เคร่ืองหมายของสถานีโทรทัศนสีหลาย ๆ ชองจะใชแมสีของแสงดวยเชนกัน ทฤษฎีของแสงสีนี้ เปนระบบสีท่ีเรียกวา RGB (Red - Green - Blue) เราสามารถนําไปใชในการถายทําภาพยนตร บันทึกภาพวิดีโอ การสรางภาพ เพื่อแสดงทางคอมพิวเตอร การจัดไฟแสงสีในการแสดง การจัดฉากเวที เปนตน

Page 27: ณฑ 2553 - SU...เส นทางศ ิลปะ ขอขอบพระคุณ อ.เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน อ.กมล ทัศนาญชลีครูสังคม

16

 

ภาพท่ี 4 ภาพแสดงการผสมสีแสง ซ่ึงหลักการของการผสมสีแสงนี้มีความแตกตางกับการผสมสีวัตถุ(Pigment) มากและขอแตกตางดังกลาวนี้ทําใหขาพเจาไดเห็นประเด็นในการสรางสรรคผลงานจิตรกรรมของขาพเจาคือการใชหลักการผสมสีแบบสีวัตถุ(Pigment)เพื่อใหเกิดผลทางดานอารมณความรูสึกแบบสีแสง(Artificial Light) อิทธิพลและความบันดาลใจจากพุทธศาสนา ทฤษฏีควอนตัม นําเสนอโดย มักซ พลังค คนพบวารังสีของแสงท่ีเปลงออกมามีลักษณะเปนกลุมๆ ซ่ึงประกอบดวยหนวยเล็กๆ เรียกวาควอนตัม(Quantum) ขนาดของควอนตัมข้ึนอยูกับความถี่ ซ่ึงภายหลังไอนสไตนไดเรียกวาควอนตัมของแสง เขาสามารถพิสูจนไดอยางแจมชัดวา คล่ืนแสงก็มีคุณสมบัติเปนอนุภาค ทฤษฎีนี้เปนหัวใจของฟสิกสยุคใหม ซ่ึงถือวา คล่ืนเชนคล่ืนวิทยุ คล่ืนแสง คล่ืนแรงโนมถวง ฯลฯ ท้ังหลายเหลานี้ลวนทําตัวเปนอนุภาคได ในทางกลับกัน อนุภาคเชนอิเล็กตรอน โปรตอน หรือแมแตรางกายมนุษย ตางก็สามารถเปล่ียนคุณสมบัติเปนคล่ืนได ดังนั้นทุกส่ิงทุกอยางบนโลกนี้ไมสามารถคาดการณไดอยางชัดเจน เพราะความจริงแทแลวมันสามารถเปล่ียนกลับไปกลับมาระหวางคุณสมบัติของคล่ืนกับอนุภาค9 ซ่ึงอนุภาคเหลานั้นเปนองคประกอบของสสารทุกชนิดบนโลกนี้ เราพบวา อนุภาคเหลานี้มีความไมเท่ียง แปรเปล่ียนไป

                                                            

9 สม สุจิรา, ไอนสไตนพบพระพุทธเจาเห็น (กรุงเทพฯ : อมรินทรปร้ินต้ิงแอนดพับลิชช่ิง, 2552), 22.

Page 28: ณฑ 2553 - SU...เส นทางศ ิลปะ ขอขอบพระคุณ อ.เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน อ.กมล ทัศนาญชลีครูสังคม

17

 

ตลอดเวลา และไมมีตัวตนท่ีแท ซ่ึงคลายคลึงอยางยิ่งกับหลักแหง “อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา” ในกฎแหงไตรลักษณ ไตรลักษณหมายถึงลักษณะทางธรรมชาติ 3 ประการ ท่ีพระพุทธองคทรงเห็นธรรมชาติ และนํามาสอนใหมวลมนุษยเขาใจคือ “อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา” ซ่ึงส้ันและเขาใจไดดีท่ีสุด อนิจจังคือทุกส่ิงทุกอยางไมเท่ียง เปนอนิจจัง ซ่ึงเปนกฎของธรรมชาติ ไมวาอะไรก็ไมยืนยงคงอยู นอกจากเร่ืองทางกายภาพท่ีเปนอนิจจังแลว ทุกส่ิงไมเท่ียง แมเร่ืองทางอารมณความรูสึกนึกคิด ความสุขความทุกข ยิ่งไมเท่ียงมากข้ึน เปล่ียนแปลงใหเราเห็นไดทุกวัน ชาวพุทธจึงตองระลึกไวเสมอวา “ทุกส่ิงไมเท่ียง” เพื่อไมใหลืมตน มีส่ิงเดียวท่ีเท่ียงคือความไมเท่ียง กฎท่ีสําคัญขอท่ีสอง ของไตรลักษณก็คือ “ทุกขัง” หมายถึงวาทุกส่ิงเปนทุกข ในสวนของความสุขเองก็มีทุกขแฝงอยู กลัวจะไมยั่งยืน เปล่ียนแปรไป ทุกขจึงเปนองคประธานของพุทธศาสนาเพราะเปนกฎของธรรมชาติ ขอท่ีสาม ก็คือ อนัตตา ซ่ึงแปลตามตัววาไมมีอัตตาซ่ึงหมายถึงไมมีตัวตน ซ่ึงมิไดหมายความวาไมมีตัวไมมีตนทางกายภาพ จึงควรแปลวาไมใชตัวไมใชตนหมายถึงวาส่ิงท่ีวาเปนตัวนั้นก็ไมใชตัว ส่ิงท่ีเรียกกันวาอยางโนนอยางนี้ก็ไมใชส่ิงนั้นเปนขอสมมุติท้ังส้ิน ความจริงแลวไมมี ซ่ึงก็เปนอนัตตาอีกเชนกัน ท่ีวา นิพพานัง สุญญัง ประโยชนของไตรลักษณคือ เพื่อใหมนุษยไมลุมหลงไมยึดติดยึดถือกับส่ิงใดส่ิงหนึ่งท่ีเปนของเรา ทําใหลดอุปทานคือ การยึดม่ันยึดถือ ไมกอความทุกขหรือความเดือดรอนแกผูอ่ืน ลดความเห็นแกตัวลง สามารถปรับตัวได แมวาจะเกิดการพลัดพรากจากส่ิงท่ีพึงปรารถนาท่ีรักใครหรือส่ิงท่ีไมพึงปรารถนา การศึกษาในกฎของไตรลักษณนี้ทําใหขาพเจาพบวา แสง-สี ท่ีปรากฏใหเรามองเห็นและรูสึกนั้นคือการปรุงแตงในความรูสึกของเราเองท้ังส้ิน แสงสีท่ีเรามองเห็นเปนเพียงภาพมายาที่หลอกลอใหเราหลงใหลในความงดงามของมัน แทจริงแลวมันเกิดข้ึนและสามารถสลายหายไปไดในเพียงแคช่ัวพริบตา ทําใหขาพเจาไดใชสติในการรับรูในส่ิงท่ีเห็น และรูเทาทันขณะจิตของตัวเองอยูเสมอ เพื่อมิใหสภาวะจิตของขาพเจาตกอยูในสภาวะแหงความลุมหลงในความงดงามของแสง-สี และการนําหลักคําสอนในทางพุทธศาสนามากลาวอางอิงนี้ก็เพื่อท่ีจะแสดงสาระแหงความจริงแทดังกลาวสูการสนับสนุนกระบวนการพัฒนาทางความคิดทางการสรางสรรคของขาพเจา

Page 29: ณฑ 2553 - SU...เส นทางศ ิลปะ ขอขอบพระคุณ อ.เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน อ.กมล ทัศนาญชลีครูสังคม

18

 

อิทธิพลจากความบันดาลใจในส่ิงแวดลอมในปจจุบัน ส่ิงแวดลอมในปจจุบันนั้นสงผลตอการสรางสรรคของขาพเจาท้ังทางตรงและทางออม ขาพเจาไดเท่ียวแสวงหาพื้นท่ีความงดงามของแสง-สีในยามราตรีโดยเฉพาะอยางยิ่งแสงไฟท่ีประดับประดาสองสวางอยูในเมืองหลวง การไดไปสัมผัสกับสถานท่ีตางๆน้ันลวนสงผลตอความคิดและความรูสึกของขาพเจาในแนวทางท่ีหลากหลาย ซ่ึงขาพเจาไดนํามาเปนแรงบันดาลใจในการสรางสรรคผลงาน และเปนท่ีมาสําคัญตอการพัฒนาไปสูแนวความคิด (Concept) ในการสรางสรรคของขาพเจาดวย ภาพท่ี 5 ภาพทิวทัศนกรุงเทพยามราตรี อิทธิพลจากความบันดาลใจในส่ิงแวดลอมในปจจุบัน ภาพท่ี 6 ภาพแสงไฟประดับ ขอมูลจากความบันดาลใจในส่ิงแวดลอมในปจจุบัน

Page 30: ณฑ 2553 - SU...เส นทางศ ิลปะ ขอขอบพระคุณ อ.เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน อ.กมล ทัศนาญชลีครูสังคม

19

 

ภาพท่ี 7 ภาพแสงไฟประดับตนไม ขอมูลจากความบันดาลใจในส่ิงแวดลอมในปจจุบัน ภาพท่ี 8 ภาพแสงไฟประดับตนไม ขอมูลจากความบันดาลใจในส่ิงแวดลอมในปจจุบัน

Page 31: ณฑ 2553 - SU...เส นทางศ ิลปะ ขอขอบพระคุณ อ.เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน อ.กมล ทัศนาญชลีครูสังคม

• •

• •

• ••

. d

UJlJl3

fll':ifhtl'llAltlIlUUIID~11lfl11''Ufll1l1¥1~il11ft

.. 4 "" ~ ~W 1" ~ .... , . 1w . ~ IU6ff~u'll !~~Ufl111l'1H1"1~ ~'II16fl1~~'U~lm16~1I1V\l10m"lf11"IIH)!JH ..mm

d,q, 0' "" 1 'JI o'~ ~ 4 0' tI lI'U~Il'UIO"tl1;UjlH,.~n16'U ~ l'lJl"V~lIff"~61nJiI!'U'UtJ601l1 !'U~ l'U t~ tJ~m"lf111i1!l!l:l~6Ullil!

.. ,,; 4 "" , "w .r.... 4 .1 <I J! ~ ff:;IJlVU \Ill ff~lJU !'I1UII~:;!lff"~VtJ O'UfWIIUlI:; tJ~'IJ tJHlllffllu ~ II'U 11;<J~\l:;I'IV~~~1l10'"

~ >IV ...L "" <::t >IV _1 .<::., I 0' A <i' iii ~~ 'II ~ tJ m 1lJI lJ\UI 'U1I'U~<JUI..01 flUllJ 'fl; ~1I11~1 'flfl'Ufl <JON fflll,J" iI! 1l'U11; tJ ~\l:::11ff1H ..1 !....6 ~

Z.I w ~ .1 4 .! '"'' ~.I l' 4 W .. 1061nOluJlHIllJ!Jlfl'Ul'l 1I11~llJJI"~\l:;IO"'IJ'U !'Ill"tJ~u1:;O<JtJI'I1VI'fl fl'U flO'lJIIUlIl <J~ .,

, .r!ll ~ ~ ~ .... ~ ~ , q .it 'U tJ JI'U'u lTt!\Jlll~ I" fl~ l1MOllOlll 'U ..fl111lfflJWlJ'Ii'IJMflU Ilff,N<J<Jfl !lJllJ611'1

• ltlll'lJ'lJ !I~:;n1fll1fl1ilouhllm t'1'!l~ffn ti''lJ6~1I'1WI'1~~I'I<J 'tlii

• 4 fl11 fl1 '11'IlAII'Illll8'1

I~M (Subject) ~,11TtI~l'W11J1ff!mmI'l1Iimi lt1ml tll'rf ii~'lJtN mdbtifl',J ~~~~

ff'U11l'IJ v~mTtu'U,11WI'lll:::1U'Uiiflll i i'ltlm~'lJVU1'U(Figurative) 1i1'U.i1'Utlltll\j''U flmlllff'U v

!I~:;ii1tifl'U1l:::!1I'U1Y1'U liltll\j ~, V~ll'l'tI

UlJ11~tJ~ (Theme) ~,11TtI~1'IiU1IffU<Jti6m1lJ~"~llJ'lJ6~Uff~-ihJ6~hHh1'UfJ1lJ'l 1..1

..!",,:,;,,,1'~ -1~1 11 ~ .. ~"!II1''''If'lllJ 'U ff 'IJI'lJT!'II'llllfl ..m lUlJ l~JI'lJ \l!l~:::'11~~ 'II~ 'Um1lJ~" 'I1lJ'IJ6'1lJ'U 1I~:::" ~i;j" !'II'lJ1WI1l11'IJ 1

1tI tlll il' ffOtJ ffO llJ~l'Il'1'1 ~ 'I iiuff ~iitlllJftTtlT"H 1'Il'lfi..f1111lffi Hitl ri~ffl'ii6 g'Ii111 fl~ N~U~ .. 4 i ~ 4 ,.11'" l' ~ ~.I ~ ~ "1 d S1W'lJ6~1'l111l1l"1l" 1:1 IOl'lfl1lllff~"1....1 'tI'IJ1Ttl'OJ 11'IJ1 !lJffll Fu'(ua::: fl'll '11'1 U ff OlU 'IlU 'Il'1 1l1n -1:1 U

1I91~~w'lliiuud','1l ff~H1l~<Jfl1111ffffl'IJ eH..rlwl~1 ua:::!i1ui 1flll1'1lI'l'IJ6~Wq~n:;,IJ fill flllll'IJ 6 ~ J1/ »I • •

ll'lfll ui'Il'iitlijffuim!otJuff~-ffU'll ~~U'Il 'llIJ1IJt'htiuuff~-il ii~I.lOU1IJli i"iUIJlfl'flla HU1UIl~

lf1tl!l~m::-ti'~,UffOl'llti'll!ii~91l~'1 !~Vti'lUIl'~;.i~1;l" , 'Il'lJlIllUU1W l"UItJ~' tltjff01U~~ fluff~-ff :; ..Ii.M ~ ~ '" ~ w ~1 " 'JI i 1 d~ ;" 4,.. ,/l'Il'll '1I~lJ\I~tJ'Ilutr~-1:I tll\lO~l(J!lJlJffl\jaOllil! 1:I1ltjllVf,;j'll1l~ 1I~ U'll1..mllfllflUII'l'llI'IJ'l1:f1IW6

• 'JI" • , 1,1,1tltlllil'trtitJfl111l~"~11J 'lJiT~mri1ii ~~U'UII1'I'~-iY tll'illjj'lllfjV~iT~ritlii6~1Od'i,IJtjllU , 'Il'

lfi~m 1111'1''11 flff'lll'U Iwiil'l!wil'll 1'1l011111"1

10":' "~I ..,.'1rll~ lJlllfflltJ, ~~fllJ":::06tJ'lJtl~j'l'~1l:::. 316,

20

Page 32: ณฑ 2553 - SU...เส นทางศ ิลปะ ขอขอบพระคุณ อ.เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน อ.กมล ทัศนาญชลีครูสังคม

21

 

ขาพเจาจึงเกิดแรงบันดาลใจในการสรางสรรคผลงานชุดนี้ ผานกระบวนการความคิด ความรูสึกสวนตัวของขาพเจาในรูปแบบแฟนตาซี ซ่ึงแนวเร่ืองดังกลาวนี้เปนเสมือนพื้นท่ี(Fantasy Space) ท่ีใหขาพเจาแสดงความรูสึกของจิตใตสํานึกออกมา ซ่ึงการไดแสดงออกทางอารมณความรูสึกจากจิตใตสํานึกของขาพเจานี้ ขาพเจาไดปลอยใหมันเปนตัวกําหนดมโนภาพท่ีปรากฏในความคิดฝนของขาพเจา ซ่ึงจะมีความแตกตางกันในรายละเอียดของผลงานการสรางสรรคในแตละช้ินแตยังคงไวซ่ึงกรอบโครงสรางในแนวความคิด “ แสง-สี กับพื้นท่ีใหมในงานแฟนตาซีของขาพเจาอยู การกําหนดรูปแบบในงานจิตรกรรม “ จิตรกรรมตามความหมายด้ังเดิม คือผลงานทัศนศิลป 2มิติ ท่ีมีดานกวางกับดานยาว สวนมิติท่ี3 ท่ีเปนความลึก ดูลวงตา”11 จิตรกรรมไดตอบสนองการสรางสรรคผลงานศิลปะของศิลปนมานับต้ังแตบรรพกาล ในยุคปจจุบันศิลปนไดพยายามขยายขอบเขตของจิตรกรรมใหแตกตางออกไป เชนสรางผลงานทีมีขนาดท่ีใหญโต สรางความหนานูนลอยตัวออกมา หรือแมกระท่ังผสมกับส่ือเทคโนโลยีสมัยใหม การสรางสรรครูปแบบที่หลากหลายทางจิตรกรรมนั้นเพ่ือตอบสนองในแนวทางการสรางสรรคใหมๆ ซ่ึงรูปแบบตางๆของจิตรกรรมเหลานี้ก็ข้ึนอยูกับเจตนาของศิลปน หาใชการดูแคลนวาจิตรกรรมเปนส่ิงลาหลัง แตสําหรับขาพเจาแลวจิตรกรรมยังคงสามารถรักษาคุณคาในตัวของมันเองไดมาจนถึงปจจุบัน เพราะจิตรกรรมมีภาษาท่ีพิเศษและเปนภาษาเฉพาะในการส่ือความหมายท่ีเราเรียกวา “ภาษาภาพ” และทัศนธาตุในผลงานจิตรกรรมก็ไดแสดงพลังของมันไดอยางเปดเผย ขาพเจาไดอางอิงเร่ืองราวเนื้อหาจากโลกแหงความเปนจริงผสมผสานกับโลกแหงความฝน ดังนั้นขาพเจาจึงใชรูปแบบท่ีเหมือนจริง(Realistic) ผสมผสานกับรูปแบบเหนือจริง(Surrealism) ท่ีมีความสอดคลองสัมพันธกับแนวความคิดและอารมณความรูสึกของขาพเจาผานรูปแบบของงานจิตรกรรม เพราะงานจิตรกรรมเปนรูปแบบท่ีสามารถรองรับจินตนาการของขาพเจาไดอยางเหมาะสมและมีเอกภาพ ทัศนธาตุท่ีใชในการสรางสรรค ทัศนธาตุในผลงานจิตรกรรมของขาพเจานั้นเปนสวนสําคัญในการส่ือความหมายแบบ “ภาษาภาพ” ขาพเจาใชการประสานสัมพันธของทัศนธาตุท่ีมีความเชื่อมโยงกับเนื้อหาและเทคนิค

                                                            

11 อิทธิพล ตั้งโฉลก, แนวทางการสอนและสรางสรรคจิตรกรรมข้ันสูง , 63.

Page 33: ณฑ 2553 - SU...เส นทางศ ิลปะ ขอขอบพระคุณ อ.เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน อ.กมล ทัศนาญชลีครูสังคม

22

 

กระบวนการในการสรางสรรคของขาพเจา เพื่อสรางเอกภาพในผลงานจิตรกรรมของขาพเจา ดังตอไปนี้ 1. รูปทรง(Form) รูปทรงที่ขาพเจานํามาใชเปนรูปทรงท้ังท่ีเปนแบบเหมือนจริง(Realistic) ท่ีสามารถพบเห็นไดจริง เชน สัตว หรือส่ิงของตางๆ และรูปทรงท่ีขาพเจาจินตนาการข้ึนซ่ึงมีลักษณะแบบกึ่งนามธรรม (Semi Abstract) 2. รูปทรงของคน (Figurative) ท่ีปรากฏอยูในผลงานของขาพเจานั้นอางอิงมาจากตัวของขาพเจาเอง มีลักษณะกึ่งเหมือนจริง ทําทาทางท่ีดูลองลอย คลุมเครือ เคล่ือนไหว ไปมา ภายในภาพ การสรางสรรคผลงานท่ีถายทอดความคิดและความรูสึกจากจิตไรสํานึกนั้นบางคร้ังการท่ีจะหาความหมายหรือความจริงท่ีปรากฏในรูปทรงน้ันเปนส่ิงท่ียาก ขาพเจาเห็นวา ความคลุมเครือ ความเลือนราง ความไมชัดเจน เปนส่ิงท่ีนาคนหาในงานศิลปะของขาพเจา ทําใหเกิดการต้ังคําถามถึงความหมายหรือสาระในรูปทรงนั้นๆอยูเสมอ ทําใหคนดูและขาพเจาไดใชเวลาสํารวจ และคนหาส่ิงตางๆท่ีแฝงไวในผลงานการสรางสรรคของขาพเจาในการภายหลัง ภาพท่ี 9 ภาพรายละเอียดของรูปทรง(Figurative) 3. เสน (Line) ในผลงานของขาพเจานั้นประกอบดวยเสนท่ีเกิดจากเสนรอบนอกของรูปทรง หรือเกิดจากการตัดกันอยางรุนแรงของแสงและเงาก็ปรากฏใหเกิดเปนเสน และเสนท่ีหนานูนจากเทคนิคการบีบเสนสีเสนเล็กๆ เสนท่ีปรากฏในผลงานการสรางสรรคของขาพเจานั้น ขาพเจา

Page 34: ณฑ 2553 - SU...เส นทางศ ิลปะ ขอขอบพระคุณ อ.เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน อ.กมล ทัศนาญชลีครูสังคม

23

 

จงใจใหเสนมีความคมชัดเพื่อการแบงแยกรูปรางรูปทรงของส่ิงตางๆใหแยกออกจากกันโดยชัดเจน เพื่อสรางมิติภายในภาพ เชนรูปทรงท่ีอยูในระยะหนาสุดเสนรอบรูปทรงจะมีขนาดใหญชัดเจนหรือหนานูนกวาปกติ และเสนจะเบาบางลงไปเม่ือรูปทรงอยูในระยะท่ีไกลออกไป และเสนโดยรวมของภาพที่ขาพเจาใชจะเปนเสนท่ีมีลักษณะโคงไหลล่ืนซ่ึงอารมณท่ีเกิดในเสนดังกลาวเกิดจากการผสมเทคนิคการรางภาพอัตโนมัติ(Automatic Drawing) ของขาพเจาซ่ึงสามารถแสดงอารมณ แหงความนุมนวล เคล่ือนไหว ล่ืนไหลไมรูจบภายในภาพไดเปนอยางดี 4. สี (Color) ในงานจิตรกรรมของขาพเจา สีถือวาเปนทัศนธาตุท่ีสําคัญในการแสดงออก ขาพเจาใชสีในการแสดงออกถึงความคิดและอารมณความรูสึกของขาพเจา และเปนตัวแทนของสัญลักษณ(Symbolic)ในผลงานจิตรกรรม ขาพเจาใชความสดของสีแท (Hue) เพื่อแสดงพลังของสีใหออกมามากที่สุด และใชการผสานสัมพันธของสีใหเกิดความกลมกลืน ขาพเจาใชสีในการแทนคาของแสงสี- เงา และบรรยากาศภายในภาพ สีในงานของขาพเจานั้นทําหนาท่ีเสมือนการอางอิงถึงแสงไฟ(Artificial Light) ดังนั้นการใชสีของขาพเจาจึงตางจากสีท่ีมีท่ีมาจากแสงจากธรรมชาติอยางเชนแสงของพระอาทิตยในศิลปะแบบอิมเพรชช่ันนิส(Impressionism) ท่ีนําเสนอสีท่ีแพรวพราวแทนคาของแสงจากธรรมชาติ แตเปนการใชสีท่ีอางอิงจากแสงสังเคราะหหรือแสงไฟฟาประดิษฐ ผสมผสานกับสีท่ีมาจากอารมณความรูสึกภายในของขาพเจา 5. น้ําหนัก (Light and Shadow) น้ําหนักแสงเงาในผลงานสรางสรรคของขาพเจานั้นเกิดจากแสงท่ีอางอิงจากจากแสงไฟประดิษฐ(Artificial Light) ผสมกับแสงในจินตนาการของขาพเจา ดังนั้นขาพเจาจึงไดเฝาสังเกตแสงไฟยามคํ่าคืนทําใหขาพเจาพบคุณสมบัติเฉพาะของแสงไฟซ่ึงแตกตางจากแสงในธรรมชาติ (แสงอาทิตย) ซ่ึงมีผลตอมิติการสรางคาน้ําหนักแสงเงาในงานจิตรกรรมของขาพเจา ซ่ึงขาพเจาจะกลาวในรายละเอียดของแสงไฟในยามราตรี ดังตอไปนี้ 5.1 แสงไฟฟา (Artificial Light) จะมีท่ีมาของแสงไดหลากหลายทิศทาง ดังนั้นการปรากฏของเงาจะแปรผันในทางตรงกันขามกับทิศทางแสง และมีการซอนทับกับแสงและเงาในทิศทางท่ีหลากหลาย ซ่ึงขาพเจาไดเห็นและรับรูในความรูสึกท่ีมีตอทิศทางของแสงท่ีแตกตางกันซ่ึงลวนแลวจะสงผลตอความรูสึกในความรูสึกท่ีแตกตางกันเชนกัน เชนแสงท่ีมีทิศทางจากเบ้ืองลางสองสวางสูเบ้ืองบนจะใหความรูสึกวาเปนแสงไมไดเกิดจากแสงในธรรมชาติ หรือเปนแสงท่ีเกิดจากการสรางข้ึนโดยมนุษย ใหความรูสึกท่ีแปลกประหลาด นาสงสัย หรือแสงท่ีสองจากเบ้ืองบนสูเบ้ืองลางก็อาจจะใหความรูสึกถึงการเนนตัวละครในละครเวที เปนตน ความสัมพันธของแสงกับสีนี้ลวนสงผลตออารมณความรูสึกท่ีแตกตางกัน จําแนกไดดังนี้

Page 35: ณฑ 2553 - SU...เส นทางศ ิลปะ ขอขอบพระคุณ อ.เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน อ.กมล ทัศนาญชลีครูสังคม

24

 

5.1.1 แสงสีอบอุน (Warm Color Light) ไดแกแสงสีในโทนรอน เชน สีเหลือง สม แดง แสงสีดังกลาวจะทําใหวัตถุสีสมหรือแดง ดูสดและสวย แตวัตถุสีนํ้าเงินจะดูทึมๆ สวนวัตถุสีเหลืองออนสีขาว สีเขียวดูกลางๆ สีในโทนนี้จะใหความรูสึกสนุกสนาน รางเริง และอบอุน 5.1.2 แสงสีเย็น (Cool Color Light) ไดแกแสงสีในโทนเย็น เชนสีฟา สีเขียว สีนํ้าเงิน แสงสีดังกลาวจะทําใหวัตถุสีนํ้าเงิน ดูสดและสวย แตวัตถุสีแดงและสมจะดูทึมๆ สวนวัตถุ สีขาว สีเขียวดูกลางๆสีในโทนนี้จะใหความรูสึกสงบ เงียบขรึม แสงสีขาว (White Light) เปนแสงสีขาวเชนเดียวกับสีของแสงธรรมชาติจากดวงอาทิตยแสงสีขาวจะทําใหวัตถุสีตางๆดูกลางๆ สามารถเห็นสีจริงของวัตถุไดชัดเจนมากท่ีสุด รูปทรงท่ีอยูดานหนาของแสง จะมีลักษณะยอนแสงทําใหในบางคร้ังรูปทรงจะมีลักษณะเปนเงาท่ีแบนราบ และแสงไฟท่ีสาดสองสูรูปทรงในดานหนาก็จะทําใหรูปทรงมีลักษณะแบนเชนกัน ซ่ึงปรากฏการณดังกลาวไดสงผลตอวิธีการระบายสีของขาพเจาคือใชความแบนแบบระนาบของแผนสี นั่นคือเหตุผลท่ีในผลงานจิตรกรรมของขาพเจาจึงมีการระบายสีท่ีมีลักษณะแบนผสมกับการระบายแบบเกล่ียคาน้ําหนักออนแกหากทิศทางแสงสองมาทางดานขางของรูปทรง แสงไฟฟา (Artificial Light) จะมีคุณสมบัติท่ีแตกตางจากแสงธรรมชาติ (แสงอาทิตย) ซ่ึงเปนแสงขาว แตแสงจากไฟฟาจะมีสีเฉพาะและหลากหลาย กําลังการสองสวางท่ีครอบคลุมพื้นท่ีมากนอยตางกัน ซ่ึงขาพเจาใชคุณสมบัติของแสงสีจากไฟฟาท่ีหลากหลากหลาย และกําลังสองสวางของแสงไฟในระดับตางๆนี้มาจัดองคประกอบภายในภาพและสามารถสรางมิติความเคล่ือนไหวของแสงระหวางความมืดและสวางเพื่อตอบสนองดานความคิดและอารมณความรูสึกภายในของขาพเจา 6. พื้นผิว(Texture) ผลงานของขาพเจาจะมีพื้นผิวอยูสองลักษณะคือ พื้นผิวท่ีแบน ลวงตาดวยการใชสีน้ํามัน และพ้ืนผิวท่ีนูนข้ึนมาจริง พื้นผิวท่ีขาพเจาสรางข้ึนนั้นมีความหลากหลายในผลงาน พื้นผิวท่ีขาพเจาใชนั้นสรางข้ึนเพื่อสงเสริมความมีชีวิตของรูปทรงและวัตถุตางๆ เชน รูปทรงของคนหรือสัตว ขาพเจาเลือกใชเทคนิคการระบายสีน้ํามันเกล่ียใหแสงเงาเพื่อกอใหเกิดมวล ใหรูสึกถึงความเรียบเนียนหรือมันวาว เทคนิคการสรางผิวดวยสีน้ํามันนี้สามารถตอบสนองอารมณท่ีแสดงถึงส่ิงท่ีมีชีวิตไดดี ดังเชนรูปทรงของปลาทอง หรือกระตายเปนตน สวนในพ้ืนและวัตถุตางๆขาพเจาใชเทคนิคสรางพ้ืนผิวท่ีหลากหลาย ดวยการผสมส่ือวัสดุตางชนิดกัน เชนผนังปูนท่ีดูหยาบกระดาง อันเกิดจากเทคนิคการผสมทราย เปนตน ซ่ึงการใชพื้นผิวในแตละสวนนั้นลวนสงเสริมใหเห็นความแตกตางในชนิดตางๆของรูปทรงไดเปนอยางดี การนําเทคนิคพื้นผิวท่ีมีลักษณะหนานูนกวาปกตินั้นขาพเจาตองใชหลักการมองและพิจารณาผลงานในแบบวิธีการของการสรางสรรคผลงานแบบนามธรรม(Abstract) มาชวย

Page 36: ณฑ 2553 - SU...เส นทางศ ิลปะ ขอขอบพระคุณ อ.เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน อ.กมล ทัศนาญชลีครูสังคม

25

 

ตรวจสอบความสัมพันธในองคประกอบภาพเพื่อใหเกิดความงามท่ีพอเหมาะพอดี ไมมากเกินไป ดังนั้นระบบการจัดการกับพื้นผิวภายในผลงานจึงเปนสวนสําคัญในการสรางสรรคผลงานใหมีความสัมพันธ กลมกลืน อยางมีเอกภาพ ภาพท่ี 10 ภาพรายละเอียดการแสดงพื้นผิวท่ีเกิดจากเทคนิคสีน้ํามัน

Page 37: ณฑ 2553 - SU...เส นทางศ ิลปะ ขอขอบพระคุณ อ.เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน อ.กมล ทัศนาญชลีครูสังคม

26

 

ภาพท่ี 11 ภาพรายละเอียดการแสดงพื้นผิวท่ีหยาบจากเทคนิคสีน้ํามัน ภาพท่ี 12 ภาพรายละเอียดการแสดงพื้นผิวท่ีแตกตางของวัตถุแตละชนิด

Page 38: ณฑ 2553 - SU...เส นทางศ ิลปะ ขอขอบพระคุณ อ.เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน อ.กมล ทัศนาญชลีครูสังคม

27

 

ภาพท่ี 13 ภาพรายละเอียดการแสดงพื้นผิว 7. ท่ีวาง(Space) และการกําหนดพื้นท่ีข้ึนใหมในงานจิตรกรรม พื้นท่ีวางในผลงานจิตรกรรมของขาพเจานั้น ขาพเจาจะกลาวถึงพื้นท่ีวางใน2ลักษณะ คือท่ีวางท่ีเปนพื้นท่ี (Area) หรือสถานท่ี และท่ีวางท่ีเปนบรรยากาศลอมรอบรูปทรง(Space) การกําหนดพ้ืนท่ีข้ึนใหมนี้ ขาพเจาไดสรางมิติในเงื่อนไขของเวลามาซอนทับกันอยูในงานจิตรกรรมของขาพเจา มิติเวลาท่ีมีท่ีมาจากพ้ืนท่ีหรือสถานท่ีจริงในโลกปจจุบันท่ีสะเทือนความรูสึกของขาพเจาซอนทับอยูกับเวลาที่เปนโลกแหงจินตนาการ ความฝน ความคิดและความรูสึกภายในจิตใจของขาพเจา ดวยการที่มีการซอนทับของเวลาดังกลาวนี้สงผลใหรูปแบบของการสรางพื้นท่ี(Space) ในผลงานของขาพเจาจึงมีลักษณะของการอยูในสภาวะกึ่งจริง กึ่งฝน เปนพื้นท่ีใหมท่ีเกิดข้ึน คือพื้นท่ีท่ีขาพเจาเรียกมันวา “พื้นท่ีแหงความฝน”(Fantasy Space)ท่ีไมสามารถเห็นไดในโลกแหงความเปนจริง เปนพื้นท่ีท่ีมีความหมายเฉพาะของศิลปนเอง ขาพเจาไดเลือกใชพื้นท่ีอันเปนมิติท่ีขาพเจาสรางข้ึนเอง เปนเสมือนพื้นท่ีท่ีใหขาพเจาสามารถระบาย พรรณนาความรูสึกภายในจิตใจของขาพเจา เปนพื้นท่ีสวนตัวใหขาพเจาไดสัมผัส และสํารวจตัวเอง เปนเวลาท่ีขาพเจาสรางข้ึนในอีกมิติหนึ่ง สวนในท่ีวางท่ีลอมรอบรูปทรงนั้นขาพเจาไดจัดการกับพื้นท่ีวางใหเกิดความเคล่ือนไหวสัมพันธกับรูปทรง เสมือนอากาศท่ีโอบอุมรูปทรงท่ีมีความเคล่ือนไหว แมในผลงานจิตรกรรมของขาพเจาจะเต็มไปดวยรายละเอียดของรูปทรงตางๆกระจายไปท่ัวผลงานแตการใชพื้นท่ีวางท่ีมีมิติลวงตาในจิตรกรรมของขาพเจานั้นไดแสดงมิติระยะที่กวางไกล ใหความรูสึกโลงโปรง สบาย ไร

Page 39: ณฑ 2553 - SU...เส นทางศ ิลปะ ขอขอบพระคุณ อ.เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน อ.กมล ทัศนาญชลีครูสังคม

28

 

การปดกั้น แมในบางผลงานขาพเจาเลือกใชเร่ืองราวของพื้นท่ีภายในหอง แตขาพเจาไดสรางการถายเทของท่ีวางภายในหองจากภายในสูภายนอก ดวยการไรการปดกั้นดวยเพดาน จึงทําใหผลงานของขาพเจามีพื้นท่ีวางท่ีโลง โปรง เบา สบาย ตรงตามความรูสึกของขาพเจาไดเปนอยางดี วิธีการสรางสรรคผลงาน เม่ือขาพเจาเกิดความคิด ความรูสึกกับเร่ืองราวหรือสถานท่ีท่ีสะเทือนความรูสึกของขาพเจาแลว ขาพเจาจะมีมโนภาพเกิดข้ึนอยางคราวๆในหวงความคิดฝน ข้ันตอนตอไปในการสรางสรรคผลงานคือการถายทอดความคิด ความรูสึกภายในจิตใจของของขาพเจาใหออกมาเปนรูปธรรมผานผลงานในรูปแบบจิตรกรรมสองมิติ เทคนิควิธีการในการสรางสรรคผลงาน การสรางสรรคผลงานจิตรกรรมนั้น เทคนิควิธีการก็เปนสวนสําคัญท่ีในองคประกอบทางศิลปะ ขาพเจาจึงพยายามที่จะสรางความสัมพันธในเทคนิควิธีการใหมีความเช่ือมโยงกับเนื้อหา และรูปทรง ใหองครวมของผลงานการสรางสรรคกอเกิดเปนเอกภาพอยางสมบูรณ ซ่ึงขาพเจาจะขอกลาวถึงเทคนิควิธีการในผลงานสรางสรรคของขาพเจาในแตละข้ันตอนดังตอไปนี้ 1. การสรางผลงานภาพรางตนแบบ 1.1 เม่ือจินตนาการเกิดเปนมโนภาพอยางคราวๆในหวงความคิดฝนของขาพเจาแลว ขาพเจาจะใชวิธีการวาดเสนลงบนกระดาษในการสรางรูปทรงใหเกิดเปนรูปธรรม เพราะการวาดเสนบนกระดาษเปนกระบวนการที่รวดเร็ว และบริสุทธ์ิใจ สามารถถายทอดความคิดฝนออกมาจากภายในไดอยางตรงไปตรงมา 1.2 เม่ือขาพเจาถายทอดมโนภาพอยางคราวๆลงบนกระดาษแลว หากจินตภาพท่ีเกิดมีลักษณะของรูปทรงท่ีมีท่ีมาจากความจริง ขาพเจาจะใชวิธีการถายรูปจากตนแบบจริงโดยการจัดแสงใหเปนไปตามจินตนาการของขาพเจา เชนในผลงานวิทยานิพนธช้ินที่5 ของขาพเจามีรูปทรงเหมือนจริงของกระตาย ขาพเจาก็ใชวิธีการจัดแสงสีและถายรูปทาทางตางๆของกระตายเพ่ือใหไดทาทางและทิศทางของแสงเงาตามท่ีขาพเจาตองการ 1.3 เม่ือขาพเจาไดกําหนดรูปทรงท่ีตองการไวในแบบรางแลวและถายรูปขอมูลของรูปทรงตางๆแลว ข้ันตอนตอไปจึงเปนการนําภาพตามแบบรางและขอมูลภาพถายมาใชโปรแกรมการตกแตงภาพ(Photoshop)ในคอมพิวเตอร แบบรางจากโปรแกรมการตกแตงภาพนี้ไดตอบสนองและรองรับจินตนาการท่ีตรงตามจุดมุงหมายในการสรางสรรคของขาพเจา เพราะแสงสีท่ีเกิดจากภาพในคอมพิวเตอรนี้ มีความสอดคลองกับแสงสีจากแสงไฟท่ีขาพเจาสนใจ เพราะมีพื้นฐานของ

Page 40: ณฑ 2553 - SU...เส นทางศ ิลปะ ขอขอบพระคุณ อ.เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน อ.กมล ทัศนาญชลีครูสังคม

29

 

หลักการผสมสีแบบเดียวกับสีแสง(Artificial Light) ซ่ึงตางจากการผสมสีท่ีเนื้อสี (Pigment) ซ่ึงหลักการการผสมของสีท่ีเปนเนื้อสี(Pigment)นั้นใหผลออกมาอีกรูปแบบหนึ่ง ดังนั้นในผลงานจิตรกรรมของขาพเจาเสมือนการยอนแยงแปรผันในการใชสี กลาวคือการใชสีท่ีเปนเนื้อสี(Pigment) เพื่อเขียนสีของแสงไฟสังเคราะห(Artificial Light)นั่นเอง และเหตุผลดังกลาวมานี้ไดสงผลใหขาพเจาเลือกใชโปรแกรมการตกแตงภาพ(Photoshop) เขามารองรับจินตนาการในเน้ือหาเรื่องราวเกี่ยวกับแสง-สี ยามราตรีของขาพเจาไดอยางเหมาะสม ซ่ึงขาพเจาไดกลาวถึงรายละเอียดความแตกตางระหวางการผสมสีท่ีเปนวัตถุ(Pigment) กับสีแสง(Artificial Light)ไปแลวในบทที่ 2 2. การสรางผลงานจิตรกรรมบนผาใบ 2.1 เม่ือขาพเจาไดภาพรางตนแบบแลว ขาพเจาจึงขยายแบบรางลงบนผาใบหรือผลงานจริง ขาพเจาจะเร่ิมจากการรองพื้นผาใบดวยสีน้ําเงินอมเขียวโทนเขม และจะระบายแบบหยาบๆใหเกิดพื้นผิวของทีแปรงท่ีเพ่ือสรางบรรยากาศโดยรวมของภาพที่ใหความรูสึกถึงชวงเวลาตอนกลางคืน 2.2 ลําดับตอไปขาพเจาก็เขียนภาพของรูปทรงคน และสัตว ดวยเทคนิคสีน้ํามันกอน สวนใดท่ีจะตองใชเทคนิคสีน้ํามันก็ตองเขียนใหเสร็จเปนข้ันตอนแรก และไมไดกําหนดตายตัววาจะตองตรงตามแบบราง อาจปรับเปล่ียนในรายละเอียดไดตามความเหมาะสมตามผลงานช้ินนั้น ๆ 2.3 ข้ันตอนตอไปเปนการวาดรูปทรงท่ีอยูในระยะท่ีไกลออกไปโดยวิธีการสรางสรรคของขาพเจาขาพเจาจะเขียนจากระยะหนาไปจนถึงระยะหลังสุด 2.4 เม่ือเขียนสีน้ํามันในภาพท่ีไดแบงสวน รูปของคน สัตว วัตถุส่ิงของ เสร็จแลว พื้นที่ในภาพท่ีเหลือคือสวนท่ีเปนพื้น และ วัตถุตางๆ หรือเปนพื้นหลังท้ังหมดของภาพ พื้นท่ีเหลานี้ ขาพเจาจะใชสีท่ีเกิดจากการผสม Medium Gel และ Medium Gel ผสมกับทราย เพื่อนําไปสรางใหเกิดเปนพื้นผิว ตามตองการ สีนี้จะมีคุณสมบัติท่ีเขมขน หนานูนมากกวาปกติ ขาพเจาจึงใชวิธีการพอกสีลงไปตามพ้ืนท่ีท่ีกําหนดใหเปนพื้นผิวของวัตถุตางๆ 2.5 เม่ือสวนท่ีเขียนสีน้ํามันกับสวนพ้ืนผิวเสร็จแลว ภาพมันจะมีความขัดแยงในเร่ืองของการแบงแยกรูปทรงตาง ๆ กันอยางรุนแรง ดังนั้นขาพเจาจึงใชการตกแตงภาพและบรรยากาศโดยรวมดวยการกําหนดแสงและเงา เพื่อสรางความกลมกลืนและสรางความสัมพันธภายในภาพภาพใหเปนเอกภาพมากข้ึน 2.6 หลังจากนั้นจึงใช “ Gloss Varnish ” ท่ีเปนชนิดเคลือบสีน้ํามันทาในสวนของพื้นท่ีท่ีเขียนดวยสีน้ํามัน และ“ Gloss Varnish ” ท่ีเปนชนิดเคลือบสีอะครีลิคทาลงไปในพ้ืนท่ีท่ีเขียนดวยสีอะครีลิค เพื่อรักษาผิวหนาผลงานใหคงทน และสรางความเงาใหสมํ่าเสมอท่ัวท้ังภาพ

Page 41: ณฑ 2553 - SU...เส นทางศ ิลปะ ขอขอบพระคุณ อ.เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน อ.กมล ทัศนาญชลีครูสังคม

30

 

แตจะเวนในสวนท่ีเปนผิวหยาบจากการผสมดวยทรายไวเพื่อแสดงพื้นผิวท่ีใหความรูสึกดานและหยาบไว จึงเปนอันเสร็จสมบูรณของวิธีการสรางจิตรกรรมของขาพเจา ภาพท่ี 14 ภาพอุปกรณการสรางสรรค ภาพท่ี 15 ภาพรางผลงาน

Page 42: ณฑ 2553 - SU...เส นทางศ ิลปะ ขอขอบพระคุณ อ.เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน อ.กมล ทัศนาญชลีครูสังคม

31

 

ภาพท่ี 16 ภาพรางผลงาน ภาพท่ี 17 ภาพรางผลงาน

Page 43: ณฑ 2553 - SU...เส นทางศ ิลปะ ขอขอบพระคุณ อ.เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน อ.กมล ทัศนาญชลีครูสังคม

32

 

ภาพท่ี 18 ภาพการใชโปรแกรมตกแตงภาพ(Photoshop)ในคอมพิวเตอร ภาพท่ี 19 ภาพการจัดแสงถายภาพจากแบบจริง

Page 44: ณฑ 2553 - SU...เส นทางศ ิลปะ ขอขอบพระคุณ อ.เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน อ.กมล ทัศนาญชลีครูสังคม

33

 

ภาพท่ี 20 ภาพการจัดแสงถายภาพจากแบบจริง ภาพท่ี 21 ภาพข้ันตอนการเขียนสีน้ํามัน

Page 45: ณฑ 2553 - SU...เส นทางศ ิลปะ ขอขอบพระคุณ อ.เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน อ.กมล ทัศนาญชลีครูสังคม

34

 

ภาพท่ี 22 ภาพข้ันตอนการรางภาพดวยเทคนิคการบีบเสนสี ภาพท่ี 23 เทคนิคการสรางพื้นผิวดวยเกรียง

Page 46: ณฑ 2553 - SU...เส นทางศ ิลปะ ขอขอบพระคุณ อ.เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน อ.กมล ทัศนาญชลีครูสังคม

35

 

ภาพท่ี 24 ภาพข้ันตอนการสรางพื้นผิว ภาพท่ี 25 ภาพข้ันตอนการสรางพื้นผิว

Page 47: ณฑ 2553 - SU...เส นทางศ ิลปะ ขอขอบพระคุณ อ.เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน อ.กมล ทัศนาญชลีครูสังคม

36

 

ภาพท่ี 26 ภาพข้ันตอนการสรางพื้นผิวดวยทรายผสมกับ Medium Gel ภาพท่ี 27 ภาพข้ันตอนการสรางพื้นผิวดวยการผสมทราย

Page 48: ณฑ 2553 - SU...เส นทางศ ิลปะ ขอขอบพระคุณ อ.เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน อ.กมล ทัศนาญชลีครูสังคม

37

 

ภาพท่ี 28 ภาพข้ันตอนการเก็บรายละเอียดผลงาน

Page 49: ณฑ 2553 - SU...เส นทางศ ิลปะ ขอขอบพระคุณ อ.เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน อ.กมล ทัศนาญชลีครูสังคม

38

 

บทท่ี 4

การดําเนินการสรางสรรคผลงานวิทยานิพนธ การสรางสรรคผลงานวิทยานิพนธใน หัวขอ “แสง-สี กับพื้นท่ีใหมในงานแฟนตาซีของขาพเจา ” เปนการคนหาแนวทางในการพัฒนาผลงานการสรางสรรค ท้ังเกี่ยวกับเนื้อหาเร่ืองราว รูปแบบ และเทคนิควิธีการ โดยใชผลงานจิตรกรรมเปนส่ือกลาง ซ่ึงสามารถลําดับการพัฒนาในการสรางสรรคผลงานไดดังตอไปนี้ การสรางสรรคและการพัฒนาผลงานกอนวิทยานิพนธระยะท่ี 1 การสรางสรรคและการพัฒนาผลงานกอนวิทยานิพนธระยะท่ี 1นี้ แนวความคิดในการสรางสรรคของขาพเจาคือ ขาพเจาไดสรางมิติของความฝน โดยนํามิติทางเวลาท่ีมีความแตกตางกัน 2 มิติเวลา คือการจินตนาการถึงความคิดฝนท่ีมีพันธนาการความคิดคํานึงท่ีเกี่ยวเนื่องกับธรรมชาติท่ีเปนมิติเวลาในอดีต และ มิติเวลาของส่ิงแวดลอมในปจจุบัน เพื่อแสดงหวงสภาวะแหงความคิดฝนของขาพเจา อันเกิดจากความเปนไปในสภาพแวดลอมรอบตัวขาพเจา ท่ีสงผลกระทบตอการรับรูในอารมณความรูสึก ความคิดฝน จินตนาการ ในการสรางสรรคของขาพเจา โดยแฝงสาระความคิดผานงานจิตรกรรมดวยสัญลักษณ ทางทัศนธาตุและเทคนิคทางจิตรกรรม เพื่อสะทอนความงามและคุณคาแหงธรรมชาติ ท่ีสงผลตอความสมดุลในการดําเนินชีวิต และความรูสึกภายในจิตใจของขาพเจา การสรางสรรคผลงานในระยะแรกนี้ถือไดวาเปนจุดเร่ิมตนในการหาคนหาเอกลักษณในแนวทางการสรางสรรคเฉพาะตัว ผลงานในระยะน้ีขาพเจาไดใหความสนใจในเร่ืองของการทดลองทางเทคนิคในงานจิตรกรรม สวนเนื้อหาเร่ืองราวและแนวความคิดท่ีนําเสนอนั้นยังไมคอยมีชัดเจนเทาไรนัก

 

38

Page 50: ณฑ 2553 - SU...เส นทางศ ิลปะ ขอขอบพระคุณ อ.เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน อ.กมล ทัศนาญชลีครูสังคม

39

 

ภาพท่ี 29 ภาพผลงานกอนวิทยานิพนธระยะท่ี 1 ช้ินที่ 1 ภาพท่ี 30 ภาพผลงานกอนวิทยานิพนธระยะท่ี 1 ช้ินที่ 2

Page 51: ณฑ 2553 - SU...เส นทางศ ิลปะ ขอขอบพระคุณ อ.เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน อ.กมล ทัศนาญชลีครูสังคม

40

 

การสรางสรรคและการพัฒนาผลงานกอนวิทยานิพนธระยะท่ี 2 ผลงานในชวงนี้เปนจุดเปล่ียนท่ีสําคัญ จากโครงสรางทางความคิดท่ีพัฒนามาจากผลงานในระยะแรกคือการใชเนื้อหาเร่ืองราวจากสภาวะของจิตใตสํานึก และเปนผลงานสรางสรรคท่ีเปนจุดเร่ิมตนในการนําแรงบันดาลใจท่ีเกี่ยวกับแสง-สีในยามราตรี ซ่ึงเปนเนื้อหาเร่ืองราวของแสงสียามราตรีนี้ท่ีขาพเจานําไปพัฒนาในผลงานชุดวิทยานิพนธ ขาพเจาไดนําเสนอเร่ืองราวของแสง-สียามราตรี โดยใชรูปทรงสัญลักษณท่ีหลากหลายกระจายไปท่ัวภาพ ท้ังรูปทรงของไฟระยา แสงสีหลอดไฟประดิษฐ หรือรูปทรงคลายกับตนไมท่ีพอจะอางอิงท่ีมาไดจากส่ิงท่ีอยูในธรรมชาติ กระจายอยูท่ัวท้ังภาพเสมือนภาพทิวทัศนขนาดใหญท่ีอยูในมุมมองแบบตานก (Bird eye view) ท่ีมีรูปทรงคนขนาดเล็กๆแทรกอยูในรายละเอียดของภาพโดยแนวความคิดของการสรางสรรคผลงานวิทยานิพนธระยะท่ี2นี้เสมือนการจําลองความงามอันเกิดจากจินตนาการสวนตัวของขาพเจา ท่ีไดรับแรงบันดาลใจจากแสง-สีในยามราตรี ปญหาในการสรางสรรคผลงานในระยะท่ี2 นี้คือการจัดองคประกอบแบบกระจายท่ัวท่ัวท้ังภาพท่ีไมไดเนนสวนใดหนึ่งใหเดนออกมา โครงสรางทางแนวความคิดในการสรางสรรคในผลงานจึงแสดงออกมาไดไมคอยชัดเจนเทาใด ปรากฏเพียงรูปความงามอันเกิดจากการจัดแสงสีและรูปทรงในองคประกอบของภาพ แตก็ทําใหขาพเจาไดทดลองและพัฒนาในดานเทคนิควิธีการในผลงานจิตรกรรม และในชวงปลายของการสรางสรรคผลงานระยะท่ี2นี้ขาพเจาเร่ิมนํารูปทรงคนใหเดนชัดเปนจุดเดนของภาพและเร่ิมเห็นแนวความคิดและอารมณความรูสึกชัดเจนมากข้ึนในผลงานชวงปลายระยะท่ี 2 นี้

Page 52: ณฑ 2553 - SU...เส นทางศ ิลปะ ขอขอบพระคุณ อ.เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน อ.กมล ทัศนาญชลีครูสังคม

41

 

ภาพท่ี 31 ภาพผลงานกอนวิทยานิพนธระยะท่ี 2 ช้ินที่ 1

Page 53: ณฑ 2553 - SU...เส นทางศ ิลปะ ขอขอบพระคุณ อ.เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน อ.กมล ทัศนาญชลีครูสังคม

42

 

ภาพท่ี 32 ภาพผลงานกอนวิทยานิพนธระยะท่ี 2 ช้ินที่ 2

Page 54: ณฑ 2553 - SU...เส นทางศ ิลปะ ขอขอบพระคุณ อ.เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน อ.กมล ทัศนาญชลีครูสังคม

43

 

ภาพท่ี 33 ภาพผลงานกอนวิทยานิพนธระยะท่ี 2 ช้ินที่ 3

Page 55: ณฑ 2553 - SU...เส นทางศ ิลปะ ขอขอบพระคุณ อ.เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน อ.กมล ทัศนาญชลีครูสังคม

44

 

ภาพท่ี 34 ภาพผลงานกอนวิทยานิพนธระยะท่ี 2 ช้ินที่ 4

Page 56: ณฑ 2553 - SU...เส นทางศ ิลปะ ขอขอบพระคุณ อ.เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน อ.กมล ทัศนาญชลีครูสังคม

45

 

ภาพท่ี 35 ภาพผลงานกอนวิทยานิพนธระยะท่ี 2 ช้ินที่ 5

Page 57: ณฑ 2553 - SU...เส นทางศ ิลปะ ขอขอบพระคุณ อ.เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน อ.กมล ทัศนาญชลีครูสังคม

46

 

ภาพท่ี 36 ภาพผลงานกอนวิทยานิพนธระยะท่ี 2 ช้ินที่ 6 การสรางสรรคผลงานวิทยานิพนธ ขาพเจาไดพยายามทดลอง และคนหาแนวทางในการสรางสรรค เพื่อใหเกิดเปนอัตลักษณในการสรางสรรค และแนวทางในการสรางสรรคของขาพเจานี้ส่ิงท่ียังเปนองคประกอบสําคัญท่ีปรากฏในผลงานการสรางสรรคมาโดยตลอดคือการถายทอดอารมณ ความรูสึกภายในสวนตัวของขาพเจา ขาพเจาไดใชเวลาในการตรวจสอบตัวตนของขาพเจาจากการสรางสรรคในผลงานท่ีผานมา ขาพเจาพบวาการสรางสรรคผลงานของขาพเจามีการนําเสนอแบบ “ อัตวิสัย ” “ผลงานศิลปะในกลุมศิลปนท่ีมีความเช่ือแบบ “อัตวิสัย”นั้นเม่ือดูโดยรวมจะมีลักษณะแบบ “นามธรรม” “ดวยเหตุผลท่ีศิลปนกลุมนี้มีความเช่ือวาความงามและความจริงแทซ่ึงซอนลึกอยูภายใตรูปลักษณท่ีปรากฏใหเห็นภายนอก หรืออาจจะกลาวอีกนัยหนึ่งวา ศิลปนมุงคนหาความงามและความจริงท่ีอยูในโลกภายในแหงจิตใจ”12 การท่ีขาพเจาไดวิเคราะหตัวตนในการสรางสรรคของขาพเจาวามีความเปนอัตวิสัยนี้ ก็เพื่อการท่ีขาพเจาจะไดกลาวอธิบายถึงระบบ และกระบวนการสรางสรรคท่ีมีความสอดคลอง สัมพันธ ของแนวความคิด เนื้อหาเร่ืองราว รูปแบบ และเทคนิควิธีการในการสรางสรรคของขาพเจา

                                                            

12อิทธิพล ตั้งโฉลก, แนวทางการสอนและสรางสรรคจิตรกรรมข้ันสูง, 114.

Page 58: ณฑ 2553 - SU...เส นทางศ ิลปะ ขอขอบพระคุณ อ.เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน อ.กมล ทัศนาญชลีครูสังคม

47

 

แตความเปน “อัตวิสัย” ในการสรางสรรคของขาพเจานี้ไมไดเปนไปอยางสุดข้ัวท่ีจะสงผลใหผลงานการสรางสรรคเปนไปในแนวทางแบบนามธรรม แตจะมีสวนผสมของเน้ือหา เร่ืองราว และแรงบันดาลใจจากภายนอกดวย ดังนั้นรูปแบบในผลงานการสรางสรรคของขาพเจาจึงปรากฏรูปทรงแบบเหมือนจริงผสมผสานไปกับรูปทรงกึ่งนามธรรม และดวยบุคลิก รสนิยม และความถนัดสวนตัวของขาพเจาแลว การสรางสรรคทางดานเทคนิคในงานจิตรกรรม ขาพเจานั้นมักจะผสมผสานความหลากหลายในเทคนิควิธีการในงานจิตรกรรมของขาพเจา ดังนั้นจึงปรากฏลักษณะของการแสดงออกแบบวิธีการปดปายฝแปรงดวยความเคล่ือนไหว (Paintery Style) และ(Linear Style) ท่ีตองการความคมชัด สงบนิ่ง สวนผสมนี้จะมีปริมาณมากนอยเทาใดน้ัน ก็ข้ึนอยูกับความเหมาะสมในรายละเอียดของผลงานในแตละช้ิน ผลงานวิทยานิพนธชุด “ แสง-สี กับพื้นท่ีใหมในงานแฟนตาซีของขาพเจา” นี้ขาพเจาเร่ิมความบันดาลใจจากความสนใจในอํานาจและความงดงามในแสง-สี ยามราตรี และแสงสีของไฟ นี้ไดสรางพื้นท่ีใหมใหเกิดข้ึน(Fantasy Space) ขาพเจาตองการแสดงใหเห็นวาแสงไฟประดิษฐเปนปจจัยท่ีกําหนด พฤติกรรม กิจกรรมใหม และวิถีชีวิตมนุษยข้ึนใหม พื้นท่ีใหมอันเกิดจาก แสง-สี ของแสงไฟประดิษฐนี้ไดสะทอนถึงความงดงาม ความศิวิไลซ จากส่ิงท่ีประดิษฐสังเคราะหข้ึนโดยมนุษย อันเปนสภาวะของส่ิงแวดลอมในยุคปจจุบัน ส่ิงท่ีเปนแรงบันดาลใจดังท่ีกลาวมาขางตนนี้เปนเสมือนดังพ้ืนท่ีท่ีใหขาพเจาไดแสดงความคิด อารมณความรูสึกภายในจิตใตสํานึกของขาพเจา เปรียบเสมือนโรงละครเวทีท่ีประดับประดาดวยแสงไฟอันงดงามเพ่ือใหตัวละครไดใชพื้นท่ีอันงดงามนี้ไดออกมาแสดงบทบาท ไดพรรณนาสําแดงอารมณ บอกเลาเร่ืองราวตางๆ หากเปรียบกับการสรางละครเวทีแลว ขาพเจาก็คือผูกํากับการแสดงท่ีเปนท้ังผูเขียนบท ผูกํากับฉาก ผูกํากับแสง และกํากับการแสดงของตัวละคร หากแตการนําเสนอผลงานการสรางสรรคของขาพเจานั้นถูกถายทอดออกมาเปนงานจิตรกรรม 2 มิติ ในรูปแบบท่ีเปนจินตนาการเหนือความเปนจริง (Fantasy Style) เนื้อหาเร่ืองราวท่ีขาพเจานํามาใชนั้นไดอางอิงจากโลกแหงความเปนจริงผสมผสานกับความรูสึกภายในของขาพเจา และถูกถายทอดผานส่ือสัญลักษณในภาษาของจิตรกรรมท้ังใน เสน แสง สี พื้นผิว และรูปทรงท่ีดูล่ืนไหลเคล่ือนไหว เพื่อแสดงถึงสาระของหวงความคิดอารมณความรูสึกของภายในขาพเจา ผลงานวิทยานิพนธ ชิ้นท่ี 1 ศาสตราจารยกิตติคุณกําจร สุนพงษศรีไดกลาวถึงผลงาน “Twilight Garden”ซ่ึงเปนผลงานวิทยานิพนธช้ินท่ี 1ของขาพเจา ในบทวิจารณสูจิบัตรนิทรรศการจิตรกรรมรวมสมัย พานาโซนิค คร้ังท่ี12 ไววา “ ผลงาน “ในยามรัตติกาล” ชางเหมาะสมสําหรับคนท่ีมีอารมณเหงา เปนยามท่ีเหมาะเจาะสําหรับสํารวจตัวเองพิจารณาถึงส่ิงตางๆ เพราะทุกส่ิงทุกอยาง

Page 59: ณฑ 2553 - SU...เส นทางศ ิลปะ ขอขอบพระคุณ อ.เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน อ.กมล ทัศนาญชลีครูสังคม

48

 

ดูสงบเงียบ ปราศจากเสียงอึกกระทึกครึกโครมแสงสองสลัวทําใหสรรพส่ิงดูสลัวเลือนรางไมชัดเจน มันเปนเวลาสําหรับสัตวโลกในอีกมิติหนึ่ง สภาพการณท่ีธรรมชาติไดกําหนดข้ึน ก็ไดกอใหเกิดผลงานศิลปะสาขาตางๆ มานับไมถวน สืบทอดระยะเวลามายาวนาน และคงดําเนินไปอีกช่ัวนานแสนนาน ตราบเทาท่ีคนสวนใหญยังคงตองการพักผอนนอนหลับ เพ่ือส่ังสมพลังงานแหงชีวิตสําหรับพรุงนี้ ตั้งแต เชา สาย บาย เย็น และคํ่า วนเวียนกันมาตลอดไมเคยวางเวน นายฑีฆวุฒิ บุญวิจิตร จิตรกรในแนวจิตนิยม(Roman Ticism)มีความเฉลียวฉลาดใชเร่ืองราวเนื้อหาของความมืดในยามรัตติกาลมาสรางสรรคผลงานของตน นําความประทับใจในแสงสียามคํ่าคืนมาเปนแรงบันดลใจสนองตอบตออารมณความปรารถนาภายใน สะทอนนําโนมนาวสายตาและการรับรูของผูชม ใหคลอยตามจินตนาการภาพของเขาไปสูโลกในอีกมิติใหมซ่ึงเขาเรียกมันวา Fantasy หรือแปลกประหลาด ฝนเฟองและเพอฝน เขาสรางโครงสรางของงานดวยสีดํามืดคลํ้าทําใหมันดูกับเปนภาพหลอนลวงตา อาจจะเปนตนไมใหญหรือเปนรางของคน อยูในสภาพส่ิงแวดลอมท่ีพราพราวตาดวยจุดแสงระยิบระยับราวกับการเปลงแสงหาคูของหิ่งหอย หรือเปนดวงวิญญาณพเนจรท่ีเรรอน เบ้ืองหลังไกลโพนปรากฏเปนแสงเรืองท่ีชวยใหภาพดูล้ีลับและลึกลับยิ่งข้ึน ชวยนําจุดสนใจของผูชมไปสูความพิศวง”13 จากทัศนะวิจารณขางตนมีสวนสําคัญเปนอยางมากในการชวยวิเคราะหผลงานการสรางสรรคของขาพเจาและทําใหขาพเจามีความเช่ือม่ันและมีความกระจางชัดในแนวทางการสรางสรรค ท่ีจะสงผลตอการพัฒนาการผลงานสรางสรรคของขาพเจาในระยะตอไป ผลงานวิทยานิพนธ ชิ้นท่ี 2 ขาพเจาใชแรงบันดาลใจในการสรางสรรคผลงานวิทยานิพนธช้ินท่ี 2 นี้ จากการไดไปเท่ียวในเทศกาลลอยกระทง และประเพณีการลอยกระทงนั้นประเทศไทยไดรับเอาประเพณีดังกลาวมาจากประเทศอินเดีย และมีพัฒนาการมาในแตละยุคสมัยสืบเนื่องตอกันมาเปนเวลาอันยาวนาน ขาพเจาไดใชประเพณีลอยกระทงในยุคปจจุบันมาถายทอดเร่ืองราวของแสง-สี กับพื้นท่ีใหมในงานแฟนตาซีของขาพเจา โดยขาพเจามีแนวความคิดเชิงเปรียบเทียบในเร่ืองของแสง-สี ภายในสถานท่ีเฉพาะ(วัด) ในอดีตขาพเจาเคยลอยกระทงในวัดและมีการประดับประดาแสง-สี ภายในวัดนั้นก็เพ่ือใหแสงสวาง แสงสวางอันกอเกิดความศรัทธา สงบ

                                                            

13กําจร สุนพงษศรี, “ผลงานรางวัลยอดเยี่ยมอันดับ 1 นายทีฆวุฒิ บุญวิจิตรผลงานช่ือ ในยามรัตติกาล” ใน นิทรรศการจิตรกรรมรวมสมัยพานาโซนิค คร้ังท่ี12 , การแสดงนิทรรศการจิตรกรรมรวมสมัย พานาโซนิค คร้ังท่ี12 ณ พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ หอศิลป กรุงเทพมหานคร, 8-30 กรกฎาคม 2553 ( ม.ป.ท.,2552), 89.

Page 60: ณฑ 2553 - SU...เส นทางศ ิลปะ ขอขอบพระคุณ อ.เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน อ.กมล ทัศนาญชลีครูสังคม

49

 

นุมนวล แต แสง-สี จากไฟฟาท่ีเขามาประดับประดาตกแตงสถานที่ภายในวัดในปจจุบันใหความรูสึกระยิบระยับ สองสวางท่ีดูตระการตา สนุกสนาน ซ่ึงสงผลตอความรูสึกท่ีมีตอสถานท่ีนั้นใหแปรเปล่ียนกลายเปนความสนุก สนาน เพลิดเพลิน มากกวา ความสงบ หรือความนาศรัทธาเหมือนอยางเชนในอดีต ภายในภาพไดแสดงตัวรูปทรงคน(ตัวขาพเจาเอง) กําลังทําทาทางถือกระทงเพื่อนําไปลอย มือท้ังสองกําลังประคองเพื่อไมใหแสงเทียนนั้นดับ แตกําลังสองสวางของแสงเทียนนั้นออนกําลัง และมิสามารถแผรังสีท่ีสองจะสองสวางไดเทียบเทากับแสงไฟฟาที่ประดับประดาอยูรายรอบ หากในความเปนจริงประเพณีลอยกระทงนั้นจะตองมีผูคนมากมาย แตขาพเจาจงใจท่ีจะนําเสนอรูปทรงคนเพียงคนเดียวภายในภาพเพราะขาพเจาตองการนําเสนอความคิดและอารมณความรูสึกภายในของขาพเจา ท่ีแสดงถึงความเปล่ียวเหงา แปลกแยก อันเปนมิติเวลาสวนตัวของขาพเจาท่ีขาพเจาสรางข้ึนมาใหม หากพิจารณาอยางผิวเผินแลวผลงานช้ินนี้ก็จะแสดงความงามในองคประกอบไดดีท้ังการจัดวางรูปทรง แสงเงา แตขาพเจาไดเห็นถึงขอดอยในผลงานช้ินนี้ อันไดแกความไมเขากัน หรือการไมประสานกันของรูปทรงภายในภาพ รูปทรงคนกึ่งนามธรรม ซ่ึงขัดแยงกันอยางรุนแรง กับรูปทรงเหมือนจริงของรูปประติมากรรมท่ีขนาบตัวรูปทรงคนท้ังสองขาง และการวางองคประกอบแบบตรงกลาง ทําใหมิติ ลึกภายในภาพนั้นดูแบน พรอมกับเสนพื้นท่ีแสดงถึงทัศนะวิสัย(Perspective) ก็ไมแสดงผลของความลึกไดมากเทาท่ีควร การปะทะของภาพกับคนดูจะมีลักษณะประเชิญหนาแบบตรงไปตรงมา ทําใหมิติของความฝนหรือจินตนาการของขาพเจานั้นแสดงตัวออกมาไดนอย ซ่ึงขอดอยดังกลาวท่ีขาพเจาไดวิเคราะหนี้ขาพเจาจึงไดนําไปปรับปรุงแกไขในผลงานช้ินตอไป ผลงานวิทยานิพนธ ชิ้นท่ี 3 ในผลงานวิทยานิพนธช้ินท่ี3นี้ ขาพเจากลับมาใหความสนใจกับพื้นท่ีท่ีเปนสวนตัวมากข้ึน ขาพเจาคิดวาภายในหองก็เปนอีกพื้นท่ีหนึ่งในการที่คนเราจะไดอยูกับตัวเอง ไดพักผอน ไดปลีกตัวจากโลกภายนอก ไดทบทวนกับส่ิงตางๆ หองท่ีขาพเจาสรางข้ึนมานี้มีสภาพที่เหนือจริง โดยมีเพียงผนังกั้นระหวางพื้นท่ีภายนอกกับภายใน ปราศจากไรซ่ึงเพดานและสามารถสองมองทะลุเห็นทองฟาท่ีอยูเบ้ืองบน รูปทรงคนท่ีลองลอยในทาทางท่ีผอนคลายอยูกับฝูงปลาทองอันเปนจุดสนใจอยูกลางภาพ ส่ิงของภายในหองมีเพียงปลาทองท่ีอยูในโหลแกวซ่ึงดํารงชีวิตอยูดวยเคร่ืองชวยหายใจ และกระถางตนไมท่ีวางอยูเบ้ืองหลังคน ระยะหลังเปนชองหนาตางท่ีมองทะลุผานไปเห็นตนไมท่ีดูไรซ่ึงชีวิตถูกประดับประดาดวยแสงไฟประดับอยางระยิบระยับ ในผลงานช้ินนี้ขาพเจาไมไดแสดงถึงรายละเอียดท่ีดูระยิบระยับแพรวพราวมากมายเชนดังผลงานสรางสรรคท่ีผานมา หากแตขาพเจาใชเพียงสัญลักษณ (Symbolic) เพียงไมกี่อยางภายใน

Page 61: ณฑ 2553 - SU...เส นทางศ ิลปะ ขอขอบพระคุณ อ.เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน อ.กมล ทัศนาญชลีครูสังคม

50

 

ภาพ เนื่องดวยเพราะขาพเจาตองการส่ือถึงหวงอารมณท่ีเงียบ สงบ เปนชวงเวลาท่ีสรรพส่ิงกําลังหลับใหล และ เปนชวงมิติเวลาแหงความเพอฝน และสัญลักษณในแตละรูปทรงท่ีขาพเจาไดแสดงภายในภาพนั้นลวนเปนสวนผสมจากความคิดและจิตใตสํานึกของขาพเจาเอง ดังนั้นความหมายแฝงในรูปทรงตางๆนั้นขาพเจาอาจจะอธิบายไดชัดเจนหากรูปทรงนั้นๆออกมาจากความคิดของขาพเจา และบางอยางอาจคลุมเครือ หากเปนรูปทรงท่ีมาจากจิตใตสํานึกของขาพเจาและคงไมมีเหตุผลใดท่ีจะอธิบายถึงส่ิงท่ีเปนมโนภาพท่ีเกิดจากจิตใตสํานึกไดดีเทากับคําตอบท่ีวา “เพราะความปรารถนาของตัวขาพเจาเองท่ีอยากใหรูปทรงดังกลาวปรากฏขึ้นอยางเจน” แตสําหรับตัวของขาพเจาแลวการคนหาความหมายท่ีแฝงอยูในผลงานของขาพเจานั้นเปนส่ิงท่ีทาทาย และนาคนหา สําหรับการคนหาความหมายท่ีแฝงอยูนั้นอาจเกิดข้ึนมาในภายหลังจากการสรางสรรคเปนผลงานแลว ผลงานช้ินนี้มีสัญลักษณคือ ปลาทอง ปลาทองเปนสัตวท่ีขาพเจามีความรักและผูกพันมาตั้งแตวัยเยาว ปลาทองเปนสัตวท่ีออนแอ ตองอยูในสภาพแวดลอมท่ีเหมาะสมเทานั้นถึงจะดํารงชีวิตอยูได และขาพเจาจะรูสึกจะผอนคลายและมีความสุขเวลาไดเห็นปลาทองลองลอยอยูในน้ํา เปนความสุขท่ีไมไดหาจากท่ีใดอ่ืนไกล และปลาทองท่ีขาพเจาเล้ียงไวก็จะเสียชีวิตไดงายๆหากเพียงแคอุณหภูมิของน้ําเปล่ียนแปลง หรือปจจัยทางส่ิงแวดลอมท่ีไมอํานวยตอการดํารงชีวิตของมัน ขาพเจาจึงมองปลาทองน้ันเปนสัญลักษณของส่ิงมีชีวิตท่ีบอบบาง ออนแอ และเปนสัญลักษณแหงความปรารถนาท่ีขาพเจาอยากใหปรากฏเห็นในภาพ เบ้ืองลางของผลงานนั้นคือปลาทองท่ีอยูในโหลแกวโดยใชเคร่ืองชวยผลิตอากาศ และฉายแสงสีชมพูเพื่อใหแลดูสวยงาม นั้นเสมือนการดํารงชีวิตในสภาพแวดลอมในปจจุบันท่ีอาจดูงดงาม ดวยแสงสี จากการประดิษฐสังเคราะหของมนุษย แตส่ิงแวดลอมสังเคราะหท่ีดูสวยงามนี้จะทําใหชีวิตสามารถดํารงอยูไดหรือไม อาจเพียงดํารงอยูไดเพียงช่ัวคราว หรือฉาบฉวย

Page 62: ณฑ 2553 - SU...เส นทางศ ิลปะ ขอขอบพระคุณ อ.เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน อ.กมล ทัศนาญชลีครูสังคม

51

 

ภาพท่ี 37 ภาพรายละเอียดผลงานวิทยานิพนธช้ินที่ 3 ผลงานวิทยานิพนธ ชิ้นท่ี 4 ขาพเจาไดแรงบันดาลใจในการสรางสรรคผลงานช้ินนี้จากการไดไปเที่ยวชมภาพทิวทัศนมุมสูงของกรุงเทพฯ ยามราตรี และการตกแตงพื้นท่ีภายในอาคารดวยแสงไฟ และธรรมชาติจําลอง ทุกอยางถูกตกแตงไวอยางสวยงาม แรงบันดาลใจดังกลาวไดสงผลสะเทือนความคิดและอารมณความรูสึกของขาพเจาเปนอยางมาก ในผลงานช้ินนี้เบ้ืองหนาอันเปนจุดสนใจของภาพเปนรูปทรงคนท่ีลองลอยอยูกับฝูงปลาทอง ในระยะถัดไปเปนคนกําลังนั่งเทน้ําออกจากแกวน้ําใหปลาทองไดดื่มด่ํา และคนท่ีอยูระยะหลังสุดกําลังกระโดด ลองลอยดวยความสุข อยูภายในพื้นท่ีภายในอาคารท่ีไมมีหลังคาก้ัน ท้ังผนังหองและพ้ืนท่ีภายในอาคารดูโลง โปรง เบา สบาย ภายในตกแตงดวยแสงไฟประดับ ระยิบระยับประดับประดาดวยธรรมชาติจําลอง พื้นท่ีแหงนี้คือพื้นท่ีขาพเจาจินตนาการข้ึนเปนเสมือนพื้นท่ีแหงความฝนเฟอง เม่ือมองผานชองหนาตางไปยังระยะหลังของภาพจะเห็นทิวทัศนของเมืองในมุมสูงท่ีกวางไกลสุดลูกหูลูกตา ผลงานช้ินนี้ช่ือ “ Paradise Park ” ขาพเจาเปรียบเปรยถึงสถานท่ีแหงนี้คือสวนสวรรค มีความงดงามจากการประดาประดาดวยแสงไฟหลากสีสัน ระยิบระยับ พรางพราวตา ผลงานช้ินนี้ไดแสดงอารมณความรูสึกท่ีสงบเงียบ และงดงาม แสงไฟท่ีสองสวางนําสายตาใหชวนตรวจสอบในรายละเอียดของภาพ และสรางมิติดวยกลุมแสงในระยะหนาไปสูระยะไกลออกไปที่พอจะเห็นเปนแสงไฟจากทิวทัศนมุมสูงของเมืองหลวง ขาพเจาไดนําการนําเสนอพื้นท่ีท่ีอยูในมุมสูงมาใชในผลงานเปนคร้ังแรกในการกําหนดพื้นท่ี จากการที่ขาพเจาไดเคยสัมผัสพื้นท่ีในมุมสูงนี้

Page 63: ณฑ 2553 - SU...เส นทางศ ิลปะ ขอขอบพระคุณ อ.เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน อ.กมล ทัศนาญชลีครูสังคม

52

 

ขาพเจารูสึกวาเปนพื้นท่ีท่ีมีความเปนสวนตัว และเราสามารถปลดปลอยความคิด และอารมณความรูสึกไดอยางอิสระ เหมือนการไดหลีกหนีจากโลกแหงความสบสนวุนวายวุนวาย สถานท่ี แสง-สี รูปทรงตางๆท่ีปรากฏภายในภาพไดแสดงถึงความปรารถนาภายใจจิตใจของขาพเจา ท่ีไดสัมผัสกับมิติของพ้ืนท่ีและเวลาแหงความสุข เสมือนแดนแหงสรวงสวรรคท่ีขาพเจาปรารถนาไดสัมผัส

Page 64: ณฑ 2553 - SU...เส นทางศ ิลปะ ขอขอบพระคุณ อ.เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน อ.กมล ทัศนาญชลีครูสังคม

53

 

ภาพท่ี 38 ภาพรายละเอียดของผลงานวิทยานิพนธช้ินที่ 4 ภาพท่ี 39 ภาพรายละเอียดของผลงานวิทยานิพนธช้ินที่ 4

Page 65: ณฑ 2553 - SU...เส นทางศ ิลปะ ขอขอบพระคุณ อ.เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน อ.กมล ทัศนาญชลีครูสังคม

54

 

ภาพท่ี 40 ภาพรายละเอียดของผลงานวิทยานิพนธช้ินที่ 4 ภาพท่ี 41 ภาพรายละเอียดของผลงานวิทยานิพนธช้ินที่ 4

Page 66: ณฑ 2553 - SU...เส นทางศ ิลปะ ขอขอบพระคุณ อ.เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน อ.กมล ทัศนาญชลีครูสังคม

55

 

ผลงานวิทยานิพนธ ชิ้นท่ี 5 ในการสรางสรรคผลงานวิทยานิพนธช้ินท่ี5 นี้ขาพเจาไดแรงบันดาลใจการสรางสรรคจากทองเท่ียวไปในเทศกาลข้ึนปใหมในป2554 (ซ่ึงตรงกับปเถาะหรือปกระตาย) ท่ีในยามคํ่าคืนผูคนไดจัดตกแตงสถานท่ีประดับประดาแสงไฟเพื่อการเฉลิมฉลองอยางงดงามตระการตา ในภาพแสดงรูปทรงคนท่ีเดินชมสวนที่ถูกจัดข้ึนมา แตเปนสวนท่ีแสดงใหเห็นวาสวนแหงนี้อยูบนพื้นท่ีของมุมตึกสูงชัดเจนดวยการปรากฏตัวของเสนขอบฟาท่ีกวางไกลและแสงอันระยิบระยับพรางพราวจากแสงไฟของตึกรางบานชองท่ีอยูเบ้ืองลาง ตนไมท่ีมีลักษณะแหงกรานยืนตนไรซ่ึงชีวิตถูกประดับประดาดวยลูกบอลหลากสีผิวมันวาว และแสงไฟประดับระยิบระยับงามตา พื้นเบ้ืองลางมีกระตายท่ีถูกอาบดวยสีจากแสงไฟสังเคราะหกระจายอยูในบริเวณพื้นท่ีโดยรอบ ภาพนี้ใหอารมณความรูสึกท่ีมีความกลมกลืนและขัดแยงอยูในสภาวะเดียวกัน กระตายท่ีขาพเจาเขียนข้ึนนั้นถูกนํามาใชในสภาวะท่ีขัดแยงตอสภาพแวดลอมท่ีมันอยู กระตายอยูในสภาพท่ีถูกจัดดวยพื้นท่ีท่ีเสมือนการสังเคราะหข้ึนมาใหม เปนความขัดแยงท่ีใหความรูสึกแปลกประหลาด อันเปนอารมณความรูสึกที่ปรากฏเสมอในงานแฟนตาซีของขาพเจา และรูปทรงคนน้ันจะเห็นอยูเสมอมาในการสรางสรรควิทยานิพนธของขาพเจาในทุกๆช้ินคือมีลักษณะของศรีษะท่ีไมแสดงลายละเอียดของใบหนา มีเพียงรอยฝแปรงท่ีตวัดข้ึนดานบนปรากฏเปนแถบสีสเปคตรัม นั้น เพราะรูปทรงดังกลาวสามารถถายทอดความรูสึกถึงความไมไดมีตัวตนท่ีเห็นเปนรูปธรรม อาจเปนสภาวะแหงดวงจิตท่ีปรากฏอยางแจมชัด หรือเลือนลาง เคล่ือนไหวไปมาอยูตลอดเวลา จุดเดนของผลงานช้ินนี้คือการแสดงพ้ืนท่ีในจินตนาการท่ีผสมผสานกับโลกแหงความเปนจริงในมุมมองบนพ้ืนท่ีของตึกสูง แตขาพเจาพบขอดอยบางประการในผลงานช้ินนี้คือองคประกอบในผลงานมีความเปนแบบแผนมากจนเกินไป ทุกอยางในภาพกระจางชัดไปทุกสวนและกลุมของแสงสีก็สรางมิติถึงความฟุงฝนไดนอยและมีรูปทรงท่ีอางอิงจากความเปนจริงท่ีมากจนเกินไป จึงทําใหมิติอารมณแหงจินตนาการความฟุงฝนปรากฏตัวออกมาไดไมมากเทาใดนัก ผลงานวิทยานิพนธ ชิ้นท่ี 6 การพักผอนคือความสุขอีกรูปแบบหนึ่งของชีวิต ในผลงานการสรางสรรควิทยานิพนธช้ินที่6 นี้ขาพเจานําเสนอความสุขของการพักผอนดวยการเลนน้ําในสระวายน้ํา การไดพักผอนในสระวายน้ํานั้นสามารถผอนคลายสภาวะความตึงเครียดของจิตใจได ขาพเจาจึงใชพื้นท่ีภายในสระวายน้ําอันเปนเสมือนท่ีท่ีมีความเปนสวนตัวอีกสถานท่ีหนึ่งมานําเสนอถึงสภาวะแหงความสุข ภาพคนกําลังแชน้ําอยูภายในสระนํ้าท่ีตกแตงดวยแสง-สี พืชพันธุตนไมตางๆท่ีกระจายลองลอยฟุงฝนอยูภายในภาพ ผลงานช้ินนี้ไดแสดงออกถึงสภาวะอารมณแหงความสุข ผอนคลาย สงบ ฟุงฝน และมิติแหงความนาพิศวง

Page 67: ณฑ 2553 - SU...เส นทางศ ิลปะ ขอขอบพระคุณ อ.เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน อ.กมล ทัศนาญชลีครูสังคม

56

 

ผลงานวิทยานิพนธ ชิ้นท่ี 7 ขาพเจาไดแสวงหาพื้นท่ีท่ีทําใหเราสามารถหลีกหนีความสับสนวุนวายจากโลกแหงความเปนจริงท่ีท่ีสามารถตอบสนองกับความเปนสวนตัวของเราได และขาพเจาพบวาการไดอยูใตน้ําสักพักสามารถทําใหเราไดสัมผัสกับความสงบ เราสามารถสัมผัสกับความเงียบ ปราศจากส่ิงรบกวนจากภายนอก และขาพเจาจะรูสึกผอนคลายและมีความสุขเม่ือไดหยุดนิ่งอยูกับตัวเองในสภาวะใตผืนน้ํานั้น ในภาพแสดงรูปทรงของคนท่ีอยูในสภาวะลองลอยอยูใตผืนน้ํา แตเม่ือพิจารณาภาพโดยรวมแลวมิติภายในภาพจะหลอนลวงเม่ือมองไปเบ้ืองบนของภาพก็จะแสดงเห็นเปนทิวทัศนของสวนท่ีประดับประดาดวยแสงไฟ แตในขณะท่ีดานลางกลับกลายเปนทิวทัศนของเมืองยามราตรีในมุมสูง สภาวการณท่ีกอเกิดอารมณแหงความแปลกแยก ชวนพิศวง ไดปรากฏขึ้นดวยภาพกระตายท่ีกระจายอยูใตผืนน้ํา เปนการแสดงถึงสภาวะแหงความฝน ความเหนือจริง ภายใตบรรยากาศของแสง-สี ท่ีใหความรูสึกท่ีงดงาม ลึกลับ สงบเงียบ เยือกเย็น นาพิศวงยิ่งนัก ผลงานวิทยานิพนธ ชิ้นท่ี 8 ขาพเจาไดนําปญหา และขอดอยตางๆในสรางสรรคผลงานช้ินท่ีผานมาวิเคราะห และหาแนวทางในการปรับปรุงผลงานเพ่ือใหเกิดพัฒนาการในผลงานการสรางสรรค การสรางสรรคผลงานวิทยานิพนธช้ินที่ 8 นี้ ภายในภาพปรากฏเปนรูปทรงของกลุมคนท่ีลองลอยอยูบนพื้นผิวน้ําดวยทาทางท่ีผอนคลายเสมือนเปนบทสนทนาระหวางตัวของขาพเจาเอง ท่ีบอกเลาและระบายเร่ืองราวจากจิตใจภายใน กลุมคนดังกลาวถูกมองในมุมมองจากเบ้ืองบนลงสูเบ้ืองลางลักษณะการมองแบบตานก (Bird-eye View) จึงทําใหเห็นรายละเอียดขององคประกอบโดยรวมท้ังหมด กระตายนอยกระจายอยูท่ัวผืนน้ํา ระยะไกลออกไปเปนภาพของทิวทัศนเมืองยามราตรีซ่ึงสามารถอางอิงไดวาพื้นท่ีแหงนี้เปนเสมือนสวนท่ีอยูในพื้นท่ีของตึกสูง ภาพนี้แสดงระยะมิติท่ีใหความฟุงฝนและกวางไกลและเปนมุมมองท่ีแปลกใหมกวาช้ินท่ีเคยสรางสรรคมา และแสงสีท่ีกระจายระยิบระยับอยูท่ัวท้ังภาพชวยนําสายตาใหเกิดความรูสึกในมิติแหงความฟุงฝนอันงดงาม ใหความรูสึกลองลอย ผอนคลาย และเบาสบาย

Page 68: ณฑ 2553 - SU...เส นทางศ ิลปะ ขอขอบพระคุณ อ.เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน อ.กมล ทัศนาญชลีครูสังคม

57

 

ภาพท่ี 42 ภาพผลงานวิทยานิพนธช้ินที่ 1

Page 69: ณฑ 2553 - SU...เส นทางศ ิลปะ ขอขอบพระคุณ อ.เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน อ.กมล ทัศนาญชลีครูสังคม

58

 

ภาพท่ี 43 ภาพผลงานวิทยานิพนธช้ินที่ 2

Page 70: ณฑ 2553 - SU...เส นทางศ ิลปะ ขอขอบพระคุณ อ.เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน อ.กมล ทัศนาญชลีครูสังคม

59

 

ภาพท่ี 44 ภาพผลงานวิทยานิพนธช้ินที่ 3

Page 71: ณฑ 2553 - SU...เส นทางศ ิลปะ ขอขอบพระคุณ อ.เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน อ.กมล ทัศนาญชลีครูสังคม

60

 

ภาพท่ี 45 ภาพผลงานวิทยานิพนธช้ินที่ 4

Page 72: ณฑ 2553 - SU...เส นทางศ ิลปะ ขอขอบพระคุณ อ.เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน อ.กมล ทัศนาญชลีครูสังคม

61

 

ภาพท่ี 46 ภาพผลงานวิทยานิพนธช้ินที่ 5

Page 73: ณฑ 2553 - SU...เส นทางศ ิลปะ ขอขอบพระคุณ อ.เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน อ.กมล ทัศนาญชลีครูสังคม

62

 

ภาพท่ี 47 ภาพผลงานวิทยานิพนธช้ินที่ 6

Page 74: ณฑ 2553 - SU...เส นทางศ ิลปะ ขอขอบพระคุณ อ.เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน อ.กมล ทัศนาญชลีครูสังคม

63

 

ภาพท่ี 48 ภาพผลงานวิทยานิพนธช้ินที่ 7

Page 75: ณฑ 2553 - SU...เส นทางศ ิลปะ ขอขอบพระคุณ อ.เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน อ.กมล ทัศนาญชลีครูสังคม

64

 

ภาพท่ี 49 ภาพผลงานวิทยานิพนธช้ินที่ 8

Page 76: ณฑ 2553 - SU...เส นทางศ ิลปะ ขอขอบพระคุณ อ.เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน อ.กมล ทัศนาญชลีครูสังคม

63

 

บทท่ี 5

บทสรุป การสรางสรรควิทยานิพนธภายใตหัวขอ “แสง-สี กับพื้นท่ีใหมในงามแฟนตาซีของขาพเจา”นี้ เปนการนําเสนอถึงแนวความคิด และความรูสึกภายในอันเกิดจากจิตใตสํานึกของขาพเจา โดยการผสมผสานจากแรงบันดาลใจจากโลกแหงความเปนจริงคือแรงบันดาลใจจากความงดงามแหงแสง-สี ในยามราตรีในสถานท่ีท่ีขาพเจาเขาไปสัมผัส โดยอาศัยรูปแบบของจิตรกรรมแนวเหนือจริงแบบฟุงฝน(Fantasy Style) แสดงออกมาในรูปแบบจิตรกรรมสองมิติ ท่ีใชรูปทรงท้ังเหมือนจริงผสมผสานกับรูปทรงกึ่งนามธรรม แสดงความสัมพันธในการใชทัศนธาตุทางทัศนศิลปของ รูปทรง แสง เงา สีสันบรรยากาศ และการสรางพื้นผิวในเทคนิควิธีการในงานจิตรกรรม ส่ือใหเห็นถึงสาระจากความจริงแทของความคิดและอารมณความรูสึกภายในจิตใจของขาพเจา ไดปรากฏใหเห็นเปนรูปธรรมท่ีชัดแจง ซ่ึงขาพเจาเช่ือวาความคิดและอารมณความรูสึกภายในจิตใจของขาพเจานั้นเปนสาระท่ีเปนความงาม เปนความจริงแท และมีคุณคามหาศาลในการสรางสรรคผลงานศิลปะของขาพเจา การสรางสรรคในวิทยานิพนธชุดนี้จึงเปรียบเสมือนการเดินทางท่ีอยูบนพ้ืนฐานความเช่ือ และทัศนคติสวนตัวของขาพเจา รวมทั้งแรงบันดาลใจจากส่ิงแวดลอมจากภายนอก และจากภายในจิตใจของขาพเจา ดังนั้นพัฒนาการในการสรางสรรคผลงานของขาพเจาจะเปนไปในทิศทางใดนั้นก็ข้ึนอยูกับปจจัยดังกลาวขางตน และขาพเจาจะไมตีกรอบการสรางสรรคของตัวเองท้ังเนื้อหาเร่ืองราว รูปแบบ และเทคนิควิธีการ เพื่อรักษาอัตลักษณในการสรางสรรคไว แตจะเปนการสรางสรรคท่ีผานกระบวนการวิเคราะห และสังเคราะห จากการสรางสรรคในผลงานท่ีผานๆมา อันเปนบอเกิดแหงหนทางการพัฒนาแนวทางการสรางสรรคของขาพเจาสืบไป

 

65

Page 77: ณฑ 2553 - SU...เส นทางศ ิลปะ ขอขอบพระคุณ อ.เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน อ.กมล ทัศนาญชลีครูสังคม

66

บรรณานุกรม

กําจร สุนพงษศร. “ผลงานรางวัลยอดเยี่ยมอันดับ 1 นายทีฆวุฒิ บุญวิจติรผลงานช่ือในยามรัตติกาล.” ใน นิทรรศการจิตรกรรมรวมสมัยพานาโซนิค คร้ังท่ี12 . การแสดงนิทรรศการจิตรกรรม รวมสมัย พานาโซนิค คร้ังท่ี12 ณ พิพิธภณัฑสถานแหงชาติ หอศิลป กรุงเทพมหานคร, 8-30 กรกฎาคม 2553. ม.ป.ท., 2553. ชลูด นิ่มเสมอ. องคประกอบของศิลปะ . กรุงเทพฯ : อมรินทรพร้ินต้ิงแอนดพับลิชช่ิง, 2553. เตยงาม คุปตะบุตร. “แสงและพื้นท่ีในงานจิตรกรรมของฑีฆวุฒิ.” ใน เสนทางสูศิลปะ THE WAY

TO ART . การแสดงศิลปกรรม เสนทางสูศิลปะ THE WAY TO ART ของนักศึกษาศิลปมหาบัณฑิต สาขาจิตรกรรม คณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ มหาวิทยาลัยศิลปากร ณ หอศิลปวัฒนธรรมแหงกรุงเทพ , 5-19 มิถุนายน 2552. ม.ป.ท.,2552 .

วอลเตอร ซูเรียน ศิลปะแฟนตาสติก . กรุงเทพฯ : เดอะเกรทไฟนอารท, 2552. สม สุจิรา. ไอนสไตนพบพระพุทธเจาเห็น .กรุงเทพฯ : อมรินทรปร้ินต้ิงแอนดพับลิชช่ิง, 2552. อิทธิพล ตั้งโฉลก. แนวทางการสอนและสรางสรรคจิตรกรรมข้ันสูง . กรุงเทพฯ : อมรินทรพร้ินต้ิง แอนดพับลิชช่ิง, 2550. Gilles Néret. Klimt. Germany : Taschen, 2003. Karl Ruhrberg. Art of the 20 th century . India : Taschen, 2005.

Page 78: ณฑ 2553 - SU...เส นทางศ ิลปะ ขอขอบพระคุณ อ.เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน อ.กมล ทัศนาญชลีครูสังคม

67

ภาคผนวก

Page 79: ณฑ 2553 - SU...เส นทางศ ิลปะ ขอขอบพระคุณ อ.เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน อ.กมล ทัศนาญชลีครูสังคม

68

รายระเอียดผลงานการสรางสรรค

ผลงานกอนวิทยานิพนธระยะท่ี 1 1. ผลงานกอนวทิยานิพนธระยะท่ี 1 ช้ินที่ 1 ช่ือผลงาน “ ความฝนบนผนังคอนกรีต ” เทคนิค สีน้ํามัน สีอะคริลิค บนผาใบ ขนาด 190 X 200 เซนติเมตร พ.ศ. 2551. 2. ผลงานกอนวทิยานิพนธระยะท่ี 1 ช้ินที่ 2 ช่ือผลงาน “ ความฝนบนผนังคอนกรีต ” เทคนิค สีน้ํามัน สีอะคริลิค บนผาใบ ขนาด 190 X 200 เซนติเมตร พ.ศ. 2551.

ผลงานกอนวิทยานิพนธระยะท่ี 2 1. ผลงานกอนวทิยานิพนธระยะท่ี 2 ช้ินที่ 1 ช่ือผลงาน “ Celebrate of New light ” เทคนิค สีน้ํามัน สีอะคริลิค บนผาใบ ขนาด 150 X 180 เซนติเมตร พ.ศ. 2552. 2. ผลงานกอนวทิยานิพนธระยะท่ี 2 ช้ินที่ 2 ช่ือผลงาน “ Birth of New light ” เทคนิค สีน้ํามัน สีอะคริลิค บนผาใบ ขนาด 110 X 170 เซนติเมตร พ.ศ. 2552. 3. ผลงานกอนวทิยานิพนธระยะท่ี 2 ช้ินที่ 3 ช่ือผลงาน “Celebrate of New light no2” เทคนิค สีน้ํามัน สีอะคริลิค บนผาใบ ขนาด 160 X 190 เซนติเมตร พ.ศ. 2552. 4. ผลงานกอนวทิยานิพนธระยะท่ี 2 ช้ินที่ 4 ช่ือผลงาน “Celebrate of New light no 3” เทคนิค สีน้ํามัน สีอะคริลิค บนผาใบ ขนาด 150 X 150 เซนติเมตร พ.ศ. 2552. 5. ผลงานกอนวทิยานิพนธระยะท่ี 2 ช้ินที่ 5 ช่ือผลงาน “ Confine of New light” เทคนิค สีน้ํามัน สีอะคริลิค บนผาใบ ขนาด 160 X 190 เซนติเมตร พ.ศ. 2552. 6. ผลงานกอนวทิยานิพนธระยะท่ี 2 ช้ินที่ 6 ช่ือผลงาน “ Night Flower ” เทคนิค สีน้ํามัน สีอะคริลิค บนผาใบ ขนาด 110 X 180 เซนติเมตร พ.ศ. 2552.

Page 80: ณฑ 2553 - SU...เส นทางศ ิลปะ ขอขอบพระคุณ อ.เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน อ.กมล ทัศนาญชลีครูสังคม

69

ผลงานวิทยานพินธ

1. ผลงานวิทยานพินธ ช้ินท่ี 1 ช่ือผลงาน “ Twilight Garden ” เทคนิค สีน้ํามัน สีอะคริลิค บนผาใบ ขนาด 190 X 200 เซนติเมตร พ.ศ. 2553. 2. ผลงานวิทยานพินธ ช้ินท่ี 2 ช่ือผลงาน “ ลอยกระทง 2010 ” เทคนิค สีน้ํามัน สีอะคริลิค บนผาใบ ขนาด 170 X 190 เซนติเมตร พ.ศ. 2553. 3. ผลงานวิทยานพินธ ช้ินท่ี 3 ช่ือผลงาน “ In Mine room” เทคนิค สีน้ํามัน สีอะคริลิค บนผาใบ ขนาด 155 X 185 เซนติเมตร พ.ศ. 2553. 4. ผลงานวิทยานพินธ ช้ินท่ี 4 ช่ือผลงาน “ Paradise Garden ” เทคนิค สีน้ํามัน สีอะคริลิค บนผาใบ ขนาด 190 X 340 เซนติเมตร พ.ศ. 2553. 5. ผลงานวิทยานพินธ ช้ินท่ี 5 ช่ือผลงาน “ Sky line Garden ” เทคนิค สีน้ํามัน สีอะคริลิค บนผาใบ ขนาด 190 X 300 เซนติเมตร พ.ศ. 2554. 6. ผลงานวิทยานพินธ ช้ินท่ี 6 ช่ือผลงาน “ Blue Terrace” เทคนิค สีน้ํามัน สีอะคริลิค บนผาใบขนาด 160X 195 เซนติเมตร พ.ศ. 2554. 7. ผลงานวิทยานพินธ ช้ินท่ี 7 ช่ือผลงาน “ Relaxing in The pool ” เทคนิค สีน้ํามัน สีอะคริลิค บนผาใบ ขนาด 160 X 190 เซนติเมตร พ.ศ. 2554. 8. ผลงานวิทยานพินธ ช้ินท่ี 8 ช่ือผลงาน “ Growing in The pool ” เทคนิค สีน้ํามัน สีอะคริลิค บนผาใบ ขนาด 210 X 225 เซนติเมตร พ.ศ. 2554.

Page 81: ณฑ 2553 - SU...เส นทางศ ิลปะ ขอขอบพระคุณ อ.เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน อ.กมล ทัศนาญชลีครูสังคม

70

ประวัติผูวิจัย

ชื่อ‐สกุล นายฑีฆวุฒิ บุญวิจิตร เกิด 15 สิงหาคม 2527 ชัยภูมิ ท่ีอยู 59/393 หมู7 ต.คลองสอง อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี 12120 โทร 080-9004088 E-mail zato_toshi @hotmail.com ประวัติการศึกษา พ.ศ. 2538 ประถมศึกษา โรงเรียนบานเปาสําราญไชยวิทยา จ.ชัยภูมิ พ.ศ. 2542 มัธยมศึกษาตอนตน โรงเรียนเทพสถิตวิทยา จ.ชัยภูมิ พ.ศ. 2545 มัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนศรีสงครามวิทยา จ.เลย

พ.ศ. 2550 ศิลปะบัณฑิต (เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง) ภาควิชาจิตรกรรม คณะจิตรกรรมประติมากรรม และภาพพิมพ มหาวิทยาลัยศิลปากร

พ.ศ. 2554 ศิลปะมหาบัณฑิต ภาควิชาจิตรกรรม คณะจิตรกรรมประติมากรรม และภาพพิมพ มหาวิทยาลัยศิลปากร

การแสดงผลงาน พ.ศ. 2546 การแสดงวาดเสนนานาชาติเนื่องในวาระรวมฉลองครบรอบ60ป

มหาวิทยาลัยศิลปากร THE INTERNATIONAL PRINT AND DRAWING EXHIBITION Thailand 2003 ณ ศูนยศิลปวัฒนธรรมเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา มหาวิทยาลัยศิลปากร พระราชวังสนามจันทร นครปฐม การแสดงศิลปกรรม “ เปดบาน” ของนักศึกษามหาวิทยาลัยศิลปากร เนื่องในโอกาส ครบรอบ 60 ป คณะจิตรกรรมประติมากรรม และภาพพิมพ มหาวิทยาลัยศิลปากร Painting Exhibition”, ณ หอศิลปมหาวิทยาลัยศิลปากร, กรุงเทพฯ

พ.ศ. 2547 นิทรรศการจิตรกรรม “หุนนิ่งและทิวทัศน - Still Life and Landscape การแสดงศิลปกรรมรุนเยาวคร้ังท่ี 20 มหาวิทยาลัยศิลปากร

การแสดงศิลปกรรม ปตท. คร้ังท่ี 14

Page 82: ณฑ 2553 - SU...เส นทางศ ิลปะ ขอขอบพระคุณ อ.เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน อ.กมล ทัศนาญชลีครูสังคม

71

นิทรรศการ “ Digital Art Exhibition ” ณ หอศิลป คณะจิตรกรรมประติมากรรม และภาพพิมพ มหาวิทยาลัยศิลปากร นิทรรศการศิลปกรรม อมตะ อารต อวอรด คร้ังท่ี 2, ณ หอศิลปแหงชาติ, กรุงเทพฯ,จัดโดย มูลนิธิอมตะ การแสดงศิลปกรรม YOUNG THAI ARTIST AWARD 2004 มูลนิธิซิเมนตไทย นิทรรศการศิลปกรรม”นําส่ิงท่ีดีสูชีวิต คร้ังท่ี 17”, ณ หอศิลปแหงชาติ, กรุงเทพฯ, บริษัทโตชิบา (ประเทศไทย) การแสดงศิลปกรรม “ ยอนรอยโบราณวิจิตร สูวิจิตรศิลป” อุทยานแหงชาติสุโขทัยและศรีสัชนาลัย

พ.ศ. 2548 การแสดงศิลปกรรม PANASONIC คร้ังท่ี 8 การแสดง THE 12TH INTERNATION BIENNIAL PRINT AND DRAWIN EXHIBITION,R.O.C TAIWAN 2006

นิทรรศการศิลปกรรม “ โครงการเยาวชนสรางสรรคงานศิลปกับศิลปนแหงชาติ ” รุนท่ี 2 ณ หออัครศิลปน ปทุมธานี

พ.ศ. 2549 นิทรรศการศิลปนิพนธของนักศึกษาชั้นปสุดทาย คณะจิตรกรรมประติมากรรม และภาพพิมพ มหาวิทยาลัยศิลปากร ณ หอศิลปมหาวิทยาลัยศิลปากร การแสดงศิลปกรรม“ลายศิลปและเสนสี ดวยภักดีองคภูมินทร”สโมสรโรตารีดอนเมืองโรงแรมแกรนด เมอรเคียว ฟอรจูน กรุงเทพฯ นิทรรศการศิลปกรรม “The Difference of Inspiration”รวมกับกลุมศิลปนในโครงการ เยาวชนสรางสรรคงานศิลปกับศิลปนแหงชาติรุนท่ี 2ณ อาคารพรรณราย มหาวิทยาลัยศิลปากร, กรุงเทพฯ

พ.ศ. 2550 การแสดงศิลปกรรมรุนเยาวคร้ังท่ี 23 นิทรรศการศิลปกรรมเฉลิมพระเกียรติ “เทิดไทอัครศิลปน 80 พรรษา” รวมกับกลุมศิลปนในโครงการเยาวชนสรางสรรคงานศิลปกับศิลปนแหงชาติรุนท่ี 1-3 ณ หอศิลปแหงชาติ ถนนเจาฟา กรุงเทพมหานคร

พ.ศ. 2551 นิทรรศการศิลปกรรมเฉลิมพระเกียรติ “แรงบันดาลใจจากพอของแผนดิน” รวมกับกลุมศิลปนในโครงการเยาวชน สรางสรรคงานศิลปกับ

Page 83: ณฑ 2553 - SU...เส นทางศ ิลปะ ขอขอบพระคุณ อ.เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน อ.กมล ทัศนาญชลีครูสังคม

72

ศิลปนแหงชาติรุนท่ี 1-3 ณ หอศิลปแหงชาติ ถนนเจาฟา กรุงเทพมหานคร การแสดงศิลปกรรมแหงชาติคร้ังท่ี 54 ณ หอศิลปแหงชาติ ถนนเจาฟา กรุงเทพมหานคร นิทรรศการศิลปกรรม”นําส่ิงท่ีดีสูชีวิต คร้ังท่ี 20 กรุงเทพมหานคร นิทรรศการจิตรกรรมรวมสมัย “ พานาโซนิค ” คร้ังท่ี10 ณ พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ หอศิลป ถนนเจาฟา กรุงเทพฯ

พ.ศ. 2552 นิทรรศการ “ เสนทางสูศิลปะ ” ( The Way To Art ) โดยนักศึกษาศิลปมหาบัณฑิต สาขาจิตรกรรม คณะจิตรกรรมประติมากรรม และภาพพิมพ มหาวิทยาลัยศิลปากร ณ หอศิลปวัฒนธรรมแหงกรุงเทพมหานคร กรุงเทพฯ

นิทรรศการศิลปกรรม “ นําส่ิงท่ีดีสูชีวิต ” คร้ังท่ี 21 ณ พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ หอศิลป ถนนเจาฟา กรุงเทพฯ

พ.ศ. 2553 การแสดงจิตรกรรมรวมสมัยPANASONIC คร้ังท่ี 12 ณ หอศิลปแหงชาติ ถนนเจาฟา กรุงเทพมหานคร

นิทรรศการศิลปะ “ Convey To … ” สัญญาณแหงการถายทอด ณ หอศิลปริมนาน นาน

ประวัติทุนการศึกษา พ.ศ. 2545 ทุนการศึกษาดานศิลปะ มูลนิธิยุวพฒัน

พ.ศ. 2548 ทุนการศึกษามูลนิธิซิเมนตไทย ไดรับทุนการศึกษาตอเน่ืองจากดร.สาธิต-คุณรัชนีวรรณ อุทัยศรี

พ.ศ. 2553 ทุนมูลนิธิรัฐบุรุษ พลเอก เปรม ติณสูลานนท เกียรติประวัต ิ

พ.ศ. 2542 รางวัลเหรียญทองนิทรรศการศิลปะเด็กนานาชาติ คร้ังท่ี11ประเทศฟนแลนด

พ.ศ. 2543 ไดรับเลือกใหเปนเยาวชนดเีดนสรางช่ือเสียงมาสูประเทศชาติดานศิลปะ เนื่องในวันเดก็แหงชาติ

พ.ศ. 2548 เยาวชนรุนท่ี 2, เขารวมทัศนศึกษาและประชุมเชิงปฏิบัติการดานศิลปะ, โครงการเยาวชนสรางสรรคงานศิลปกับศิลปนแหงชาติ รุนท่ี 2, ณ นคร

Page 84: ณฑ 2553 - SU...เส นทางศ ิลปะ ขอขอบพระคุณ อ.เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน อ.กมล ทัศนาญชลีครูสังคม

73

ลอสแองเจลลิส ประเทศสหรัฐอเมริกา,จัดโดยกระทรวงวัฒนธรรม และสภาศิลปกรรมไทยในสหรัฐอเมริกา

พ.ศ. 2549 รางวัลดีเดน ประเภทศิลปะ 2มิติ “ Young Thai Artist Awards ” โดยมูลนิธิเครือซีเมนตไทยจํากัด ณ พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ หอศิลป ถนน เจาฟา กรุงเทพฯ

พ.ศ. 2550 รางวัลดีเดน ในนิทรรศการจิตรกรรมรวมสมัย “ พานาโซนิค ” คร้ังท่ี 10 ณ พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ หอศิลป ถนนเจาฟา กรุงเทพฯ

พ.ศ. 2552 รางวัลดีเดนการประกวดศิลปกรรม “ นําส่ิงท่ีดีสูชีวิต ” คร้ังท่ี 21 ในเครือบริษัทโตชิบาจํากัด ณ พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ หอศิลป ถนน เจาฟา กรุงเทพฯ

พ.ศ. 2553 รางวัลยอดเยี่ยมจิตรกรรมรวมสมัยพานาโซนิค คร้ังท่ี 12 ณ พิพิธภัณฑ-สถานแหงชาติ หอศิลป ถนนเจาฟา กรุงเทพฯ