39

ชัด อินทะสี - images-se-ed.comศึกษาและปฏิบัติหลักการเกิดไฟฟ้ากระแสสลับค่าต่างๆ

  • Upload
    others

  • View
    3

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 2: ชัด อินทะสี - images-se-ed.comศึกษาและปฏิบัติหลักการเกิดไฟฟ้ากระแสสลับค่าต่างๆ

ชัด อินทะสี

AC Electric Circuits

Page 3: ชัด อินทะสี - images-se-ed.comศึกษาและปฏิบัติหลักการเกิดไฟฟ้ากระแสสลับค่าต่างๆ

วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ

โดย ดร. ชัด อินทะสี

สงวนลิขสิทธิ์ในประเทศไทยตาม พ.ร.บ. ลิขสิทธิ์ © พ.ศ. 2557 โดย ดร. ชัด อินทะสี

ห้ามคัดลอก ลอกเลียน ดัดแปลง ทำาซ้ำา จัดพิมพ์ หรือกระทำาอื่นใด โดยวิธีการใดๆ ในรูปแบบใดๆ

ไม่ว่าส่วนหนึ่งส่วนใดของหนังสือเล่มนี้ เพื่อเผยแพร่ในสื่อทุกประเภท หรือเพื่อวัตถุประสงค์ใดๆ

นอกจากจะได้รับอนุญาต

ขอมูลทางบรรณานุกรมของหอสมุดแหงชาติ

ดร. ชัด อินทะส.ี

วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ. --กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคช่ัน, 2557.

1. วงจรไฟฟ้า -- กระแสสลับ.

I. ช่ือเร่ือง. 621.3192

ISBN (e-book) : 978-616-08-1958-4

ผลิตและจัดจำ�หน�ยโดย

อาคารทีซีไอเอฟ ทาวเวอร์ ชั้น 19 เลขที่ 1858/87-90 ถนนบางนา-ตราด แขวงบางนา เขตบางนา กรุงเทพฯ 10260 โทรศัพท์ 0-2739-8000

[หากมีคำาแนะนำาหรือติชม สามารถติดตอไดที่ [email protected]]

Page 4: ชัด อินทะสี - images-se-ed.comศึกษาและปฏิบัติหลักการเกิดไฟฟ้ากระแสสลับค่าต่างๆ

3

2104-2003 วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ

จุดประสงค์รายวิชา เพื่อให้

1. รู้ เข้าใจกฎและทฤษฎีวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ

2. มทีกัษะเกีย่วกบัการต่อ การวดั ประคอง และค�านวณหาค่าต่างๆ ในวงจรไฟฟ้ากระแส

สลับ

3. มีเจตคติและกิจนิสัยที่ดีในการปฏิบัติงาน มีความละเอียดรอบคอบ ปลอดภัย เป็น

ระเบียบ สะอาด ตรงต่อเวลา มีความซื่อสัตย์และมีความรับผิดชอบ

สมรรถนะรายวิชา

1. แสดงความรู้เกี่ยวกับการหาค่าต่างๆ ในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ

2. ปฏิบัติการต่อวงจร วัด และทดสอบค่าต่างๆ ในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ

ค�าอธิบายรายวิชา

ศึกษาและปฏิบัติหลักการเกิดไฟฟ้ากระแสสลับ ค่าต่างๆ ของรูปคล่ืนไซน์

เฟสเซอร์ไดอะแกรม ปริมาณเชิงซ้อน วงจร R-L-C แบบอนุกรม ขนาน และผสม วงจร

เรโซแนนช์ ก�าลังไฟฟ้า และเพาเวอร์แฟกเตอร์

Page 5: ชัด อินทะสี - images-se-ed.comศึกษาและปฏิบัติหลักการเกิดไฟฟ้ากระแสสลับค่าต่างๆ

4

3110-1001 วงจรไฟฟ้า

จุดประสงค์รายวิชา

1. เพื่อให้มีความเข้าใจหลักการและทฤษฎีวงจรไฟฟ้า

2. เพื่อให้สามารถค�านวณหาค่าความต้านทาน กระแส แรงดัน ก�าลังไฟฟ้า และ

ตรวจสอบแก้ไข หาข้อบกพร่องของวงจร

3. เพ่ือให้มีกิจนิสัยในการท�างานด้วยความประณีต รอบคอบ และปลอดภัย มีความ

ตระหนักถึงคุณธรรมของงาน และมีจริยธรรมในการสรุปผล รายงานผล และ

น�าเสนอ

มาตรฐานรายวิชา

1. แก้ปัญหาโจทย์วงจรไฟฟ้าด้วยทฤษฎีวงจรไฟฟ้าต่างๆ

2. ทดสอบคุณสมบัติของวงจรไฟฟ้า

3. ทดสอบการปรับปรุงตัวประกอบก�าลังไฟฟ้า

ค�าอธิบายรายวิชา

ศกึษาและปฏบิตัอิงค์ประกอบของวงจร กฎของเคร์ิชฮอฟฟ์ และทศิทางอ้างองิแนวคดิ

เบื้องต้น เก่ียวกับกราฟของวงจรข่าย วงจรแบบตัวต้านทาน การวิเคราะห์แบบปมและเมช

ทฤษฎีของเทวินินและนอร์ตัน คลื่นแบบไซน์ การแทนด้วยเฟสเซอร์ อิมพีแดนซ์ และ

แอดมติแตนซ์ การวเิคราะห์ในสถานะอยูต่วัต่อคลื่นแบบไซน์ก�าลงัไฟฟ้า ผลตอบสนองเชงิความถี่

วงจรไฟฟ้าสามเฟส ระบบวงจรและก�าลังไฟฟ้าสามเฟส การปรับปรุงตัวประกอบก�าลังไฟฟ้า

Page 6: ชัด อินทะสี - images-se-ed.comศึกษาและปฏิบัติหลักการเกิดไฟฟ้ากระแสสลับค่าต่างๆ

คํานํา

หนังสือ วงจรไฟฟากระแสสลับ เลมน้ี ไดพิมพและจําหนายมาแลวกวา 10 ป เชนเดียวกับหนังสือ

วงจรไฟฟากระแสตรง มขีอเสนอแนะจากครผููสอนและนกัเรยีน นกัศกึษา ในทาํนองทีค่ลายคลงึกนั กลาวคอื มี

เนือ้หาในแตละบทคอนขางมาก ไมสามารถศึกษาใหจบภายในหน่ึงภาคการศึกษาได และไมสะดวกตอการพกพา

จากขอจํากัดดังกลาว ผูเขียนจึงไดแกไขและลดทอนจํานวนตัวอยางและเนื้อหาในบางตอนออก

สาํหรบัเนือ้หาโดยภาพรวมเกีย่วกบัวงจรไฟฟากระแสสลบัยงัอยูครบถวน ทัง้ระดบั ปวช. และ ปวส. ดงันัน้

ผูสอนจงึควรเลอืกใชเน้ือหาในการสอนใหเหมาะสมกบัระดบัการศกึษาดงักลาว แตสาํหรบัผูเรยีนทีต่องการความ

เขาใจท่ีลึกซึ้งเพิ่มขึ้น ก็สามารถศึกษาดวยตนเองอยางละเอียดในทุกบททุกตอนได เพราะมีเนื้อหาท่ีนําเสนอ

เรียงลําดับกันไป และอาศัยพื้นฐานจากวงจรไฟฟากระแสตรงท่ีศึกษาผานมาแลว ในทายที่สุดน้ี ขอกราบ

ขอบพระคุณครูอาจารยที่เปนผูประสิทธิ์ประสาทวิชาการ เปนแบบอยางใหแกผูเขียนตั้งแตครั้งยังเปนนักศึกษา

คอื อาจารยยงยุทธ ลงุคะ อดตีอาจารยวทิยาลยัเทคนคิสโุขทยั อาจารยพมิพใจ สระบัว อดตีอาจารยวทิยาลยั

เทคโนโลยีและอาชีวศึกษา วิทยาเขตเทคนิคตาก และ อาจารย ดร. วันชัย ทรัพยสิงห อดีตอาจารยสถาบัน

เทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตเทเวศร

ผูเขยีนขอขอบคณุกองบรรณาธกิารฝายตาํราวชิาการ บรษิทั ซเีอด็ยเูคชัน่ จาํกดั (มหาชน) ทีไ่ดชวยเหลอื

ในการจัดรูปแบบ แกไข ตรวจทาน และจัดพิมพ ถาครูผูสอน นักเรียน นักศึกษา ที่ใชหนังสือเลมน้ีแลวพบขอ

บกพรอง โปรดแจงใหทราบ เพื่อจะดําเนินการพิจารณาแกไขและปรับปรุงตอไป

ชัด อินทะสีE-mail: [email protected]

����_245.indd 5 29/6/2553 17:05:48

Page 7: ชัด อินทะสี - images-se-ed.comศึกษาและปฏิบัติหลักการเกิดไฟฟ้ากระแสสลับค่าต่างๆ

สารบัญ

บทที่ 1 เวกเตอรและจํานวนเชิงซอน ..............................................................................................13 1.1 บทนํา 14

1.2 เวกเตอร (Vector) 14

1.3 จํานวนเชิงซอน 14

แบบฝกหัด 37

บทที่ 2 การกําเนดิแรงดันไฟฟากระแสสลับและการวิเคราะหรูปคลื่น .............................................39 2.1 การกําเนิดแรงดันไฟฟาเหนี่ยวนําและกระแสไฟฟาเหนี่ยวนํา 41

2.2 ไซเคิล คาบเวลา ความถี่ และความเร็วเชิงมุม 48

2.3 รูปคลื่นไซน 54

2.4 เฟสและแผนภาพเฟสเซอร 59

2.5 ความสัมพันธของสมการรูปคลื่นไซนกับแผนภาพเฟสเซอร 62

แบบฝกหัด 73

บทที่ 3 ตัวตานทาน ตัวเหนี่ยวนํา และตัวเก็บประจุในวงจรไฟฟากระแสสลับ ...............................75 3.1 ตัวตานทานในวงจรไฟฟากระแสสลับ 76

3.2 ตัวเหนี่ยวนําในวงจรไฟฟากระแสสลับ 82

3.3 ตัวเก็บประจุในวงจรไฟฟากระแสสลับ 101

แบบฝกหัด 117

����_245.indd 7 29/6/2553 17:05:51

Page 8: ชัด อินทะสี - images-se-ed.comศึกษาและปฏิบัติหลักการเกิดไฟฟ้ากระแสสลับค่าต่างๆ

วงจรไฟฟากระแสสลับ8

บทที่ 4 อิมพีแดนซและแอดมิตแตนซ ............................................................................................123 4.1 อิมพีแดนซ 124

4.2 แอดมิตแตนซ 136

แบบฝกหัด 146

บทที่ 5 วงจรตัวตานทาน ตัวเหนี่ยวนํา .....................................................................................149 5.1 วงจรตัวตานทาน – ตัวเหนี่ยวนํา ที่ตอกันแบบอนุกรมในสภาวะคงตัว

ในเทอมของขอบเขตเวลา 150

5.2 วงจรตัวตานทาน – ตัวเหนี่ยวนํา ที่ตอกันแบบอนุกรมในสภาวะคงตัว

ในเทอมของขอบเขตความถี่ 159

5.3 วงจรตัวตานทาน – ตัวเหนี่ยวนํา ที่ตอกันแบบขนานในสภาวะคงตัว

ในเทอมของขอบเขตเวลา 165

5.4 วงจรตัวตานทาน – ตัวเหนี่ยวนํา ที่ตอกันแบบขนานในสภาวะคงตัว

ในเทอมของขอบเขตความถี่ 170

แบบฝกหัด 175

บทที่ 6 วงจรตัวตานทาน ตัวเก็บประจุ ......................................................................................177 6.1 วงจรตัวตานทาน – ตัวเก็บประจุ ที่ตอกันแบบอนุกรมในสภาวะคงตัว

ในเทอมของขอบเขตเวลา 178

6.2 วงจรตัวตานทาน – ตัวเก็บประจุ ที่ตอกันแบบอนุกรมในสภาวะคงตัว

ในเทอมของขอบเขตความถี่ 186

6.3 วงจรตัวตานทาน – ตัวเก็บประจุ ที่ตอกันแบบขนานในสภาวะคงตัว

ในเทอมของขอบเขตเวลา 191

6.4 วงจรตัวตานทาน – ตัวเก็บประจุ ที่ตอกันแบบขนานในสภาวะคงตัว

ในเทอมของขอบเขตความถี่ 196

แบบฝกหัด 202

บทที่ 7 วงจรตัวตานทาน ตัวเหนี่ยวนํา ตัวเก็บประจุ ................................................................205 7.1 วงจรตัวตานทาน – ตัวเหนี่ยวนํา – ตัวเก็บประจุ ที่ตอกันแบบอนุกรมในสภาวะคงตัว

ในเทอมของขอบเขตเวลา 206

7.2 วงจรตัวตานทาน – ตัวเหนี่ยวนํา – ตัวเก็บประจุ ที่ตอกันแบบอนุกรมในสภาวะคงตัว

ในเทอมของขอบเขตความถี่ 211

7.3 วงจรตัวตานทาน – ตัวเหนี่ยวนํา – ตัวเก็บประจุ ที่ตอกันแบบขนานในสภาวะคงตัว

ในเทอมของขอบเขตเวลา 224

����_245.indd 8 25/6/2553 14:18:27

Page 9: ชัด อินทะสี - images-se-ed.comศึกษาและปฏิบัติหลักการเกิดไฟฟ้ากระแสสลับค่าต่างๆ

สารบัญ 9

7.4 วงจรตัวตานทาน – ตัวเหนี่ยวนํา – ตัวเก็บประจุ ที่ตอกันแบบขนานในสภาวะคงตัว

ในเทอมของขอบเขตความถี่ 231

แบบฝกหัด 242

บทที่ 8 การวิเคราะหวงจรตัวตานทาน ตัวเหนี่ยวนํา และตัวเก็บประจุแบบผสม .......................245 8.1 หลักการเบื้องตนของวงจรไฟฟากระแสสลับ 246

8.2 วงจร R – L – C แบบขนาน – อนุกรม 249

8.3 วงจร R – L – C ผสมแบบอนุกรม – ขนาน 254

8.4 วงจร R – L – C ผสมลักษณะทั่วไป 259

แบบฝกหัด 265

บทที่ 9 กําลังไฟฟากระแสสลับ และการปรับปรุงเพาเวอรแฟกเตอร ........................................267 9.1 บทนํา 268

9.2 กําลังไฟฟาในวงจรตัวตานทาน 268

9.3 กําลังไฟฟาในวงจรตัวเหนี่ยวนําบริสุทธิ์ 272

9.4 กําลังไฟฟาในวงจรตัวเก็บประจุ 277

9.5 กําลังไฟฟาในวงจร R – L 282

9.6 กําลังไฟฟาในวงจร R – C 289

9.7 กําลังไฟฟาในวงจร R – L – C 295

9.8 กําลังไฟฟาในวงจร R – L – C ผสม 301

9.9 การวัดกําลังไฟฟาจริง 307

9.10 การปรับปรุงเพาเวอรแฟกเตอร 310

แบบฝกหัด 321

บทที่ 10 วงจรเร โซแนนซ ............................................................................................................323 10.1 บทนํา 324

10.2 วงจรเรโซแนนซอนุกรม 324

10.3 วงจรเรโซแนนซขนาน 351

10.4 วงจรเรโซแนนซผสม 370

แบบฝกหัด 379

บทที่ 11 วงจรการแปลงเดลตา – สตาร และวงจรบริดจ .........................................................381 11.1 บทนํา 382

11.2 วงจรการแปลงเดลตา – สตาร 382

����_245.indd 9 1/7/2553 16:34:21

Page 10: ชัด อินทะสี - images-se-ed.comศึกษาและปฏิบัติหลักการเกิดไฟฟ้ากระแสสลับค่าต่างๆ

วงจรไฟฟากระแสสลับ10

11.3 วงจรบริดจ 385

แบบฝกหัด 395

บทที่ 12 ทฤษฎีวงจรตาขาย 1 ..................................................................................................397 12.1 บทนํา 398

12.2 การแปลงแหลงจายพลังงานไฟฟา 398

12.3 วงจรแลดเดอร 399

12.4 กฎของเคิรชฮอฟฟกับวงจรตาขาย 403

แบบฝกหัด 417

บทที่ 13 ทฤษฎีวงจรตาขาย 2 ..................................................................................................419 13.1 บทนํา 420

13.2 วิธีวงรอบกระแสของแมกซเวลลกับวงจรตาขาย 421

13.3 วิธีโนดโวลเตจกับวงจรตาขาย 429

แบบฝกหัด 441

บทที่ 14 ทฤษฎีวงจรตาขาย 3 ..................................................................................................443 14.1 ทฤษฎีของเทเวนินกับวงจรตาขาย 444

14.2 ทฤษฎีการวางซอนกับวงจรตาขาย 450

แบบฝกหัด 456

บทที่ 15 ทฤษฎีวงจรตาขาย 4 ..................................................................................................459 15.1 ทฤษฎีของนอรตันกับวงจรตาขาย 460

15.2 ทฤษฎีการสงผานกําลังสูงสุดกับวงจรตาขาย 466

แบบฝกหัด 474

บทที่ 16 วงจรไฟฟา 3 เฟส ......................................................................................................477 16.1 การกําเนิดแรงดันไฟฟา 3 เฟส 478

16.2 การตอขดลวดของเครื่องกําเนิดไฟฟา 3 เฟส 479

16.3 ปญหาที่เกิดจากขดลวดของเครื่องกําเนิดไฟฟา 493

16.4 การตอโหลดในระบบ 3 เฟสแบบสมดุล 496

16.5 การตอโหลดในระบบ 3 เฟสแบบไมสมดุล 508

16.6 การตอโหลดในระบบ 3 เฟสแบบหลายชุด 526

แบบฝกหัด 528

����_245.indd 10 25/6/2553 14:18:27

Page 11: ชัด อินทะสี - images-se-ed.comศึกษาและปฏิบัติหลักการเกิดไฟฟ้ากระแสสลับค่าต่างๆ

สารบัญ 11

บทที่ 17 กําลังไฟฟาและการวัดกําลังไฟฟาในระบบ 3 เฟส .......................................................531 17.1 กําลังไฟฟา 532

17.2 การวัดกําลังไฟฟาในระบบ 3 เฟส 534

17.3 การปรับปรุงเพาเวอรแฟกเตอรในวงจรไฟฟา 3 เฟส 546

แบบฝกหัด 548

เฉลยแบบฝกหัดทายบท ...............................................................................................................551

บรรณานกุรม ..............................................................................................................................559

����_245.indd 11 25/6/2553 14:18:27

Page 12: ชัด อินทะสี - images-se-ed.comศึกษาและปฏิบัติหลักการเกิดไฟฟ้ากระแสสลับค่าต่างๆ
Page 13: ชัด อินทะสี - images-se-ed.comศึกษาและปฏิบัติหลักการเกิดไฟฟ้ากระแสสลับค่าต่างๆ

หลักการทั่วไป

1. การศึกษาวงจรไฟฟากระแสสลับจะตองอาศัยความรูเก่ียวกับเวกเตอรและจํานวน

เชิงซอนในการอธิบายปรากฏการณของวงจร

2. ปริมาณทางไฟฟาเปนปริมาณทางเวกเตอร เพราะมีทั้งขนาดและทิศทาง

3. จํานวนเชิงซอน (Complex Number) ประกอบดวยสวนที่เปนจํานวนจริง (Real Part)

และสวนที่เปนจํานวนจินตภาพหรือจินตนาการ (Imaginary Part)

4. ปริมาณทางไฟฟากระแสสลับสามารถเขียนในเทอมของเลขจํานวณเชิงซอนได

5. จํานวนเชิงซอนสามารถเขียนได 4 รูปแบบคือ แบบเชิงขั้ว (Polar Form), แบบ

แกนมุมฉาก (Rectangular Form), แบบตรีโกณมิติ (Trigonometric Form) และ

แบบเอกซโพเนนเชียล (Exponential Form)

6. จํานวนเชิงซอนสามารถแปลงกลับไปมาระหวางรูปแบบทั้งสี่ได

7. จํานวนเชิงซอนสามารถนํามาบวก ลบ คูณ หาร ยกกําลัง และเขียนอยู ภายใต

เครื่องหมาย ได

เวกเตอรและจํานวนเชิงซอน 1

Ch 01_245.indd 13 29/6/2553 17:07:16

Page 14: ชัด อินทะสี - images-se-ed.comศึกษาและปฏิบัติหลักการเกิดไฟฟ้ากระแสสลับค่าต่างๆ

วงจรไฟฟากระแสสลับ14

1.1 บทนําเวกเตอรและจํานวนเชิงซอนเปนอกีสาขาหน่ึงของวิชาคณิตศาสตรทีน่าํมาเปนพืน้ฐานของการศึกษาวงจร

ไฟฟากระแสสลบั เพราะปรมิาณทางไฟฟาในวงจรไฟฟากระแสสลบัจะมทีัง้ขนาดและทิศทาง (เวกเตอร) รวมท้ัง

เปนปริมาณที่มีสวนที่เปนจํานวนจริง และสวนที่เปนจํานวนจินตภาพ (จํานวนเชิงซอน)

1.2 เวกเตอร (Vector)เวกเตอรเปนปริมาณท่ีมีทั้งขนาด (Magnitude) และทิศทาง (Direction) เชน เวกเตอร AB, เวกเตอร U

และเวกเตอร V เปนตน ซึ่งเขียนแทนดวยสัญลักษณ AB, U และ V ตามลําดับ

สวนปริมาณจะมีเฉพาะขนาด แตไมมีทิศทาง เรียกวา ปริมาณสเกลาร (Scalar Quantity) เชน มวล

ความเร็ว และความเรง เปนตน

การบวกเวกเตอร 2 เวกเตอรกําหนดให U และ V เปนเวกเตอรใดๆ ผลบวกของ U กับ V คือเวกเตอรที่ลากจากจุดเริ่มตนของ U ไป

ยังจุดสิ้นสุดของ V ดังแสดงในรูปที่ 1.1

+

รูปที่ 1.1 การบวกเวกเตอร

การบวกเวกเตอรจะตองคํานึงถึงขนาดและทิศทางดวยเสมอ โดยการบวก (รวม) เวกเตอรจะนําหางของ

เวกเตอรตัวที่ 2 มาตอกับหัวของเวกเตอรตัวที่ 1 และถามีเวกเตอรตัวที่ 3 ก็นําหางมาตอที่หัวของเวกเตอรตัวที่

2 แบบนี้ไปเรื่อยๆ จนครบตามจํานวน

สมบัติของการบวกเวกเตอร1. U + V = V + U

2. (U + V) + W = U + (V + W)

3. m(U + V) = m U + mV เมื่อ m เปนปริมาณสเกลาร

4. (m + n) U = m U + n U เมื่อ m และ n เปนปริมาณสเกลาร

1.3 จํานวนเชิงซอนจํานวนเชิงซอน คือจํานวนที่ประกอบดวยสวนที่เปนจํานวนจริงและสวนที่เปนจํานวนจินตภาพ

Ch 01_245.indd 14 25/6/2553 10:05:10

Page 15: ชัด อินทะสี - images-se-ed.comศึกษาและปฏิบัติหลักการเกิดไฟฟ้ากระแสสลับค่าต่างๆ

1...เวกเตอรและจํานวนเชิงซอน 15

1.3.1 จํานวนจริงจํานวนจริง คือจํานวนท่ีทราบคาแนนอนใหความหมายไดแนชัด เชน 1, 2, 3, – 1, – 2, – 3, ---, n หรือ

อาจเปนจํานวนท่ีเปนเศษสวน หรือเปนเลขท่ีมีทศนิยม หรือแมกระท่ังเปนศูนย (0) ก็เปนจํานวนจริง และ

จํานวนจริงสามารถนํามาบวก ลบ คูณ หาร ยกกําลัง และเขียนในรูปเครื่องหมาย ได เชน 1 + 2 = 3,

4 – 5 = – 1, 3 2 = 6, 6/1 = 6, (7)0 = 1, 9 = 3 เปนตน

RR

รูปที่ 1.2 แกนจริง

1.3.2 จํานวนจินตภาพจํานวนจินตภาพ คือจํานวนที่ไมเปนจริง เปนจํานวนจินตนาการ ไมทราบคาวามีมากนอยเพียงไร และ

ขอใหพิจารณาสมการดังตอไปนี้

X2 + 1 = 0

X2 = – 1

X = – 1

ซึ่ง – 1 เปนจํานวนที่ไมสามารถหาคาได จึงกําหนดให j แทนคา – 1 คา j หรือจํานวนจินตภาพนี้จะ

ปรากฏอยูในแกน y กลาวคือ ถามีคาไปทางบวกเรียกวา j แตถามีคาไปทางลบเรียกวา – j ดังแสดงในรูปที่ 1.3

รูปที่ 1.3 แกนจินตภาพ

การหาคาของจํานวนจินตภาพมีหลายวิธี ประกอบดวย

1. การบวกจํานวนจินตภาพ ทําไดเชนเดียวกับจํานวนจริง เชน

ก. j2 + j3 = j5 ข. – j8 + j10 = j2

ค. ( – j4) + ( – j1) = – j5

Ch 01_245.indd 15 25/6/2553 10:05:11

Page 16: ชัด อินทะสี - images-se-ed.comศึกษาและปฏิบัติหลักการเกิดไฟฟ้ากระแสสลับค่าต่างๆ

วงจรไฟฟากระแสสลับ16

2. การลบจํานวนจินตภาพ ทําไดเชนเดียวกับจํานวนจริง เชน

ก. j8 – j4 = j4 ข. – j3 – j7 = – j10

ค. (– j2) – (– j3) = j1

3. การยกกําลังของจํานวนจินตภาพ จะพิจารณาจากแกนจริงและแกนจินตภาพโดยกําหนดใหคาใน

แตละทิศทางเปน 1 หนวย ดังแสดงในรูปที่ 1.4

= -1= -1 = 1

รูปที่ 1.4 ลักษณะการยกกําลังของจํานวนจินตภาพ

การพิจารณาการยกกําลังของจํานวนจินตภาพ ใหศึกษาจากรูปที่ 1.4 วนทวนเข็มนาฬกา ดังนี้

(j)0 = 1

(j)1 = j = – 1

(j)2 = (j) (j) = ( – 1 ) ( – 1 ) = – 1

(j)3 = (j)2 (j) = (– 1)j = – j

(j)4 = (j)2 (j)2 = (– 1) (– 1) = 1

(j)5 = (j)4 (j) = (1) (j) = j = – 1

ในกรณีที่จํานวนจินตภาพยกกําลังดวยตัวเลขคามากๆ การที่จะพิจารณาคาการยกกําลัง ดังแสดงในรูป

ที ่1.4 หรอืการกระจายการยกกาํลงัจะทาํใหลาชา วธิแีกปญหาคอื นาํ 4 ไปหารคายกกาํลงัของจาํนวนจนิตภาพ

แลวนําเศษที่เหลือมาพิจารณาเปนคายกกําลัง โดยการนํา 4 ไปหารนั้น ใหหารตั้งแต (j)4 เปนตนไป ดังนี้

(j)4 4/4 เศษ 0 (j)0 = 1

(j)5 5/4 เศษ 1 (j)1 = j = – 1

(j)729 729/4 เศษ 1 (j)1 = j = – 1

ฯลฯ

Ch 01_245.indd 16 1/7/2553 16:37:06

Page 17: ชัด อินทะสี - images-se-ed.comศึกษาและปฏิบัติหลักการเกิดไฟฟ้ากระแสสลับค่าต่างๆ

1...เวกเตอรและจํานวนเชิงซอน 17

4. การคูณจํานวนจินตภาพ เชน

ก. (j4) (j2) = (j)2 8 = ( – 1) 8 = – 8

ข. ( – j2) (j3) = – (j)2 6 = – ( – 1) 6 = 6

ค. ( – j5) ( – j2) = (j)2 10 = ( – 1) 10 = – 10

5. การหารจํานวนจินตภาพ เชน

ก. (j4)/(j2) = 4/2 = 2

ข. (– j6)/(j3) = – 6/2 = – 2

ค. (– j6)/(– j3) = 6/3 = 2

ยังมีวิธีหาคาจํานวนเชิงซอนอีกหลายวิธี ตอไปจะพิจารณาเลขจํานวนเชิงซอนท่ีมีทั้งสวนจริงและสวน

จินตภาพ ดังนี้

พิจารณาสมการ Z2 – 2Z + 3 = 0

Z =

=

=

= 1 ( – 1) ( 2)

Z = 1 j 2

จะเห็นวาคาของ Z ประกอบดวยสวนจริงเทากับ 1 สวนจินตภาพเทากับ 2 จึงเรียก Z วาเปน

เลขจํานวนเชิงซอน สามารถเขียนรูปแบบ (Form) ของ Z ในเทอมทั่วไปไดดังนี้

Z = (x) j (y) (1.1)

เมื่อ x คือสวนที่เปนจํานวนจริงอยูในแกน (x)

y คือสวนที่เปนจํานวนจินตภาพอยูในแกน (y)

– (– 2) (– 2)2 – (4)(3)2

2 – 82

2 2 – 22

Ch 01_245.indd 17 25/6/2553 10:05:11

Page 18: ชัด อินทะสี - images-se-ed.comศึกษาและปฏิบัติหลักการเกิดไฟฟ้ากระแสสลับค่าต่างๆ

วงจรไฟฟากระแสสลับ18

ตัวอยางที่ 1.1 จงหาคาจํานวนจริงและจํานวนจินตภาพของเลขจํานวนเชิงซอน ดังตอไปนี้

ก. 6 + j2 ข. 3 10– 3 – j1 10–

3

ค. j17 ง. (j1)2 จ. 400 105

วิธีทํา

ก. จํานวนจริง = 6 ; จํานวนจินตภาพ = 2

ข. จํานวนจริง = 3 10– 3 ; จํานวนจินตภาพ = – 1 10–

3

ค. j17 = 0 + j17

จํานวนจริง = 0 ; จํานวนจินตภาพ = 17

ง. (j1)2 = – 1 = – 1 + j0

จํานวนจริง = – 1 จํานวนจินตภาพ = 0

จ. 400 105 = 400 105 + j0

จํานวนจริง = 400 105 ; จํานวนจินตภาพ = 0 ตอบ

1.3.3 รูปแบบของจํานวนเชิงซอน

1. รูปแบบแกนมุมฉาก (Rectangular Form) เปนรูปแบบท่ีเขียนอยูในรูปของ Z = (x) j (y)

r- r

- j

j

รูปที่ 1.5 จํานวนเชิงซอนแบบแกนมุมฉาก

Ch 01_245.indd 18 25/6/2553 10:05:12

Page 19: ชัด อินทะสี - images-se-ed.comศึกษาและปฏิบัติหลักการเกิดไฟฟ้ากระแสสลับค่าต่างๆ

1...เวกเตอรและจํานวนเชิงซอน 19

จากรูปที่ 1.5 เขียนเลขจํานวนเชิงซอนในรูปแบบแกนมุมฉากไดดังนี้

Z1 = 4 + j3 Z2 = – 3 + j2

Z3 = – 5 – j3 Z4 = 5 – j4

Z5 = 3 + j0 Z6 = 0 + j2

Z7 = – 4 + j0 Z8 = 0 – j2

ก. การบวกและลบเลขจาํนวนเชงิซอนในรปูแบบแกนมมุฉาก ใหนาํจาํนวนจรงิบวกหรอืลบกับจาํนวนจรงิ

และนําจํานวนจินตภาพบวกหรือลบกับจํานวนจินตภาพ เชน (อาศัยคาจํานวนเชิงซอนจากรูปที่ 1.5)

Z1 Z2 = (x1 x2) j (y1 y2) (1.2)

Z1 + Z2 = (4 + j3) + (– 3 + j2) = 1 + j5

Z5 – Z6 = (3 + j0) + (0 + j2) = 3 + j2

Z3 – Z4 = (– 5 – j3) – (5 – j4) = – 10 + j1

Z7 – Z8 = (– 4 + j0) – (0 – j2) = – 4 + j2

ข. การคูณเลขจํานวนเชิงซอนในรูปแบบมุมฉาก อาศัยหลักการคูณทางพีชคณิตทั่วไป กลาวคือ

(a + b) (c + d) = ac + ad + bc + bd

ตัวอยางเชน Z1Z4 = (4 + j3) (5 – j4)

= 20 – j16 + j15 – (j)2 12

= 20 – j1 + 12

= 32 – j1

Z6Z7 = (0 + j2) (– 4 + j0)

= – j8

= 0 – j8

ค. การหารเลขจํานวนเชิงซอนในรูปแบบมุมฉาก ใหนําตัวหารมาคอนจูเกต (Conjugate) แลวเอาไปคูณ

ทั้งเศษและสวนที่หารกันอยู การคอนจูเกต คือการเปลี่ยนเครื่องหมายเปนตรงกันขามของสวนจินตภาพ เชน

Z1 = 4 + j3

ดังนั้น Z1* = 4 – j3

Z1/Z2 = Z1

Z2 •

Z2*

Z2* (1.3)

Ch 01_245.indd 19 25/6/2553 10:05:12

Page 20: ชัด อินทะสี - images-se-ed.comศึกษาและปฏิบัติหลักการเกิดไฟฟ้ากระแสสลับค่าต่างๆ

วงจรไฟฟากระแสสลับ20

ตัวอยางการหารมีดังนี้

Z3/Z4 = (– 5 – j3)(5 – j4)

(5 + j4)(5 + j4)

= – 25 – j20 – j15 – (j)212(25 + j20 – j20 – (j)216)

= – 25 – j35 + 12

(25 + 16)

= – 13 – j35

41 = – 0.317 – j0.853

Z7/Z8 = (– 4 – j0)(0 – j2)

(0 + j2)(0 + j2)

= – j8

– (j)2 4

= – j84

= – j2

= 0 – j2

2. รูปแบบเชิงข้ัว (Polar Form) รปูแบบนีจ้ะเขยีนในรปูของ Z = r ซึง่ r คอืขนาดของเวกเตอร

และ เปนทิศทางของเวกเตอรที่อางอิงอยูกับแกนอางอิง มีลักษณะดังแสดงในรูปที่ 1.6

มุมเปนบวก

(แกนอางอิง)

มุมเปนลบ

(ก) แกนอางอิงและมุม

j

r

r

= tan

(ข) รูปแบบเชิงขั้ว

รูปที่ 1.6 จํานวนเชิงซอนแบบเชิงขั้ว

Ch 01_245.indd 20 25/6/2553 10:05:12

Page 21: ชัด อินทะสี - images-se-ed.comศึกษาและปฏิบัติหลักการเกิดไฟฟ้ากระแสสลับค่าต่างๆ

1...เวกเตอรและจํานวนเชิงซอน 21

จากรูปที่ 1.6 (ข)

r คือคาขนาดของ Z หรือคาสัมบูรณของ Z

คือมุมของ Z วัดเปนองศา

ใหพิจารณาจํานวนเชิงซอนรูปแบบเชิงขั้วในระนาบแกน x และ y ดังตอไปนี้

j j

- r

- r

- j - j

r

r

รูปที่ 1.7 จํานวนเชิงซอนรูปแบบเชิงขั้วในระนาบแกน x และ y

r

j

รูปที่ 1.8 จํานวนเชิงซอนรูปแบบเชิงขั้วในทิศทางของแกน x และ y

Ch 01_245.indd 21 25/6/2553 10:05:13

Page 22: ชัด อินทะสี - images-se-ed.comศึกษาและปฏิบัติหลักการเกิดไฟฟ้ากระแสสลับค่าต่างๆ

วงจรไฟฟากระแสสลับ22

จากรูปที่ 1.7 และ 1.8 เขียนเลขจํานวนเชิงซอนในรูปแบบเชิงขั้วไดดังนี้

Z1 = 3.605 33.7 Z2 = 2.828 135

Z3 = 4.242 – 135 Z4 = 5 – 36.87

Z5 = 3 0 Z6 = 2 90

Z7 = 4 180 = 4 – 180 Z8 = 1 – 90

ก. การบวกและลบเลขจาํนวนเชงิซอนในรปูแบบเชงิขัว้ การบวกและลบจะกระทาํโดยตรงไมได แตจะตอง

แปลงไปเปนรูปแบบแกนมุมฉากเสียกอนจึงจะบวกและลบกันได (จะอธิบายในลําดับตอไป)

ข. การคูณเลขจํานวนเชิงซอนในรูปแบบเชิงขั้ว ใหนําขนาดมาคูณกัน สวนมุมนั้นใหนํามาบวกกัน

Z1 = r1 1 และ Z2 = r2 2

Z1Z2 = (r1) (r2) 1 + 2 (1.4)

ตัวอยางเชน Z1Z2 = (3.605) (2.828) 33.7 + 135

= 10.195 168.7

Z6Z8 = (2) (1) 90 + (– 90)

= 2 0

ค. การหารเลขจํานวนเชิงซอนในรูปแบบเชิงขั้ว ใหนําขนาดมาหารกัน สวนมุมนั้นใหนํามาลบกัน

Z1 = r1 1 และ Z2 = r2 2

Z1/Z2 = r1r2 1 – 2 (1.5)

ตัวอยางเชน Z1/Z2 = 3.6052.828 33.7 – 135

= 1.274 – 101.3

Z7/Z6 = 42

180 – 90

= 2 90

Z4/Z8 = 51

– 36.87 – (– 90)

= 5 53.13

Ch 01_245.indd 22 25/6/2553 10:05:13

Page 23: ชัด อินทะสี - images-se-ed.comศึกษาและปฏิบัติหลักการเกิดไฟฟ้ากระแสสลับค่าต่างๆ

1...เวกเตอรและจํานวนเชิงซอน 23

3. รูปแบบตรีโกณมิติ (Trigonometric Form) เปนรูปแบบท่ีไดพัฒนามาจากรูปแบบเชิงขั้วโดยการแตก (แยก) เวกเตอรไปทางดานแกนคาจริง (x) และแกนคาจินตภาพ (y) ตามลําดับ

j

r

r

รูปที่ 1.9 จํานวนเชิงซอนแบบตรีโกณมิติ

กําหนดให Z = r

จะได Z = r

= x + jy

= rcos + j rsin

Z = r (cos + j sin) (1.6)

เรียกสมการที่ (1.6) วา เลขจํานวนเชิงซอนในรูปแบบตรีโกณมิติ

จากรูปที่ 1.7 และ 1.8 เขียนเปนเลขจํานวนเชิงซอนในรูปแบบตรีโกณมิติไดดังนี้

Z1 = 3.605 (cos33.7 + j sin33.7)

Z2 = 2.828 (cos135 + j sin135)

Z3 = 4.242 [cos (– 135) + j sin (– 135)]

Z4 = 5 [cos (– 36.87) + j sin (– 36.87)]

Z5 = 3 (cos0 + j sin0)

Z6 = 2 (cos90 + j sin90)

Z7 = 4 (cos180 + j sin180)

และ Z8 = 1 [cos (– 90) + j sin (– 90)]

ก. การคูณเลขจํานวนเชิงซอนในรูปแบบตรีโกณมิติ

กําหนดให Z1 = r1 (cos1 + j sin1)

Z2 = r2 (cos2 + j sin2)

Ch 01_245.indd 23 25/6/2553 10:05:14

Page 24: ชัด อินทะสี - images-se-ed.comศึกษาและปฏิบัติหลักการเกิดไฟฟ้ากระแสสลับค่าต่างๆ

วงจรไฟฟากระแสสลับ24

Z1Z2 = r1 (cos1 + j sin1) r2 (cos2 + j sin2)

= r1r2 (cos1 + j sin1) (cos2 + j sin2)

= r1r2 (cos1 cos2 + j sin2 cos1 + j sin1

cos2 + (j)2 sin1 sin2)

= r1r2 (cos1 cos2 + j sin2 cos1 + j sin1

cos2 – sin1 sin2)

= r1r2 [(cos1 cos2 – sin1 sin2) + j (sin1

cos2 + sin2 cos1)]

Z1Z2 = r1r2 [cos (1 + 2) + j sin (1 + 2)] (1.7)

ตัวอยางเชน Z6Z8 = (2) (1) {cos [90 + (– 90)] + j sin [90 + (– 90)]}

= 2 [cos 0 + j sin 0]

ข. การหารเลขจํานวนเชิงซอนในรูปแบบตรีโกณมิติ

กําหนดให Z1 = r1 (cos1 + j sin1)

Z2 = r2 (cos2 + j sin2)

Z1/Z2 = r1 (cos1 + j sin1)

r2 (cos2 + j sin2)

= r1r2

cos1 + j sin1

cos2 + j sin2 cos2 + j sin2

cos2 + j sin2

= r1r2

cos1 cos2 – j sin2 cos1 + j sin1 cos2 – (j)2 sin1 sin2

cos22 – j cos2 cos2 + j sin2 cos2 – (j)2 sin21 =

r1r2

[(cos1 cos2 + sin1 sin2) + j (sin1 cos2 – sin2 cos1)]

Z1/Z2 = r1r2

[cos (1 – 2) + j sin (1 – 2)] (1.8)

ตัวอยางเชน Z1/Z2 = 3.6052.828

[cos (33.7 – 135) + j sin (33.7 – 135)]

= 1.274 [cos (– 101.3) + j sin (– 101.3)]

4. รูปแบบเอกซโพเนนเชียล (Exponential Form) เปนรปูแบบท่ีพฒันามาจากรปูแบบตรีโกณมติิ

กลาวคือ จากกฎของออยเลอร (Euler’s Formula) จะได

Ch 01_245.indd 24 25/6/2553 10:05:14

Page 25: ชัด อินทะสี - images-se-ed.comศึกษาและปฏิบัติหลักการเกิดไฟฟ้ากระแสสลับค่าต่างๆ

1...เวกเตอรและจํานวนเชิงซอน 25

ej = cos + j sin

e– j = cos – j sin

เมื่อ e = 2.718281828

จากสมการที่ (1.6) จะได

Z = rej (1.9)

เรยีกสมการที ่(1.7) วา เลขจาํนวนเชงิซอนในรปูแบบเอกซโพเนนเชยีล จากเลขจาํนวนเชงิซอนทัง้ 8 คา

(Z1 ถงึ Z8) ในหัวขอที ่2 และ 3 ทีผ่านมา นาํมาเขียนเปนเลขจํานวนเชิงซอนในรูปแบบเอกซโพเนนเชียลไดดงันี้

Z1 = 3.605 ej 33.7 Z2 = 2.828 ej 135

Z3 = 4.242 ej (– 135) = 4.242 e–

j 135 Z4 = 5 ej (–

36.87) = 5 e–

j 36.87

Z5 = 3 ej 0 Z6 = 2 ej 90

Z7 = 4 ej 180 และ Z8 = 1 ej (– 90) = 1 e–

j 90

ก. การบวกและลบเลขจาํนวนเชงิซอนในรปูแบบเอกซโพเนนเชยีล จะตองทาํการแปลงใหเปนรปูแบบแกน

มุมฉากกอนจึงจะบวกและลบกันได (จะอธิบายในลําดับถัดไป)

ข. การคูณเลขจํานวนเชิงซอนในรูปแบบเอกซโพเนนเชียล ใหนําขนาดมาคูณกัน และนําคามุม มา

บวกกัน

Z1 = r1 ej 1 และ Z2 = r1 e

j 2

Z1Z2 = (r1) (r2) ej (1 + 2) (1.10)

ตัวอยางเชน

Z1Z2 = (3.605) (2.828) ej (33.7 + 135)

= 10.195 ej 168.7

Z6Z8 = (2) (1) ej [90 + (– 90)]

= 2 ej0

ค. การหารเลขจํานวนเชิงซอนในรูปแบบเอกซโพเนนเชียล ใหนําขนาดมาหารกัน และนําคามุม มา

ลบกัน

Z1 = r1 ej 1 และ Z2 = r2 e

j 2

Z1/Z2 = r1r2 ej (1 – 2) (1.11)

Ch 01_245.indd 25 25/6/2553 10:05:14

Page 26: ชัด อินทะสี - images-se-ed.comศึกษาและปฏิบัติหลักการเกิดไฟฟ้ากระแสสลับค่าต่างๆ

วงจรไฟฟากระแสสลับ26

ตัวอยางเชน

Z1/Z2 = 3.6052.828 ej (33.7 – 135) = 1.274 e–

j 101.3

Z7/Z6 = 42 ej (180 – 90) = 2 ej 90

Z4/Z8 = 51 ej [(–

36.87) – (–

90)] = 5 ej 53.13

1.3.4 การคอนจูเกตเลขจํานวนเชิงซอนการคอนจูเกตแทนดวยสัญลกัษณ * เชน คอนจูเกตของ Z สามารถเขียนไดเปน Z* โดยท่ีการคอนจูเกต

คือการเปลี่ยนแปลงเครื่องหมายเปนตรงกันขามกับเครื่องหมายเดิมที่คามุม หรือคาจินตภาพ แลวแตกรณี

เราสามารถเขียนการคอนจูเกตของจํานวนเชิงซอนได 4 แบบดังนี้

Z = x + jy ; Z* = x – jy

Z = r ; Z* = r –

Z = r (cos + j sin) ; Z* = r (cos – j sin)

Z = rej ; Z* = re– j

พิจารณา Z Z* จากรูปแบบใดรูปแบบหนึ่งจะไดวา

Z Z* = (r ) (r – )

= (r)2 + (– )

= (r)2

หรือ Z Z* = (x + jy) (x – jy)

= x2 – jxy + jxy – (j)2 y2

= x2 + y2

= (r)2

Z Z* = (r)2 (1.12)

พิจารณา (Z*)* เมื่อกําหนดให Z = x + jy

(Z*)* = (x – jy)*

= x + jy

= Z

(Z*)* = Z (1.13)

Ch 01_245.indd 26 25/6/2553 10:05:15

Page 27: ชัด อินทะสี - images-se-ed.comศึกษาและปฏิบัติหลักการเกิดไฟฟ้ากระแสสลับค่าต่างๆ

1...เวกเตอรและจํานวนเชิงซอน 27

พิจารณา (Z1 + Z2)* เมื่อกําหนดให Z1 = x1 + jy1 และ Z2 = x2 + jy2

(Z1 + Z2)* = (x1 + jy1 + x2 + jy2)*

= [(x1 + x2) + j (y1 + y2)]*

= (x1 + x2) – j (y1 + y2)

= (x1 – jy1) + (x2 – jy2)

(Z1 + Z2)* = Z1* + Z2* (1.14)

ตัวอยางที่ 1.2 จงคํานวณหาคาของเลขจํานวนเชิงซอนดังตอไปนี้

ก. Re Z Z* เมื่อ Z = x + jy

ข. Im 2(1 – j1) (3 + j1)

ค. j

(1 – j1) (1 – j2) (1 + j2)

วิธีทํา

ก. Re Z Z* เมื่อ Z = x + jy

Z Z* = x + jy

x – jy x + jyx + jy

= x2 + jxy + jxy + (j)2 y2

x2 + jxy – jxy + (j)2 y2

= (x2 – y2) + j (2xy)

(x2 + y2)

Re Z Z* =

(x2 – y2)(x2 + y2)

ข. Im 2(1 – j1) (3 + j1)

2

(1 – j1) (3 + j1) =

23 + j1 – j3 – (j)21

= 2

4 – j2

= 24 – j2 4 + j2

4 + j2

Ch 01_245.indd 27 25/6/2553 10:05:15

Page 28: ชัด อินทะสี - images-se-ed.comศึกษาและปฏิบัติหลักการเกิดไฟฟ้ากระแสสลับค่าต่างๆ

วงจรไฟฟากระแสสลับ28

= 8 + j4

(16 + j8 – j8 – (j)2 4)

= 8 + j4

20

= 25 + j

15

Im 2(1 – j1) (3 + j1) =

15

ค. j

(1 – j1) (1 – j2) (1 + j2)

j

(1 – j1) (1 – j2) (1 + j2) =

j(1 – j2 – j1 + j22) (1 + j2)

= j

(– 1 – j3) (1 + j2)

= j

(– 1 – j2 – j3 – (j)2 6)

= j

(5 – j5)

= j

(5 – j5) •

(5 + j5)(5 + j5)

= j5 + (j)2 5

25 + j 25 – j 25 – (j)2 25

= – 5 + j5

50

= – 110 + j

110 ตอบ

1.3.5 คาสัมบูรณหรือมอดุลัสของเลขจํานวนเชิงซอนคาสมับรูณไดกลาวถงึมาบางแลวในขอที ่2 ของหัวขอที ่1.3.3 ซึง่คาสมับรูณหมายถงึ ขนาดของเลขจาํนวน

เชงิซอนหรอืขนาดของ Z ทัง้น้ีไมวาเลขจาํนวนเชงิซอนจะเขยีนอยูในรปูแบบใดกต็าม สามารถหาขนาดไดทัง้สิน้

คาสัมบูรณของ Z หรือขนาดของ Z เขียนแทนดวย IZI

IZI ในรูปแบบแกนมุมฉาก

IZI = Ix + jyI

= x2 + y2

Ch 01_245.indd 28 25/6/2553 10:05:15

Page 29: ชัด อินทะสี - images-se-ed.comศึกษาและปฏิบัติหลักการเกิดไฟฟ้ากระแสสลับค่าต่างๆ

1...เวกเตอรและจํานวนเชิงซอน 29

IZI ในรูปแบบเชิงขั้ว

IZI = Ir I

= r

IZI ในรูปแบบตรีโกณมิติ

IZI = Ircos + j rsinI

= (rcos)2 + (rsin)2

= r2 (cos2 + sin2)

= r

IZI ในรูปแบบเอกซโพเนนเชียล

IZI = IrejI

= r

พิจารณาสมการที่ (1.12) ประกอบกับ IZI ที่นําเสนอมานี้สรุปไดวา

IZI = r = x2 + y2 = Z Z * (1.15)

ตัวอยางที่ 1.3 จงคํานวณหา IZI ดังตอไปนี้

ก. 2 – j3 ข. – j7

ค. – 3 ง. 2ej 30

จ. 3 10

วิธีทํา

ก. Z = 2 + j3

IZI = 22 + 32

= 13

= 3.605

ข. Z = – j7 = 0 – j7

IZI = (– 7)2

= 49

= 7

Ch 01_245.indd 29 25/6/2553 10:05:16

Page 30: ชัด อินทะสี - images-se-ed.comศึกษาและปฏิบัติหลักการเกิดไฟฟ้ากระแสสลับค่าต่างๆ

วงจรไฟฟากระแสสลับ30

ค. Z = – 3 = – 3 + j0

IZI = (– 3)2

= 9 = 3

ง. Z = 2ej 30

IZI = I2ej 30I = 2

จ. Z = 3 10

IZI = I3 10I = 3

ตอบ

1.3.6 การเปลี่ยนแปลงรูปแบบเลขจํานวนเชิงซอนการเปลี่ยนแปลงรูปแบบเลขจํานวนเชิงซอนจะศึกษาถึงการแปลงรูปแบบ 2 กรณีหลัก ดังนี้

1. การเปลี่ยนแปลงรูปแบบเชิงขั้วเปนรูปแบบแกนมุมฉาก

Z = r รูปแบบเชิงขั้ว

Z = rej

รูปแบบเอกซโพเนนเชียลZ = r cos + j rsin = r (cos + j sin)

รูปแบบตรีโกณมิติ

ej = cos + j sin

Z = x + jy

เมื่อ x = r cos

y = r sin

และ cos (– ) = cos

sin (– ) = – sin

รูปแบบแกนมุมฉาก

Ch 01_245.indd 30 25/6/2553 10:05:16

Page 31: ชัด อินทะสี - images-se-ed.comศึกษาและปฏิบัติหลักการเกิดไฟฟ้ากระแสสลับค่าต่างๆ

1...เวกเตอรและจํานวนเชิงซอน 31

ตัวอยางที่ 1.4 จงแปลงเลขจํานวนเชิงซอนรูปแบบเชิงขั้วเปนรูปแบบแกนมุมฉาก

ก. Z = 2 0 ข. Z = 2 90

ค. Z = 2 180 ง. Z = 2 – 90

จ. Z = 2 30

วิธีทํา

ก. Z = 2 0 = 2 (cos0 + j sin0)

= 2 (1 + j0)

= 2 + j0

ข. Z = 2 90 = 2 (cos90 + j sin90)

= 2 (0 + j1)

= 0 + j2

ค. Z = 2 180 = 2 (cos180 + j sin180)

= 2 (– 1 + j0)

= – 2 + j0

ง. Z = 2 – 90 = 2 [cos (– 90) + j sin (– 90)]

= 2 [cos90 – j sin90]

= 2 [0 – j1]

= 0 – j2

จ. Z = 2 30 = 2 (cos30 + j sin30)

= 2 (0.866 + j0.5)

= 1.732 + j1 ตอบ

2. การเปลีย่นแปลงจากรปูแบบแกนมมุฉากเปนแบบเชงิขัว้ จะพจิารณาคูลาํดบัของเลขจํานวนเชงิซอน

ในแตละควอแดรนต เพื่อเปลี่ยนแปลงเปนแบบชิงขั้ว ตามลําดับดังตอไปนี้

Ch 01_245.indd 31 25/6/2553 10:05:16

Page 32: ชัด อินทะสี - images-se-ed.comศึกษาและปฏิบัติหลักการเกิดไฟฟ้ากระแสสลับค่าต่างๆ

วงจรไฟฟากระแสสลับ32

ก. ควอแดรนต I ; (x, y)

j

r

j

r

(ก) (ข)

รูปที่ 1.10 คูลําดับของจํานวนเชิงซอนควอแดรนต I

จากรูปที่ 1.10 (ก) ; Z = x + jy

= 4 + j3

จากรูปที่ 1.10 (ข) ; Z = r

= x2 + y2 tan – 1 (y/x)

= 42 + 32 tan – 1 (3/4)

= 5 36.87

ข. ควอแดรนต II ; (– x, y)

- r

j

- r

j

= r

(ก) (ข)

รูปที่ 1.11 คูลําดับของจํานวนเชิงซอนในควอแดรนต II

Ch 01_245.indd 32 1/7/2553 16:45:50

Page 33: ชัด อินทะสี - images-se-ed.comศึกษาและปฏิบัติหลักการเกิดไฟฟ้ากระแสสลับค่าต่างๆ

1...เวกเตอรและจํานวนเชิงซอน 33

จากรูปที่ 1.11 (ก) ; Z = – x + jy

= – 4 + j4

จากรูปที่ 1.11 (ข) ; Z = r

= (– x)2 + y2 180 –

= (– x)2 + y2 180 – tan – 1 (y/x)

= (– 4)2 + 42 180 – tan – 1 (4/4)

= 5.657 180 – 45

= 5.657 135

ค. ควอแดรนต III ; (– x, – y)

- r

- j

- r

- j

=r

(ก) (ข)

รูปที่ 1.12 คูลําดับของจํานวนเชิงซอนในควอแดรนต III

จากรูปที่ 1.12 (ก) ; Z = – x – jy

= –3 – j2

จากรูปที่ 1.12 (ข) ; Z = r –

= (– x)2 + (– y)2 – (180 – )

= (– x)2 + (– y)2 – [180 – tan – 1 (y/x)]

= (– 3)2 + (– 2)2 – [180 – tan – 1 (2/3)]

= 3.605 – (180 – 33.7)

= 3.605 – 146.3

Ch 01_245.indd 33 25/6/2553 10:05:17

Page 34: ชัด อินทะสี - images-se-ed.comศึกษาและปฏิบัติหลักการเกิดไฟฟ้ากระแสสลับค่าต่างๆ

วงจรไฟฟากระแสสลับ34

ง. ควอแดรนต IV ; (x, – y)

- j

r

- j

r

=r

(ก) (ข)

รูปที่ 1.13 คูลําดับของจํานวนเชิงซอนในควอแดรนต IV

จากรูปที่ 1.13 (ก) ; Z = x – jy

= 3 – j3

จากรูปที่ 1.13 (ข) ; Z = r –

= x2 + (– y)2 – tan – 1 (y/x)

= 32 + (– 3)2 – tan – 1 (3/3)

= 4.242 – 45

สําหรับกรณีที่เลขจํานวนเชิงซอนในรูปแบบแกนมุมฉากอยูบนแกนทั้งสี่พอดี (r, j) มีวิธีการแปลงเปน

รูปแบบเชิงขั้วดังเชนการแปลงในระหวางควอแดรนตทั้งสี่ที่นําเสนอมาแลว อยางไรก็ตาม ผูเขียนไดยกตัวอยาง

การแปลงไวในตัวอยางตอไปนี้

ตัวอยางที่ 1.5 จงแปลงเลขจํานวนเชิงซอนรูปแบบแกนมุมฉากเปนรูปแบบเชิงขั้ว

ก. Z = 3 + j0 ข. Z = 0 + j1

ค. Z = – 4 + j0 ง. Z = 0 – j2

วิธีทํา

ก. Z = 3 + j0 = 32 + 02 tan – 1 (0/3)

= 3 0

Ch 01_245.indd 34 25/6/2553 10:05:17

Page 35: ชัด อินทะสี - images-se-ed.comศึกษาและปฏิบัติหลักการเกิดไฟฟ้ากระแสสลับค่าต่างๆ

1...เวกเตอรและจํานวนเชิงซอน 35

ข. Z = 0 + j1 = 02 + 12 tan – 1 (1/0)

= 1 tan– 1 ()

= 1 90

ค. Z = – 4 + j0 = (– 4)2 + 02 180 – tan – 1 (0/4)

= 4 180 – tan– 1 (0)

= 4 180 – 0

= 4 180

ง. Z = 0 – j2 = 02 + (– 2)2 – tan – 1 (2/0)

= 2 – tan– 1 ()

= 2 – 90 ตอบ

1.3.7 กําลังของเลขจํานวนเชิงซอนเลขจํานวนเชิงซอนสามารถเขียนในรูปของการยกกําลังได

กําหนดให Z = r cos + j rsin

(Z)n = [r (cos + j sin)]n

= rn [cos (n) + j sin (n)] (1.16)

เมื่อ IZI = r = 1 จะได

(cos + j sin)n = cos (n) + j sin (n) (1.17)

หรือกําหนดให Z = r

(Z)n = (r )n

= rn n (1.18)

ตัวอยางที่ 1.6 จงคํานวณหาคาของเลขจํานวนเชิงซอนยกกําลังดังตอไปนี้

ก. Z = 4 (cos15 + j sin15) เมื่อ (Z)2 ข. Z = 1 + j1 เมื่อ (Z)12

ค. Z = 12

– j 12

เมื่อ (Z)– 6

Ch 01_245.indd 35 25/6/2553 10:05:18

Page 36: ชัด อินทะสี - images-se-ed.comศึกษาและปฏิบัติหลักการเกิดไฟฟ้ากระแสสลับค่าต่างๆ

วงจรไฟฟากระแสสลับ36

วิธีทํา

ก. Z = 4 (cos15 + j sin15) เมื่อ (Z)2

(Z)2 = 42 [cos (2 15) + j sin (2 15)]

= 16 [cos30 + j sin30]

= 16 [0.866 + j0.5]

= 13.856 + j8

ข. Z = 1 + j1 เมื่อ (Z)12

Z = 12 + 12 tan – 1 (1/1)

= 2 45

= 2 (cos45 + j sin45)

(Z)12 = ( 2 )12 [cos (12 45) + j sin (12 45)]

= 64 [cos540 + j sin540]

= 64 [– 1 + j0]

= – 64

ค. Z = 12

– j 12

เมื่อ (Z)– 6

Z = 12

2 + 1

2 2 –tan–

1 1

2 12

= 1 – 45

= 1 [cos (– 45) + j sin (– 45)]

= 1 [cos45 – j sin45]

(Z)– 6 = (1)–

6 [cos (– 6 45) – j sin (– 6 45)]

= 1 [cos (– 270) – j sin (– 270)]

= 1 [cos270 + j sin270]

= 1 [0 + j (– 1)]

= – j1 ตอบ

Ch 01_245.indd 36 25/6/2553 10:05:18

Page 37: ชัด อินทะสี - images-se-ed.comศึกษาและปฏิบัติหลักการเกิดไฟฟ้ากระแสสลับค่าต่างๆ

1...เวกเตอรและจํานวนเชิงซอน 37

1. จงเขยีนเลขจาํนวนเชงิซอนรปูแบบแกนมุมฉากจากคูลาํดบัในระนาบแกนจรงิและแกนจินตภาพ ดงัแสดงใน

รูปตอไปนี้

j

r

j3

j2

j1

j3

j2

j1

2. จงหาคาจํานวนจริงและจํานวนจินตภาพของเลขเชิงซอนตอไปนี้

ก. j ข. (j)3

ค. – 1 + j ง. + (j)0

จ. 2 – – 32 j

3. จงแปลงเลขจํานวนเชิงซอนรูปแบบแกนมุมฉากเปนรูปแบบเชิงขั้ว

ก. 3 + j4 ข. – 1 + j1

ค. 70 ง. – j

จ. – 2 + j2

4. จงแปลงเลขจํานวนเชิงซอนรูปแบบเชิงขั้วเปนรูปแบบแกนมุมฉาก

ก. 200 10 ข. 14 0

ค. 8 – 180 ง. 7.3 103 160

จ. – 2 10

แบบฝกหัด

Ch 01_245.indd 37 25/6/2553 10:05:18

Page 38: ชัด อินทะสี - images-se-ed.comศึกษาและปฏิบัติหลักการเกิดไฟฟ้ากระแสสลับค่าต่างๆ

วงจรไฟฟากระแสสลับ38

5. จงแปลงเลขจํานวนเชิงซอนรูปแบบเอกซโพเนนเชียลเปนรูปแบบเชิงขั้ว

ก. 9ej ข. e– j/2

ค. 2e– j7/6 ง. ej2

จ. ej0

6. จงคํานวณหาคาใหเปนผลสําเร็จ

ก. Z = 10 30 จงหาคา Z Z* ข. Z = 3e– j/4 จงหาคา Z Z*

ค. Z = 1 + j2 จงหาคา Z – Z* ง. Z = 1 + j0 จงหาคา Z + Z*

จ. Z = 8 20 จงหาคา Z/Z*

7. จงทําใหเปนผลสําเร็จ และมีคําตอบเปนรูปแบบแกนมุมฉาก

ก. (2 + j5) + (3 + j1) ข. (0.05 + j0.1) – (0.05 – j0.1)

ค. (3.4 103 30) + (1.7 103 60) ง. (14 65) – (12 140)

จ. (10 90) + (8 – j2)

8. จงทําใหเปนผลสําเร็จ และมีคําตอบเปนรูปแบบเชิงขั้ว

ก. (7 40) (2 86) ข. (1.55 10– 6 0) (0.2 – 30) (42 103 128)

ค. (9 – 45)/( 30) ง. (1 + j2) (2 + j6)

จ. (3 – j4)/(0.6 – j0.8)

9. จงทําใหเปนผลสําเร็จ และมีคําตอบเปนรูปแบบแกนมุมฉากและเชิงขั้ว

ก. (24 + j16) (0.5 – 20) 40

ข. j (0.2 + j0.2)

3 90(0.1 – j0.05)

ค. 125 35 – j (1 + j2)2

ง. j5 (2 – j2)

จ. 10

(6 + j8)

10. กําหนดให A = 10 30, B = 2 + j2, C = 4 + j3 และ D = 4 10 จงคํานวณหาคา A B

(C + D)

โดยตอบในรูปแบบแกนมุมฉาก

Ch 01_245.indd 38 25/6/2553 10:05:19