View
2
Download
0
Embed Size (px)
THEORY OF STRUCTURES
By
Assoc. Prof. Dr. Sittichai Seangatith SCHOOL OF CIVIL ENGINEERING
INSTITUTE OF ENGINEERING SURANAREE UNIVERSITY OF TECHNOLOGY
บทที่ 8 Analysis of Indeterminate Structures by Force Method
วัตถุประสงค 1. เพื่อใหเขาใจถึงขอไดเปรียบและเสียเปรียบระหวางโครงสรางแบบ
statically determinate และแบบ statically indeterminate 2. เพื่อใหเขาใจและสามารถวิเคราะหโครงสราง statically
indeterminate โดยวิธี force method: method of consistent deformation และ method of least work ไดอยางถูกตอง
8.1 Statically Indeterminate Structures โครงสราง statically indeterminate เปนโครงสรางที่มีผลรวมของ จํานวนแรงปฏกิิริยา (reactions) และจํานวนแรงและโมเมนตภายใน (internal loads) ทีไ่มทราบคามากกวาจํานวนสมการความสมดุลของ โครงสรางและเปนโครงสรางที่มีเสถียรภาพ
“จํานวนแรงและโมเมนตที่ไมทราบคามากกวาจํานวนสมการความสมดุล”
โครงสราง โดยเฉพาะโครงสราง คอนกรีตเสริมเหล็ก มักเปนโครงสราง statically indeterminate เนื่องจากการ กอสราง
โครงสรางเหล็กทีม่ีจุดเชื่อมตอแบบ rigid joint เปนโครงสราง statically indeterminate
ขอดขีองโครงสราง statically indeterminate 1. ใชวัสดุนอยกวาและมีการโกงตัวนอยกวา
2. มีการกระจายแรงภายในที่ดกีวา แตการกระจายแรงภายในจะทําใหโครงสราง แตกราวได ในกรณีที่โครงสรางมีการทรุดตัวไม เทากนั (differential settlement)
3. ทาํใหเกดิเทคนิคการกอสรางแบบ cantilever ขอเสียของโครงสราง statically indeterminate
1. การวิเคราะหและการออกแบบมีความยุงยากมากกวา 2. ในบางกรณี คากอสราง (จุดเชื่อมตอและฐานราก) มีราคาแพงกวา
3. การทรุดตวัที่ไมเทากัน การเปลี่ยนแปลงของอุณหภูม ิและความ ผิดพลาดทีเ่กดิขึ้นในการกอสรางจะกอใหเกดิหนวยแรงขึ้นภายใน โครงสราง statically indeterminate
ตัวอยาง: โครงสราง statically determinate ไมมหีนวยแรงภายในเกิดขึ้นเนื่องจากการ ทรุดตัวที่ไมเทากันของจุดรองรับ
4. การเปลี่ยนแปลงรูปแบบของแรงกระทําตอโครงสรางอาจจะทําใหเกดิ stress reversal ขึ้นในโครงสราง statically indeterminate ไดงายกวาใน โครงสราง statically determinate
Method of Analysis โครงสราง statically determinate ถูกวิเคราะห ไดโดยใชสมการความสมดุลเพียงอยางเดยีว
โครงสราง statically indeterminate ไมสามารถ ถูกวิเคราะหไดโดยใชสมการความสมดุลเพียง อยางเดียว
โดยตองใชเงื่อนไขความสอดคลอง (compatibility conditions) และความสัมพันธ ระหวางแรงและการเปลีย่นตําแหนง (force- displacement relationship) ชวยในการวิเคราะห
0;F+ ↑ =∑ Equilibrium Equation;
0B AF F P+ − =
Compatibility Condition; / 0A Bδ =
Force-Displacement Relationship; FL AE
δ =
0A AC B CBF L F L AE AE
− =
CB A
LF P L
= ACB LF P L
=
เนื่องจากแรงที่ไดมีคาเปนบวก ดังนั้น ทิศทางของแรงที่สมมุติขึน้เปนทิศทางที่เกิดขึ้นจริง
Displacement Method of Analysis Force Method of Analysis จาก principle of superposition
Compatibility Condition; 0 P Bδ δ= −
Force-Displacement Relationship;
AC P PL AE
δ = BB F L AE
δ =
0 AC BPL F L AE AE
= −
AC B
LF P L
=
Equilibrium Equation;
0;yF+ ↑ =∑ 0AC A
LP F P L
+ − =
CB A
LF P L
= equilibrium equations และ force-
displacement relationships displacementsDisplacement
method
compatibility equations และ force- displacement relationships
forcesForce method สมการทีใ่ชในการหาคําตอบUnknownวิธีการ
8.2 วิธีเปลี่ยนรูปรางตอเนื่อง (method of consistent deformation)
1. เลือก reaction By เปนแรงเกินจําเปน (redundant force)
โครงสราง statically indeterminate 1 degree
2. Compatibility equation ทีจ่ดุ B: 0 B BB′= ∆ − ∆+ ↓
BB y BBB f′∆ =
0 B y BBB f= ∆ −
B y
BB
B f ∆
=
แทนจุดที่หา deflection แทนจุดที่แรงเกนิจําเปนกระทํา
3. หาคา deflection และแทนคาหา By ……….
กาํหนดใหคานยาว L และแรง P กระทาํที่ระยะ L/2 จากจุดรองรับ A จงใช วิธีเปลี่ยนรูปรางตอเนื่องวิเคราะหคานเพื่อเขียน shear และ moment diagram และหาสมการของการโกงตัวของคานที่จดุทีแ่รงกระทํา
EXAMPLE
B y
BB
B f ∆
=
3. หาคา deflection และหาคาแรงเกนิจําเปน 2 35 5
8 6 48B PL PLL EI EI
⎛ ⎞∆ = =⎜ ⎟ ⎝ ⎠
2 32 2 3 3BB L Lf L EI EI
⎛ ⎞= =⎜ ⎟ ⎝ ⎠
5 16y PB =
1. เลือก reaction By เปนแรงเกนิจําเปน 2. Compatibility equation ทีจ่ดุ B:
4. ใชสมการสมดุลหาคาแรง ปฏกิิริยา Ay และ MA และ เขียน shear diagram และ moment diagram ของคาน
หาสมการของการโกงตัวใน แนวดิ่งที่จุด C
3
' 7
768C C PLM EI
= ∆ = −
5. ราง elastic curve ของคาน
MA
Hinge/ Pin
1. เลือก reaction MA เปนแรงเกินจําเปน โครงสราง statically indeterminate 1 degree
2. Compatibility equation ทีจ่ดุ A:
0 A A AAMθ α= +
AA
A AM α
θ −=
0 A AAθ θ′= + แทนจุดที่หา slope
แทนจุดที่แรงเกนิจําเปนกระทํา
3. หาคา slope และแทนคาหา MA 4. เขียน V- และ M-diagram ของคาน 5. ราง elastic curve ของคาน
+
AA
A AM α
θ −=
L EI
EI PLM A )1(
3 16
2
= PL 16 3
=
ใชสมการสมดุลหาคาแรง ปฏกิิริยา Ay และ By
กาํหนดใหคานยาว L และแรง P กระทาํที่ระยะ L/2 จากจุดรองรับ A จงใช วิธีเปลี่ยนรูปรางตอเนื่องวิเคราะหคานเพื่อเขียน shear และ moment diagram และ