18
บทที1 พื้นฐานคอมพิวเตอรกราฟก 1.1 พื้นฐานคอมพิวเตอรกราฟก ในปจจุบันไมวาจะไปในกลุมงานใด เต็มไปดวยงานออกแบบทางกราฟก ไมวาจะเปนอุปกรณ! ใสของ ถุงพลาสติก ปกซีดี ปฏิทิน เว็บไซต! จนแทบจะแยกไมออกถึงความแปลกแยกระหวางมนุษย! กับงานกราฟก ดังนั้น เมื่อผูศึกษาตองการจะออกแบบงานกราฟก จะตองทราบถึงจุดที่ยืนบนงาน กราฟก ซึ่งมี 4 จุด คือ 1 คนทั่วไปที่มองงานแบบภาพรวม ตัดสินสวย หรือไมสวยได, คนที่มอง งานเปน มององค!ประกอบภาพเปน, คนที่สามารถออกแบบภาพกราฟกได ควบคุมองค!ประกอบ ภาพได และ คนที่เปนนักออกแบบกราฟกที่ดี โดยมีรายละเอียด ดังนี(1) คนในระดับทั่วไป โดยทั่วไปมนุษย!มีความเปนศิลปะอยูภายในกันทุกคนอยูแลว ไมวาใครก็ สามารถตัดสินงาน วิจารณ!งานไดไมใชเรื่องแปลก แตก็มักจะเปนเรื่องของความสวยความงามเปนหลัก ซึ่งความสวยงามไมมีขอถูกขอผิดในการตัดสิน (และเปนเพียงเรื่อง ๆ หนึ่งในการออกแบบเทานั้น) คนเราทุกคนมองไมเหมือนกันแตก็มีแนวโนมที่จะมองเห็นไปในทางเดียวกันมากกวาเราเองทุกคนก็อยู ในจุดนี้ เริ่มกันที่จุดนี(2) คนที่มองงานเปน วิจารณ!ได มองงานเปน วิจารณ!งานไดนั้นคือ คนที่อยูในอีกจุดหนึ่ง เปนจุดที่คน เหลานั้นใหความสนใจในงานกราฟกมากขึ้นมาอีกระดับ มีความเขาใจในภาพในองค!ประกอบตาง ๆ ที่อยูในภาพ สามารถคิด วิเคราะห!และวิจารณ!งานได (3) คนที่สามารถออกแบบงานกราฟกได คนที่ออกแบบไดคือ คนที่สามารถคิดสังเคราะห!โจทย! แนวความคิด เขาใจใน องค!ประ-กอบพื้นฐานและองค!ประกอบสี และควบคุมองค!ประกอบตาง ๆ ภายในภาพ หรือ สามารถจัดองค!ประกอบตาง ๆ ภายในภาพใหออกมาไดอยางลงตัวและสามารถถาย ทอดภาพงานใหเปนไปดังที่นึกคิด ที่จินตนาการเอาไว (4) คนที่สามารถออกแบบงานกราฟกไดดี คนที่ออกแบบงานกราฟกไดดี คือ คนในระดับที่ 3 ที่ไดรับการฝBกฝนเรียนรู และหาความรูเพิ่มเติมอยางสม่ําเสมอ เพราะงานกราฟกนั้นแปรเปลี่ยนสไตล!ไดทุกวัน เทรนด! ( Trend ) หรือแนวโนมแหงสมัยมีอิทธิพลตองานเปนอยางมาก ดังนั้น คนทีจะเกงไดตองทันตอยุคสมัย ดูเยอะ ๆ ทําเยอะ ๆ จนกวาจะหาสไตล!หรือเอกลักษณ!ของตัวเองได 1 http://student.nu.ac.th/nackie/Instruction/lesson1.html

บทที่ 1 พื้นฐานคอมพิวเตอร์กราฟิกelearning.psru.ac.th/courses/296/บทที่ 1 พื้นฐาน... · บทที่

  • Upload
    others

  • View
    11

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: บทที่ 1 พื้นฐานคอมพิวเตอร์กราฟิกelearning.psru.ac.th/courses/296/บทที่ 1 พื้นฐาน... · บทที่

บทที่ 1 พ้ืนฐานคอมพิวเตอร�กราฟ�ก

1.1 พ้ืนฐานคอมพิวเตอร�กราฟ�ก

ในป�จจุบันไม�ว�าจะไปในกลุ�มงานใด เต็มไปด�วยงานออกแบบทางกราฟ�ก ไม�ว�าจะเป�นอุปกรณ!ใส�ของ ถุงพลาสติก ปกซีดี ปฏิทิน เว็บไซต! จนแทบจะแยกไม�ออกถึงความแปลกแยกระหว�างมนุษย!กับงานกราฟ�ก ดังนั้น เม่ือผู�ศึกษาต�องการจะออกแบบงานกราฟ�ก จะต�องทราบถึงจุดท่ียืนบนงานกราฟ�ก ซ่ึงมี 4 จุด คือ 1 คนท่ัวไปท่ีมองงานแบบภาพรวม ตัดสินสวย หรือไม�สวยได�, คนท่ีมองงานเป�น มององค!ประกอบภาพเป�น, คนท่ีสามารถออกแบบภาพกราฟ�กได� ควบคุมองค!ประกอบภาพได� และ คนท่ีเป�นนักออกแบบกราฟ�กท่ีดี โดยมีรายละเอียด ดังนี้

(1) คนในระดับท่ัวไป โดยท่ัวไปมนุษย!มีความเป�นศิลปะอยู�ภายในกันทุกคนอยู�แล�ว ไม�ว�าใครก็สามารถตัดสินงาน วิจารณ!งานได�ไม�ใช�เรื่องแปลก แต�ก็มักจะเป�นเรื่องของความสวยความงามเป�นหลัก ซ่ึงความสวยงามไม�มีข�อถูกข�อผิดในการตัดสิน (และเป�นเพียงเรื่อง ๆ หนึ่งในการออกแบบเท�านั้น) คนเราทุกคนมองไม�เหมือนกันแต�ก็มีแนวโน�มท่ีจะมองเห็นไปในทางเดียวกันมากกว�าเราเองทุกคนก็อยู�ในจุดนี้ เริ่มกันท่ีจุดนี้

(2) คนท่ีมองงานเป�น วิจารณ!ได� มองงานเป�น วิจารณ!งานได�นั้นคือ คนท่ีอยู�ในอีกจุดหนึ่ง เป�นจุดท่ีคนเหล�านั้นให�ความสนใจในงานกราฟ�กมากข้ึนมาอีกระดับ มีความเข�าใจในภาพในองค!ประกอบต�าง ๆ ท่ีอยู�ในภาพ สามารถคิด วิเคราะห!และวิจารณ!งานได�

(3) คนท่ีสามารถออกแบบงานกราฟ�กได�

คนท่ีออกแบบได�คือ คนท่ีสามารถคิดสังเคราะห!โจทย! แนวความคิด เข�าใจในองค!ประ-กอบพ้ืนฐานและองค!ประกอบสี และควบคุมองค!ประกอบต�าง ๆ ภายในภาพ หรือ สามารถจัดองค!ประกอบต� า ง ๆ ภายในภาพให�ออกมาได�อย� างลงตัวและสามารถถ� าย ทอดภาพงานให�เป�นไปดังท่ีนึกคิด ท่ีจินตนาการเอาไว�

(4) คนท่ีสามารถออกแบบงานกราฟ�กได�ดี คนท่ีออกแบบงานกราฟ�กได�ดี คือ คนในระดับท่ี 3 ท่ีได�รับการฝBกฝนเรียนรู�และหาความรู� เ พ่ิมเ ติมอย�างส มํ่า เสมอ เพราะงานกราฟ�กนั้นแปรเปลี่ ยนสไตล! ได� ทุกวัน เทรนด! ( Trend ) หรื อแนว โน� มแห� งส มัย มี อิทธิพลต� อ งาน เป� นอย� า งมาก ดั งนั้ น คน ท่ี จะเก�งได�ต�องทันต�อยุคสมัย ดูเยอะ ๆ ทําเยอะ ๆ จนกว�าจะหาสไตล!หรือเอกลักษณ!ของตัวเองได�

1 http://student.nu.ac.th/nackie/Instruction/lesson1.html

Page 2: บทที่ 1 พื้นฐานคอมพิวเตอร์กราฟิกelearning.psru.ac.th/courses/296/บทที่ 1 พื้นฐาน... · บทที่

~ 2 ~

เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชา คอมพิวเตอร!กราฟ�กและสือ่ประสม (วท.คพ.389)

ดังนั้น การออกแบบ คือ ศาสตร!แห�งความคิด การแก�ไขป�ญหาท่ีมีอยู� เพ่ือสนองต�อจุดมุ�งหมาย และนํากลับมาใช�งานได�อย�างน�าพึงพอใจ ซ่ึงมี 3 ประเด็นหลัก คือ (1) ความสวยงาม เป�นความพึงพอใจแรกท่ีคนเราสัมผัสได�ก�อน มนุษย!เราแต�ละคนต�างมีการรับรู�เรื่องความสวยงามและความพึงพอใจในเรื่องของความงามได�ไม�เท�ากัน ความงามจึงเป�นประเด็นท่ี ถกเถียงกันมาก และไม� มีกฎเกณฑ!การตัดสินใด ๆ ท่ีเป�นตัวกําหนดความแน�ชัดลงไป แต� เชื่อว�างานท่ีมีการจัดองค!ประกอบท่ีดี คนส�วนใหญ�ก็จะมองว�าสวยงามได�เหมือน ๆ กัน (2) มีประโยชน!ใช�สอยท่ีดี การมีประโยชน!ใช�สอยท่ีดีนั้นเป�นเรื่องสําคัญมากในงานออกแบบทุกประเภท เช�น ถ�าเป�นการออกแบบผลิตภัณฑ!เก�าอ้ี เก�าอ้ีนั้นจะต�องนั่งสบาย ถ�าเป�นบ�าน บ�านนั้นจะต�องอยู�แล�วไม�รู�สึกอึดอัด ถ�าเป�นงานกราฟ�กสื่อสิ่งพิมพ! ตัวหนังสือท่ีอยู�ในงาน จะต�องอ�านง�าย ไม�ต�องถึงข้ันเพ�งสายตา ถึงจะเรียกได�ว�าเป�นงานออกแบบท่ีมีประโยชน!ใช�สอยท่ีดีได� เป�นต�น (3) มีแนวคิดในการออกแบบท่ีดี แนวความคิดในการออกแบบท่ีดีนั้นคือ หนทางความคิดท่ีทําให�งานออกแบบท่ีได� ตอบสนองต�อความรู�สึกพอใจ ชื่นชม เรื่องนี้บางคนให�ความสําคัญมาก บางคนให�ความสําคัญน�อย บางคนไม�ให�ความสําคัญ ให�แค� 2 ข�อแรกก็พอ แต�เชื่อไหมว�างานออกแบบ บางครั้งจะมีคุณค�า(Value) มากข้ึน ถ�าได�ออกแบบงานจากแนวความคิดท่ีดี 1.1.1 แนวคิดในการออกแบบกราฟ�ก

คอมพิวเตอร!กราฟ�ก คือ การใช�คอมพิวเตอร!สร�างภาพและจัดการเก่ียวกับรูปภาพ เพ่ือใช�สื่อความหมายของข�อมูลต�าง ๆ ให�น�าสนใจยิ่งข้ึน เช�น การใช�กราฟนําเสนอข�อมูลยอดขายสินค�าในแต�ละปa การใช�ภาพกราฟ�กประกอบการโฆษณาสินค�าต�าง ๆ เป�นต�น ภาพกราฟ�กแบบ 2 มิติ มี 2 แบบ คือแบบ Raster และแบบ Vector ซ่ึงหลักการทํางานจะมีความแตกต�างกัน โดยกราฟ�กแบบRaster จะเกิดภาพจากจุดสี่เหลี่ยมเล็ก ๆ หลาย ๆ จุด มารวมกัน ส�วนแบบ Vector เกิดจากการอ�างอิงความสัมพันธ!ทางคณิตศาสตร! หรือการคํานวณ ซ่ึงภาพกราฟ�กแต�ละนามสกุลจะมีแฟdมรูปภาพและลักษณะท่ีแตกต�างกัน

ป�จจุบันภาพกราฟ�กมีบทบาทกับงานด�านต�าง ๆ เป�นอย�างมาก เช�น งานนําเสนอข�อมูลในรูปแบบของ เส�นกราฟ กราฟแท�ง แผนภูมิ การใช�ภาพกราฟ�กประกอบการโฆษณาสินค�าต�าง ๆ การสร�างเว็บเพจ การสร�างสื่อการสอน (CAI) การสร�างการ!ตูน การสร�างโลโก และงานออกแบบต�าง ๆ เป�นต�น โดยภาพกราฟ�กจะทําให�งานมีความสวยงามและน�าสนใจยิ่งข้ึน

Page 3: บทที่ 1 พื้นฐานคอมพิวเตอร์กราฟิกelearning.psru.ac.th/courses/296/บทที่ 1 พื้นฐาน... · บทที่

~ 3 ~

เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชา คอมพิวเตอร!กราฟ�กและสือ่ประสม (วท.คพ.389)

1.1.2 ความหมายของคอมพิวเตอร�กราฟ�ก

คําว�า “กราฟ�ก” มาจากภาษากรีก ซ่ึงหมายถึง การวาดเขียน (Graphikos) และการเขียน (Graphein) ต�อมามีผู�ให�ความหมายของคําว�า “กราฟ�ก” ไว�หลายประการซ่ึงสรุปได�ดังนี้ กราฟ�ก หมายถึง ศิลปะแขนงหนึ่งซ่ึงใช�สื่อความหมายด�วยเส�น สัญลักษณ! รูปวาด ภาพถ�าย กราฟ แผนภูมิ การ!ตูน ฯลฯ เพ่ือให�สามารถสื่อความหมายข�อมูลได�ถูกต�องตรงตามท่ีผู�สื่อสารต�องการ ดังนั้น สรุปได�ว�า คอมพิวเตอร!กราฟ�ก หมายถึง การสร�าง การตกแต�งแก�ไข หรือการจัดการเก่ียวกับรูปภาพ โดยใช�เครื่องคอมพิวเตอร!ในการจัดการ ยกตัวอย�างเช�น การทํา Image Retouching ภาพคนแก�ให�มีวัยท่ีเด็กข้ึน การสร�างภาพตามจินตนาการและการใช�ภาพกราฟ�กในการนําเสนอข�อมูลต�าง ๆ เพ่ือให�สามารถสื่อความหมายได�ตรงตามท่ีผู�สื่อสารต�องการและน�าสนใจยิ่งข้ึนด�วยกราฟ แผนภูมิ แผนภาพ เป�นต�น 2 1.2 วิวัฒนาการและประวัติคอมพิวเตอร�กราฟ�ก งานกราฟ�ก มีประวัติความเป�นมาตามหลักฐานในอดีต เม่ือมนุษย!เริ่มรู�จักการขีดเขียน ขูด จารึกเป�นร�องรอย ให�ปรากฏเป�นหลักฐานในป�จจุบัน การออกแบบกราฟ�กสมัยก�อนประวัติศาสตร! จึงเป�นการเริ่มต�นการสื่อความหมายด�วยการวาดเขียน ให�ผู�อ�านตีความหมายได� เรียกว�า Pictogram เช�นภาพคน ภาพสัตว! ต�นไม� ไว�บนผนังหรือบนเพดานถํ้า และมีการแกะสลักลงบนเขาสัตว! กระดูกสัตว! ซ่ึงใช�วิธีการวาดอย�างง�ายๆไม�มีรายละเอียดมาก

ต�อมาประมาณ 9000 ปa ก�อนคริสต!กาล ชาว Sumerienในแคว�นเมโสโปเตเมีย ได�เริ่มเขียนตัวอักษรรูปลิ่ม (Cuneiform) และตัวอักษร Hieroglyphic ของชาวอียิปต! งานกราฟ�กเริ่มได�รับการยอมรับมากข้ึน เม่ือได�คิดค�นกระดาษและวิธีการพิมพ! ปa ค.ศ.1440 Johann Gutenberg ชาวเยอรมัน ได�ประดิษฐ!เครื่องพิมพ!แบบตัวเรียง ท่ีสามารถพิมพ!ได�หลายครั้ง ครั้งละจํานวนมากๆ การใช�งานงานกราฟ�กจึงมีบทบาทต�อการดําเนินชีวิตของมนุษย!มาต้ังแต�สมัยโบราณมานานแล�ว ดังตัวอย�างท่ีพบ คือ 3 ภาพวาดบนผนังถํ้าของมนุษย!โบราณ ท่ีแสดงออกถึงพิธีกรรมหรือกิจกรรมต�าง ๆ เช�น การล�าสัตว! การบวงสรวง จํานวนและชนิดของสัตว! ในป�จจุบันสังคมมนุษย!ได�กราฟ�กในเกือบทุกกิจกรรม เช�น การศึกษา การออกแบบการทดลอง การนําเสนอข�อมูลการแสดงออกทางศิลปะ การโฆษณาผลิตภัณฑ! ภาพยนตร!

และด�วยความเจริญก�าวหน�าทางเทคโนโลยีคอมพิวเตอร!มีผลทําให�การสร�างและใช�งานกราฟ�กสามารถดําเนินการได�อย�างมีประสิทธิภาพมาก งานกราฟ�กจึงมีความสําคัญและมีบทบาทเพ่ิมข้ึนอย�างมากต�อการดําเนินชีวิตของมนุษย!การสื่อความหมายระหว�างมนุษย!เป�นกิจกรรมทางสังคมของมนุษย!มาต้ังแต�สมัยดึกดําบรรพ! มนุษย!รู�จักใช�เครื่องมือท่ีเป�นสัญลักษณ!สื่อความหมายและมีความแตกต�างกันตามความเจริญของสังคมมนุษย!ในแต�ละยุคสมัยมนุษย!ยุคเริ่มแรกยังไม�มีภาษาและสัญลักษณ!จึงใช�ของจริงและสภาวะจริงรอบตัวในการสื่อความหมายต�อกันเช�น การบอกแหล�งอาศัยของสัตว! จะใช�วิธีวิ่งนําหน�าเพ่ือนไปยังแหล�งท่ีมีสัตว!อยู�แล�วชี้ให�เห็นวิธีการนี้จะยุ�งยาก เพราะไม�มี

2 http://sangrawee1366.blogspot.com/p/1.html 3 http://groupfeeling.blogspot.com/2012/10/1.html

Page 4: บทที่ 1 พื้นฐานคอมพิวเตอร์กราฟิกelearning.psru.ac.th/courses/296/บทที่ 1 พื้นฐาน... · บทที่

~ 4 ~

เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชา คอมพิวเตอร!กราฟ�กและสือ่ประสม (วท.คพ.389)

สัญลักษณ!หรือเครื่องมือช�วยย�อให�กระบวนการสื่อความหมายสั้นและกระชับจากหลักฐานทางประวัติศาสตร! พบว�า เม่ือประมาณล�านปaมาแล�ว มนุษย!โฮโมอีเร็คทุส (Homo Erectus) ซ่ึงจัดอยู�ในประเภทสัตว!ลําตัวต้ังตรง ยังไม�มีภาษาใช� ได�ใช�ท�าทางและสิ่งของตามธรรมชาติ เช�น ก�อนหิน ก่ิงไม� และกระดูกสัตว!ต�าง ๆ เป�นสัญลักษณ!สื่อความหมายต�อกัน เช�น การสื่อความหมายถึงแหล�งล�าสัตว!ชนิดใดจะทําโดยการยกชูกระดูกของสัตว!ชนิดนั้น แล�วชี้ไปยังทิศทางท่ีมีสัตว!ชนิดนั้นอาศัยอยู�

ภาพท่ี 1.1 มนุษย!ในยุคอดีต

เม่ือประมาณแสนปaมาแล�ว เผ�าพันธุ!ของมนุษย!ในยุคป�จจุบัน หรือท่ีเรียกว�า โฮโมซาเปaxยน

(Homo Sapiens) (วิวัฒนาการของมนุษย! https://www.youtube.com/watch?v=JTjJi-fvfUc) รู�จักรวมกันเป�นกลุ�มอาศัยในถํ้า ได�ใช�สีตามธรรมชาติเขียนลายเส�นบนหน�าตาและร�างกายเพ่ือเป�นเครื่องหมายสื่อความหมายบอกบทบาท บอกหมู�เหล�า ลายเส�นบนเครื่องมือบอกวิธีใช�และความเป�นเจ�าของและเขียนภาพเหมือนของคน สัตว! และสิ่งของบนผนังถํ้า เพียงการชี้ไปยังภาพบนผนังถํ้าก็จะสื่อความหมายต�อกันได�ว�า สัตว!ชนิดใด ใช�อาวุธอะไร ใช�คนเท�าไร และเม่ือเป�นเช�นนั้น ทําให�การล�าสัตว!ทําได�ดีข้ึนและปลอดภัยมากข้ึน ภาพเหล�านี้ช�วยให�การสื่อความหมายทําได�ง�ายและรวดเร็วข้ึน สามารถใช�อธิบายและสื่อความหมายเป�นเรื่องราวและเป�นพ้ืนฐานในการวิวัฒนาการมาเป�นภาษาพูดและภาษาเขียนในสมัยต�อมา 4

4 http://www.trueplookpanya.com/true/knowledge_detail.php?mul_content_id=366

Page 5: บทที่ 1 พื้นฐานคอมพิวเตอร์กราฟิกelearning.psru.ac.th/courses/296/บทที่ 1 พื้นฐาน... · บทที่

~ 5 ~

เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชา คอมพิวเตอร!กราฟ�กและสือ่ประสม (วท.คพ.389)

ภาพท่ี 1.2 การใช�สีของมนุษย!ถํ้า

ในปa ค.ศ.1950 การออกแบบได�ชื่อว�าเป�น Typographical Style เป�นการพัฒนาโดยนักออกแบบชาวสวิส ได�นําวิธีการจัดวางตัวอักษรข�อความและภาพเป�นคอลัมน! มีการใช�ตารางช�วยให�อ�านง�ายมีความเป�นระเบียบ สวยงาม มีการจัดแถวของข�อความแบบชิดขอบด�านหน�าและด�านหลังตรงเสมอกัน ต้ังแต�สมัยหลังสงครามโลกครั้งท่ี 2 เป�นต�นมา การออกแบบกราฟ�ก ได�พัฒนาและขยายขอบเขตงานออกไปอย�างกว�างขวาง ไม�จํากัดอยู�แต�ในสิ่งพิมพ!เท�านั้น โดยได�เข�าไปอยู�ในกระบวนการสื่อสารอ่ืนๆเช�น ภาพยนตร! โทรทัศน! วีดิทัศน! การถ�ายภาพ โปสเตอร! การโฆษณา ฯลฯ การออกแบบกราฟ�กป�จจุบัน เป�นยุคของอิเล็กทรอนิกส! นวัตกรรมและเทคโนโลยี ได�นําเครื่องมือ เครื่องใช� วัสดุอุปกรณ! วัสดุสําเร็จรูป มาช�วยในการออกแบบกราฟ�กได�อย�างมีประสิทธิภาพ เช�น การใช�คอมพิวเตอร! ( Computer Graphics ) มีโปรแกรมด�านการจัดพิมพ!ตัวอักษรท่ีนิยมกันมากคือ Microsoft Word สามารถจัดเรียง วางรูปแบบ สร�างภาพ กราฟ แผนภูมิ จัดการและสร�างสรรค!ตัวอักษร โปรแกรมอ่ืนๆท่ีสนับสนุนงานกราฟ�กอีกมากมาย เช�น Adobe Photoshop / Illustrator / PageMaker / CorelDraw / 3D Studio / LightWave3D / AutoCadฯลฯ นอกจากนี้ยังมีโปรแกรมท่ีช�วยให�สามารถสร�างสรรค!งานกราฟ�กบนเว็บ อีกมากเช�น Ulead Cool / Animagic GIF / Banner Maker เป�นต�น

Page 6: บทที่ 1 พื้นฐานคอมพิวเตอร์กราฟิกelearning.psru.ac.th/courses/296/บทที่ 1 พื้นฐาน... · บทที่

~ 6 ~

เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชา คอมพิวเตอร!กราฟ�กและสือ่ประสม (วท.คพ.389)

ภาพท่ี 1.3 การออกแบบ Typographical Style

1.3 ความรู*เบ้ืองต*นเก่ียวกับงานกราฟ�ก 1.3.1 หลักการทํางานและการแสดงผลภาพคอมพิวเตอร�กราฟ�ก ภาพท่ีเกิดบนจอคอมพิวเตอร! เกิดจากการทํางานของโหมดสี RGB ซ่ึงประกอบด�วยสีแดง (Red) สีเขียว (Green) และสีน้ําเงิน (Blue) โดยใช�หลักการยิงประจุไฟฟdาให�เกิดการเปล�งแสงของสีท้ัง 3 สีมาผสมกันทําให�เกิดเป�นจุดสีสี่เหลี่ยมเล็ก ๆ ท่ีเรียกว�า พิกเซล (Pixel) ซ่ึงมาจากคําว�า Picture กับ Element โดยพิกเซลจะมีหลากหลายสี เม่ือนํามาวางต�อกันจะเกิดเป�นรูปภาพ ซ่ึงภาพท่ีใช�กับเครื่องคอมพิวเตอร!มี 2 ประเภท คือ แบบ Raster และแบบ Vector 5 รายละเอียด ดังหัวข�อ 1.3.2 1.4.2 หลักการกราฟ�ก

(1) แบบ Raster หลักการของภาพกราฟ�กแบบ Raster หรือแบบ Bitmap เป�นภาพกราฟ�กท่ีเกิดจากการเรียงตัวกันของจุดสี่เหลี่ยมเล็ก ๆ หลากหลายสี ซ่ึงเรียกจุดสีเหลี่ยมเล็ก ๆ นี้ว�าพิกเซล (Pixel) และในการสร�างภาพกราฟ�กแบบ Raster จะต�องกําหนดจํานวนของพิกเซลให�กับภาพท่ีต�องการสร�าง ถ�ากําหนดจํานวนพิกเซลน�อย เม่ือขยายภาพให�มีขนาดใหญ�ข้ึนจะทําให�แฟdมภาพมีขนาดใหญ� เทียบได�กับ “จุดภาพ” 1 จุด ท่ีบรรจุค�าสี และถูกกําหนดตําแหน�งไว�บนเส�นกริดของแนวแกน X และแกน Y ภาพมิตแมปจะประกอบด�วยพิกเซลหลาย ๆ พิกเซล ดังนั้น การกําหนดพิกเซลจึงควรกําหนดให�เหมาะกับงานท่ีสร�าง คือ ถ�าต�องการใช�งานท่ัว ๆ ไปจะกําหนดจํานวนพิกเซลประมาณ 100-150 ppi (Pixel/inch) “จํานวนพิกเซลต�อ 1 ตารางนิ้ว” ถ�าเป�นงานท่ีต�องการความละเอียดน�อยและแฟdมภาพมีขนาดเล็ก เช�น ภาพสําหรับใช�กับเว็บไซต!จะกําหนดจํานวน

5 http://sangrawee1366.blogspot.com/p/1.html

Page 7: บทที่ 1 พื้นฐานคอมพิวเตอร์กราฟิกelearning.psru.ac.th/courses/296/บทที่ 1 พื้นฐาน... · บทที่

~ 7 ~

เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชา คอมพิวเตอร!กราฟ�กและสือ่ประสม (วท.คพ.389)

พิกเซลประมาณ 72 ppi และถ�าเป�นแบบงานพิมพ! เช�น นิตยสาร โปสเตอร!ขนาดใหญ� จะกําหนดจํานวนพิกเซลประมาณ 300-350 เป�นต�น

ภาพท่ี 1.4 พิกเซลของภาพเฉดสีขาว/ดํา

ภาพท่ี 1.5 พิกเซลของภาพสี

ข�อดีของภาพกราฟ�กแบบ Raster คือ สามารถแก�ไขปรับแต�งสี ตกแต�งภาพ

ได�ง�ายและสวยงาม ซ่ึงโปรแกรมท่ีนิยมใช�สร�างภาพกราฟ�กแบบRaster คือ Adobe PhotoShop, Adobe PhotoShopCS, Paint เป�นต�น

ภาพท่ี 1.6 ภาพกราฟ�กแบบ Raster ท่ีขยายใหญ�ข้ึน

(2) แบบ Vector

หลักการของกราฟ�กแบบ Vector เป�นภาพกราฟ�กท่ีเกิดจากการอ�างอิงความสัมพันธ!ทางคณิตศาสตร! หรือการคํานวณ ซ่ึงภาพจะมีความเป�นอิสระต�อกัน โดยแยกชิ้นส�วนของภาพท้ังหมดออกเป�นเส�นตรง เส�นโค�ง รูปทรง เม่ือมีการขยายภาพความละเอียดของภาพไม�ลดลง แฟdมมีขนาดเล็กกว�าแบบ Raster ภาพกราฟ�กแบบ Vector นิยมใช�เพ่ืองานสถาป�ตยตกแต�งภายในและการออกแบบต�าง ๆ เช�น การออกแบบอาคาร การออกแบบรถยนต! การสร�างโลโก การสร�างการ!ตูน เป�นต�น ซ่ึงโปรแกรมท่ีนิยมใช�สร�างภาพแบบ Vector คือ โปรแกรม Illustrator,

Page 8: บทที่ 1 พื้นฐานคอมพิวเตอร์กราฟิกelearning.psru.ac.th/courses/296/บทที่ 1 พื้นฐาน... · บทที่

~ 8 ~

เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชา คอมพิวเตอร!กราฟ�กและสือ่ประสม (วท.คพ.389)

CoreDraw, AutoCAD, 3Ds max เป�นต�น แต�อุปกรณ!ท่ีใช�แสดงผลภาพ เช�น จอคอมพิวเตอร!จะเป�นการแสดงผลภาพเป�นแบบ Raster

ภาพท่ี 1.7 ภาพกราฟ�กแบบ Vector ท่ีขยายใหญ�ข้ึน

ความแตกต�างของภาพกราฟ�ก 2 มิติ แบบ Raster และแบบ Vector แสดงรายละเอียดได� ดังตารางท่ี 1.1 ตารางท่ี 1.1 ตารางแสดงความแตกต�างภาพกราฟ�ก 2 มิติ แบบ Raster และแบบ Vector

ภาพกราฟ�กแบบ Raster ภาพกราฟ�กแบบ Vector 1. ภาพกราฟ�ก เ กิดจากจุดสี่ เหลี่ ยม เล็ก ๆ หล ากหล ายสี ( Pixels) ม า เ รี ย ง ต� อ กัน จนกลายเป�นรูปภาพ

1. ภาพเกิดจากการอ�างอิงความสัมพันธ!ทางคณิตศาสตร!หรือการคํานวณ โดยองค!ประกอบของภาพมีอิสระต�อกัน

2. การขยายภาพกราฟ�กให�มีขนาดใหญ�ข้ึน จะทําให�ความละเ อียดของภาพลดลง ทําให�มองเห็นภาพเป�นจุดสี่เหลี่ยมเล็ก ๆ

2. การขยายภาพกราฟ�กให�มีขนาดใหญ�ข้ึน ภาพยังคงความละเอียดคมชัดเหมือนเดิม

3. การตกแต�งและแก�ไขภาพ สามารถทําได�ง�ายและสวยงาม เช�น การ Retouching ภาพคนแก�ให�หนุ�มข้ึน การปรับสีผิวกายให�ขาวเนียนข้ึน เป�นต�น

3. เหมาะกับงานออกแบบต�าง ๆ เช�น งานสถาป�ตย! ออกแบบโลโก เป�นต�น

4. การประมวลผลภาพสามารถทําได�รวดเร็ว 4. การประมวลผลภาพจะใช�เวลานาน เนื่องจากใช�คําสั่งในการทํางานมาก

Page 9: บทที่ 1 พื้นฐานคอมพิวเตอร์กราฟิกelearning.psru.ac.th/courses/296/บทที่ 1 พื้นฐาน... · บทที่

~ 9 ~

เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชา คอมพิวเตอร!กราฟ�กและสือ่ประสม (วท.คพ.389)

ภาพท่ี 1.8 ภาพเปรียบเทียบภาพ Vector และภาพ Raster

นามสกุลท่ีใช�เก็บแฟdมภาพกราฟ�กแบบ Raster มีหลายนามสกุล เช�น .BMP, .DIB, .JPG, .JPEG, .JPE, .GIF, .TIFF, .TIF, .PCX, .MSP, .PCD, .FPX, .IMG, .MAC, .MSP และ .TGA เป�นต�น ซ่ึงลักษณะของแฟdมภาพจะแตกต�างกันไป แสดงได�ดัง ตารางท่ี 1.2 ตารางท่ี 1.2 แฟdมภาพกราฟ�กแบบ Raster และคุณลักษณะของแฟdมภาพกราฟ�ก

นามสกุลท่ีใช*เก็บ ลักษณะงาน ตัวอยCาง ซอฟต�แวร�ท่ีใช*สร*าง

.JPG, .JPEG, .JPE ใช�สําหรับรูปภาพท่ัวไปงานเว็บเพจ และงานท่ีมีความจํากัดด�านพ้ืนท่ี หน�วยความจํา

โปรแกรม PhotoShop, PaintShopPro, Illstratior

.GIF

.TIFF, .TIF เหมาะสําหรับงานด�านนิตยสาร เพราะมีความละเอียดของภาพสูง

.BMP, .DIB ไฟล!มาตรฐานของระบบปฏิบัติการวินโดว!

โปรแกรม PaintShopPro, Paint

.PCX เป�นไฟล!ด้ังเดิมของโปรแกรมแก�ไขภาพแบบบิตแมป ไม�มีโมเดลเกรย!สเกล ใช�กับภาพท่ัวไป

โ ป ร แ ก ร ม CorelDraw, Illustrator, Paintbrush

นามสกุลท่ีใช�เก็บแฟdมภาพกราฟ�กแบบ Vector มีหลายนามสกุลเช�น .EPS, .WMF, .CDR,

.AI, .CGM, .DRW, .PLT, .DXF, .PIC และ .PGL เป�นต�น ซ่ึงลักษณะของแฟdมภาพจะแตกต�างกันไป แสดงดัง ตารางท่ี 1.3

Page 10: บทที่ 1 พื้นฐานคอมพิวเตอร์กราฟิกelearning.psru.ac.th/courses/296/บทที่ 1 พื้นฐาน... · บทที่

~ 10 ~

เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชา คอมพิวเตอร!กราฟ�กและสือ่ประสม (วท.คพ.389)

ตารางท่ี 1.3 แฟdมภาพกราฟ�กแบบ Vector และคุณลักษณะของแฟdมภาพกราฟ�ก นามสกุลท่ีใช*เก็บ ลักษณะงาน ตัวอยCางซอฟต�แวร�

ท่ีใช*สร*าง .AI ใช�สําหรับงานท่ีต�องการความ

ละเอียดของภาพมาก เช�น การสร�างการ!ตูน การสร�างโลโก เป�นต�น

โปรแกรม Illustrator

.EPS .WMF ไฟล!มาตรฐานของ

โปรแกรม Microsoft Office โปรแกรม CorelDraw

1.4 งานกราฟ�กกับการใช*งานด*านตCาง ๆ ในยุคป�จจุบันมีการพัฒนาทางด�านเทคโนโลยีอย�างไม�หยุดยั้ง ทําให�การสื่อสารมีสีสันและชีวิตชีวามากข้ึน โดยการใช�ภาพกราฟ�กมาประยุกต!ร�วมกับงานด�านต�าง ๆ เพ่ือให�งานดูสวยงามและดึงดูดใจให�น�าใช�งานมากยิ่งข้ึน ซ่ึงแบ�งงานด�านภาพกราฟ�กออกได� ดังนี้ (1) คอมพิวเตอร�กราฟ�กกับงานด*านการออกแบบ คอมพิวเตอร!ได�เข�ามามีบทบาทกับงานด�านการออกแบบในสาขาต�าง ๆ เป�นจํานวนมาก เช�น งานด�านสถาป�ตย!ออกแบบภายในบ�าน การออกแบบรถยนต! การออกแบบเครื่องจักรกล รวมถึงการออกแบบวงจรไฟฟdาอิเล็กทรอนิกส! ซ่ึงโปรแกรมท่ีใช�จะเป�นโปรแกรม 3 มิติ เพราะสามารถกําหนดสีและแสงเงาได�เหมือนจริงท่ีสุด อีกท้ังสามารถดูมุมมองด�านต�าง ๆ ได�ทุกมุมมอง (2) คอมพิวเตอร�กราฟ�กกับงานด*านโฆษณา ป�จจุบันการโฆษณาสินค�าทางโทรทัศน!ได�นําภาพกราฟ�กเข�ามาช�วยในการโฆษณาสินค�าเพ่ือเพ่ิมความน�าสนใจมากข้ึน เช�น การทําหิมะตกท่ีกรุงเทพฯ การนําการ!ตูนมาประกอบการโฆษณาขนมเด็ก เป�นต�น และการโฆษณาสินค�าด�วยภาพกราฟ�กยังมีอยู�ทุกท่ีรอบตัวเราไม�ว�าจะเป�นตามปdายรถเมล! ข�างรถโดยสาร หน�าร�านค�าตามแหล�งชุมชนต�าง ๆ เป�นต�น (3) คอมพิวเตอร�กราฟ�กกับงานด*านการนําเสนอ การนําเสนอข�อมูลต�าง ๆ เป�นการสื่อความหมายให�ผู�รับสารเข�าใจในสิ่งท่ีผู�สื่อต�องการ และการสื่อสารท่ีดีจําเป�นอย�างยิ่งท่ีจะต�องใช�ภาพเข�ามาช�วยเพ่ือเพ่ิมความเข�าใจให�กับผู�รับสาร เช�น การสรุปยอดขายสินค�าในแต�ละปaด�วยกราฟ หรือการอธิบายระบบการทํางานของบริษัทด�วยแผนภูมิ เป�นต�น (4) คอมพิวเตอร�กราฟ�กกับงานด*านเว็บเพจ ธุรกิจรับสร�างเว็บเพจให�กับบริษัทหรือหน�วยงานต�าง ๆ ได�นําคอมพิวเตอร!กราฟ�กเข�ามาช�วยในการสร�างเว็บเพจเพ่ือให�เว็บเพจท่ีสร�างมีความสวยงามน�าใช�งานยิ่งข้ึน

Page 11: บทที่ 1 พื้นฐานคอมพิวเตอร์กราฟิกelearning.psru.ac.th/courses/296/บทที่ 1 พื้นฐาน... · บทที่

~ 11 ~

เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชา คอมพิวเตอร!กราฟ�กและสือ่ประสม (วท.คพ.389)

(5) คอมพิวเตอร�กราฟ�กกับงานด*าน Image Retouching ป�จจุบันธุรกิจคอมพิวเตอร!กราฟ�กท่ีใช�ในการ Retouching ภาพ ได�เป�ดตัวข้ึนเป�นจํานวนมาก เพราะสามารถตอบสนองความต�องการของคนในการทําภาพตามจินตนาการได�เป�นอย�างดี เช�น การทําภาพผิวกายให�ขาวเนียนเหมือนดารา การทําภาพเก�าให�เป�นภาพใหม� การทําภาพขาวดําเป�นภาพสี และการทําภาพคนแก�ให�ดูหนุ�มหรือสาวข้ึน เป�นต�น 1.5 ความหมายของเทคโนโลยีส่ือประสม ระบบสื่อประสม คือ เป�นการทําให�เครื่องคอมพิวเตอร!สามารถแสดงผลได�หลาย ๆ รูปแบบ ไม�ว�าจะเป�นข�อความ กราฟ�ก ภาพเคลื่อนไหว และเสียง ซ่ึงจะเป�นการรวมเอาวิชาการหลาย ๆ สาขามาประยุกต!เข�าด�วยกัน ป�จจุบันเป�นท่ีนิยมใช�ในงานด�านการศึกษาเป�นอย�างมาก ซ่ึงเราเรียกกันว�า การใช�คอมพิวเตอร!ช�วยสอน (Computer Assisted Instruction: CAI) ผู�เรียนเรียนสามารถเรียนได�ตามความสามารถของแต�ละบุคคลโดยจะมีการโต�ตอบกับเครื่องคอมพิวเตอร! แสดงผลให�ผู�เรียนเห็นผ�านทางจอภาพท่ีสําคัญเทคโนโลยีนี้สามารถใช�สื่อประสมหลาย ๆ ชนิดเข�าด�วยกัน ไม�ว�าจะเป�นข�อความ กราฟ�ก ภาพเคลื่อนไหว หรือเสียง สื่อการเรียนรูปแบบนี้จึงสามารถสร�างแรงจูงใจในการเรียนมากข้ึน จากนิยามของสื่อประสม ท่ีรวบรวมจากหลายแหล�ง พบว�ามีการให�นิยามท่ีคล�ายกันดังนี้ “สื่อประสมคือ การใช�คอมพิวเตอร!เพ่ือแสดงและนําเสนอในรูปข�อความ รูปภาพ เสียง วีดิทัศน! โดยเชื่อมโยงกับอุปกรณ!ต�างๆ ท่ีใช�เพ่ือการท�องไปในเนื้อเรื่อง การมีปฏิสัมพันธ! การสร�าง และการสื่อสาร” 6

เทคโนโลยีแบบสื่อประสม (multimedia) หมายถึง การใช�สื่อหลายแบบผสมกัน ซ่ึง มีท้ังท่ีเป�นข�อความ ตัวหนังสือ รูปภาพ ภาพเคลื่อนไหว เสียงพูด เสียงดนตรี และ วิดิทัศน! ซ่ึงขณะนี้กําลังเป�นท่ีนิยมมาก คอมพิวเตอร!ท่ีใช�กับสื่อประสมจึงต�องการซีพียูท่ีทํางานได�เร็ว ซ่ึงระบบสื่อประสมนี้จะ เข�ามามีบทบาททําให�เกิดการใช�งานอย�างกว�างขวาง เช�น ใช�ทําหนังสือบนแผ�นซีดี ใช� สร�างเกมท่ีมีลักษณะเหมือนจริงมากข้ึน ใช�ในการสื่อสารท่ีนําสื่อทุกชนิดไปด�วยกัน เกิด ระบบการประชุมท่ีเรียกว�า การประชุมทางวิดิทัศน! (video conference) ท่ีทําให�สามารถติดต�อประชุมกันเหมือนอยู�ใกล� ๆ กัน 7

และมีผู�ให�ความหมายไว� ดังนี้ (พัลลภ พิริยสุรวงศ, 2540) สื่อประสม คือ ระบบสื่อสารข�อมูลหลายชนิด โดยผ�านสื่อทางคอมพิวเตอร! ซ่ึงประกอบด�วย ข�อความ ฐานข�อมูล ตัวเลข กราฟ�ก ภาพ เสียง และวีดีทัศน!หรือวีดีโอ (Jeffcoate, 1995, 107)

สื่อประสม หมายถึง การนําเอาสื่อการสอนหลายๆ อย�างมาสัมพันธ!กันและมีคุณค�าท่ีส�งเสริมซึ่งกันและกันสื่อการสอนอย�างหนึ่งอาจใช�เพ่ือเร�าความสนใจ ในขณะท่ีอีกอย�างหนึ่งใช�เพื่ออธิบายข�อเท็จจริงของเนื้อหา และอีกชนิดหนึ่งอาจใช�เพ่ือก�อให�เกิดความเข�าใจท่ีลึกซ้ึงและปdองกันการเข�าใจความหมายผิด การใช�สื่อประสมจะช�วยให�ผู�เรียนมีประสบการณ!จากประสาทสัมผัสท่ีผสมผสานกันได�ค�นพบวิธีการที่จะเรียนในสิ ่งที่ต�องการได�ด�วยตนเองมากยิ ่งขึ้น (หาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ,2537:111)

6 http://61.19.202.164/resource/ebook/htmlprimer/lesson01.htm 7 http://110.164.64.200/ftp/st25192/m4_7/p1.html

Page 12: บทที่ 1 พื้นฐานคอมพิวเตอร์กราฟิกelearning.psru.ac.th/courses/296/บทที่ 1 พื้นฐาน... · บทที่

~ 12 ~

เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชา คอมพิวเตอร!กราฟ�กและสือ่ประสม (วท.คพ.389)

สื่อประสม หมายถึง การนําเอาสื ่อการสอนหลายๆ อย�างมาสัมพันธ!กัน ซึ่งมีคุณค�าท่ีส�งเสริมซึ่งกันและกันสื่อการสอนอย�างหนึ่งอาจใช�เพ่ือเร�าความสนใจในขณะท่ีอีกอย�างหนึ่งใช�เพื่ออธิบายข�อเท็จจริงของเนื้อหาและอีกชนิดหนึ่งอาจใช�เพ่ือก�อให�เกิดความเข�าใจท่ีลึกซ้ึง และปdองกันการเข�าใจความหมายผิด การใช�สื่อประสมจะช�วยให�ผู�เรียนมีประสบการณ!จากประสาทสัมผัสท่ีผสมผสานกันได�พบวิธีที่จะเรียนในสิ่งที่ต�องการได�ด�วยตนเองมากยิ่งขึ้น ( ประหยัด จิระวรพงศ! ,2527:256) สื่อประสม หมายถึง การนําวัสดุอุปกรณ!ชนิดต�างๆ เช�น ภาพยนตร! โทรทัศน! สไลด!ฟ�ล!มสตริป รูปภาพของตัวอย�างหุ�นจําลอง หนังสือ เป�นต�น ซึ่งมีเนื้อหาสาระสัมพันธ!กับกิจกรรมการเรียนการสอน แล�วเลือกมา ประกอบกันเพื่อใช�ในการเรียนการสอนในแต�ละครั้ง ( ประหยัด จิระวรพงศ! ,2527:256)

สื่อประสม หมายถึง การนําสื่อหลาย ๆ ประเภทมาใช�ร�วมกันท้ังวัสดุ อุปกรณ! และวิธีการ เพื่อให�เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุดในการเรียนการสอน โดยการใช�สื ่อแต�ละอย�าง ตามลําดับขั้นตอนของเนื้อหา และในป�จจุบันมีการนําคอมพิวเตอร!มาใช�ร�วมด�วย เพื่อการผลิต หรือการควบคุมการทํางานของอุปกรณ!ต�าง ๆ ในการเสนอข�อมูลทั ้งตัวอักษร ภาพกราฟ�ก ภาพถ �าย ภาพเคลื ่อน ไหว แบบว ีด ิท ัศน !และเส ีย ง ( ก ิดาน ันท ! มล ิทอง , 2543 : 267) อิริคสัน (Erickson) กล�าวว�า " สื ่อประสม " หมายถึง การนําเอาสื ่อการสอนหลาย ๆ อย�างมาสัมพันธ!กันซึ่งมีคุณค�าที่ส�งเสริมซึ่งกันและกัน สื่อการสอนอย�างหนึ่งอาจใช�เพื่อเร�าความสนใจในขณะที่อีกอย�างหนึ ่งใช�เพื่ออธิบายข�อเท็จจริงของเนื ้อหา และอีกชนิดหนึ่งอาจใช�เพื่อก�อให�เกิดความเข�าใจที่ลึกซึ้ง และปdองกันการเข�าใจความหมายผิด การใช�สื ่อประสมจะช�วยให�ผู�เรียนมีประสบการณ!จากประสาทสัมผัสผสมผสานกันได�พบวิธีการที่จะเรียนในสิ่งที่ต�องการได�ด�วยตนเองมากยิ่งข้ึน " ( ชัยยงค! พรหมวงศ! และคณะ ,2523)

ดังนั้น สื่อประสม จึงหมายถึง การนําสื่อหลาย ๆ ประเภทมาใช�ร�วมกัน ทั้งวัสดุ อุปกรณ! และวิธีการ เพื่อให�เกิดประสิทธิภาพและ ประสิทธิผลสูงสุดในการเรียนการสอน โดยการใช�สื่อแต�ละอย�างตามลําดับขั้นตอนของเนื้อหา และในป�จจุบันมีการนําคอมพิวเตอร!มาใช�ร�วมด�วย เพื่อการผลิตหรือการควบคุมการทํางานของอุปกรณ!ต�าง ๆ ในการเสนอข�อมูลทั้งตัวอักษร ภาพกราฟ�ก ภาพถ�าย ภาพเคลื่อนไหว และเสียง เป�นต�น

ความหมายของสื่อประสมจะแตกต�างกันไปตามสมัย ซึ่งสมัยก�อน เมื่อกล�าวถึงสื่อประสมจะหมายถึง การนําสื่อหลาย ๆ ประเภทมาใช�ร�วมกัน เช�น รูปภาพ เครื่องฉายแผ�น โปร�งใส เทปบันทึกเสียง เป�นต�น เพื่อให�การเสนอผลงานหรือการเรียนการสอนสามารถดําเนินไปได�อย�างมีประสิทธิภาพ โดยการเสนอเนื้อหาในรูปแบบต�าง ๆ นอกเหนือจากการบรรยายเพียงอย�างเดียว โดยท่ีผู�ฟ�งหรือผู�เรียนมิได�มีปฏิสัมพันธ!ต�อสื่อนั้นโดยตรง

Page 13: บทที่ 1 พื้นฐานคอมพิวเตอร์กราฟิกelearning.psru.ac.th/courses/296/บทที่ 1 พื้นฐาน... · บทที่

~ 13 ~

เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชา คอมพิวเตอร!กราฟ�กและสือ่ประสม (วท.คพ.389)

และเนื่องจากมัลติมีเดีย เป�นเทคโนโลยีของสื่อท่ีหลากหลาย สามารถแบ�งรายละเอียดของเทคโนโลยีท่ีเก่ียวข�องกับมัลติมีเดีย ได�ดังนี้

(1) เทคโนโลยีเก่ียวกับเสียง (Audio Technology) ซ่ึงรวมท้ังเสียงพูด และเสียงดนตรี ต้ังแต�การประมวลผล การแสดงผล การจัดการต�างๆ เช�น การบีบอัดสัญญาณ การสื่อสาร การส�งสัญญาณ

(2) เทคโนโลยีเก่ียวกับวีดิโอ (Video Technology) อันได�แก� การจัดเก็บ การประมวลผล การปรับแต�ง การใช�งาน การเรียกหา สืบค�น การส�งกระจาย มาตรฐานการบีบอัดสัญญาณ การเข�าและถอดรหัส การส�งข�อมูล การทํางานร�วมกับสื่ออ่ืนๆ

(3) เทคโนโลยีรูปภาพ (Image Technology) เป�นการพัฒนา และประยุกต!ใช�ภาพ การจัดการฟอร!แมต คลังภาพ การค�นหา การสร�าง และตกแต�งภาพ

(4) เทคโนโลยีข�อความ (Text Technology) เก่ียวกับข�อความหรือ ตัวอักษร ท้ังการใช� และลักษณะรูปแบบของ ข�อความแบบต�างๆ

(5) เทคโนโลยีภาพเคลื่อนไหว และภาพสามมิติ (Animation & 3D Technology) เป�นเทคโนโลยีเก่ียวกับการแสดงผล ด�นภาพเคลื่อนไหว ท้ังแบบ 2 มิติ และ 3 มิติ การสร�างภาพเสมือนจริง (VR - Visual Reality) การสร�าง ตกแต�ง ประมวลผล การใช�งาน

(6) เทคโนโลยีการพัฒนา (Authoring System Technology) คือ เทคโนโลยีท่ีได�พัฒนา เพ่ือสร�างเครื่องมือสําหรับ งานพัฒนามัลติมีเดีย ในรูปของ ซอฟต!แวร!ช�วย ในการนําข�อมูล เนื้อหา (Content) เข�าไปเก็บตามสื่อรูปแบบต�างๆ ท่ีวางไว� เพ่ือนําเสนอ เช�น การใช�เครื่องมือต�างๆ หรือการสร�างเครื่องมือใหม�ๆ

(7) เทคโนโลยีกับระบบการศึกษา เป�นการศึกษาเพ่ือนําเอา เทคโนโลยีมัลติมีเดีย มาประยุกต!ใช�กับ ระบบการศึกษา ในรูปของ CAI - Computer Aided Instruction, CBT - Computer Based Training ตลอดจนงานประชาสัมพันธ! โฆษณา สร�างภาพยนตร!

(8) เทคโนโลยีการผลิต (Publishing Technology) เป�นการนําเอามัลติมีเดีย มาใช�ด�านงานพิมพ! เพ่ือเพ่ิมชีวิตชีวาให�กับงานพิมพ! มีรูปแบบท่ีโดดเด�น และนําเสนอ หรือพิมพ!ลงสื่อได�หลากรูปแบบ เช�น งาน DTP - Desktop Publishing, CD-ROM Title & Publishing

(9) เทคโนโลยีการกระจาย (Broadcasting & Conferencing) ส�งเก่ียวข�องกับการเผยแพร�ข�อมูล เผยแพร�สัญญาณ เช�น Conference, Multicasting Backbone เป�นต�น

(10) เทคโนโลยีการจัดเก็บข�อมูล (Storage Technology) เนื่องด�วยข�อมูลด�านมัลติมีเดีย มักจะมีขนาดโต ทําให�ต�องเก่ียวข�องกับสื่อบันทึกข�อมูลอย�างหลีกเลี่ยงไม�ได� ท้ังเก่ียวกับรูปแบบของสื่อ รูปแบบการบีบอัดข�อมูล รูปแบบการบันทึกข�อมูล

(11) เทคโนโลยี WWW & HyperText โดยจะช�วยให�เกิดการเผยแพร�สื่อมัลติมีเดียในรูปแบบท่ีนิยมมากท่ีสุด และเร็วท่ีสุด ผ�านระบบ WWW และมีระบบโต�ตอบด�วยเทคโนโลยี HyperText & HyperMedia

(12) เทคโนโลยีคลังข�อมูล (Media Archives) ซ่ึงเก่ียวกับการจัดเก็บข�อมูลปริมาณมากๆ และการเรียกค�นภายหลัง เช�น Photo & Image Server, AVI archives

Page 14: บทที่ 1 พื้นฐานคอมพิวเตอร์กราฟิกelearning.psru.ac.th/courses/296/บทที่ 1 พื้นฐาน... · บทที่

~ 14 ~

เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชา คอมพิวเตอร!กราฟ�กและสือ่ประสม (วท.คพ.389)

โดยสามารถสรุปความหมายของ “สื่อประสม” ได�ดังนี้ สื่อประสมคือการใช�คอมพิวเตอร!ร�วมกับโปรแกรมประยุกต!ใน การสื่อความหมายโดยการผสมผสานสื่อหลายชนิด เช�น ข�อความ กราฟ�กภาพเคลื่อนไหว เสียง และวีดิทัศน! เป�นต�น และถ�าผู�ใช�สามารถ ควบคุมสื่อให�นําเสนอออกมาตามต�องการได�จะเรียกว�าสื่อประสมเชิง โต�ตอบ การโต�ตอบของผู�ใช�สามารถจะกระทําได�โดยผ�านทางแผงแป � น อักขระ เมาส! หรือตัวชี้ เป�นต�น การใช�สื่อประสมในลักษณะเชิงโต�ตอบก็ เพ่ือช�วยให�ผู�ใช�สามารถเรียนรู�หรือทํากิจกรรม รวมถึงดูสื่อต�างๆ ด�วย ตัวเองได� สื่อต�างๆ ท่ีนํามารวมไว�ในสื่อประสม เช�น ภาพ เสียง วีดิทัศน! จะช�วยให�เกิดความหลากหลายในการใช�คอมพิวเตอร!อันเป�นเทคโนโลยี ในแนวทางใหม�ท่ีทําให�การใช�คอมพิวเตอร!น�าสนใจ 1.6 วิวัฒนาการของส่ือประสม สื่อประสม (multimedia) เป�นสื่อสมัยใหม�ท่ีใช�คอมพิวเตอร!นําเอาตัวหนังสือแสดงข�อความ ภาพ และเสียง ซ่ึงบันทึกไว�ในรูปของข�อมูลดิจิทัลมาแสดงผลแปลงเป�นตัวหนังสือแสดงข�อความ ภาพและเสียงทางจอภาพและลําโพงผสมผสานกัน รวมท้ังควบคุมการแสดงผลของสื่อเหล�านั้น โดยโปรแกรมการสั่งงานคอมพิวเตอร! ทําให�สื่อเหล�านั้นมีลักษณะพิเศษข้ึน มีพลังในการสื่อสารอย�างมีชีวิตชีวามากกว�าสื่อท่ีเกิดจากการใช�อุปกรณ!อ่ืนๆ

คําว�า “ สื่อประสม ” อาจมีความหมายพ้ืนๆ เพียงการแสดงผลของข�อความภาพและเสียงพร�อมๆ กันในลักษณะใดลักษณะหนึ่ง เช�น สื่อโทรทัศน! ภาพยนตร! สไลด!ประกอบเสียง หรือการใช�วัสดุอุปกรณ!ต�างๆ ในการสาธิตหรือการสอน แต�สื่อเหล�านี้อาจใช�คําเฉพาะอ่ืนๆ ท่ีสามารถอธิบายความหมายได�ชัดเจนมากกว�าคําว�า สื่อประสม จึงใช�เพ่ือหมายความถึงสื่อท่ีมีลักษณะพิเศษ ซ่ึงมักเก่ียวข�องกับอุปกรณ!คอมพิวเตอร! ดังท่ีอธิบายข�างต�น

ใน ค . ศ . ๑๘๗๗ ทอมัส แอลวา เอดีสัน (Thomas Alva Edison; ค . ศ . ๑๘๔๗ – ๑๙๓๑๗ ) นักประดิษฐ! ชาวอเมริกา ได�ประดิษฐ!ระบบบันทึกเสียงข้ึน ซ่ึงเป�นการบันทึกเสียงเก็บไว�ได�เป�นครั้งแรก ต�อมาใน ค . ศ . ๑๘๘๘ จอร!จ อีสต!แมน (George Eastman ; ค . ศ . ๑๘๕๔ – ๑๙๓๒ ) นักประดิษฐ!ชาวอเมริกันได�ประดิษฐ!อุปกรณ!ท่ีสามารถบันทึกภาพโดยใช�แสง ประดิษฐ!กรรมท้ัง ๒ อย�างทําให�เกิดสื่อประเภทเสียงข้ึนและมีรูปแบบใหม�ในการบันทึกภาพ นอกเหนือจากการวาด เขียน และพิมพ!ลงบนกระดาษ

การบันทึกภาพด�วยกล�องถ�ายรูปได�พัฒนาไปสู�การถ�ายภาพเคลื่อนไหว จึงทําให�การบันทึกและถ�ายทอดเรื่องราวแม�นยําตรงกับความจริง และน�าสนใจยิ่งข้ึน และนี่คือท่ีมาของสื่อประเภทภาพยนตร! ซ่ึงได�แพร�หลายไปท่ัวโลก เม่ือเริ่มต�นคริสต!ศตวรรษท่ี ๒๐

เทคโนโลยีสื่อประสมโดยหลักๆ แล�วจะมีองค!ประกอบ ดังนี้ (1) เครื่องคอมพิวเตอร! เป�นเครื่องมือท่ีทําให�ได�เห็น ได�ยิน สามารถโต�ตอบแบบ

ปฏิสัมพันธ!ได� (2) การเชื่อมโยงสื่อสาร ทําให�ข�อมูลต�างๆ เชื่อมโยงถึงกันและ นําเสนอได� (3) ซอฟต!แวร! สามารถช�วยให�ใช�ข�อมูลจากสื่อหลายชนิดร�วมกัน ได� (4) การใช�งานแบบสื่อประสม โดยใช�ข�อมูลข�าวสารในรูปแบบสื่อประสมท่ีผู�ใช�สร�าง

ข้ึนสําหรับเครื่องคอมพิวเตอร!นั้น ถ�าเป�น คอมพิวเตอร!ส�วนบุคคลหรือสถานีงาน

Page 15: บทที่ 1 พื้นฐานคอมพิวเตอร์กราฟิกelearning.psru.ac.th/courses/296/บทที่ 1 พื้นฐาน... · บทที่

~ 15 ~

เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชา คอมพิวเตอร!กราฟ�กและสือ่ประสม (วท.คพ.389)

1.7 รูปแบบของส่ือประสม (1) ส่ือประสมท่ีไมCสามารถโต*ตอบกับผู*ใช*ได* (Multimedia) การนําสื่อหลายชนิดมาผสมผสานเข�าด�วยกัน โดยใช�โปรแกรมคอมพิวเตอร!เป�นตัวจัดการ และควบคุมให�สื่อต�างๆ แสดงผลออกมาทางหน�าจอและลําโพงของคอมพิวเตอร! - ส่ือประสม I ( Multimedia I ) เป�นสื่อประสมท่ีใช�โดยการนําสื่อหลายประเภท มาใช�ร�วมกันในการเรียนการสอน เช�น นําวีดิทัศน! มาสอนประกอบการบรรยายของผู�สอน โดยมีสื่อสิ่งพิมพ!ประกอบด�วย หรือสื่อประสมในชุดการเรียน หรือชุดการสอน การใช�สื่อประสม I นี้ ผู�เรียนและสื่อจะไม�มีปฏิสัมพันธ!โต�ตอบกัน และจะมีลักษณะเป�น " สื่อหลายแบบ " ตามศัพท!บัญญัติของราชบัณฑิตยสถาน (2) ส่ือประสมท่ีสามารถโต*ตอบกับผู*ใช*ได* (Interactivity Multimedia) กล�าวคือ โปรแกรมคอมพิวเตอร!สามารถจัดการกับข�อมูลภาพและเสียง ให�แสดงผลบนจอในลักษณะท่ีโต�ตอบกับผู�ใช�ได� ไม�ใช�การแสดงผลรวดเดียวจบ (run through) แบบวีดิทัศน! หรือภาพยนตร!และไม�ใช�การสื่ อ ส า ร ท า ง เ ดี ย ว ( one-way communication) คื อ ผู� ช ม เ ป� น ผู� ดู ฝ� า ย เ ดี ย ว อี ก ต� อ ไ ป - ส่ือประสม II( Multimedia II ) เป�นสื่อประสมท่ีใช�คอมพิวเตอร!เป�นฐานในการเสนอสารสนเทศ หรือการผลิตเพ่ือเสนอข�อมูลประเภทต�าง ๆ เช�น ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว ตัวอักษร และเสียง ในลักษณะของสื่อหลายมิติ โดยท่ีผู�ใช�มีการโต�ตอบกับสื่อโดยตรง โดยการใช�คอมพิวเตอร! ในสื่อประสม II ใช�ได�ในสองลักษณะ ดังนี้ 2.1 การใช�คอมพิวเตอร!เป�นฐานในการเสนอสารสนเทศโดยการควบคุมอุปกรณ!ร�วมต�าง ๆ ในการทํางาน เช�น ควบคุมการทํางานของอุปกรณ!ในสถานีงานสื่อประสม ควบคุมการเสนอภาพสไลด!มัลติวิชั่น และการเสนอในรูปแบบของแผ�นวีดิทัศน!เชิงโต�ตอบ (Interactive Video) การใช�ในลักษณะนี้คอมพิวเตอร!จะเป�นตัวกลางในการควบคุมการทํางานของเครื่องเล�นแผ�นวีดิทัศน! และเครื่องเล�นซีดีรอม ให�เสนอภาพนิ่ง และภาพเคลื่อนไหวตามเนื้อหาบทเรียนท่ีเป�นตัวอักษรท่ีปรากฏอยู�บนจอภาพคอมพิวเตอร! รวมถึงควบคุมเครื่องพิมพ!ในการพิมพ!ข�อมูลต�าง ๆ ของบทเรียน และผลการเรียนของผู�เรียนแต�ละคนด�วย 2.2 การใช�คอมพิวเตอร!เป�นฐานในการผลิตแฟdมสื่อประสมโดยการใช�โปรแกรมสําเร็จรูปต�าง ๆ เช�น Tool Book และ Author ware และนําเสนอแฟdมบทเรียนท่ีผลิตแล�วแก�ผู�เรียนโปรแกรมสําเร็จรูปเหล�านี้จะช�วยในการผลิตแฟdมบทเรียน ฝBกอบรม หรือการเสนองานในลักษณะของสื่อหลายมิติ โดยในแต�ละบทเรียนจะมีเนื้อหาในลักษณะของตัวอักษร ภาพกราฟ�ก ภาพกราฟ�กเคลื่อนไหว ภาพเคลื่อนไหวแบบวีดิทัศน!และเสียงรวมอยู�ในแฟdมเดียวกัน บทเรียนท่ีผลิตเหล�านี้ เรียกว�า " บทเรียนคอมพิวเตอร!ช�วยสอน " หรือ "CAI" การนําเสนอข�อมูลของสื่อประสม II นี้ จะเป�นไปในลักษณะสื่อหลายมิติท่ีเน�นเชิงโต�ตอบ ซ่ึงช�วยให�ผู�ใช�สามารถดูข�อมูลบนจอภาพได�หลายลักษณะ คือ ท้ังตัวอักษร ภาพ และเสียง และถ�าต�องการจะทราบข�อมูลมากกว�านี้ ผู�ใช�ก็เพียงแต�คลิกท่ีคําหรือสัญลักษณ!รูปท่ีทําเป�นปุ�มในการเชื่อมโยงก็จะมีภาพ เสียง หรือข�อความอธิบายปรากฏข้ึนมา

Page 16: บทที่ 1 พื้นฐานคอมพิวเตอร์กราฟิกelearning.psru.ac.th/courses/296/บทที่ 1 พื้นฐาน... · บทที่

~ 16 ~

เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชา คอมพิวเตอร!กราฟ�กและสือ่ประสม (วท.คพ.389)

(3) ประสมส่ือท่ีเปXนวัสดุ อุปกรณ�และกระบวนการเข*ารCวมกัน นํามาใช�สําหรับการเรียนการสอนปกติท่ัว ๆ ไปเช�น ชุดอุปกรณ! ชุดการเรียนการสอน บทเรียนแบบโปรแกรม โปรแกรมสไลด! ศูนย!การเรียน เป�นต�น สื่อประสมแต�ละชนิดท่ีจัดอยู�ในประเภทนี้มีหลักการและลักษณะเด�นแตกต�างกันออกไป คือ 3.1 สามารถให�ผู�เรียนได�ประสบการณ!ด�วยตนเอง คือ มีส�วนร�วมในการกระทําหรือปฏิบัติกิจกรรมเป�นการเร�าใจแก�ผู�เรียน เช�น ศูนย!การเรียน บทเรียนโปรแกรม ชุดอุปกรณ! เป�นต�น 3.2 สามารถให�ผู�เรียนได�เรียนรู�ตามความรู�ความสามารถ และความแตกต�างของแต�ละบุคคล เช�น บทเรียนโปรแกรม ชุดการสอน เป�นต�น 3.3 สามารถให�ผู�เรียนใช�เรียนด�วยตนเองหรือใช�เม่ือขาดครูได� เช�น บทเรียนแบบโปรแกรม ชุดการสอนรายบุคคล เป�นต�น 3.4 สามารถให�ผู� เรียนได�รับผลตอบกลับทันที และได�รับความรู�สึกภาคภูมิใจในความสําเร็จ เช�น ศูนย!การเรียน การสอนแบบจุลภาค เป�นต�น 3.5 สามารถใช�ประกอบการศึกษาทางไกลให�ดําเนินไปอย�างมีประสิทธิภาพ เช�น ชุดการสอนทางไกลสําหรับการศึกษาเพ่ือมวลชน เป�นต�น 3.6 สามารถใช�ส�งเสริมสมรรถภาพของครู เช�น ชุดการสอนประกอบคําบรรยาย เป�นต�น 3.7 สามารถให�ผู�เรียนได�ฝBกความรับผิดชอบและการทํางานเป�นกลุ�ม เช�น ศูนย!การเรียน กลุ�มสัมพันธ! เป�นต�น (4) ประสมส่ือประเภทฉาย เป�นการประสมโดยมีข�อจํากัดท่ีความสามารถและคุณสมบัติเฉพาะตัวของอุปกรณ!เครื่องฉายเป�นสําคัญ เช�น สไลด!ประกอบเสียงและวีดิทัศน!ประกอบเสียง สไลด!และแผ�นโปร�งใส วีดิโออิมเมจ เป�นต�น และฉายบนจอต้ังแต� 2 จอข้ึนไป เป�นการใช�ฉายกับผู�ชมเป�นกลุ�มสื่อประสมประเภทฉายนี้ สามารถใช�ประกอบการศึกษาและการเรียนการสอนโดยเฉพาะสําหรับผู�เรียนท่ีชอบการเรียนรู�จากการอ�านภาพ การเสนอด�วยสื่อประเภทฉายนี้แม�ว�าในบางครั้งราคาการผลิตอาจจะสูงและการผลิตซับซ�อนกว�าการผลิตสื่อประสมบางชนิดในประเภทแรก แต�ผลท่ีได�รับจากการเสนอด�วยสื่อประสมประเภทฉายให�ผลตรงท่ีมีคุณสมบัติเฉพาะตัวท่ีสื่ออ่ืนไม�สามารถทําได�คือผลในความรู�สึกอารมณ!และสุนทรียภาพแก�ผู�ชม ท้ังยังช�วยดึงดูดความสนใจให�ผู�ชมได�ติดตามอย�างต่ืนตาต่ืนใจและมีประสิทธิภาพเป�นการช�วยในการเรียนการสอน สื่อประสมประเภทนี้มีคุณสมบัติเหมาะแก�การนํามาใช�ในการเรียนการสอน ได�แก� 4.1 ใช�เม่ือเสื่อมีการเปรียบเทียบความคล�ายคลึงกัน เป�นการง�ายสําหรับผู�เรียน ในการสังเกตและเรียนรู�สิ่งท่ีคล�ายคลึงกันจากสื่อต�าง ๆ เม่ือภาพของสิ่งนั้น ๆ ปรากฏบนจอพร�อมกัน 4.2 ใช�สอนให�เห็นความแตกต�าง และการตัดกันเม่ือภาพหลาย ๆ ภาพปรากฏพร�อมๆ กัน 4.3 ใช�มองสิ่งหนึ่งสิ่งใดจากมุมท่ีต�างกัน เช�น ภาพสถานท่ีหรืออาคารสถานท่ีโดยภาพปรากฏพร�อมกันจากการมองในแง�มุมท่ีต�างกัน

Page 17: บทที่ 1 พื้นฐานคอมพิวเตอร์กราฟิกelearning.psru.ac.th/courses/296/บทที่ 1 พื้นฐาน... · บทที่

~ 17 ~

เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชา คอมพิวเตอร!กราฟ�กและสือ่ประสม (วท.คพ.389)

4.4 ใช�แสดงภาพซ่ึงดําเนินเป�นข้ันตอน และสามารถเลียนแบบการเคลื่อนไหวได� 4.5 ใช�แสดงสิ่งท่ีเกิดข้ึนตามลําดับก�อนหลัง เกิดความต�อเนื่องท่ีดีมีความสัมพันธ!กันระหว�างภาพและเวลา ประกอบกับการจัดภาพและจอให�มีขนาดต�างกันเป�นการง�ายต�อการจดจํา 4.6 ใช�เน�นจุดใดจุดหนึ่งโดยตรงได� โดยการกําหนดจุดสนใจท่ีต�องการให�อยู�ในตําแหน�งและรูปแบบ ท่ีต� าง กันหรืออาจ ทําโดยการใช�ภาพ ท่ี ซํ้ าๆ กับปรากฏบนจอพร�อม ๆ กัน 4.7 ใช�ยืดเวลาการเสนอจุดหรือส�วนท่ีสําคัญของเนื้อหา เช�น บางครั้งภาพท่ีสําคัญสามารถปรากฏอยู�บนจอต�อไปขณะท่ีรายละเอียดหรือส�วนท่ีเก่ียวข�องได�เปลี่ยนไปในจอถัดไป 4.8 ใช�แสดงการเคลื่อนไหว โดยใช�หลักการฉายภาพนิ่งหลาย ๆ ภาพต�อเนื่องกันอย�างรวดเร็วหรือใช�ความสามารถของวีดิทัศน! 4.9 ใช�รวมสื่อภาพนิ่ง สไลด! และวีดิทัศน! ในขณะท่ีแสดงภาพนิ่งอาจจะมีการฉายวีดิทัศน!ประกอบบนจอถัดไป 4.10 ใช�แสดงภาพท่ีเห็นได�กว�าง (Panorama) บนจอท่ีติดกัน 4.11 ลักษณะพิเศษประการสุดท�ายท่ีเด�นของสื่อประสมประเภทนี้ คือ สามารถแสดงเนื้อหาได�มากในระยะเวลาท่ีจํากัด ลักษณะพิเศษนี้ผู�สอนอาจใช�สื่อประสมนี้ในการทําเป�นบทนําหรือบทสรุป (5) ส่ือประสมระบบการส่ือสารกับเทคโนโลยีสารสนเทศโดยการใช*คอมพิวเตอร�รCวมกับอุปกรณ�อ่ืน เช�น เครื่องเล�นซีดี - รอม เครื่องเสียงระบบดิจิตอล เครื่องเล�นแผ�นวีดิทัศน! เป�นต�น เพ่ือให�คอมพิวเตอร!สามารถทํางานคํานวณค�นหาข�อมูล แสดงภาพวีดิทัศน!และมีเสียงต�าง ๆ การทํางานของสื่อหลาย ๆ อย�างในสื่อประสมประกอบด�วยการทํางานของระบบเสียง (Sound) ภาพเคลื่อนไหว (Animation) ภาพนิ่ง (Still Images) วีดิทัศน! (Video) และไฮเปอร!เท็กซ! (Hypertext) ซ่ึงข�อมูลท่ีใช�ในไฮเปอร!เท็กซ!จะแสดงเนื้อหาหลักของเรื่องราวท่ีกําลังอ�านขณะนั้นโดยเน�นเนื้อหา ถ�าคําใดสามารถเชื่อมจากจุดหนึ่งในเนื้อหาไปยังเนื้อหาอ่ืนได�ก็จะทําเป�นตัวหนาหรือขีดเส�นใต�ไว� เม่ือผู�ใช�หรือผู�อ�านต�องการจะดูเนื้อหาก็สามารถใช�เมาส!คลิกไปยังข�อมูลหรือคําเหล�านั้นเพ่ือเรียกมาดูรายละเอียดของเนื้อหาได� สื่อประสมในลักษณะนี้นับว�าเป�นเทคโนโลยีใหม� กําลังได�รับความสนใจอย�างกว�างขวาง เพราะเป�นเทคโนโลยีท่ีทําให�เราสามารถใช�คอมพิวเตอร!ในการแสดงข�อมูลได�หลากหลายรูปแบบ ดังนั้น สื่อประสมจะต�องมี คุณสมบัติสําคัญประการหนึ่ ง คือ ความสามารถในการโต�ตอบ (Interactivity) อุปกรณ!ท่ีตอบสนองความสามารถนี้ได�คือคอมพิวเตอร!นั่นเอง

Page 18: บทที่ 1 พื้นฐานคอมพิวเตอร์กราฟิกelearning.psru.ac.th/courses/296/บทที่ 1 พื้นฐาน... · บทที่

~ 18 ~

เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชา คอมพิวเตอร!กราฟ�กและสือ่ประสม (วท.คพ.389)

1.8 ประโยชน�ของส่ือประสม (1) ง�ายต�อการใช�งาน โดยส�วนใหญ�เป�นการนําสื่อประสมมาประยุกต!ใช�งานร�วมกับโปรแกรม

คอมพิวเตอร!เพ่ือเพ่ิมผลผลิต ดังนั้นผู�พัฒนาจึงจําเป�นต�องมีการจัดทําให�มีรูปลักษณ!ท่ีเหมาะสม และง�ายต�อการใช�งานตามกลุ�มเปd าหมาย เพ่ือประโยชน!ในการเพ่ิมประสิทธิภาพในการ ปฏิบัติงาน

(2) สัมผัสได�ถึงความรู�สึก สิ่งสําคัญของการนําสื่อประสมมาประยุกต!ใช�งานคือเพ่ือให�ผู�ใช�สามารถ รับรู�ได�ถึงความรู�สึกจากการสัมผัสกับสิ่งต�างๆ ท่ีปรากฏอยู�บนจอภาพ

(3) เพ ิ่มขีดความสามารถในการเรียนรู� สื่อท่ีนํามาใช�เพ่ิมความรู�ให�กับผู�ใช� (4) เข�าใจเนื้อหามากยิ่งข้ึน สามารถท่ีจะสื่อความหมายและเรื่องราวต�าง ๆ ได� (5) คุ�มค�าในการลงทุน การใช�โปรแกรมด�านสื่อประสมจะช�วยลดระยะเวลา ไม�ว�าจะเป�นเรื่อง

ของ การเดินทาง การจัดหาวิทยากร การจัดหาสถานท่ี การบริหารตารางเวลา และการเผยแพร� ช�องทางเพ่ือนําเสนอสื่อ

1.9 เครื่องมือท่ีใช*สร*างส่ือประสม 1.9.1 โปรแกรมท่ีนิยมใช*ในการสร*างข*อความ - Microsoft Office - Adobe Photoshop 1.9.2 โปรแกรมท่ีใช*ในการสร*างภาพกราฟ�ก - Adobe Photoshop - Adobe Illustrator 1.9.3 โปรแกรมท่ีใช*ในการสร*างภาพเคล่ือนไหว - Adobe Flash - 3Ds Max - Maya 1.9.4 โปรแกรมท่ีใช*ในการบันทึกเสียง และตัดตCอเสียง - Adobe Audio - Cool Edit Pro 1.9.5 โปรแกรมท่ีนิยมใช*ในการตัดตCอไฟล�วีดีโอ - Sony Vegas - Adobe Premier - Ulead Video Studio - Windows Movie Maker