81
บทที่4 ผลการดําเนินงาน การดําเนินงานตามโครงการวิจัยและรูปแบบการพัฒนาครูและผูบริหารสถานศึกษาแบบใชโรงเรียน เปนฐานในโรงเรียนขนาดเล็ก : กรณีศึกษาจังหวัดนครศรีธรรมราช ในระยะที่ 1 และระยะที่ 2 ปรากฏผล ตามหัวขอที่นําเสนอดังนี้คือ 1) ผลการวิเคราะหบริบทและความตองการจําเปนในการพัฒนาครูและ ผูบริหารสถานศึกษาในโรงเรียนขนาดเล็ก 2) ผลการสังเคราะหองคความรูดานการพัฒนาครูและผูบริหาร สถานศึกษาแบบใชโรงเรียนเปนฐาน และ 3) รูปแบบการพัฒนาครูและผูบริหารสถานศึกษาและผลการ ตรวจสอบรูปแบบของแตละโรงเรียน 4) การทดลองใชรูปแบบ 5) ผลการทดลองใชรูปแบบ และ 6) ผลการ ถอดบทเรียนจากการทดลองใชรูปแบบ ตอนที่ 1 บริบทและความตองการจําเปนในการพัฒนาครูและผูบริหารสถานศึกษาของ โรงเรียนขนาดเล็ก จากการศึกษาบริบทและความตองการจําเปนในการพัฒนาของโรงเรียนดวยการศึกษาเอกสาร การ เปดเวทีสนทนากลุมกับผูเกี่ยวของ คือ ผูบริหารสถานศึกษา ครู กรรมการสถานศึกษา ผูปกครอง/ชุมชน ผูนําชุมชน เปนตน และการรวบรวมโดยใชแบบสอบถามตามความตองการพัฒนาและวิธีการพัฒนาตนเอง ของครูและผูบริหารสถานศึกษา คณะผูวิจัยสังเคราะหผลการศึกษาดังกลาวซึ่งจะนําเสนอในหัวขอ ประกอบดวย 1) ขอมูลพื้นฐานของโรงเรียนและชุมชน และ 2) ความตองการจําเปนในการพัฒนาของครู และผูบริหาร ดังนี1. ขอมูลพื้นฐานของโรงเรียนและชุมชน ผูวิจัยสังเคราะหขอมูลพื้นฐานของโรงเรียนที่เปนพื้นที่วิจัย 5 โรงเรียน มีขอมูลดานบุคลากร นักเรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และสภาพชุมชน นําเสนอไดดังตารางที่ 4.1-4.4

บทที่4 ผลการดําเนินงานedu.nstru.ac.th/thai/research/fileresearch/4_250313_100510.pdf80 ตารางที่4.1 จํานวนครูของแต

  • Upload
    others

  • View
    5

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

บทที่ 4ผลการดําเนินงาน

การดําเนินงานตามโครงการวิจัยและรูปแบบการพัฒนาครูและผูบริหารสถานศึกษาแบบใชโรงเรียนเปนฐานในโรงเรียนขนาดเล็ก : กรณีศึกษาจังหวัดนครศรีธรรมราช ในระยะท่ี 1 และระยะท่ี 2 ปรากฏผลตามหัวขอท่ีนําเสนอดังนี้คือ 1) ผลการวิเคราะหบริบทและความตองการจําเปนในการพัฒนาครูและผูบริหารสถานศึกษาในโรงเรียนขนาดเล็ก 2) ผลการสังเคราะหองคความรูดานการพัฒนาครูและผูบริหารสถานศึกษาแบบใชโรงเรียนเปนฐาน และ 3) รูปแบบการพัฒนาครูและผูบริหารสถานศึกษาและผลการตรวจสอบรูปแบบของแตละโรงเรียน 4) การทดลองใชรูปแบบ 5) ผลการทดลองใชรูปแบบ และ 6) ผลการถอดบทเรียนจากการทดลองใชรูปแบบ

ตอนที่ 1 บริบทและความตองการจําเปนในการพัฒนาครูและผูบริหารสถานศึกษาของโรงเรียนขนาดเล็ก

จากการศึกษาบริบทและความตองการจําเปนในการพัฒนาของโรงเรียนดวยการศึกษาเอกสาร การเปดเวทีสนทนากลุมกับผูเก่ียวของ คือ ผูบริหารสถานศึกษา ครู กรรมการสถานศึกษา ผูปกครอง/ชุมชนผูนําชุมชน เปนตน และการรวบรวมโดยใชแบบสอบถามตามความตองการพัฒนาและวิธีการพัฒนาตนเองของครูและผูบริหารสถานศึกษา คณะผูวิจัยสังเคราะหผลการศึกษาดังกลาวซึ่งจะนําเสนอในหัวขอประกอบดวย 1) ขอมูลพ้ืนฐานของโรงเรียนและชุมชน และ 2) ความตองการจําเปนในการพัฒนาของครูและผูบริหาร ดังนี้

1. ขอมูลพื้นฐานของโรงเรียนและชุมชนผูวิจัยสังเคราะหขอมูลพ้ืนฐานของโรงเรียนท่ีเปนพ้ืนท่ีวิจัย 5 โรงเรียน มีขอมูลดานบุคลากร

นักเรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และสภาพชุมชน นําเสนอไดดังตารางท่ี 4.1-4.4

80

ตารางท่ี 4.1 จํานวนครูของแตละโรงเรียนจําแนกตามสถานภาพและระดับการศึกษา(ปการศึกษา 2554)

จากตารางท่ี 4.1 พบวา โรงเรียนท้ัง 5 โรงมีจํานวนบุคลากรแตละโรงเรียนแตกตางกันมาก ตั้งแต5-16 คน บุคลากรเปนขาราชการและอัตราจาง มีวุฒิการศึกษาตั้งแตต่ํากวาระดับปริญญาตรี ถึงระดับปริญญาโท โดยสวนใหญเปนขาราชการและมีวุฒิการศึกษาระดับปริญญาตรี จากขอมูลท่ีปรากฏแสดงใหเห็นวาโรงเรียนขนาดเล็กท่ีเปนพ้ืนท่ีวิจัยมีบุคลากรท่ีแตกตางกันท้ังจํานวนครู สถานภาพ และระดับการศึกษา จึงอาจนําไปสูสภาพและปญหาการบริหารจัดการและคุณภาพของผูเรียนท่ีแตกตางกัน

โรงเรียน

จํานวนครู (รวมผูบริหาร)สถานภาพ ระดับการศึกษา รวม

ขาราชการอัตราจาง

ต่ํากวาป.ตรี

ป.ตรี ป.โท

1. โรงเรียนบานทุงชน 16 - - 14 2 162. โรงเรียนบานอินทนิน 9 - 2 6 2 93. โรงเรียนบานน้ําขาว 4 1 - 4 1 54. โรงเรียนวัดสโมสร 10 - - 9 1 105. โรงเรียนบานทุงขันหมาก 3 2 - 3 2 5

81

ตารางท่ี 4.2 จํานวนนักเรียนและช้ันท่ีเปดสอนของโรงเรียนในพื้นท่ีวิจัย (ปการศึกษา 2554)

โรงเรียน ระดับช้ันปท่ีเปดสอน

รวม1 2 3 4 5 6

1. โรงเรียนบานทุงชน อนุบาล 16 10 26

234ประถมศึกษา 33 21 19 17 18 27 135มัธยมศึกษา 23 27 23 73

2. โรงเรียนบานอินทนิน อนุบาล 14 7 21123

ประถมศึกษา 16 18 16 12 17 23 1023. โรงเรียนบานน้ําขาว อนุบาล 11 8 19

73ประถมศึกษา 10 4 7 9 10 14 54

4. โรงเรียนวัดสโมสร อนุบาล 12 19 31126

ประถมศึกษา 15 17 14 19 15 15 955.โรงเรียนบานทุงขันหมาก อนุบาล 12 9 21

70ประถมศึกษา 8 7 6 9 12 7 49

จากตารางท่ี 4.2 พบวาโรงเรียนขนาดเล็กท่ีเปนพ้ืนท่ีวิจัยท้ัง 5 โรง แบงเปน 2 กลุมตามระดับชั้นท่ีเปดสอน กลุมแรกเปดสอนตั้งแตระดับชั้นอนุบาลถึงประถมศึกษา จํานวน 4 โรง มีจํานวนนักเรียนรวมทุกระดับ จําแนกเปน 2 กลุม คือ ต่ํากวา 100 คน และมากกวา 100 คน แตไมเกิน 200 คน สวนกลุมท่ีสองเปดสอนตั้งแตระดับอนบุาลถึงมัธยมศึกษาตอนตน มี 1 โรง จํานวนนักเรียนรวมทุกระดับมากกวา 200 คนแตไมเกิน 300 คน เม่ือพิจารณาโดยภาพรวมชี้ใหเห็นวาโรงเรียนขนาดเล็กแตละโรงมีจํานวนนักเรียนและระดับชั้นท่ีเปดสอนแตกตางกันและจํานวนนักเรียนรวมทุกระดับชั้นแตกตางกัน

82

ตารางท่ี 4.3 ทักษะการคิดและผลการทดสอบระดับชาติข้ันพื้นฐาน (O-NET) ระดับประถมศึกษาปการศึกษา 2553

หนวยงาน

ทักษะการคิด(รอยละของนักเรียน

ทุกระดับชั้น)

ผลการทดสอบระดับชาติขั้นพ้ืนฐานชั้น ป.6

ภาษา

ไทย

สังคม

ศึกษา

ภาษา

ตางป

ระเทศ

คณิตศ

าสตร

วิทยา

ศาสต

ดี พอ ใชปรับปรุง

คะแนนระดับประเทศ 31.22 47.07 20.99 34.85 41.56

คะแนนระดับจังหวัด 31.53 48.39 17.19 34.64 41.74

คะแนนระดับสํานักงานเขตพื้นที่ 30.61 46.11 20.23 33.96 40.43

1. โรงเรียนบานทุงชน 54.64 31.82 14.14 28.63 41.93 8.96 29.33 38.70

2.โรงเรียนบานอินทนิน 69.61 19.61 10.78 44.94 45.59 28.82 48.94 53.82

3. โรงเรียนบานน้ําขาว 10 40 50 30.86 52.29 9.86 31.57 35.18

4. โรงเรียนวัดสโมสร n/a n/a n/a n/a n/a n/a n/a n/a

5. โรงเรียนบานทุงขันหมาก n/a n/a n/a n/a n/a n/a n/a n/a

จากตารางท่ี 4.3 พบวา ความสามารถดานทักษะการคิดของนักเรียนในโรงเรียนท้ัง 5 โรง มีผลทักษะการคิด จํานวน 3 โรง จําแนกเปน 2 กลุม คือ โรงเรียนบานทุงชนและโรงเรียนบานอินทนินมีรอยละของนักเรียนท่ีมีทักษะการคิดอยูในระดับดีมากกวาระดับพอใชถึงปรับปรุง และอีกกลุมหนึ่งคือ โรงเรียนบานน้ําขาว นักเรียนสวนใหญมีทักษะการคิดอยูในระดับพอใชถึงปรับปรุง

ผลการทดสอบระดับชาติข้ันพ้ืนฐาน ชั้นประถมศึกษาปท่ี 6 พบวา โรงเรียนบานอินทนินไดคะแนนสูงกวาคะแนนระดับเขตพ้ืนท่ี ระดับจังหวัด และระดับประเทศ ทุกรายวิชา ยกเวน วิชาสังคมศึกษาโรงเรียนบานน้ําขาวไดคะแนนรายวิชาสังคมศึกษาสูงกวาคะแนนระดับเขตพ้ืนท่ี ระดับจังหวัด และระดับประเทศ สวนรายวิชาอ่ืน ๆ ต่ํากวาเกณฑทุกระดับ โรงเรียนบานทุงชนไดคะแนนทุกรายวิชาต่ํากวาเกณฑทุกระดับ

เปนท่ีนาสังเกตวาโรงเรียนบานทุงชนซึ่งเปนโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษามีคะแนนการทดสอบระดับประเทศต่ํากวาเกณฑมาตรฐานแตนักเรียนสวนใหญมีคะแนนความสามารถดานการคิดอยูในระดับดี

83

ตารางท่ี 4.4 ทักษะการคิดและผลการทดสอบระดับชาติข้ันพื้นฐาน (O-NET) ระดับมัธยมศึกษาตอนตน ปการศึกษา 2553

หนวยงานผลการทดสอบระดับชาติข้ันพื้นฐานช้ัน ม.3

ภาษาไทย สังคมศึกษาภาษาตางประเทศ

คณิตศาสตร วิทยาศาสตร

คะแนนระดับประเทศ 43.68 41.79 11.79 22.32 25.46

คะแนนระดับจังหวัด 43.09 41.57 14.67 23.45 28.99

คะแนนระดับสํานักงานเขตพ้ืนท่ี 42.89 40.85 15.80 24.22 29.29

โรงเรียนบานทุงชน 42.80 40.85 16.19 24.18 29.17

จากตารางท่ี 4.4 พบวา ผลการทดสอบระดับชาติข้ันพ้ืนฐานชั้น ม.3 ของโรงเรียนบานทุงชนต่ํากวาเกณฑระดับจั งหวัดและระดับประเทศ คือ คือ วิชาภาษาไทย สั งคมศึกษา แตคะแนนวิชาภาษาตางประเทศสูงกวาเกณฑทุกระดับ สวนวิชาคณิตศาสตรและวิทยาศาสตรไดคะแนนสูงกวาระดับจังหวัดและระดับประเทศแตต่ํากวาระดับเขตพ้ืนท่ี ดังนั้นจึงมีความจําเปนตองยกระดับความสามารถในรายวิชาตาง ๆ ดังกลาวใหไดเทียบเทาหรือสูงกวาเกณฑทุกระดับ เพ่ือสรางความเชื่อม่ันในคุณภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียนขนาดเล็กของชุมชน

นอกจากนีผ้ลการประเมินทักษะการคิดของนักเรียนของสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 4 พบวาในระดับมัธยมศึกษาปท่ี 1 และมัธยมศึกษาปท่ี 3 อยูในระดับพอใช สวนมัธยมศึกษาปท่ี 2 อยูในระดับดี สอดคลองกับผลการประเมินของสํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) ท่ีมีขอเสนอแนะใหโรงเรียนจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใชโครงงานเพ่ือพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะหของผูเรียน

ผลการศึกษาสภาพแวดลอมชุมชนรอบโรงเรียนขนาดเล็กท้ัง 5 โรง พบวา โรงเรียนตั้งอยูในชุมชนก่ึงเมือง 3 โรงเรียน คือ โรงเรียนบานอินทนิน โรงเรียนวัดสโมสร และโรงเรียนบานทุงชน สวนอีก 2โรงเรียน คือ โรงเรียนบานน้ําขาว และโรงเรียนบานทุงขันหมาก ตั้งอยูในพ้ืนท่ีสวนยางพาราและปาลมน้ํามัน มีประชากรไมหนาแนน โรงเรียนอยูหางไกลจากแหลงเรียนรูท่ีเปนหนวยงาน/ องคกรภายนอกระดับอําเภอหรือจังหวัด ทําใหมีขอจํากัดในการพัฒนาและสงเสริมการเรียนรูของผูเรียน มีเขตพ้ืนท่ีบริการไมเกิน3 หมูบาน ผูปกครองมีรายไดไมแนนอน ผูปกครองสวนหนึ่งสงลูกไปเรียนในเมืองเพราะมองวาโรงเรียนในเมืองมีคุณภาพมากกวาโรงเรียนในชุมชน ยกเวนผูปกครองของนักเรียนโรงเรียนบานน้ําขาวและโรงเรียนบานทุงขันหมากสวนหนึ่งมีอาชีพทําสวนยางพาราจะไมมีเวลาไปสงลูกหลานในตอนเชาจึงใหลูกเรียนในโรงเรียนใกลบาน อีกท้ังชุมชนเห็นความสําคัญในการศึกษา รักและหวงแหนโรงเรียน ไมตองการใหโรงเรียน

84

ถูกยุบ กรรมการสถานศึกษาเปนผูนําชุมชน มีสวนรวมในการกอตั้งและสรางโรงเรียน มีความเชื่อม่ันและใหความรวมมือกับโรงเรียนเปนอยางดี ตองการใหโรงเรียนจัดการเรียนสอนไดมีคุณภาพอยางโรงเรียนท่ีอยูในเมือง เชน การจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ และคอมพิวเตอร เปนตน

2. ความตองการจําเปนในการพัฒนาของครูและผูบริหารผูวิจัยนําเสนอผลการวิเคราะหความตองการจําเปนในการพัฒนาตนเองของครูและผูบริหาร

สถานศึกษา จําแนกตามประเด็นและวิธีการพัฒนาสรุปได ดังนี้2.1 ความตองการจําเปนในการพัฒนาตนเองของครู

2.1.1 ประเด็นความตองการพัฒนาของครู มีดังนี้1) การสอนแบบโครงงาน โดยเฉพาะการสอนแบบโครงงานเพ่ือพัฒนาการคิดของ

ผูเรียน2) การวิจัยในชั้นเรียน/การวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน3) การจัดการเรียนรูเพ่ือพัฒนาการคิดของผูเรียนและการจัดกิจกรรมสงเสริม

ความคิดของผูเรียนการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ (ICT) ในการจัดการเรียนการสอน4) การจัดการเรียนรูใหม ๆ ในกลุมสาระการเรียนรูตาง ๆ เชน กลุมสาระการ

เรียนรูภาษาตางประเทศ (ภาษาอังกฤษ) พลศึกษา คอมพิวเตอร ภาษาไทย เชน วิธีสอนอานทํานองเสนาะและทักษะการเขียน นอกจากนี้ครูปฐมวัยตองการอบรมวิธีการจัดประสบการณการเรียนรูดวยดนตรีและนาฏศิลป

5) การพัฒนาสื่อ/นวัตกรรมการจัดการเรียนรู เชน หนังสือประกอบการเรียน6) การจัดการเรียนรูและการจัดกิจกรรมเพ่ือพัฒนาคุณธรรมแลคุณลักษณะท่ีพึง

ประสงคตามหลักสูตรของผูเรียน เชน ความรับผิดชอบ ความมีระเบียบวินัย7) การจัดกิจกรรมคายคุณธรรมและคายการเรียนรูกลุมสาระการเรียนรูตาง ๆ8) การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง9) ระบบดูแลชวยเหลือนักเรียน

10) จิตวิทยาการเรียนรู เชน วิธีการเสริมแรงแบบตาง ๆ2.1.2 วิธีการพัฒนาตนเองของครู

1) การอบรม2) การอบรมเชิงปฏิบัติการโดยใชวิทยากรท่ีเชี่ยวชาญและสรางความศรัทธาใหครู

ได และเปนการอบรมท่ีลงมือปฏิบัติจริง3) การศึกษาดูงานแบบปฏิบัติท่ีเปนเลิศ (Best practice) ตามประเด็นท่ีครู

ตองการ4) การแลกเปลี่ยนเรียนรูโดยใชเครือขายการเรียนรูบุคคลและเครือขาย

อินเทอรเน็ต

85

5) เรียนรูดวยตนเอง เชน การศึกษาจากเอกสารและสื่อการศึกษา ตัวอยางการสอนของครูตนแบบ (master teacher) เปนตน

6) การฝกปฏิบัติกับผูเชี่ยวชาญในเรื่องท่ีครูและผูบริหารในโรงเรียนไมมีความรูหรือทักษะท่ีปฏิบัติไดดวยตนเอง

7) ใหพ่ีเลี้ยงเปนท่ีปรึกษาตลอดการดําเนินงานในลักษณะพาทําและมีการนิเทศติดตามอยางตอเนื่อง (coaching/ mentoring)

8) เรียนรูจากศูนยเรียนรูเปนกลุมสาระการเรียนรู9) การเขาคายการเรียนรูตามกลุมสาระการเรียนรู

2.2 ความตองการจําเปนในการพัฒนาตนเองของผูบริหาร2.2.1 ประเด็นความตองการพัฒนาของผูบริหารสถานศึกษาในโรงเรียนขนาดเล็ก มีดังนี้

1) การนิเทศติดตามท่ีใชเทคนิค/ นวัตกรรม และการนิเทศแบบมีสวนรวม2) การสอนแบบโครงงานเพ่ือพัฒนาการคิด3) การพัฒนาครูใหมีความสามารถจัดการเรียนรูเพ่ือพัฒนาการคิดและการจัด4) กิจกรรมสงเสริมการคิดของผูเรียน5) การพัฒนาครูใหใช ICT ในการเรียนการสอน6) นวัตกรรมการบริหารโรงเรียนขนาดเล็กใหประสบความสําเร็จ7) การใช ICT ในการบริหาร8) การจัดระบบประกันคุณภาพ9) การประเมินแผนการจัดการเรียนรู การประเมินสื่อ/นวัตกรรม และการ

ประเมินงานวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน10) ทักษะการทําวิจัย เชน การวิจัยเชิงปฏิบัติการ การวิจัยสถาบัน การวิจัยเชิง

คุณภาพ สถิติเพ่ือการวิจัย และการวิจัยในชั้นเรียน2.2.2 วิธีการพัฒนาตนเองตามความตองการของผูบริหารสถานศึกษา มีดังนี้

1) การศึกษาดูงานโดยเฉพาะกรณีศึกษาท่ีประสบความสําเร็จในการบริหารตามประเด็นท่ีตนเองตองการ แตการศึกษาดูงานตองใหทีมงาน/ บุคลากรเขารวมดวย

2) การอบรม/การอบรมเชิงปฏิบัติการท่ีเนนการปฏิบัติจริงและมีการนิเทศติดตามการดําเนินงานหลังการอบรมอยางตอเนื่อง

3) การประชุมการสัมมนา4) การเรียนรูดวยตนเอง เชน การศึกษาจากคลังความรู ศึกษาตัวอยางงาน

ศึกษาจากเอกสาร/สื่อ เปนตน5) การแลกเปลี่ยนเรียนรู

86

จากการสํารวจวิธีการพัฒนาตนเองของครูในโรงเรียนขนาดเล็กสรุปไดวามี 3 รูปแบบ ไดแก1) การอบรมโดยตรง (direct training) เชน การฝกปฏิบัติกับผูเชี่ยวชาญ การอบรมเชิงปฏิบัติการตามความตองการและความสนใจแตเปนการอบรมโดยวิทยากรท่ีเชี่ยวชาญและสรางความศรัทธาใหครูได2) การเรียนรูในโรงเรียน (learning in school) เปนการพัฒนาตนเองโดยการศึกษาดวยตนเองจากเอกสาร สื่อ ตัวอยางงาน การศึกษาผลงานของครูตนแบบ เปนตน แลวนํามาแลกเปลี่ยนเรียนรูกับเพ่ือนครูในโรงเรียน 3) การเรียนรูนอกโรงเรียน (learning out of school) เชน เรียนรูจากศูนยการเรียนรูเปนกลุมสาระการเรียนรู การเขาคายการเรียนรูตามกลุมสาระ และการแลกเปลี่ยนเรียนรูในเครือขายบุคคลระหวางเพ่ือนครูตางโรงเรียน ครูตนแบบ ผูเชี่ยวชาญ เชน ศึกษานิเทศก อาจารยมหาวิทยาลัย หรือการใชเครือขายสังคม เชน การใชเครือขายอินเทอรเน็ต Face book และ Blog เปนตน สวนความตองการพัฒนาตนเองของผูบริหารสถานศึกษาสรุปไดวาตองการพัฒนาเปนการบริหารวิชาการ โดยเฉพาะการพัฒนาครูใหมีความสามารถในการจัดการเรียนรูท่ีหลากหลายตามบริบทของโรงเรียน เชน การเรียนการสอนและการจัดกิจกรรมเพ่ือพัฒนาการคิด การสอนแบบโครงงาน การใช ICT ในการเรียนการสอน และการทําวิจัย

ตอนที่ 2 ผลการสังเคราะหองคความรูดานการพัฒนาครูและผูบริหารสถานศึกษาแบบใชโรงเรียนเปนฐาน

จากการศึกษาเอกสารและงานวิจัยท่ีเก่ียวของกับการพัฒนาครูและผูบริหารสถานศึกษาแบบใชโรงเรียนเปนฐาน ผูวิจัยทําการวิเคราะหและสังเคราะหองคความรูท่ีสําคัญได 3 ประเด็น ดังนี้ 1) การฝกอบรมครูโดยใชโรงเรียนเปนฐาน 2) การพัฒนาครูและผูบริหารในโรงเรียนขนาดเล็ก และ 3) แนวคิดเก่ียวกับรูปแบบ

1. การฝกอบรมครูแบบใชโรงเรียนเปนฐานองคความรูเก่ียวกับการฝกอบรมครูโดยใชโรงเรียนเปนฐานมีหัวขอสําคัญ ไดแก ความหมาย

องคประกอบ และข้ันตอนการฝกอบรมครู มีสาระสําคัญ คือการฝกอบรมครูโดยใชโรงเรียนเปนฐาน เปนกระบวนการพัฒนาการเรียนรูของครูตามสภาพ

ปญหาและความตองการของครูท่ีเขารวมกิจกรรมมีจุดมุงหมายเพ่ือเพ่ิมความสามารถของครูในดานตาง ๆโดยเฉพาะการพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู โดยครูท่ีตองการพัฒนาเปนผูจัดกิจกรรมการอบรมแลกเปลี่ยนเรียนรูดวยตนเองตามความสะดวกอยางสมํ่าเสมอ ตอเนื่อง อาจเปนชวงเวลาพัก หลังเลิกเรียนหรือกอนเรียนการสอน อาจใชรูปแบบท่ีหลากหลายซึ่งตองมีกระบวนการท่ีเปนระบบไดแกวงจร PDCAและใชแนวคิดกัลยาณมิตรในการพัฒนาภายใตการสนับสนุนสงเสริมอํานวยความสะดวกและนิเทศติดตามของผูบริหารและผูเก่ียวของ ผานข้ันตอน 6 ข้ัน ดังนี้ 1) สํารวจความตองการจําเปน 2) ออกแบบการฝกอบรม 3) แลกเปลี่ยนเรียนรู 4) ฝกปฏิบัติในหองเรียน 5) นิเทศติดตามผล และ 6) สะทอนความคิดเห็นสําหรับผูใหการอบรมอาจทําไดท้ังบุคคลภายในโรงเรียนท่ีมีความเชี่ยวชาญในเรื่องนั้น ๆ หรือเปน

87

ผูเชี่ยวชาญ นักวิชาการจากภายนอก เนนการจัดกิจกรรมภายในโรงเรียนมากกวาท่ีจะนําครูออกนอกโรงเรียน

2. การพัฒนาครูและผูบริหารในโรงเรียนขนาดเล็กการพัฒนาครูและผูบริหารโรงเรียนขนาดเล็กท่ีผานมาสวนใหญเปนการพัฒนาครูในภาพรวม

รวมกับครูในโรงเรียนขนาดกลาง ขนาดใหญ ยังไมตอบสนองสภาพปญหาและความตองการของครู การจัดอบรมมักจัดนอกโรงเรียนในเมือง 2-5 วัน ทําใหครูตองท้ิงหองเรียน ฝากชั่วโมงสอน การอบรมมักใชการบรรยายมากกวาการปฏิบัติ ทําใหครูขาดความรูความเขาใจท่ีลึกซึ้งไมสามารถใชประโยชนไดอยางเต็มท่ีขาดการนิเทศติดตามอยางตอเนื่อง ทําใหการปรับเปลี่ยนแนวคิด วิธีการเปนไปไดนอยและชากวาท่ีควรจะเปน สงผลตอคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนขนาดเล็ก อยางไรก็ตามการพัฒนาคุณภาพโรงเรียนขนาดเล็กปรากฏชัดข้ึนในชวง 10 ปท่ีผานมา จากการศึกษาตอของผูบริหาร นโยบายปฏิรูปการศึกษา (ปฏิรูปการเรียนรู) ความตระหนักในบทบาท หนาท่ีของตัวครูเอง ทําใหคุณภาพของโรงเรียนขนาดเล็กในหลายพ้ืนท่ีเริ่มดีข้ึน เห็นไดจากหลายโรงเรียนมีคะแนนทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับชาติในกลุมสาระการเรียนรูตาง ๆ สูงกวาระดับพ้ืนท่ี และระดับชาติ นอกจากนี้ยังมีการทําวิจัยเก่ียวกับการพัฒนาคุณภาพโรงเรียนขนาดเล็กท้ังท่ีเปนวิทยานิพนธระดับบัณฑิตศึกษา และงานวิจัยของหนวยงานตนสังกัด ท่ีแสดงใหเห็นวาการพัฒนาคุณภาพโรงเรียนขนาดเล็กควรมีรูปแบบเฉพาะดวยขอจํากัดดานบุคลากร และทรัพยากรงานวิจัยดังกลาวมีผลการวิจัยท่ีนาสนใจสําหรับครู ผูบริหาร และผูท่ีเก่ียวของ เชน ผลการวิจัยของ ธีระพรอายุวัฒน และนภดล เจนอักษร (2552) พบวา แนวปฏิบัติท่ีเปนเลิศในการบริหารวิชาการท้ัง 7 ดาน สวนใหญเก่ียวกับสมรรถนะดานวิชาการของครู คือการพัฒนาหลักสูตรทองถ่ิน การวางแผนงานวิชาการ การจัดการเรียนการสอน เปนตน สอดคลองกับผลการวิจัยของ กมลวรรณ รอดจาย (2552) วา ปจจัยท่ีสงผลตอประสิทธิภาพโรงเรียนขนาดเล็กสูงสุด คือ สมรรถนะของครุและบุคลากรทางการศึกษา รองลงมา คือปจจัยดานการจัดการเรียนรู สําหรับรูปแบบการพัฒนาประสิทธิผลการบริหารงานวิชาการในโรงเรียนขนาดเล็กนั้น ศักดิ์ไทย สุรกิจบวร และวาโร เพ็งสวัสดิ์ (2552) พบวา วิธีการพัฒนาครูมี 2 ลักษณะ คือ 1)วิธีการพัฒนารายบุคคล ไดแก การศึกษาดวยตนเอง และการฝกปฏิบัติงาน 2) วิธีการพัฒนาเปนกลุม ไดแกการประชุม การอภิปรายกลุม การอบรม การศึกษารายกรณี การศึกษาดูงาน การสาธิต และกิจกรรมนันทนาการ ท้ังนี้สํานักนโยบายและแผนการจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐานไดกําหนดนวัตกรรมสําหรับโรงเรียนขนาดเล็ก 4 อยาง คือ การจัดการเรียนการสอนแบบคละชั้น การใชเทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดการเรียนรู การจัดการเรียนรูโดยใชสื่อทางไกลผานดาวเทียม และการสรางเครือขายการมีสวนรวมในการจัดการศึกษา

3. แนวคิดเกี่ยวกับรูปแบบองคความรูท่ีเปนสวนสําคัญในการวิจัยครั้งนี้ไดแก องคความรูเก่ียวกับรูปแบบ จากการศึกษา

สรุปไดวา “รูปแบบ (model)” เปนเครื่องมือทางความคิดท่ีใชในการสืบสอบหาคําตอบ หรือ ความรูความเขาใจในปรากฏการณท้ังหลาย ซึ่งสรางข้ึนจากความคิด ประสบการณ หรือทฤษฎีและหลักการตาง ๆ

88

ลักษณะท่ีสําคัญของรูปแบบคือ จะตองนําไปสูการทํานายผล (prediction) ท่ีสามารถพิสูจนได โครงสรางของรูปแบบจะตองมีความสัมพันธเชิงสาเหตุท่ีสามารถอธิบายปรากฏการณไดและสามารถสรางความคิดรวบยอด (concept) ได (ทิศนา แขมมณี. 2545: 218-221) ดังนั้นรูปแบบจึงควรมีองคประกอบดังตอไปนี้

1) มีปรัชญา ทฤษฎี หลักการ แนวคิด หรือความเชื่อ ท่ีเปนพ้ืนฐานหรือเปนหลักของรูปแบบการประเมินนั้นๆ

2) มีการบรรยายและอธิบายสภาพหรือลักษณะของการประเมินหลักการท่ียึดถือ3) มีการจัดระบบ คือ มีการจัดองคประกอบและความสัมพันธขององคประกอบของระบบ

ใหสามารถนําผูเรียนไปสูเปาหมายของระบบหรือกระบวนการนั้นๆ4) มีการอธิบายหรือใหขอมูลเก่ียวกับวิธีดําเนินการอันจะชวยใหกระบวนการนั้นๆเกิด

ประสิทธิภาพสูงสุดดังนั้นจากการศึกษาสังเคราะหองคความรูดังกลาวท้ัง 3 สวน นักวิจัยไดนํามาเปนกรอบ

แนวคิดในการพัฒนารูปแบบการพัฒนาครูและผูบริหารสถานศึกษาของโรงเรียนในโครงการ สําหรับนําไปใชประโยชนในการพัฒนาครูและผูบริหารสถานศึกษาใหมีความรูและแนวทางในการจัดการเรียนรูเพ่ือพัฒนาคุณภาพผูเรียนในโรงเรียนขนาดเล็กตอไป

ตอนที่ 3 รูปแบบการพัฒนาครูและผูบริหารสถานศึกษาแบบใชโรงเรียนเปนฐานของแตละโรงเรียนและผลการตรวจสอบรูปแบบ

โรงเรียนขนาดเล็กท้ัง 5 โรงท่ีเขารวมโครงการไดพัฒนารูปแบบเพ่ือพัฒนาครูและผูบริหารสถานศึกษาตามบริบทและความตองการจําเปนของแตละโรงเรียน ท้ังนี้มีจุดเนนในการพัฒนาผูเรียนและแนวคิดพ้ืนฐานในการพัฒนารูปแบบรวมกัน รูปแบบท่ีไดพัฒนาข้ึนของแตละโรงเรียน ดังตารางท่ี 4.5

ตารางท่ี 4.5 รูปแบบการพัฒนาครูและผูบริหารสถานศึกษาแบบใชโรงเรียนเปนฐานของแตละโรงเรียน

ช่ือโรงเรียน ช่ือรูปแบบจุดเนนในการพัฒนาผูเรียน

แนวคิดท่ีใชในการพัฒนารูปแบบ

1. บานทุงชน เรียนรูจากประสบการณสูการปฏิบัติ ทักษะการคิด/คุณลักษณะอันพึงประสงค

-ใชโรงเรียนเปนฐาน-การมีสวนรวม-การลงมือปฏิบัติจริง-เนนผลลัพธท่ีผูเรียน-ชวยเหลือเก้ือกูล-กัลยาณมิตรนิเทศ-PDCA

2.บานอินทนิน อินทนินรวมใจใชโครงงานสานตอการคิด

3.บานน้ําขาว ร วมคิดร วม ทํานํ าผู เ รี ยนสู การ คิดสัมฤทธิ์ดวยโครงงาน

4.วัดสโมสร แลก เปลี่ ยนคว ามรู คู ก า รปฏิ บั ติ :บูรณาการใช ICT ในการจัดการเรียนรู

5.บานทุงขันหมาก ภาคีเครือขายประสานใจ

89

จากรูปแบบท่ีโรงเรียนแตละโรงไดพัฒนาข้ึน 5 รูปแบบดังกลาว มีองคประกอบท่ีสําคัญ ไดแก1) ท่ีมา/ แนวคิดของรูปแบบ 2) วัตถุประสงคของรูปแบบ 3) ยุทธศาสตรของรูปแบบ 4) ข้ันตอน/ กิจกรรมของรูปแบบ และ 5) การนํารูปแบบไปใช คณะผูวิจัยนําเสนอผลการพัฒนารูปแบบของแตละโรงเรียน ดังนี้

3.1 รูปแบบการพัฒนาครูและผูบริหารสถานศึกษาโดยใชโรงเรียนเปนฐานและผลการตรวจสอบรูปแบบของโรงเรียนบานทุงชน

3.1.1 องคประกอบของรูปแบบ1) ช่ือรูปแบบ “เรียนรูจากประสบการณสูการปฏิบัติ”2) แนวคิดการพัฒนารูปแบบ

รูปแบบการพัฒนาครูและผูบริหารของโรงเรียนของโรงเรียนบานทุงชน พัฒนาข้ึนจากแนวคิด 4 ขอ ดังนี้

1.1) แนวคิดครูเปนผูเรียนท่ีเปนผูใหญ ผูเรียนท่ีเปนผูใหญเปนผูท่ีมีท้ังความรูและประสบการณพรอมท่ีจะถายทอดและแลกเปลี่ยนประสบการณกับผูอ่ืน ในการพัฒนาครูจึงควรเปดโอกาสใหครูไดนําความรูและประสบการณมานําเสนอเพ่ือแลกเปลี่ยนและเรียนรูซึ่งกันและกันมากกวาการใหมานั่งฟงคําบรรยายจากผูรูเพียงอยางเดียว นอกจากนี้จากการสอบถามครูยังมีความเห็นวาวิธีการพัฒนาท่ีสนใจคือการอบรมเชิงปฏิบัติการใหลงมือทําเพ่ือใหเกิดความรู ความเขาใจมากข้ึนจนสาสารถนําไปปฏิบัติดวยตนเองได แนวคิดนี้ปรากฏในยุทธศาสตรเรียนรูจากประสบการณสูการปฏิบัติ ในข้ันตอนการนําสูการปฏิบัติและยุทธศาสตรการสรางเครือขายการเรียนรูในข้ันตอนการนําสูการปฏิบัติดวยเชนกัน

1.2) แนวคิดการพัฒนาโดยใชโรงเรียนเปนฐาน เปนแนวคิดท่ีเนนการพัฒนาครูภายในโรงเรียนตามสภาพปญหาและความตองการของครู ครูจะรวมกลุมกันจัดการอบรมหรือแลกเปลี่ยนเรียนรูในประเด็นท่ีเปนปญหาดานการจัดการเรียนรูหรืออ่ืน ๆ จากครูผูเชี่ยวชาญในโรงเรียนหรือภายนอกโรงเรียนตามวันเวลาท่ีสะดวกอยางตอเนื่องสําหรับนําสิ่งท่ีไดเรียนรูลงสูการปฏิบัติ การแกปญหาในหองเรียนของตนเอง มีการนาวงจร PDCA และกัลยาณมิตรนิเทศมาใชในการพัฒนาภายใตการสนับสนุนชวยเหลือของผูบริหาร แนวคิดนี้ปรากฏในยุทธศาสตรสรางเพ่ือนคูคิดมิตรรวมทาง การสรางเครือขายการเรียนรู และกัลยาณมิตรนิเทศตามข้ันตอนการดําเนินงาน 1.3) แนวคิดการพัฒนาแบบองครวม (wholeschool approach) เปนการพัฒนาคุณภาพของโรงเรียนในทุกดาน ทุกองคประกอบดวยความรวมมือรวมใจกันทํางานของผูบริหาร ครู และบุคลากรทุกคนในโรงเรียนโดยไดรับความรวมมือจากผูปกครอง ชุมชนและหนวยงานท่ีเก่ียวของ การพัฒนานี้จะนําเขาสูระบบงานปกติเพ่ือใหสามารถพัฒนาใหเกิดการเปลี่ยนแปลงไดครบทุกดาน ทุกสวนงาน ผานกระบวนการสํารวจสภาพและปญหาของโรงเรียน การสนทนาแลกเปลี่ยนความคิด การเกิดความตระหนักในการพัฒนา การวางแผน การลงมือปฏิบัติไปพรอม ๆ กัน การนิเทศติดตามเพ่ือประเมินผลและปรับปรุงงานตามวงจร PDCA แนวคิดนี้ปรากฏในท้ังสี่ยุทธศาสตรและทุกข้ันตอนของการดําเนินงาน

90

3) ข้ันตอนการดําเนินงานตามรูปแบบข้ันตอนของรูปแบบการเรียนรูจากประสบการณสูการปฏิบัติมี 4 ข้ันตอน คือ เปดใจ

วางแผนการเรียนรู นําสูปฏิบัติ และ ปรับปรุงพัฒนา3.1) ข้ันเปดใจ เปนการเริ่มตนสรางความตระหนักในความสําคัญและความจําเปนใน

การแกปญหา สรางเพ่ือนคูคิดมิตรรวมทางท่ีพรอมจะกาวเดินในเสนทางการพัฒนาตนเองรวมกัน เปนการสรางเครือขายการเรียนรูใหเกิดความรูสึกม่ันใจท่ีจะเปลี่ยนแปลง พัฒนาตนเอง แลงานมากข้ึน รวมท้ังการรวมกันระบุประเด็นปญหาสูการพัฒนา

3.2) ข้ันวางแผนเรียนรู เปนข้ันตอนของการวางแผนเพ่ือพัฒนาบุคลากรในโรงเรียนตามสภาพปญหา กําหนดวิธีการ กิจกรรมพัฒนา ระยะเวลา และผูรับผิดชอบ ซึ่งจะเนนการเรียนรูจากการปฏิบัติ

3.3) ข้ันนําสูการปฏิบัติ เปนข้ันการนําแผนเรียนรูหรือพัฒนาลงสูการปฏิบัติใหเปนรูปธรรม พรอมการนิเทศติดตามอยางกัลยาณมิตร

3.4) ข้ันปรับปรุงพัฒนา เปนข้ันการนําสิ่งท่ีไดจากการนิเทศติดตามมาปรับปรุงแผนการพัฒนาใหมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผลมากข้ึน

4) บทบาทของผูเกี่ยวของรูปแบบการเรียนรูจากประสบการณสูการปฏิบัติกําหนดบทบาทของผูเก่ียวของดังนี้4.1) ครู ครูมีบทบาทในการรวมพัฒนาตนเองโดยใชโรงเรียนเปนฐาน นําสิ่งท่ีไดเรียนรู

ไปพัฒนาการจัดการเรียนรู ใหขอมูลท่ีเก่ียวกับการดําเนินงาน รวมสะทอนความคิดเห็นและแลกเปลี่ยนเรียนรู

4.2) ผูบริหาร ผูบริหารมีบทบาทในการเรียนรูและรวมพัฒนาตนเอง วางแผนพัฒนาครูใหการสนับสนุน อํานวยความสะดวกใหครู นิเทศติดตามและประเมินผลการดําเนินงาน

4.3) ผูเรียน ผูเรียนมีบทบาทในระยะท่ีครูนําสิ่งท่ีครูไดเรียนรูจากการพัฒนาไปใชในหองเรียน โดยเปนผูมีสวนรวมในการเรียน ทํากิจกรรมพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห สังเคราะหท่ีครูเตรียมไวให

4.4) ผูปกครอง ชุมชนและทองถ่ิน กลุมนี้มีบทบาทในการใหความรวมมือและสนับสนุนทรัพยากรใหกับผูเรียน ครูและโรงเรียน

4.5) กรรมการสถานศึกษา กรรมการสถานศึกษามีบทบาทในการใหขอเสนอแนะคําปรึกษา และ สนับสนุนทรัพยากรในการดําเนินงาน

4.6) สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา มีบทบาทในการรวมพัฒนาครูและผูบริหารสนับสนุนการดําเนินงาน นิเทศติดตาม รวบรวมขอมูลและสรุปผลการดําเนินงาน

91

4.7) คณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช มีบทบาทในการรวมพัฒนาครูและผูบริหาร ใหการสนับสนุนชวยเหลือดานวิชาการและทรัพยากรการเรียนรู นิเทศติดตาม รวบรวมขอมูลและสรุปรายงานผลการดําเนินงาน

3.1.2 ผลการตรวจสอบรูปแบบของโรงเรียนบานทุงชนดานความสอดคลองของรูปแบบผลการตรวจสอบรูปแบบดานความสอดคลองของรูปแบบกับปจจัยภายนอกและปจจัย

ภายในของรูปแบบ ปรากฏผลดังตารางท่ี 4.6

ตารางท่ี 4.6 ดัชนีความสอดคลองของรูปแบบกับปจจัยภายนอกและปจจัยภายในของรูปแบบโรงเรียนบานทุงชน

ขอ ประเด็นตรวจสอบดัชนีความสอดคลอง

ความหมาย

1 ความสอดคลองของรูปแบบกับปจจัยภายนอก1.1 นโยบายพัฒนาครู/การเรียนการสอน1.2 สภาพปญหาของโรงเรียนขนาดเล็ก1.3 ความตองการของคร/ูผูบริหาร/ชุมชน1.4 ทฤษฏี การบริหารจัดการโดยใชโรงเรียนเปนฐาน1.5 แนวคิดการจัดการเรียนการสอนท่ีเปนผูเรียนเปนสําคัญ

1.001.001.001.001.00

มีความสอดคลองมีความสอดคลองมีความสอดคลองมีความสอดคลองมีความสอดคลอง

2 ความสอดคลองของรูปแบบกับปจจัยภายใน2.1 วัตถุประสงคของรูปแบบสอดคลองกับเปาหมายในการ

พัฒนารูปแบบ2.2 วัตถุประสงคของรูปแบบสอดคลองกับท่ีมาของรูปแบบ2.3 ยุทธศาสตรของรูปแบบสอดคลองกับวัตถุประสงคของ

รูปแบบ2.4 ข้ันตอนของรูปแบบสอดคลองกับวัตถุประสงคของรูปแบบ2.5 แนวการใชรูปแบบสอดคลองกับวัตถุประสงคและข้ันตอน

ของรูปแบบ

0.80

1.001.00

1.00

1.00

มีความสอดคลอง

มีความสอดคลองมีความสอดคลอง

มีความสอดคลอง

มีความสอดคลอง

จากตารางท่ี 4.6 พบวามีความสอดคลองของรูปแบบกับปจจัยภายนอก ไดแก นโยบายพัฒนาครู/การเรียนการสอนสภาพปญหาของโรงเรียนขนาดเล็กความตองการของครู/ผูบริหาร/ชุมชน ทฤษฎี การบริหารจัดการโดยใชโรงเรียนเปนฐาน และแนวคิดการจัดการเรียนการสอนท่ีเปนผูเรียนเปนสําคัญ โดยมีดัชนีความสอดคลองในแตละประเด็นเทากับ 1.00 และมีความสอดคลองของรูปแบบกับปจจัยภายใน

92

ไดแก วัตถุประสงคของรูปแบบสอดคลองกับเปาหมายในการพัฒนารูปแบบ มีดัชนีความสอดคลองเทากับ0.80 วัตถุประสงคของรูปแบบสอดคลองกับท่ีมาของรูปแบบ ยุทธศาสตรของรูปแบบสอดคลองกับวัตถุประสงคของรูปแบบ ข้ันตอนของรูปแบบสอดคลองกับวัตถุประสงคของรูปแบบ และแนวการใชรูปแบบสอดคลองกับวัตถุประสงคและข้ันตอนของรูปแบบ มีดัชนีความสอดคลองในแตละประเด็นเทากับ1.00 ตามลําดับ

ดานคุณภาพของรูปแบบผลการตรวจสอบคุณภาพของรูปแบบในดานความชัดเจน ความถูกตอง ความเหมาะสม

ความเปนไปได ความคิดริเริ่ม และความยืดหยุน ปรากฏผลดังตารางท่ี 4.7

ตารางท่ี 4.7 คะแนนเฉลี่ยคุณภาพของรูปแบบจําแนกเปนรายดานตามประเด็นตรวจสอบโรงเรียนบานทุงชน

ประเด็นตรวจสอบ คะแนนเฉลี่ย S.D. ความหมาย1 ความชัดเจนของแตละองคประกอบ

1.1 ท่ีมาของรูปแบบ1.2 วัตถุประสงคของรูปแบบ1.3 ลักษณะสําคัญของรูปแบบ1.4 ข้ันตอน/ กิจกรรมของรูปแบบ1.5 แนวการนํารูปแบบไปใช

4.404.804.804.404.80

0.800.400.400.490.40

มากมากท่ีสุดมากท่ีสุด

มากมากท่ีสุด

รวม 4.64 0.50 มากท่ีสุด2 ความถูกตองของแตละองคประกอบ

2.1 ท่ีมาของรูปแบบ2.2 วัตถุประสงคของรูปแบบ2.3 ลักษณะสําคัญของรูปแบบ2.4 ข้ันตอน/ กิจกรรมของรูปแบบ2.5 แนวการนํารูปแบบไปใช

4.404.805.004.604.60

0.490.400.000.490.49

มากมากท่ีสุดมากท่ีสุดมากท่ีสุด

รวม 4.68 0.37 มากท่ีสุด3 ความเหมาะสมของข้ันตอน/กิจกรรมกับ

กลุมเปาหมาย4.20 0.40 มาก

4 ความเปนไปไดของการนําไปใช 4.40 0.49 มาก5 ความคิดริเริ่ม/สรางสรรค/ทันสมัยของรูปแบบ 4.40 0.49 มาก6 ความยืดหยุนในการนํารูปแบบไปใช 4.60 0.49 มากท่ีสุด

ภาพรวม 4.49 0.46 มาก

93

จากตารางท่ี 4.7 พบวาคุณภาพของรูปแบบโดยภาพรวมมีคุณภาพระดับมาก เม่ือพิจารณาเปนรายดานพบวาความชัดเจนของแตละองคประกอบ ความถูกตองของแตละองคประกอบและความยืดหยุนในการนํารูปแบบไปใชอยูในระดับมากท่ีสุด สวนดานความเหมาะสมของข้ันตอน/กิจกรรมกับกลุมเปาหมายความเปนไปไดของการนําไปใช และความคิดริเริ่ม/สรางสรรค/ทันสมัยของรูปแบบมีคุณภาพในระดับมาก

ผลการวิเคราะหความคิดเห็นและขอเสนอแนะเก่ียวกับรูปแบบการพัฒนาครูและผูบริหารของโรงเรียนบานทุงชน พบวา ผูทรงคุณวุฒิไดใหขอเสนอแนะท่ีเปนประโยชนตอการปรับปรุงรูปแบบคณะผูวิจัยวิเคราะหประเด็นความคิดเห็นและสังเคราะหขอมูลสรุปได 2 ดาน ดังนี้

1) ดานท่ีมาของการพัฒนารูปแบบ พบวา 1) การพัฒนารูปแบบของโรงเรียนควรคํานึงถึงโอกาสและบริบทของชุมชนในการใชเทคโนโลยีสื่อสาร การระวังภัยธรรมชาติ ท่ีสอดคลองกับวิถีชีวิตชุมชน2) ควรนําเสนอท่ีมาของรูปแบบในเชิงแผนผังความคิดดวย เพ่ือความเขาใจท่ีชัดเจนข้ึน 3) ควรระบุเหตุผลความจําเปนในการพัฒนารูปแบบใหชัดเจนเฉพาะดาน และ 4) ประเด็นวิเคราะหเพ่ือสรางรูปแบบยังไมครอบคลุมสภาพจริงของบริบทโรงเรียน

2) กิจกรรมและแนวการนํารูปแบบไปใช พบวา 1) ควรเขียนใหละเอียด ชัดเจนนําไปสูการปฏิบัติไดงาย 2) คูมือควรมีคําชี้แจง ท่ีมา และวิธีการนํารูปแบบไปใชท่ีชัดเจน 3) ควรมีตัวชี้วัดของกิจกรรมพัฒนาครูเพ่ือความชัดเจนในการวัดผลและบรรลุ และ 4) ควรปรับหัวขอ ประเด็น และการใชภาษาใหสื่อความหมายชัดเจน และกระชับ

รูปแบบการพัฒนาครูและผูบริหารสถานศึกษาโดยใชโรงเรียนเปนฐานแบบเรียนรูจากประสบการณสูการปฏิบัติของโรงเรียนบานทุงชนแสดงดังภาพท่ี 4.1

94

95

3.2 รูปแบบการพัฒนาครูและผูบริหารสถานศึกษาโดยใชโรงเรียนเปนฐานและผลการตรวจสอบรูปแบบของโรงเรียนบานอินทนิน

3.2.1 องคประกอบของรูปแบบ1) ช่ือรูปแบบ “อินทนินรวมใจ ใชโครงงานสานตอการคิด”2) แนวคิดการพัฒนารูปแบบ

รูปแบบการพัฒนาครูและผูบริหารสถานศึกษาโดยใชโรงเรียนเปนฐานแบบ อินทนินรวมใจ รวมดวยชวยกัน ของโรงเรียนบานอินทนิน พัฒนาข้ึนจากแนวคิดอยางนอย 3 แนวคิด คือ การพัฒนาแบบองครวม การพัฒนาโดยใชโรงเรียนเปนฐาน และเครือขายการเรียนรู

2.1) แนวคิดการพัฒนาแบบองครวม (whole school approach) เปนแนวคิดท่ีเนนการพัฒนาทุกองคาพยพของโรงเรียนไปพรอมกันเพ่ือใหเกิดผลหรือการเปลี่ยนแปลงท่ีเห็นไดอยางชัดเจนสิ่งสําคัญคือตองมีผูนําการเปลี่ยนแปลงซึ่งอาจเปนบุคคลฝายหนึ่งฝายใดในโรงเรียนก็ได ควรเริ่มตน คือสรางความตระหนัก ชี้ใหเห็นถึงผลดี ประโยชนท่ีเกิดข้ึนท้ังตัวครูและผูเรียน เพ่ือใหมีการเปลี่ยนแปลงทุกระดับและสวนงาน เนนการรวมมือรวมใจกันทํางานของผูบริหาร ครู และบุคลากรทุกคนในโรงเรียนโดยไดรับความรวมมือจากผูปกครอง ชุมชนและหนวยงานท่ีเก่ียวของ หลังการสรางความตระหนัก ข้ันตอนหรือกิจกรรมตอมาคือการวางแผนท้ังโรงเรียนในทุกดานท้ังดานวิชาการ บุคลากร ทรัพยากร ลักษณะสําคัญคือการนําการเปลี่ยนแปลงเขาสูระบบงานใหครอบคลุมทุกสวนงาน ทุกองคประกอบของโรงเรียนเพ่ือใหทุกคนมีสวนรวมอยางเต็มท่ี การลงมือปฏิบัติตามแผน ประเมินผล และปรับปรุงงานตามวงจร PDCA ซึ่งแนวคิดนี้จะปรากฏในยุทธศาสตรรวมกันคิดรวมกันทํา และข้ันตอนการพัฒนารูปแบบในข้ันเตรียมการ การสรางความรูและความตระหนัก การปฏิบัติ และข้ันสรุปและประเมินผล

2.2) แนวคิดการพัฒนาโดยใชโรงเรียนเปนฐาน เปนแนวคิดท่ีเนนการพัฒนาในโรงเรียนของกลุมครูผูสนใจ เริ่มตนจากการระบุสภาพปญหาและความตองการของครูกอนกําหนดจุดพัฒนาท่ีชัดเจนมีจุดมุงหมายเพ่ือเพ่ิมความสามารถของครูในการพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู เนนการพัฒนาครูใหสามารถนําแนวคิด ความรู สูการปฏิบัติจริงในโรงเรียน รวมคิด รวมทํา และปรับปรุงอยางสมํ่าเสมอตอเนื่องผูใหการอบรมคือครูท่ีมีความรูความเขาใจ มีความเชี่ยวชาญ สามารถถายทอดประสบการณไดดี กิจกรรมท่ีจัดอาจมีหลากหลายรูปแบบโดยใชวงจร PDCA และกัลยาณมิตรนิเทศ กิจกรรมพัฒนานี้จะตองมีการสนับสนุน อํานวยความสะดวกจากผูบริหาร แนวคิดนี้ปรากฏเปนยุทธศาสตร กําหนดพัฒนาของโรงเรียนตามกลยุทธปรับเปลี่ยนวิธีการ หรือข้ันสรางความรูความตระหนัก นอกจากนี้ยังปรากฏในยุทธศาสตรกัลยาณมิตรนิเทศโดยใชกลยุทธมุงสูการพัฒนาคุณภาพผูเรียนเต็มศักยภาพเปนตัวขับเคลื่อนในข้ันสรุปและประเมินผล ซึ่งประกอบดวยกิจกรรมนิเทศติดตาม ปรับปรุงพัฒนา และสรุปรายงานผล

2.3) แนวคิดเครือขายการเรียนรู เปนแนวคิดท่ีสงเสริมใหบุคคลไดพัฒนาตนเองจากการพูดคุย แลกเปลี่ยนความรู แนวคิด และประสบการณในเรื่องท่ีสนใจรวมกัน การเรียนรูจากกลุมท้ังภายในและภายนอกโรงเรียน ท้ังการพบหนาหรือการติดตอสื่อสารผานสื่ออิเล็คทรอนิคสตาง ๆ เชน facebook

96

e-mail เปนตน การเรียนรูจากเครือขายชวยใหครูมองเห็นแนวทางการปรับเปลี่ยนแนวคิด แนวปฏิบัติสูหองเรียน มีความรูสึกปลอดภัย ม่ันใจเพราะมีผูนําทาง ใหคํารับรอง แนะนําในการนําความรู แนวคิด และประสบการณไปใช แนวคิดนี้ปรากฏในยุทธศาสตรสรางเครือขายการเรียนรู ตามกลยุทธรวมใจประสานการเรียนรู หรือข้ันปฏิบัติโดยใชกิจกรรมศึกษาดูงาน ประชุมปฏิบัติการ และการแลกเปลี่ยนเรียนรู

3) ข้ันตอนการดําเนินงานตามรูปแบบข้ันตอนของรูปแบบ อินทนินรวมใจใชโครงงานสานตอการคิด มี 4 ข้ันตอน คือ3.1) ข้ันเตรียมการ เปนการประชุมชี้แจงและจัดทําแผนดําเนินงาน3.2) ข้ันสรางความรูและความตระหนัก เปนการสรางความตระหนัก ระดมพลังสมอง

เพ่ือรวมกันกําหนดจุดและวิธีการพัฒนา3.3) ข้ันการปฏิบัติ เปนการนําผลและแผนท่ีไดจากขอ 1 และ 2 ลงสูการปฏิบัติ3.4) ข้ันสรุปและประเมินผล เปนข้ันการนิเทศติดตามผลการปฏิบัติ ปรับปรุงพัฒนา

และสรุปรายงานผลในการดําเนินงานท้ัง 4 ข้ันตอนนี้จะใชวงจร PDCA ทุกข้ันตอนเพ่ือใหการดําเนินงาน

บรรลุเปาหมายของแตละข้ันตอนใหมากท่ีสุด4) บทบาทของผูเกี่ยวของ

ในการนํารูปแบบอินทนินรวมใจใชโครงงาน สานตอการคิดไปใชนั้น ผูพัฒนาไดกําหนดบทบาทของผูเก่ียวของ 4 กลุม ดังนี้

4.1) สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 4 มีบทบาทในการพัฒนาครูและผูบริหาร รวมท้ังการนิเทศติดตาม

4.2) มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช มีบทบาทในการวมพัฒนาครูและผูบริหารนิเทศติดตาม และใหความชวยเหลือและสนับสนุนการพัฒนา

4.3) กรรมการสถานศึกษา มีบทบาทในการรวมใหขอเสนอแนะในการดําเนินงานพัฒนา และสนับสนุนทรัพยากร

4.4) ชุมชนและผูปกครองมีบทบาทในการสนับสนุนการดําเนินงานท้ังดานทรัพยากรและดูแลชวยเหลือผูเรียน

3.2.2 ผลการตรวจสอบรูปแบบของโรงเรียนบานอินทนินดานความสอดคลองของรูปแบบผลการตรวจสอบรูปแบบดานความสอดคลองของรูปแบบกับปจจัยภายนอกและความ

สอดคลองภายในปรากฏผลดังตารางท่ี 4.8

97

ตารางท่ี 4.8 ดัชนีความสอดคลองของรูปแบบกับปจจัยภายนอกและปจจัยภายในของรูปแบบโรงเรียนบานอินทนิน

ขอ ประเด็นตรวจสอบดัชนีความสอดคลอง

ความหมาย

1 ความสอดคลองภายนอกของรูปแบบท่ีพัฒนาข้ึนกับ1.1 นโยบายพัฒนาครู/การเรียนการสอน1.2 สภาพปญหาของโรงเรียนขนาดเล็ก1.3 ความตองการของคร/ูผูบริหารชุมชน1.4 ทฤษฏี การบริหารจัดการโดยใชโรงเรียนเปนฐาน1.5 แนวคิดการจัดการเรียนการสอนท่ีเปนผูเรียนเปนสําคัญ

1.001.001.000.801.00

มีความสอดคลองมีความสอดคลองมีความสอดคลองมีความสอดคลองมีความสอดคลอง

2 ความสอดคลองภายใน2.1 วัตถุประสงคของรูปแบบสอดคลองกับเปาหมายในการ

พัฒนารูปแบบ2.2 วัตถุประสงคของรูปแบบสอดคลองกับท่ีมาของรูปแบบ2.3 ยุทธศาสตรของรูปแบบสอดคลองกับวัตถุประสงคของ

รูปแบบ2.4 ข้ันตอนของรูปแบบสอดคลองกับวัตถุประสงคของรูปแบบ2.5 แนวการใชรูปแบบสอดคลองกับวัตถุประสงคและข้ันตอน

ของรูปแบบ

1.00

1.001.00

0.801.00

มีความสอดคลอง

มีความสอดคลองมีความสอดคลอง

มีความสอดคลองมีความสอดคลอง

จากตารางท่ี 4.8 พบวามีความสอดคลองของรูปแบบกับปจจัยภายนอก ไดแก นโยบายพัฒนาครู/การเรียนการสอนสภาพปญหาของโรงเรียนขนาดเล็กความตองการของคร/ูผูบริหาร/ชุมชน และแนวคิดการจัดการเรียนการสอนท่ีเปนผูเรียนเปนสําคัญ โดยมีดัชนีความสอดคลองในแตละประเด็นเทากับ 1.00 สวนดานทฤษฏีการบริหารจัดการโดยใชโรงเรียนเปนฐานมีดัชนีความสอดคลองเทากับ 0.80 และมีความสอดคลองของรูปแบบกับปจจัยภายใน ไดแก วัตถุประสงคของรูปแบบสอดคลองกับเปาหมายในการพัฒนารูปแบบ วัตถุประสงคของรูปแบบสอดคลองกับท่ีมาของรูปแบบ ยุทธศาสตรของรูปแบบสอดคลองกับวัตถุประสงคของรูปแบบ และแนวการใชรูปแบบสอดคลองกับวัตถุประสงคและข้ันตอนของรูปแบบมีดัชนีความสอดคลองในแตละประเด็นเทากับ 1.00 สวนข้ันตอนของรูปแบบสอดคลองกับวัตถุประสงคของรูปแบบมีดัชนีความสอดคลองเทากับ 0.80

ดานคุณภาพของรูปแบบผลการตรวจสอบคุณภาพของรูปแบบดานความชัดเจน ความถูกตอง ความเหมาะสม

ความเปนไปได ความคิดริเริม และความยืดหยุน ปรากฏผลดังตารางท่ี 4.9

98

ตารางท่ี 4.9 คะแนนเฉลี่ยคุณภาพของรูปแบบจําแนกเปนรายดานตามประเด็นตรวจสอบโรงเรียนบานอินทนิน

ท่ี ประเด็นตรวจสอบ คะแนนเฉลี่ย S.D. ความหมาย1 ความชัดเจนของแตละองคประกอบ

1.1 ท่ีมาของรูปแบบ1.2 วัตถุประสงคของรูปแบบ1.3 ลักษณะสําคัญของรูปแบบ1.4 ข้ันตอน/ กิจกรรมของรูปแบบ1.5 แนวการนํารูปแบบไปใช

4.404.804.604.404.40

0.490.400.490.800.80

มากมากท่ีสุดมากท่ีสุด

มากมาก

รวม 4.52 0.60 มากท่ีสุด2 ความถูกตองของแตละองคประกอบ

2.1 ท่ีมาของรูปแบบ2.2 วัตถุประสงคของรูปแบบ2.3 ลักษณะสําคัญของรูปแบบ2.4 ข้ันตอน/ กิจกรรมของรูปแบบ2.5 แนวการนํารูปแบบไปใช

4.604.804.404.204.00

0.490.400.800.750.63

มากท่ีสุดมากท่ีสุด

มากมากมาก

รวม 4.40 0.61 มาก3 คว า ม เ หม า ะ ส มข อ ง ข้ั นต อ น / กิ จ ก ร ร ม

กับกลุมเปาหมาย4.80 0.40 มากท่ีสุด

4 ความเปนไปไดของการนําไปใช 4.20 0.75 มาก5 ความคิดรเิริ่ม/สรางสรรค/ทันสมัยของรูปแบบ 4.00 0.63 มาก6 ความยืดหยุนในการนํารูปแบบไปใช 4.60 0.49 มากท่ีสุด

ภาพรวม 4.44 0.58 มาก

จากตารางท่ี 4.9 พบวาคุณภาพของรูปแบบโดยภาพรวมมีคุณภาพระดับมาก เม่ือพิจารณาเปนรายดานพบวาความชัดเจนของแตละองคประกอบ ความเหมาะสมของข้ันตอน/กิจกรรมกับกลุมเปาหมาย และความยืดหยุนในการนํารูปแบบไปใชอยูในระดับมากท่ีสุด สวนความเปนไปไดของการนําไปใช และความคิดริเริ่ม/สรางสรรค/ทันสมัยของรูปแบบมีคุณภาพในระดับมาก

รูปแบบการพัฒนาครูและผูบริหารสถานศึกษาโดยใชโรงเรียนเปนฐานแบบอินทนินรวมใจใชโครงงานสานตอการคิดของโรงเรียนบานอินทนิน นําเสนอไดดังภาพท่ี 4.2

99

100

3.3 รูปแบบการพัฒนาครูและผูบริหารสถานศึกษาโดยใชโรงเรียนเปนฐานและผลการตรวจสอบรูปแบบ ของ โรงเรียนบานน้ําขาว

3.3.1 องคประกอบของรูปแบบ1) ช่ือรูปแบบ “รวมคิดรวมทํา นําผูเรียนสูการคิด สัมฤทธิ์ดวยโครงงาน”2) แนวคิดการพัฒนารูปแบบ

รูปแบบการพัฒนาครูและผูบริหารสถานศึกษาโดยใชโรงเรียนเปนฐานแบบ รวมคิดรวมทํา นําผูเรียนสูการคิด สัมฤทธิ์ดวยโครงงาน ของโรงเรียนบานน้ําขาว มีท่ีมาจากแนวคิดหลัก 3 อยางคือ แนวคิดการพัฒนาท้ังโรงเรียน การเรียนรูจากการลงมือทํา และการสรางเครือขายการเรียนรู

2.1) แนวคิดการพัฒนาท้ังโรงเรียน (whole school approach) เปนแนวคิดการพัฒนาบุคลากรทุกระดับ ทุกสวนงาน ของโรงเรียนไปพรอมกัน เปนความรวมมือรวมใจกันของบุคลากรทุกฝายท้ังผูบริหาร ครู และบุคลากรอ่ืนในการปรับปรุงพัฒนางานของตนเองโดยไดรับความรวมมือจากผูปกครอง ชุมชน และหนวยงานท่ีเก่ียวของ การพัฒนาท้ังโรงเรียนเปนการนําเรื่องท่ีจะเปลี่ยนแปลงหรือพัฒนาเขาสูระบบงานปกติใหครอบคลุมทุกสวนงานทุกองคประกอบของโรงเรียนเพ่ือใหเกิดการเปลี่ยนแปลงอยางชัดเจน นั่นคือทุกคนตองพัฒนาตนเองและมีสวนรวมคิดรวมทํา อยางเต็มท่ีในการพัฒนาผูบริหารตองเปนผูนําการเปลี่ยนแปลง ติดตามนิเทศอยางกัลยาณมิตรนิเทศ ซึ่งการนิเทศติดตามอาจมีครูในโรงเรียนหรือผูเก่ียวของจากภายนอกมารวมนิเทศได แนวคิดนี้ปรากฏในยุทธศาสตรการกําหนดจุดเนนในการพัฒนา การรวมคิดรวมทํา และยุทธศาสตรกัลยาณมิตรนิเทศ

2.2) แนวคิดการเรียนรูจากการลงมือทํา (learning by doing) เปนแนวคิดท่ีเนนการพัฒนาครูโดยใหเรียนรูจากการลงมือทําดวยตนเอง ซึ่งยอมรับกันวาสามารถทําใหครูเรียนรูไดดีกวาวิธีอ่ืน ดังคํากลาวท่ีวา สิบรูไมเทาลงมือทํา แนวคิดนี้จะชวยลดปญหาการพัฒนาครูตามแนวท่ีผานมาท่ีใหครูฟงคําบรรยายเพียงอยางเดียวซึ่งเม่ือครูกลับไปถึงโรงเรียนไมสามารถนําสูการปฏิบัติได แนวคิดนี้ปรากฏในยุทธศาสตรเรียนรูจากการปฏิบัติจริงท่ีใชในการพัฒนาครูใหเกิดการเรียนรูจากการลงมือปฏิบัติดวยตนเองเปนนักเรียนกอนแลวนําประสบการณนั้นมาใชในการพัฒนาการจัดการเรียนรู

2.3) แนวคิดการสรางเครือขายการเรียนรู แนวคิดนี้เนนการเรียนรูจากบุคคลในชุมชนท้ังในและนอกโรงเรียนท่ีสนใจในสิ่งเดียวกัน อาจเปนการพบปะ พูดคุยท้ังแบบทางการและไมเปนทางการ หรืออาจใชสื่อหรือเครือขายอิเล็คทรอนิคสท่ีนิยมกันในปจจุบัน การเรียนรูจากเครือขายท้ังสองฝายอาจเรียนรูจากกันและกัน ชวยใหรูสึกผอนคลาย ม่ันใจและมีกําลังใจพัฒนาตนเองมากข้ึน แนวคิดนี้ปรากฏในยุทธศาสตรการสรางเครือขายการเรียนรู

3) ข้ันตอนการดําเนินงานตามรูปแบบรูปแบบการพัฒนาครูและผูบริหารสถานศึกษาแบบรวมคิดรวมทํา นําผูเรียนสูการ

คิด สัมฤทธิ์ดวยโครงงาน มีข้ันตอนและกิจกรรมดังนี้3.1) ข้ันเตรียมความพรอม ประกอบดวยกิจกรรมยอยคือ

101

(1) การสรางความเขาใจ และความตระหนักรวมกัน เปนการจัดกิจกรรมเพ่ือสรางความตระหนักใหเห็นคุณคาความสําคัญ ความจําเปนท่ีตองพัฒนาและประโยชนในการพัฒนาตนเองและพัฒนางาน เพ่ือใหเกิดความเขาใจในงานท่ีทํา แนวคิดท่ีใช เปาหมายท่ีตองการ โดยใชการประชุมชี้แจง การระดมความคิดเห็นของครู ผูปกครอง และคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน

(2) การวิเคราะหความตองการในการพัฒนา โดยการศึกษาสภาพปญหาวิเคราะหผลการบริหารจัดการศึกษา สํารวจสภาพปญหาท่ีสําคัญและเปนความตองการจําเปนของผูมีสวนไดสวนเสียในการจัดการศึกษา โดยใชวิธีการประชุม ระดมความคิดเห็น

(3) การจัดทําแผนการพัฒนา เปนการวางแผนในการพัฒนา โดยรวมกําหนดวิธีการตางๆ เพ่ือพัฒนาตนเองของครูและผูบริหารสถานศึกษาเพ่ือใหเกิดความรูความเขาใจ และมีทักษะในการจัดการเรียนรูแบบโครงงาน เพ่ือพัฒนาทักษะการคิดของผูเรียน

3.2) ข้ันนอมรับปฏิบัติ เปนข้ันการนํากิจกรรมตาง ๆ ท่ีไดกําหนดรวมกันไวมาสูการปฏิบัติโดยมีการกําหนดลําดับของการจัดกิจกรรมพัฒนาครูและผูบริหารดังนี้

(1) จัดโครงการประชุม อบรมเชิงปฏิบัติการ การจัดการเรียนรูโดยใชโครงงานเพ่ือพัฒนาทักษะการคิดของผูเรียน

(2) การศึกษาดูงาน เปนกิจกรรมใหครูและผูบริหารมีโอกาสไดเห็นตัวอยางแนวทางในการปฏิบัติการจัดการเรียนรูแบบโครงงาน หรือการจัดการเรียนรูเพ่ือพัฒนาทักษะการคิดเพ่ือเรียนรูจากสถานการณจริงหรือผูท่ีประสบความสําเร็จแลวในโรงเรียนขนาดเล็ก สําหรับนํามาใชในการพัฒนาตนเองและงาน

(3) การทํางานเปนทีม เนื่องจากมีครูจํานวนจํากัด จึงจัดกิจกรรมใหครูไดมีโอกาสทํางานรวมกันเปนระบบทีม มีการชวยเหลือและสนับสนุนการทํางานซึ่งกันและกัน เปนการสรางแรงจูงใจกอใหเกิดพลังในการพัฒนา เชน การออกแบบการจัดการเรียนรูรวมกัน การจัดเตรียมสื่อ การวัดผลและประเมินผลรวมกัน และการจัดการเรียนรูรวมกัน เปนตน

(4) การจัดการเรียนรูในหองเรียน เปนการนําผลการพัฒนาตนเองสูการปฏิบัติหรือการพัฒนาผูเรียน ครูจะเกิดการเรียนรูจากการลงมือปฏิบัติวาสิ่งท่ีออกแบบหรือวางแผนไวลวงหนาสามารถลงสูการปฏิบัติไดอยางไร มากนอยเพียงใด ตองปรับปรุงแกไขอยางไรบาง

(5) การแลกเปลี่ยนเรียนรูระหวางกันและกัน ดวยวิธีกัลยาณมิตรนิเทศ เปนการนําผลการจัดการเรียนรูมาสะทอนความคิด แลกเปลี่ยนเรียนรู สิ่งท่ีไดจากการแลกเปลี่ยนเรียนรูจะเปนความรูเพ่ิมเติม ชวยพัฒนาครู และผูบริหารไดเชนเดียวกัน การแลกเปลี่ยนเรียนรูนี้ทําไดท้ังในระดับบุคคลกลุมสาระ ระดับโรงเรียนและโครงการ

(6) การศึกษาดวยตนเองจากคูมือ เอกสาร หนังสือ สื่อ สิ่งพิมพ สื่อทางอิเลคทรอนิกสตาง ๆ อยางตอเนื่อง

(7) ใชกระบวนการวิจัยควบคูกับกับกิจกรรมการเรียนการสอน

102

(8) การกํากับ ติดตาม การนิเทศภายในแบบกัลยาณมิตรอยางตอเนื่องและนําผลการนิเทศไปใชพัฒนาตนเอง

3.3) ข้ันรูชัดเพราะตรวจสอบ ติดตาม ประกอบดวย 3 กิจกรรมยอย คือ(1) ติดตาม ประเมินผลการพัฒนาตนเองของครูและผูบริหารวามีความรูความ

เขาใจและทักษะในการจัดการเรียนรูโดยใชโครงงานเพ่ือพัฒนาทักษะการคิดมากนอยเพียงใด กิจกรรมพัฒนาใดไดผลหรือไมไดผลอยางไร

(2) ปรับปรุงพัฒนาแผนและกิจกรรมในการพัฒนาครูและผูบริหารใหเหมาะสมยิ่งข้ึน

(3) สรุปและรายงานผลการพัฒนาครูและผูบริหารวาไดตามท่ีกําหนดวัตถุประสงคหรือไม สามารถจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยใชโครงงานไดอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลเพียงใด

3.4) ข้ันพยายามพัฒนาใหยั่งยืน(1) ครูและผูบริหารมีการพัฒนาตนเองและพัฒนางานอยางตอเนื่อง(2) ขยายผลสูเครือขาย

4) บทบาทของผูเกี่ยวของรูปแบบการพัฒนาครูและผูบริหารแบบรวมคิดรวมทํา นําผูเรียนสูการคิด สัมฤทธิ์

ดวยโครงงาน ของโรงเรียนบานน้ําขาว กําหนดบทบาทของผูเก่ียวของดังนี้4.1) ครู มีบทบาทในการมีสวนรวมในกิจกรรมการพัฒนาตนเอง การนําสิ่งท่ีไดพัฒนา

ไปปฏิบัติในหองเรียน ใหขอมูลท่ีเก่ียวของในการดําเนินงาน4.2) ผูบริหาร มีบทบาทในการเรียนรู วางแผนและดําเนินการพัฒนาตนเอง และครู

ในโรงเรียน สนับสนุนชวยเหลือและอํานวยความสะดวก นิเทศติดตาม ประเมินผลการดําเนินงาน4.3) สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา มีบทบาทในการรวมพัฒนาครูและผูบริหารให

ความชวยเหลือ สนับสนุน นิเทศติดตาม และสรุปผลการดําเนินงาน4.4) มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช มีบทบาทในการรวมพัฒนาครูและ

ผูบริหาร นิเทศติดตาม ใหการสนับสนุนทรัพยากร รวบรวมและสนับสนุนผลการดําเนินงาน4.5) ชุมชนและผูปกครอง มีบทบาทในการมีสวนรวมในการดําเนินงาน ใหการ

สนับสนุนทรัพยากรในการดําเนินงาน3.3.2 ผลการตรวจสอบรูปแบบของโรงเรียนบานน้ําขาว

ดานความสอดคลองของรูปแบบผลการตรวจสอบรูปแบบดานความสอดคลองของรูปแบบกับปจจัยภายนอกและความ

สอดคลองภายในปรากฏผลดังตารางท่ี 4.10

103

ตารางท่ี 4.10 ดัชนีความสอดคลองของรูปแบบกับปจจัยภายนอกและปจจัยภายในของรูปแบบโรงเรียนบานน้ําขาว

ขอ ประเด็นตรวจสอบดัชนีความสอดคลอง

ความหมาย

1 ความสอดคลองภายนอกของรูปแบบท่ีพัฒนาข้ึนกับ1.1 นโยบายพัฒนาครู/การเรียนการสอน1.2 สภาพปญหาของโรงเรียนขนาดเล็ก1.3 ความตองการของคร/ูผูบริหารชุมชน1.4 ทฤษฏี การบริหารจัดการโดยใชโรงเรียนเปนฐาน1.5 แนวคิดการจัดการเรียนการสอนท่ีเปนผูเรียนเปนสําคัญ

1.000.801.000.800.80

มีความสอดคลองมีความสอดคลองมีความสอดคลองมีความสอดคลองมีความสอดคลอง

2 ความสอดคลองภายใน2.1 วัตถุประสงคของรูปแบบสอดคลองกับเปาหมายในการพัฒนา

รูปแบบ2.2 วัตถุประสงคของรูปแบบสอดคลองกับท่ีมาของรูปแบบ2.3 ยุทธศาสตรของรูปแบบสอดคลองกับวัตถุประสงคของรูปแบบ2.4 ข้ันตอนของรูปแบบสอดคลองกับวัตถุประสงคของรูปแบบ2.5 แนวการใชรูปแบบสอดคลองกับวัตถุประสงคและข้ันตอนของ

รูปแบบ

1.00

0.800.601.000.60

มีความสอดคลอง

มีความสอดคลองมีความสอดคลองมีความสอดคลองมีความสอดคลอง

จากตารางท่ี 4.10 พบวามีความสอดคลองของรูปแบบกับปจจัยภายนอก ไดแก นโยบายพัฒนาครู/การเรียนการสอนและความตองการของครู/ผูบริหาร/ชุมชน โดยมีดัชนีความสอดคลองในแตละประเด็นเทากับ 1.00 สวนสภาพปญหาของโรงเรียนขนาดเล็ก และแนวคิดการจัดการเรียนการสอนท่ีเปนผูเรียนเปนสําคัญ และดานทฤษฏีการบริหารจัดการโดยใชโรงเรียนเปนฐานมีดัชนีความสอดคลองเทากับ 0.80และมีความสอดคลองของรูปแบบกับปจจัยภายใน ไดแก วัตถุประสงคของรูปแบบสอดคลองกับเปาหมายในการพัฒนารูปแบบและข้ันตอนของรูปแบบสอดคลองกับวัตถุประสงคของรูปแบบมีดัชนีความสอดคลองเทากับ 1.00 ดานวัตถุประสงคของรูปแบบสอดคลองกับท่ีมาของรูปแบบมีดัชนีความสอดคลองเทากับ0.80 สวนดานยุทธศาสตรของรูปแบบสอดคลองกับวัตถุประสงคของรูปแบบ และแนวการใชรูปแบบสอดคลองกับวัตถุประสงคและข้ันตอนของรูปแบบ มีดัชนีความสอดคลองในแตละประเด็นเทากับ 0.60ตามลําดับ

ดานคุณภาพของรูปแบบผลการตรวจสอบคุณภาพของรูปแบบดานความชัดเจน ความถูกตอง ความเหมาะสม

ความเปนไปได ความคิดริเริม และความยืดหยุน ปรากฏผลดังตารางท่ี 4.11

104

ตารางท่ี 4.11 คะแนนเฉลี่ยคุณภาพของรูปแบบจําแนกเปนรายดานตามประเด็นตรวจสอบโรงเรียนบานน้ําขาว

ประเด็นตรวจสอบ คะแนนเฉลี่ย S.D. ความหมาย1 ความชัดเจนของแตละองคประกอบ

1.1 ท่ีมาของรูปแบบ1.2 วัตถุประสงคของรูปแบบ1.3 ลักษณะสําคัญของรูปแบบ1.4 ข้ันตอน/ กิจกรรมของรูปแบบ1.5 แนวการนํารูปแบบไปใช

4.204.804.604.004.40

0.750.400.490.630.49

มากมากท่ีสุดมากท่ีสุด

มากมาก

รวม 4.40 0.45 มาก2 ความถูกตองของแตละองคประกอบ

2.1 ท่ีมาของรูปแบบ2.2 วัตถุประสงคของรูปแบบ2.3 ลักษณะสําคัญของรูปแบบ2.4 ข้ันตอน/ กิจกรรมของรูปแบบ2.5 แนวการนํารูปแบบไปใช

4.604.604.604.004.20

0.490.490.490.630.40

มากท่ีสุดมากท่ีสุดมากท่ีสุด

มากมาก

รวม 4.40 0.50 มาก3 ความเหมาะสมของ ข้ันตอน/กิจกรรมกับ

กลุมเปาหมาย4.60 0.49 มากท่ีสุด

4 ความเปนไปไดของการนําไปใช 4.20 0.75 มาก5 ความคิดริเริ่ม/สรางสรรค/ทันสมัยของรูปแบบ 4.00 0.63 มาก6 ความยืดหยุนในการนํารูปแบบไปใช 4.60 0.49 มากท่ีสุด

ภาพรวม 4.39 0.55 มาก

จากตารางท่ี 4.11 พบวาคุณภาพของรูปแบบโดยภาพรวมมีคุณภาพระดับมาก เม่ือพิจารณาเปนรายดานพบวา ความเหมาะสมของข้ันตอน/กิจกรรมกับกลุมเปาหมาย และความยืดหยุนในการนํารูปแบบไปใชอยูในระดับมากท่ีสุด สวนดานความชัดเจนของแตละองคประกอบ ความถูกตองของแตละองคประกอบ ความเปนไปไดของการนําไปใช และความคิดริเริ่ม/สรางสรรค/ทันสมัยของรูปแบบมีคุณภาพในระดับมาก

รูปแบบการพัฒนาครูและผูบริหารสถานศึกษาโดยใชโรงเรียนเปนฐานแบบรวมคิดรวมทํา นําผูเรียนสูการคิด สัมฤทธิ์ดวยโครงงาน ของโรงเรียนบานน้ําขาว นําเสนอไดดังภาพท่ี 4.3

105

106

3.4 รูปแบบการพัฒนาครูและผูบริหารสถานศึกษาโดยใชโรงเรียนเปนฐานและผลการตรวจสอบรูปแบบของโรงเรียนวัดสโมสร

3.41 องคประกอบของรูปแบบ1) ช่ือรูปแบบ “แลกเปลี่ยนความรูคูปฏิบัติ: บูรณาการใช ICT ในการจัดการเรียนรู2) แนวคิดการพัฒนารูปแบบ

รูปแบบการพัฒนาครูและผูบริหารสถานศึกษาโดยใช โรงเรียนเปนฐานแบบแลกเปลี่ยนความรูคูการปฏิบัติ: การบูรณาการใช ICT ในการจัดการเรียนรู ของโรงเรียนวัดสโมสรมีท่ีมาจากแนวคิดหลัก 4 อยาง คือ แนวคิดการบริหารโดยใชโรงเรียนเปนฐาน การจัดการความรู การจัดการเรียนรูตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน และการใช ICT ในการจัดการเรียนรู

2.1) การบริหารโดยใชโรงเรียนเปนฐาน เปนแนวคิดท่ีเนนการพัฒนาในโรงเรียนของกลุมครูผูสนใจ เริ่มตนจากการระบุสภาพปญหาและความตองการของครูกอนกําหนดจุดพัฒนาท่ีชัดเจน มีจุดมุงหมายเพ่ือเพ่ิมความสามารถของครูในการพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู เนนการพัฒนาครูใหสามารถนําแนวคิด ความรู สูการปฏิบัติจริงในโรงเรียน รวมคิด รวมทํา และปรับปรุงอยางสมํ่าเสมอตอเนื่องผูใหการอบรมคือครูท่ีมีความรูความเขาใจ มีความเชี่ยวชาญ สามารถถายทอดประสบการณไดดี กิจกรรมท่ีจัดอาจมีหลากหลายรูปแบบโดยใชวงจร PDCA และกัลยาณมิตรนิเทศ กิจกรรมพัฒนานี้จะตองมีการสนับสนุน อํานวยความสะดวกจากผูบริหาร แนวคิดนี้ปรากฏเปนยุทธศาสตร คือการทําพรอมกันท้ังโรงเรียน หมายถึง ผูบริหารและครูทุกคนพัฒนาตนเองไปพรอมๆ กัน รวมคิด รวมวางแผน รวมปฏิบัติรวมปรับปรุงแกปญหา รวมพัฒนา ตลอดจนรวมรับผิดชอบและมีความภาคภูมิใจในความสําเร็จ

2.2) การจัดการความรู เปนแนวคิดของการพัฒนาครูบนฐานของการเรียนรูจากประสบการณ หรือแบบปฏิบัติท่ีดีจากผูรวมวิชาชีพ (community of practice) โดยผานการแลกเปลี่ยนเรียนรู การสะทอนการเรียนรูและกาประยุกตใชสิ่งท่ีไดเรียนรูเพ่ือพัฒนางานในหนาท่ีอยางกลมกลืนกับภารกิจงานประจําอยางเปนวัฏจักร โรงเรียนจึงควรจัดใหครูซึ่งมีความสนใจในเรื่องเดียวกันรวมตัวกันและแลกเปลี่ยนเรียนรูดวยความสมัครใจ เพ่ือรวมสรางความเขาใจหรือพัฒนาแนวปฏิบัติในเรื่องนั้นๆ โดยจัดใหมีสถานท่ีและบรรยากาศท่ีดี (สบาย ๆ ผอนคลาย) มีความเหมาะสมกับแตละกลุมคน จะทําใหคนเหลานั้นมาเจอกันพูดคุย ปรึกษา วิเคราะหปญหา แบงปน และแลกเปลี่ยนเรียนรูซึ่งกันและกันอยางสบายใจแนวคิดนี้ปรากฏในกิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรูและการนําสูปฏิบัติซึ่งเปนกลยุทธของรูปแบบ รวมท้ังข้ันตอนและกิจกรรมของรปูแบบท่ีเนนการดําเนินงานตามวงจร PDCA

2.3) การจัดการเรียนรูตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน เปนแนวคิดในการพัฒนาครูใหสามารถจัดการเรียนรูท่ีสอดคลองกับพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติท่ียึดหลักผูเรียนสําคัญท่ีสุด การจัดการเรียนรูจึงตองคํานึงถึงความแตกตางระหวางบุคคล ฝกทักษะกระบวนการคิด แกปญหา ใหผูเรียนไดเรียนรูจากประสบการณตรง ลงมือปฏิบัติ สงเสริมการพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค จัดสภาพแวดลอมและสื่อท่ีเอ้ือตอการเรียนรูใหเกิดข้ึนไดทุกเวลาทุกสถานท่ี และสงเสริมความรวมมือกับชุมชน

107

และผูเก่ียวของในการพัฒนาผูเรียนตามศักยภาพ แนวคิดนี้ปรากฏในการกําหนดประเด็นในการพัฒนาครูเพ่ือพัฒนาคุณภาพผูเรียนโดยการบูรณาการ ICT ในการจัดการเรียนรู

2.4) การบูรณาการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ (ICT) ในการจัดการเรียนรู เปนแนวคิดท่ีสอดคลองกับการพัฒนาผูเรียนในศตวรรษท่ี 21 ท่ีมุงใหผูเรียนมีความรูความสามารถและทักษะการใชเทคโนโลยีเพ่ือการศึกษาเรียนรูอยางตอเนื่องตลอดชีวิต การใช ICT จะชวยสงเสริม สรางแรงจูงใจในการเรียนรู เปนสื่อท่ีเชื่อมไปสูการเรียนรูเนื้อหาวิชาตาง ๆ ไดอยางไมจํากัด แนวคิดนี้ปรากฏในวัตถุประสงคของรูปแบบคือเพ่ือพัฒนาครูและผูบริหารโรงเรียนใหมีความรู ความสามารถและทักษะในการบูรณาการ ใช ICTในการจัดการเรียนรูในทุกกลุมสาระการเรียนรูและทุกระดับชั้น

2.5) การวิจัยปฏิบัติการ เปนแนวคิดท่ีเนนกระบวนการวิจัยเพ่ือพัฒนาหรือปรับปรุงการดําเนินงานมาใชในการพัฒนาครูและผูบริหาร โดยเริ่มตั้งแตข้ันวางแผนการพัฒนา ข้ันดําเนินการพัฒนา ข้ันการติดตามและตรวจสอบผลการดําเนินงาน และการปรับปรุงการดําเนินงานบนฐานของบทเรียนท่ีไดจากการดําเนินงานท่ีผานมา ทําใหเกิดการพัฒนาอยางตอเนื่องและยั่งยืน

3) ข้ันตอนการดําเนินงานตามรูปแบบรูปแบบการพัฒนาครูและผูบริหารโดยใชโรงเรียนเปนฐาน “การแลกเปลี่ยนความรูคู

การปฏิบัติ: บูรณาการใช ICT ในการจัดการเรียนรู” มีข้ันตอนและกิจกรรมการดําเนินงานดังนี้3.1) ศึกษาขอมูลพ้ืนฐาน บริบทและความตองการในการพัฒนาตนเองของครูใน

โรงเรียน เปนการสํารวจสภาพปจจุบัน ปญหาและความตองการในการพัฒนาเพ่ือกําหนดจุดเนนในการพัฒนาซึ่งใหความสําคัญกับการเสนอความตองการและเจตคติในการพัฒนาตนเองของครูและผูบริหารโรงเรียน

3.2) การพัฒนาครูและผูบริหารตามจุดเนน เปนข้ันตอนของการพัฒนาครูและผูบริหาร โดยจัดทําแผนการพัฒนาตามหลักการและแนวคิดพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา

3.3) การประเมินความพรอมในการนําความรูและทักษะความสามารถท่ีไดจากการพัฒนาไปใชในการจัดกิจกรรมการเรียนรูในชั้นเรียน ถาครูคนใดคนหนึ่งหรือครูท้ังหมดยังไมพรอมท่ีจะนําความรูและทักษะไประยุกตใชในการจัดการเรียนรูก็ตองมีการพัฒนาเพ่ิมเติมตามสภาพปญหา

3.4) การนําความรูสูการปฏิบัติ เม่ือครูมีความพรอมท่ีจะนําความรูและทักษะท่ีไดรับจากการพัฒนาไปใช ก็เขาสูกระบวนการพัฒนาการจัดการเรียนรูของครูแตละคนในสาระการเรียนรูท่ีรับผิดชอบ ซึ่งมีข้ันตอนยอยในการดําเนินการไดแก

(1) รวมกันวิเคราะหรูปแบบแผนการจัดการเรียนรูบูรณาการ ICT ของโรงเรียน(2) ครูวิเคราะหหลักสูตรเพ่ือบูรณาใช ICT ในการจัดการเรียนรูในกลุมสาระการ

เรียนรูท่ีตนรับผิดชอบ(3) จัดทํากําหนดการจัดการเรียนรูและแผนการจัดการเรียนรูตามและแผนการ

วัดประเมินผลแบบท่ีรวมกันกําหนด

108

(4) จัดกิจกรรมการเรียนรูตามแผนการจัดการเรียนรู(5) วัดประเมินผลการจัดการเรียนรูและประเมินความพึงพอใจของนักเรียน(6) สรุปผลกระบวนการจัดการเรียนรูเปนนวัตกรรม/ จัดทํารายงานการวิจัย

ปฏิบัติการในชั้นเรียน(7) โรงเรียนจัดกิจกรรมสะทอนผลการดําเนินงานเพ่ือใหมีการประเมินผลการจัด

กิจกรรมการรูและนวัตกรรมการจัดการเรียนรูของครูโดยผูทรงคุณวุฒิ(8) การเผยแพร โรงเรียนจัดเวทีใหครูไดเผยแพรผลการดําเนินงานในรูปแบบ

ของการจัดนิทรรศการ หรือการรวมเวทีแลกเปลี่ยนความรูในระดับโรงเรียนหรือระดับอ่ืนๆ(9) การขยายผล เม่ือรายงานนวัตกรรมของครูมีคุณภาพตามเกณฑก็จัดกิจกรรม

ใหครูไดเผยแพรผลงานในรูปแบบตาง ๆ เชน การจัดนิทรรศการ การนําเสนองานในท่ีประชุม ฯลฯ ในข้ันนี้อาจจะมีการเสริมแรงและใหขวัญกําลังใจในลักษณะการมอบรางวัลหรือประกาศเกียรติคุณใหกับครูดวย

4) บทบาทของผูเกี่ยวของรูปแบบการพัฒนาครูและผูบริหารแบบแลกเปลี่ยนความรูครูการปฏิบัติ: บูรณาการใช

ICT ในการจัดการเรียนรูของโรงเรียนวัดสโมสร กําหนดบทบาทของผูเก่ียวของดังนี้4.1) ผูบริหารโรงเรียน ผูบริหารโรงเรียนมีบทบาทเปนผูจัดปจจัยเก้ือหนุน ติดตามและให

พลังเสริมแกครูและผูเก่ียวของในการดําเนินงาน มีบาทหนาท่ีดังนี้(1) ประสานงานกับนักวิชาการ วิทยากร และผูเก่ียวของในการดําเนินงานเพ่ือ

สรางความเขาใจท่ีถูกตอง(2) ศึกษาเพ่ือทําความเขาใจแนวคิด /หลักการในการพัฒนาครูและผูบริหารตาม

จุดเนนการพัฒนาของโครงการ(3) เปนผูนําในการแลกเปลี่ยนเรียนรูของครูในโรงเรียนเพ่ือใหครูมีความตระหนัก

และเจตคติท่ีดีตอการพัฒนา ตลอดจนเปนผูนําการวิเคราะหเพ่ือไดมาซึ่งปญหาท่ีเปนจุดเนนในการพัฒนาการกําหนดแผนการพัฒนา และการดําเนินการพัฒนาตามแผน

(4) การอํานวยความสะดวกและการจัดปจจัยเก้ือหนุนตางๆ ใหครูไดรับการพัฒนา และการนําความรูและทักษะท่ีไดจากการพัฒนาไปประยุกตใชในการพัฒนางานในโรงเรียน

(5) พัฒนาตนเองใหมีความรูความเขาใจตามจุดเนนการพัฒนาเพ่ือใหคําแนะนําเปนวิทยากรหรือสอนงานใหแกครูในโรงเรียนได

(6) สรางเครื่องมือเก็บรวบรวมขอมูล ติดตามผล และวิเคราะหความสําเร็จ/สภาพปญหา และพัฒนาการดําเนินงานตามโครงการ

(7) การใหการนิเทศ ชวยเหลือ เสริมแรง เปนกําลังใจครูใหเกิดความม่ันใจในการนําความรูไปใชในการพัฒนางาน

(8) การจัดทําเอกสารรายงานผลการดําเนินงานและประชาสัมพันธโครงการ

109

(9) การสรางโอกาสและเวทีการขยายผลใหกับครูและนักเรียน4.2) ครู ครูเปนผูมีสวนรวม เปนผูรับการพัฒนาตามจุดเนนการพัฒนา และนําความรู

ทักษะท่ีไดจากการพัฒนาไปใช มีบทบาทหนาท่ีดังนี้(1) รวมเวทีแลกเปลี่ยนเพ่ือทําความเขาใจแนวคิดของโครงการ เสนอความ

คิดเห็นเก่ียวกับปญหาท่ีเปนจุดเนนในการพัฒนา การกําหนดแผนการพัฒนา และการดําเนินการพัฒนาตามแผน

(2) เขารับการพัฒนาตามจุดเนน(3) นําความรูและทักษะท่ีไดรับจากการพัฒนาไปพัฒนางานตามข้ันตอน PDCA(4) ประเมินตนเองและคุณภาพงานเพ่ือเปนขอมูลในการปรับปรุงพัฒนา(5) สรางเครื่องมือเก็บรวบรวมขอมูล ติดตามผลและวิเคราะหความสําเร็จ/สภาพ

ปญหาและพัฒนาการดําเนินงานตามโครงการ(6) จัดทําเอกสารรายงานผลการดําเนินงานและการขยายผลโครงการ

4.3) นักเรียน นักเรียนมีบทบาทเปนกลุมเปาหมายสําคัญในการับผลจากการพัฒนาเปนผลลัพธจากการดําเนินงานตามโครงการ มีบทบาทดังนี้

(1) วางแผนการเรียนรูของตนเองและเพ่ือน(2) ศึกษา ปฏิบัติและรวบรวมขอมูลจากการเรียนรู(3) วิเคราะห สังเคราะหขอมูล(4) จัดทําชิ้นงาน ผลงานจากการเรียนรูตามภาระงาน(5) นําเสนอผลการเรียนรู(6) ปรับปรุงวิธีการศึกษา และผลงานการเรียนรู(7) ประเมินผลการเรียนรูของตนเอง และเพ่ือน

4.4) ผูปกครอง ผูปกครองมีบทบาทเปนผูใหความรวมมือกับโรงเรียนในการดูแลอบรมและใหความรูแกนักเรียน ตลอดจนใหความชวยเหลือและสนับสนุนจัดปจจัยเก้ือหนุนแกโรงเรียน มีบทบาทดังนี้

(1) มีสวนรวมในการทําความเขาใจแนวคิดของโครงการ การเสนอแนะจุดเนนในการพัฒนา และการติดตามผลการดําเนินงานตามโครงการ

(2) การดูแล อบรมนักเรียนตามขอมูลพ้ืนฐานท่ีบานและขอมูลจากทางโรงเรียน(3) การรวมกิจกรรมและใหขอมูลยอนกลับกับทางโรงเรียน(4) การรวมเวทีแลกเปลี่ยนความรูและสะทอนผลการดําเนินงานกับทางโรงเรียน(5) การสนับสนุนดานวัสดุ อุปกรณ และเปนภูมิปญญาทองถ่ินแกทางโรงเรียน

110

4.5) กรรมการสถานศึกษาและชุมชน กรรมการสถานศึกษามีบทบาทเปนผูใหความรวมมือกับโรงเรียนในสรางความเขาใจแนวคิด มีสวนรวมในการอบรมและใหความรูแกนักเรียน ตลอดจนใหความชวยเหลือและสนับสนุนจัดปจจัยเก้ือหนุนแกโรงเรียน มีบทบาทดังนี้

(1) มีสวนรวมในการทําความเขาใจแนวคิดของโครงการ การเสนอแนะจุดเนนในการพัฒนา และการติดตามผลการดําเนินงานตามโครงการ

(2) การการสนับสนุนดานวัสดุ อุปกรณ และเปนแหลงเรียนรูและภูมิปญญาทองถ่ินแกทางโรงเรียน

(3) การรวมกิจกรรมและใหขอมูลยอนกลับกับทางโรงเรียน(4) การรวมเวทีแลกเปลี่ยนความรูและสะทอนผลการดําเนินงานกับทางโรงเรียน(5) สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาและองคกรปกครองสวนทองถ่ินและองคกร

เอกชน มีบทบาทเปนผูใหความชวยเหลือ สนับสนุนวิทยากรในการพัฒนา และทรัพยากรในการดําเนินงานมีบทบาทดังนี้

(6) ใหการสนับสนุนสถานท่ี สื่อ และวิทยากรในการพัฒนาครู และการจัดกิจกรรมนักเรียน

(7) การมีสวนรวมในระดมทรัพยากรเพ่ือการจัดกิจกรรมและพัฒนาโรงเรียนตามโอกาส

4.6) มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช และสถาบันอุดมศึกษาอ่ืน มีบทบาทเปนผูใหความชวยเหลือ สนับสนุนในดานแนวคิด วิทยากรในการพัฒนา และทรัพยากรในการดําเนินงาน มีหนาท่ีดังนี้

(1) การสรางความเขาใจและความเชื่อม่ันในการดําเนินงานแกผูบริหาร ครูผูปกครอง กรรมการสถานศึกษาและชุมชน

(2) สนับสนุนงบประมาณ สถานท่ี สื่อ อุปกรณ และวิทยากรในการพัฒนาครูและผูเก่ียวของตลอดจนการจัดกิจกรรมนักเรียน

(3) การมีสวนรวมในการสะทอนผลการพัฒนาของโรงเรียน3.4.2 ผลการตรวจสอบรูปแบบของโรงเรียนวัดสโมสร

ดานความสอดคลองของรูปแบบผลการตรวจสอบรูปแบบดานความสอดคลองของรูปแบบกับปจจัยภายนอกและ

ปจจัยภายในของรูปแบบ ปรากฏผลดังตารางท่ี 4.12

111

ตารางท่ี 4.12 ดัชนีความสอดคลองของรูปแบบกับปจจัยภายนอกและปจจัยภายในของรูปแบบ

ขอ ประเด็นตรวจสอบดัชนีความสอดคลอง

ความหมาย

1 ความสอดคลองของรูปแบบกับปจจัยภายนอก1.1 นโยบายพัฒนาครู/การเรียนการสอน1.2 สภาพปญหาของโรงเรียนขนาดเล็ก1.3 ความตองการของคร/ูผูบริหาร/ชุมชน1.4 ทฤษฏี การบริหารจัดการโดยใชโรงเรียนเปนฐาน1.5 แนวคิดการจัดการเรียนการสอนท่ีเปนผูเรียนเปนสําคัญ

0.800.601.001.000.80

มีความสอดคลองมีความสอดคลองมีความสอดคลองมีความสอดคลองมีความสอดคลอง

2 ความสอดคลองของรูปแบบกับปจจัยภายใน2.1 วัตถุประสงคของรูปแบบสอดคลองกับเปาหมายใน

การพัฒนารูปแบบ2.2 วัตถุประสงคของรูปแบบสอดคลองกับท่ีมาของรูปแบบ2.3 ยุทธศาสตรของรูปแบบสอดคลองกับวัตถุประสงคของ

รูปแบบ2.4 ข้ันตอนของรูปแบบสอดคลองกับวัตถุประสงคของรูปแบบ2.5 แนวการใชรูปแบบสอดคลองกับวัตถุประสงคและข้ันตอน

ของรูปแบบ

0.80

1.000.80

0.800.80

มีความสอดคลอง

มีความสอดคลองมีความสอดคลอง

มีความสอดคลองมีความสอดคลอง

จากตารางท่ี 4.12 พบวารูปแบบการพัฒนามีความสอดคลองกับปจจัยภายนอกและความสอดคลองภายใน มีคาดัชนีความสอดคลองระหวาง 0.60-1.00 โดยความสอดคลองดานความตองการของครู/ผูบริหาร/ชุมชน และทฤษฎี การบริหารจัดการโดยใชโรงเรียนเปนฐาน มีดัชนีความสอดคลองเทากับ1.00 ดานนโยบายพัฒนาครู/การเรียนการสอน และแนวคิดการจัดการเรียนการสอนท่ีเปนผูเรียนเปนสําคัญและดานสภาพปญหาของโรงเรียนขนาดเล็ก มีดัชนีความสอดคลองเทากับ 0.80 และ 0.60 ตามลําดับ สวนความสอดคลองของรูปแบบกับปจจัยภายใน ดานวัตถุประสงคของรูปแบบสอดคลองกับท่ีมาของรูปแบบมีคาดัชนีความสอดคลองเทากับ 1.00 และความสอดคลองในประเด็นอ่ืนๆ มีดัชนีความสอดคลองในแตละประเด็นเทากับ 0.80

ดานคุณภาพของรูปแบบผลการตรวจสอบคุณภาพของรูปแบบในดานความชัดเจนในแตละองคประกอบ ความ

ถูกตอง ความเหมาะสม ความเปนไปได ความคิดริเริม่ และความยืดหยุน ดังตารางท่ี 4.13

112

ตารางท่ี 4.13 คะแนนเฉลี่ยคุณภาพของรูปแบบจําแนกเปนรายดานตามประเด็นตรวจสอบประเด็นตรวจสอบ คะแนนเฉลี่ย S.D. ความหมาย

1 ความชัดเจนของแตละองคประกอบ1.1 ท่ีมาของรูปแบบ1.2 วัตถุประสงคของรปูแบบ1.3 ลักษณะสําคัญของรูปแบบ1.4 ข้ันตอน/ กิจกรรมของรูปแบบ1.5 แนวการนํารูปแบบไปใช

4.604.604.404.604.60

0.490.490.800.800.49

มากท่ีสุดมากท่ีสุด

มากมากท่ีสุดมากท่ีสุด

รวม 4.56 0.61 มากท่ีสุด2 ความถูกตองของแตละองคประกอบ

2.1 ท่ีมาของรูปแบบ2.2 วัตถุประสงคของรูปแบบ2.3 ลักษณะสําคัญของรูปแบบ2.4 ข้ันตอน/ กิจกรรมของรูปแบบ2.5 แนวการนํารูปแบบไปใช

4.604.604.404.604.40

0.490.490.800.800.49

มากท่ีสุดมากท่ีสุด

มากมากท่ีสุด

มากรวม 4.52 0.61 มากท่ีสุด

3 ความเหมาะสมของข้ันตอน/กิจกรรมกับกลุมเปาหมาย

4.40 0.80 มาก

4 ความเปนไปไดของการนําไปใช 4.20 0.75 มาก5 ความคิดริเริ่ม/สรางสรรค/ทันสมัยของ

รูปแบบ4.00 0.89 มาก

6 ความยืดหยุนในการนํารูปแบบไปใช 4.40 0.80 มากภาพรวม 4.46 0.74 มาก

จากตารางท่ี 4.13 พบวา คุณภาพของรูปแบบโดยภาพรวมมีคุณภาพระดับมาก ( x = 4.46,S.D.= .18) เม่ือพิจารณาเปนรายดาน พบวา รูปแบบมีความชัดเจนของแตละองคประกอบ มากท่ีสุด( x =4.56, S.D. = .61) และความถูกตองของแตละองคประกอบอยูในระดับมากท่ีสุด ( x = 4.52, S.D. =.61) สวนดานความเหมาะสมของข้ันตอน/กิจกรรมกับกลุมเปาหมาย ความเปนไปไดของการนําไปใช และความคิดริเริ่ม/สรางสรรค/ทันสมัยของรูปแบบและความยืดหยุนในการนํารูปแบบไปใช มีคุณภาพในระดับมาก ( x = 4.00-4.40, S.D. = .75-.89)

นอกจากนั้น ผูทรงคุณวุฒิไดใหขอเสนอแนะท่ีเปนประโยชนตอการปรับปรุงรูปแบบการพัฒนาครูและผูบริหารของโรงเรียน ผูวิจัยวิเคราะหประเด็นความคิดเห็นและสังเคราะหขอมูลสรุปได ดังนี้

113

(1) โรงเรียนมีการศึกษาขอมูลรอบดานตรงประเด็นกับสภาพปญหาความตองการในการพัฒนาซึ่งเปนปจจัยสงผลตอการกําหนดรูปแบบการพัฒนาท่ีชัดเจน มีการกําหนดบทบาทผูท่ีเก่ียวของไวอยางเปนรูปธรรมนําสูการปฏิบัติไดจริง สรางโอกาสใหทุกคนไดพัฒนาตามศักยภาพและแลกเปลี่ยนเรียนรูรวมกันอยางสรางสรรค

(2) การกําหนดรูปแบบมีความละเอียด แตกิจกรรมไมไดสนองรูปแบบท่ีแทจริง เปนกิจกรรมท่ัวไป จึงควรกําหนดข้ันตอนกิจกรรมใหสอดคลองกับรูปแบบ (ICT)

(3) ควรมีการบริหารจัดการในการใชระบบสารสนเทศและระบบเครือขายภายในโรงเรียนเพ่ือเปนการรองรับรูปแบบการพัฒนาการใช ICT ในการจัดการเรียนรู ซึ่งสามารถทําใหทรัพยากรสารสนเทศภายในโรงเรียนขนาดเล็กท่ีมีอยูอยางจํากัดสามารนํามาใชในการพัฒนาครูและผูบริหารไดอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล

(4) รูปแบบตองใหกระชับแตสามารถยืดหยุนได ไมควรมีกระบวนการหรือข้ันตอนมากเกินไปซึ่งทําใหไมนาสนใจและนําไปใชแลวเกิดความยุงยากหรอืซับซอน

รูปแบบการพัฒนาครูและผูบริหารสถานศึกษาโดยใชโรงเรียนเปนฐานแบบแลกเปลี่ยนความรูคูการปฏิบัติ: บูรณาการใช ICT ในการจัดการเรียนรู ของโรงเรียนวัดสโมสร นําเสนอไดดังภาพท่ี 4.4

114

115

3.5 รูปแบบการพัฒนาครูและผูบริหารสถานศึกษาโดยใชโรงเรียนเปนฐานและผลการตรวจสอบรูปแบบของโรงเรียนบานทุงขันหมาก

3.5.1 องคประกอบของรูปแบบ1) ช่ือรูปแบบ “กลยุทธการมีสวนรวมของภาคีเครือขาย “ใจประสานใจ” เพ่ือสงเสริม

ทักษะการคิดของนักเรียน”2) แนวคิดการพัฒนารูปแบบ

รูปแบบการพัฒนาครูและผูบริหารสถานศึกษาแบบใชโรงเรียนเปนฐานโดยใชกลยุทธการมีสวนรวมของภาคีเครือขาย “ใจประสานใจ” เพ่ือสงเสริมทักษะการคิดของนักเรียนโรงเรียนบานทุงขันหมาก มีท่ีมาจากแนวคิดหลัก 3 อยาง คือ แนวคิดการพัฒนาแบบองครวม โรงเรียนนิติบุคคล การพัฒนาแบบใชโรงเรียนเปนฐาน

2.1) แนวคิดการพัฒนาแบบองครวม (whole school approach) เปนการพัฒนาคุณภาพของโรงเรียนในทุกดาน ทุกองคประกอบดวยความรวมมือรวมใจกันทํางานของผูบริหาร ครู และบุคลากรทุกคนในโรงเรียนโดยไดรับความรวมมือจากผูปกครอง ชุมชน และหนวยงานท่ีเก่ียวของ การพัฒนานี้จะนําเขาสูระบบงานปกติเพ่ือใหสามารถพัฒนาใหเกิดการเปลี่ยนแปลงไดครบทุกดาน ทุกสวนงานผานกระบวนการสํารวจสภาพและปญหาของโรงเรียน การสนทนาแลกเปลี่ยนความคิด การเกิดความตระหนักในการพัฒนา การวางแผน การลงมือปฏิบัติไปพรอม ๆ กัน การนิเทศติดตามเพ่ือประเมินผลและปรับปรุงงานตามวงจร PDCA แนวคิดนี้ปรากฏในท้ัง 4 ยุทธศาสตรและทุกข้ันตอนของการดําเนินงาน

2.2) โรงเรียนนิติบุคคล เปนแนวคิดของการบริหารจัดการแบบพ่ึงตนเอง โดยสถานศึกษาท่ีเปนนิติบุคคล เปนโรงเรียนในสังกัดเขตพ้ืนท่ีการศึกษาท่ีกฎหมายยอมรับใหสามารถกระทํากิจกรรมตาง ๆ ไดดวยตนเองตามในกรอบวัตถุประสงค มีสิทธิและหนาท่ีตามบทบัญญัติแหงกฎหมายและระเบียบราชการกระทรวงศึกษาธิการ โดยมีวัตถุประสงคเพ่ือใหสถานศึกษาจัดการศึกษาอยางเปนอิสระ คลองตัว ใหสามารถบริหารจัดการศึกษาไดสะดวก รวดเร็ว มีประสิทธิภาพตามหลักการกระจายอํานาจและการบริหารท่ีใชโรงเรียนเปนฐาน และเพ่ือใหการจัดการศึกษาเปนไปเพ่ือพัฒนาคนไทยใหเปนมนุษยท่ีสมบูรณ ท้ังรางกาย จิตใจ สติปญญา ความรูและคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดํารงชีวิต สามารถอยูรวมกับผูอ่ืนไดอยางมีความสุข ภายใตขอบขายและภารกิจการบริหารวิชาการ

2.3) การพัฒนาแบบใชโรงเรียนเปนฐาน เปนแนวคิดท่ีเนนการพัฒนาครูภายในโรงเรียนตามสภาพปญหาและความตองการของครู ครูจะรวมกลุมกันจัดการอบรมหรือแลกเปลี่ยนเรียนรูในประเด็นท่ีเปนปญหาดานการจัดการเรียนรูหรืออ่ืน ๆ จากครูผูเชี่ยวชาญในโรงเรียนหรือภายนอกโรงเรียนตามวันเวลาท่ีสะดวกอยางตอเนื่องสําหรับนําสิ่งท่ีไดเรียนรูลงสูการปฏิบัติ การแกปญหาในหองเรียนของตนเอง มีการนําวงจรคุณภาพ (PDCA) และกัลยาณมิตรนิเทศมาใชในการพัฒนาภายใตการสนับสนุนชวยเหลือของผูบริหาร

116

3) ข้ันตอนการดําเนินงานตามรูปแบบรูปแบบการพัฒนาครูและผูบริหารสถานศึกษาแบบใชโรงเรียนเปนฐานโดยใชกลยุทธ

การมีสวนรวมของภาคีเครือขาย “ใจประสานใจ” เพ่ือสงเสริมทักษะการคิดของนักเรียนโรงเรียนบานทุงขันหมาก มีข้ันตอนการดําเนินงาน ดังนี้

3.1) ข้ันมีสวนรวมวิเคราะหสภาพปญหาและสาเหตุของปญหา โดยโรงเรียนแตงตั้งภาคีเครือขายเปนคณะทํางาน ประกอบดวย ผูบริหารสถานศึกษา คณะครู ผูปกครอง คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ผูนําชุมชนกลุมตาง ๆ รวมกันวิเคราะหผลการบริหารจัดการศึกษาของโรงเรียนบานทุงขันหมากท่ีผานมาจากแหลงขอมูลตาง ๆ เชนรายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษาประจําปการศึกษา(SAR) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน ผลการทดสอบระดับชาติ ระดับทองถ่ิน ผลการบริหารจัดการศึกษาของโรงเรียนในแตละปการศึกษา สภาพปญหาการบริหารจัดการศึกษา สภาพปญหาการจัดการเรียนรูของครู และสภาพปญหาของนักเรียนในขณะอยูกับผูปกครอง เพ่ือระบุปญหาสาเหตุของปญหา และรวมกันกําหนดแนวทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียน

3.2) ข้ันมีสวนรวมวางแผนแกปญหา รายละเอียดการดําเนินงานมีดังนี้(1) แตงตั้งคณะทํางานเพ่ือจัดทํากลยุทธการพัฒนาครู ผูบริหาร และผูมีสวน

เก่ียวของใหมีความรูความเขาใจในการพัฒนาผูเรียนตามจุดเนนท่ีไดรวมกันวิเคราะหในข้ันท่ี 1(2) สรางความรูความเขาใจแกครู ผูบริหาร และผูมีสวนเก่ียวของเก่ียวกับการ

พัฒนาคุณภาพผูเรียนแบบใชโรงเรียนเปนฐาน โดยการศึกษาเอกสารและงานวิจัยท่ีเก่ียวของ การแลกเปลี่ยนประสบการณการพัฒนาผูเรียน

(3) จัดทํากลยุทธการพัฒนาครู ผูบริหารและผูมีสวนเก่ียวของโดยวิเคราะหแนวคิดทฤษฎีดังกลาว มาประยุกตใชในการจัดทํากลยุทธภาคีเครือขาย “ใจประสานใจ” จํานวน 7 กลยุทธดังนี้ กลยุทธท่ี 1 สรางแรงจูงใจ กลยุทธท่ี 2 ใหโอกาสพัฒนา กลยุทธท่ี 3 พาทําเปนทีม กลยุทธท่ี 4 ยิ้มรับปญหา กลยุทธท่ี 5 พกพาขวัญกําลังใจ กลยุทธท่ี 6 จัดใหมีบรรยากาศ กลยุทธท่ี 7 ประกาศตอสาธารณชน

3.3) ข้ันการมีสวนรวมดําเนินงานตามแผน เปนข้ันมีสวนรวมในการนํารูปแบบกลยุทธภาคีเครือขาย “ใจประสานใจ”เพ่ือพัฒนาครู ผูบริหาร และผูมีสวนเก่ียวของใหมีความรูความเขาใจในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาตามจุดเนน โดยใชกลยุทธดังนี้

(1) กลยุทธท่ี 1 สรางแรงจูงใจ เปนการสรางแรงจูงใจและความตระหนักในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนตามจุดเนนใหแกนักเรียน คณะครู ผูบริหารและผูสวนเก่ียวของ โดยการจัดประชุมชี้แจงผูเก่ียวของใหเห็นถึงความจําเปนของการพัฒนา จัดหาวิทยากรท่ีมีความรูความสามารถมาสรางแรงจูงใจใหแกผูมีสวนเก่ียวของ เชน ศึกษานิเทศก คณะอาจารยจากสถาบันอุดมศึกษาในเขตบริการคณะครูจากโรงเรียนอ่ืนท่ีมีความรูความสามารถดานดังกลาว และดําเนินการประเมินความรูความเขาใจในการพัฒนาตามจุดเนนกอนการพัฒนา

117

(2) กลยุทธท่ี 2 ใหโอกาสพัฒนา เปนการดําเนินการพัฒนาคณะครู บริหาร และผูมีสวนเก่ียวของ ดวยวิธีการท่ีหลากหลาย ไดแก 1) การอบรมเชิงปฏิบัติการเพ่ือพัฒนาทักษะการคิดตามบทบาทหนาท่ีของแตละฝาย เชน ผูบริหารและคณะครูเขารับการอบรมโดยการรวมกลุมกับโรงเรียนในเครือขายและมุงเนนการฝกปฏิบัติจริง เชน การอบรมเชิงปฏิบัติการการจัดทําโครงงาน เปนตน ในสวนของพอแมผูปกครองนักเรียน คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐานและผูนําชุมชนสามารถจัดเปนลักษณะการเขาคายสงเสริมความรูความเขาใจดานการดูแลบุตรหลานในดานการพัฒนากระบวนการคิดจากวิทยากรท่ีมีความเชี่ยวชาญในดานดังกลาว 2) การศึกษาดูงานดานการพัฒนาทักษะการคิดจากแหลงเรียนรูตางๆเชนจากโรงเรียนท่ีประสบความสําเร็จในดานดังกลาว 3)ศึกษาดวยตนเองจากแหลงเรียนรูตางๆเชนจากอินเตอรเน็ต จากโทรทัศนครู เปนตน และ 4) ดําเนินการประเมินความรูความเขาใจดานทักษะการคิดหลังการพัฒนาของผูมีสวนรวมในภาคีเครือขาย

(3) กลยุทธท่ี 3 พาทําเปนทีม ข้ันนี้เปนการดําเนินการท่ีผูมีสวนเก่ียวของแตละฝายนําความรูความเขาใจดานทักษะการคิดไปดําเนินการพัฒนานักเรียนตามบทบาทของผูมีสวนเก่ียวของแตละฝาย เชน 1) ผูบริหารใหการสงเสริมสนับสนุน จัดหางบประมาณ วัสดุอุปกรณแกคณะครู สงเสริมขวัญกําลังใจใหแกผูมีสวนเก่ียวของทุกฝาย 2) คณะครูดําเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรูเพ่ือสงเสริมทักษะการคิดใหแกนักเรียนดวยวิธีการท่ีหลากหลาย 3) ฝายผูปกครอง คณะกรรมการ ผูนําชุมชนกลุมตางๆรวมกันพัฒนานักเรียนดานทักษะการคิดในขณะอยูท่ีบานตามบทบาทหนาท่ีของแตละฝายดวยวิธีการท่ีหลากหลายเปนตน

(4) กลยุทธท่ี 4 ยิ้มรับปญหา ข้ันนี้ผูบริหาร คณะครูและผูมีสวนเก่ียวของทุกฝายรวมกันประเมินสภาพปญหาและรวมกันหาแนวทางในการแกปญหาการพัฒนานักเรียนดานทักษะการคิดรวมกันอยางตอเนื่องโดยใชกระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีสวนรวม

(5) กลยุทธท่ี 5 พกพาขวัญกําลังใจ ข้ันนี้เปนการยกยองชมเชยผูบริหาร คณะครูและผูมีสวนเก่ียวของทุกฝายในโอกาสและสถานท่ีตาง ๆ เชน การประชุมคณะครูประจําเดือน การประชุมชาวบาน การมอบเกียรติบัตรยกยองเชิดชูเกียรติ เปนตน

(6) กลยุทธท่ี 6 จัดใหมีบรรยากาศทํางาน เปนการจัดสภาพแวดลอมท่ีสงเสริมบรรยากาศการดําเนินงาน เชน จัดใหมีหองสําหรับใชเปนแหลงเรียนรูและการประชุมหรือปฏิบัติงานดานทักษะการคิดสําหรับผูบริหาร คณะครู และผูมีสวนเก่ียวของทุกฝาย จัดใหมีวัสดุอุปกรณท่ีเอ้ือตอการศึกษาคนควาและการดําเนินงาน เชน คอมพิวเตอร ระบบอินเตอรเน็ต มุมเอกสารหรืองานวิจัยท่ีเก่ียวของสําหรับใชเปนแหลงสืบคน หรือจัดปายขาวหรือความรูเก่ียวกับการสงเสริมดานทักษะการคิดใหแกนักเรียน

(7) กลยุทธท่ี 7 ประกาศตอสาธารณชน เปนการสงเสริมใหมีการประชาสัมพันธการดําเนินงานตอสาธารณชนในโอกาสและสถานท่ีตาง ๆท้ังภายในโรงเรียน ในชุมชน โดยใชสื่อท่ีหลากหลาย การสนับสนุนใหเขารวมกิจกรรมท่ีหนวยงานอ่ืนจัดข้ึน เชน รวมจัดนิทรรศการผลงาน นําเสนอผลงานท่ีหนวยงานตาง ๆ จัดข้ึน การจัดทําวารสาร หรือแผนพับประชาสัมพันธผลการดําเนินงานใหแก

118

สาธารณชนทราบเปนระยะ รวมท้ังการมอบเกียรติบัตรหรือรางวัลเพ่ือยกยองเชิดชูเกียรติใหแกผูเก่ียวของในโอกาสตาง ๆ เปนตน

3.4) ข้ันการมีสวนรวมประเมินผลระหวางดําเนินงานตามแผน (ปรับปรุงรูปแบบ) ข้ันนี้เปนการประเมินผลระหวางการดําเนินงาน การนิเทศติดตามแบบกัลยาณมิตรโดยคณะทํางานของโรงเรียนสํานักงานเขตพ้ืนท่ี มหาวิทยาลัย และหนวยงานท่ีเก่ียวของ เพ่ือนําผลการประเมินระหวางการดําเนินงานมาเปนขอมูลในการปรับปรุงเพ่ือพัฒนารูปแบบตอไป

3.5) ข้ันการมีสวนรวมประเมินผลเม่ือสิ้นสุดการดําเนินงานตามแผน เปนการประเมินผลหลังการดําเนินงานนิเทศติดตามแบบกัลยาณมิตร ในข้ันนี้ผูมีสวนเก่ียวของทุกฝายรวมกันประเมินผลหลังการดําเนินงานเพ่ือรวมกันวิเคราะหสภาพปญหาและอุปสรรคหลังการดําเนินงานและรวมกันหาแนวทางการแกไขปญหาท่ีเกิดข้ึนเพ่ือปรับปรุงการดําเนินงานในครั้งตอไป

3.6) ข้ันการมีสวนรวมสรุปเผยแพรผลการดําเนินงาน เปนการจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรูถอดบทเรียน และเผยแพรผลการดําเนินงานแกหนวยงานตนสังกัดหรือผูสนใจอ่ืน ๆ ในข้ันนี้ควรจัดใหผูมีสวนเก่ียวของทุกฝายรวมนําเสนอผลการดําเนินงานของและฝายโดยจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรูรวมกัน ถอดบทเรียนการมีสวนรวมในการพัฒนาผูเรียน

3.7) ข้ันการดําเนินงานในวงรอบการพัฒนาปตอไป ข้ันนี้ผูมีสวนเก่ียวของรวมกันนําปญหาอุปสรรค จุดเดน จุดดอยในการดําเนินงานมาวิเคราะหเพ่ือนําไปพัฒนาในการดําเนินงานในวงรอบตอไป

4) บทบาทของผูเกี่ยวของ4.1) ผูบริหารสถานศึกษา มีบทบาทในการวางแผน กําหนดนโยบายนิเทศติดตาม การ

สงเสริม อํานวยความสะดวก เปนผูประสานผูมีสวนเก่ียวของทุกฝาย การสงเสริมขวัญและกําลังใจในการดําเนินงานของผูมีสวนเก่ียวของทุกฝายในการมีสวนรวมพัฒนาทักษะการคิดใหแกนักเรียน

4.2) คณะครู มีบทบาทในการจัดกิจกรรมการเรียนรูเพ่ือพัฒนาทักษะการคิดใหแกนักเรียนดวยวิธีการท่ีหลากหลาย

4.3) นักเรียน มีบทบาทในการใหความรวมมือและเขารวมกิจกรรมการเรียนรูและกิจกรรมอ่ืนๆท่ีผูมีสวนเก่ียวของรวมกันจัดเพ่ือพัฒนาทักษะการคิดใหแกนักเรียน

4.4) ผูปกครองนักเรียน มีบทบาทในการใหความรวมมือกับคณะครูและโรงเรียนในทุกดานการมีสวนรวมพัฒนาทักษะการคิดใหแกนักเรียนขณะท่ีนักเรียนอยูท่ีบาน

4.5) คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน มีบทบาทในการใหความรวมมือ สนับสนุนดานทรัพยากร ดานการประชาสัมพันธการดําเนินงานของโรงเรียนกับชุมชน และการมีสวนรวมพัฒนาทักษะการคิดใหแกนักเรียน

4.6) ผูนําชุมชนกลุมตาง ๆ มีบทบาทในการใหความรวมมือกับโรงเรียน การเปนผูนําแนวความคิดเปนแบบอยางแกชุมชนดานการพัฒนาทักษะการคิดใหแกนักเรียน

119

4.7) สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราชเขต 4 มีบทบาทในการสนับสนุนและสงเสริมการพัฒนาทักษะการคิดใหแกคณะครู ผูบริหารและผูมีสวนเก่ียวของ การนิเทศแบบกัลยาณมิตร และประสานการดําเนินงานกับมหาวิทยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราช และหนวยงานตนสังกัดหรือหนวยงานอ่ืน ๆ ท่ีเก่ียวของ

4.8) มหาวิทยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราช มีบทบาทในการเปนผูเชี่ยวชาญ ตรวจสอบกรอบแนวคิดและรูปแบบการพัฒนา คณะครู ผูบริหารและผูมีสวนเก่ียวของทุกฝายในการมีสวนรวมพัฒนาทักษะการคิดใหแกนักเรียนและการนิเทศติดตามการดําเนินงานดังกลาวรวมกับสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราชเขต 4 การจัดเวทีแลกเปลีย่นเรียนรู การถอดบทเรียนการมีสวนรวมของผูเก่ียวของ การเผยแพรผลการดําเนินงาน เปนตน

3.5.2 ผลการตรวจสอบรูปแบบของโรงเรียนบานทุงขันหมากดานความสอดคลองของรูปแบบผลการตรวจสอบรูปแบบดานความสอดคลองของรูปแบบกับปจจัยภายนอกและปจจัย

ภายในของรูปแบบ ปรากฏผลดังตารางท่ี 4.14

ตารางท่ี 4.14 ดัชนีความสอดคลองของรูปแบบกับปจจัยภายนอกและปจจัยภายในของรูปแบบโรงเรียนบานทุงขันหมาก

ขอ ประเด็นตรวจสอบดัชนีความสอดคลอง

ความหมาย

1 ความสอดคลองของรูปแบบกับปจจัยภายนอก1.1 นโยบายพัฒนาครู/การเรียนการสอน1.2 สภาพปญหาของโรงเรียนขนาดเล็ก1.3 ความตองการของคร/ูผูบริหาร/ชุมชน1.4 ทฤษฏี การบริหารจัดการโดยใชโรงเรียนเปนฐาน1.5 แนวคิดการจัดการเรียนการสอนท่ีเปนผูเรียนเปนสําคัญ

0.800.800.600.600.60

มีความสอดคลองมีความสอดคลองมีความสอดคลองมีความสอดคลองมีความสอดคลอง

2 ความสอดคลองของรูปแบบกับปจจัยภายใน2.1 วัตถุประสงคของรูปแบบสอดคลองกับเปาหมายในการ

พัฒนารูปแบบ2.2 วัตถุประสงคของรูปแบบสอดคลองกับท่ีมาของรูปแบบ2.3 ยุทธศาสตรของรูปแบบสอดคลองกับวัตถุประสงคของรูปแบบ2.4 ข้ันตอนของรูปแบบสอดคลองกับวัตถุประสงคของรูปแบบ2.5 แนวการใชรูปแบบสอดคลองกับวัตถุประสงคและข้ันตอนของ

รูปแบบ

0.80

0.600.600.600.60

มีความสอดคลอง

มีความสอดคลองมีความสอดคลองมีความสอดคลองมีความสอดคลอง

120

จากตารางท่ี 4.14 พบวามีความสอดคลองของรูปแบบกับปจจัยภายนอก ไดแก นโยบายพัฒนาครู/การเรียนการสอน และสภาพปญหาของโรงเรียนขนาดเล็ก มีดัชนีความสอดคลองเทากับ 0.80 สวนความสอดคลองดานความตองการของครู/ผูบริหาร/ชุมชน ทฤษฎี การบริหารจัดการโดยใชโรงเรียนเปนฐาน และแนวคิดการจัดการเรียนการสอนท่ีเปนผูเรียนเปนสําคัญ มีดัชนีความสอดคลองในแตละประเด็นเทากับ 0.60 และมีความสอดคลองของรูปแบบกับปจจัยภายใน ไดแก วัตถุประสงคของรูปแบบสอดคลองกับเปาหมายในการพัฒนารูปแบบ มีดัชนีความสอดคลองเทากับ 0.80 วัตถุประสงคของรูปแบบสอดคลองกับท่ีมาของรูปแบบ ยุทธศาสตรของรูปแบบสอดคลองกับวัตถุประสงคของรูปแบบ ข้ันตอนของรูปแบบสอดคลองกับวัตถุประสงคของรูปแบบ และแนวการใชรูปแบบสอดคลองกับวัตถุประสงคและข้ันตอนของรูปแบบ มีดัชนีความสอดคลองในแตละประเด็นเทากับ 0.60 ตามลําดับ

2) ดานคุณภาพของรูปแบบผลการตรวจสอบคุณภาพของรูปแบบในดานความชัดเจน ความถูกตอง ความ

เหมาะสม ความเปนไปได ความคิดริเริม และความยืดหยุน ปรากฏผลดังตารางท่ี 4.15

ตารางท่ี 4.15 คะแนนเฉลี่ยคุณภาพของรูปแบบจําแนกเปนรายดานตามประเด็นตรวจสอบโรงเรียนบานทุงขันหมาก

ประเด็นตรวจสอบ คะแนนเฉลี่ย S.D. ความหมาย1 ความชัดเจนของแตละองคประกอบ

1.1 ท่ีมาของรูปแบบ1.2 วัตถุประสงคของรูปแบบ1.3 ลักษณะสําคัญของรูปแบบ1.4 ข้ันตอน/ กิจกรรมของรูปแบบ1.5 แนวการนํารูปแบบไปใช

4.405.004.604.604.20

0.490.000.800.490.85

มากมากท่ีสุดมากท่ีสุดมากท่ีสุด

มากรวม 4.56 0.53 มากท่ีสุด

2 ความถูกตองของแตละองคประกอบ2.1 ท่ีมาของรูปแบบ2.2 วัตถุประสงคของรูปแบบ2.3 ลักษณะสําคัญของรูปแบบ2.4 ข้ันตอน/ กิจกรรมของรูปแบบ2.5 แนวการนํารูปแบบไปใช

4.605.004.604.404.60

0.490.400.000.490.49

มากท่ีสุดมากท่ีสุดมากท่ีสุด

มากมากท่ีสุด

รวม 4.64 0.37 มากท่ีสุด

121

ตารางท่ี 4.15 คะแนนเฉลี่ยคุณภาพของรูปแบบจําแนกเปนรายดานตามประเด็นตรวจสอบโรงเรียนบานทุงขันหมาก (ตอ)

ประเด็นตรวจสอบ คะแนนเฉลี่ย S.D. ความหมาย3 ความเหมาะสมของข้ันตอน/กิจกรรมกับ

กลุมเปาหมาย4.40 0.49 มาก

4 ความเปนไปไดของการนําไปใช 4.40 0.49 มาก5 ความคิดริเริ่ม/สรางสรรค/ทันสมัยของรูปแบบ 4.40 0.49 มาก6 ความยืดหยุนในการนํารูปแบบไปใช 4.40 0.49 มาก

ภาพรวม 4.47 0.48 มาก

จากตารางท่ี 4.15 พบวาคุณภาพของรูปแบบโดยภาพรวมมีคุณภาพระดับมาก เม่ือพิจารณาเปนรายดานพบวาความชัดเจนของแตละองคประกอบ และความถูกตองของแตละองคประกอบอยูในระดับมากท่ีสุด สวนดานความเหมาะสมของข้ันตอน/กิจกรรมกับกลุมเปาหมาย ความเปนไปไดของการนําไปใช และความคิดริเริ่ม/สรางสรรค/ทันสมัยของรูปแบบและความยืดหยุนในการนํารูปแบบไปใช มีคุณภาพในระดับมาก

ผลการวิเคราะหความคิดเห็นและขอเสนอแนะเก่ียวกับรูปแบบการพัฒนาครูและผูบริหารของโรงเรียนบานทุงขันหมาก พบวา ผูทรงคุณวุฒิไดใหขอเสนอแนะท่ีเปนประโยชนตอการปรับปรุงรูปแบบคณะผูวิจัยวิเคราะหประเด็นความคิดเห็นและสังเคราะหขอมูลสรุปได ดังนี้

1) รูปแบบท่ีพัฒนาควรใหความสําคัญกับกลยุทธท่ีพัฒนาข้ึน และกระบวนการนํากลยุทธไปสูการพัฒนาความคิดของนักเรียนมากกวากระบวนการท่ัว ๆ ไป

2) โรงเรียนควรสรุปประเด็นสําคัญท่ีเก่ียวของในการกําหนดรูปแบบตามเอกสารท่ีกลาวถึงตามกรอบแนวคิดในรูปแบบเพ่ือใหเห็นความจําเปนท่ีจะตองใชรูปแบบนี้

3) ควรเติมเต็มโดยการกําหนดตัวชี้วัดความสําเร็จจากการใชรูปแบบ4) ควรระบุบทบาทหนาท่ีของผูท่ีเก่ียวของใหเปนรูปธรรมท่ีปฏิบัติไดจริง5) การมีสวนรวมดําเนินงานตามแผนโดยกําหนดรูปแบบ กลยุทธ และยุทธศาสตรควรให

สอดคลอง ลดความซ้ําซอนของกลยุทธ6) การนํารูปแบบไปใชควรกําหนดใหเปนรูปธรรมและมีการติดตามและประเมินผลรูปแบบการพัฒนาครูและผูบริหารสถานศึกษาโดยใชโรงเรียนเปนฐานโดยใชกลยุทธการมีสวน

รวมของภาคีเครือขาย “ใจประสานใจ” เพ่ือสงเสริมทักษะการคิดของนักเรียน” ของโรงเรียนบานทุงขันหมาก นําเสนอไดดังภาพท่ี 4.5

122

123

ตอนที่ 4 การทดลองใชรูปแบบการทดลองใชรูปแบบการพัฒนาครูและผูบริหารสถานศึกษาแบบใชโรงเรียนเปนฐานใน

โรงเรียนขนาดเล็กในจังหวัดนครศรีธรรมราช มีการดําเนินงานท้ังระดับโครงการและระดับโรงเรียน มีรายละเอียดดังนี้

4.1 การทบทวนและปรับแผนการดําเนินงานของโรงเรียนและระดับโครงการ4.1.1 แตละโรงเรียนไดทบทวนและจัดทําแผนการดําเนินงานของโรงเรียนใหมีความชัดเจน

มากข้ึน (รายละเอียดดังภาคผนวก)4.1.2 ทีมนักวิจัยไดกําหนดแผนการดําเนินงานระยะท่ี 2 โดยในวันท่ี 8 พฤษภาคม 2555 ได

ประชุมผูอํานวยการโรงเรียนท่ีเขารวมโครงการและศึกษานิเทศกเพ่ือกําหนดกิจกรรมนิเทศติดตามและแลกเปลี่ยนเรียนรู โดยกําหนดกิจกรรมประชุมทุกวันเสารท่ี 3 ของเดือน ณ สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 4 กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู 2 ครั้ง (เดือนกรกฎาคม และพฤศจิกายน)กําหนดลงพ้ืนท่ีนิเทศติดตามโรงเรียนเดือนละ 1 ครั้ง

4.2 การเพิ่มเติมขอมูลเกี่ยวกับรูปแบบการพัฒนาครูและผูบริหารสถานศึกษาในระยะท่ี 2 มีโรงเรียนท่ีเขารวมโครงการ 5 โรงเรียน เปนโรงเรียนเดิมท่ีพัฒนารูปแบบการ

พัฒนาครูและผูบริหารแลวเสร็จ 3 โรง โรงเรียนเดิมท่ีอยูระหวางการจัดทํารายละเอียดและตรวจสอบรูปแบบ 1 โรง และโรงเรียนใหมท่ีพัฒนาและตรวจสอบรูปแบบแลวเสร็จในระยะท่ี 2 จํานวน 1 โรง สวนโรงเรียนเดิมอีก 1 โรง ท่ีพัฒนารูปแบบแลวเสร็จในระยะท่ี 1 ไมไดดําเนินการตอในระยะท่ี 2 การปรับปรุงและเพ่ิมเติมขอมูลเก่ียวกับรูปแบบของโรงเรียน ดังนี้

โรงเรียนท่ีไมมีการปรับเปลี่ยนรูปแบบ จํานวน 2 โรง คือ โรงเรียนบานน้ําขาว และโรงเรียนบานทุงชน โรงเรียนท่ีปรับชื่อรูปแบบ จํานวน 1 โรง คือ โรงเรียนบานอินทนิน ปรับชื่อรูปแบบเปน รูปแบบการพัฒนาครูและผูบริหารสถานศึกษาแบบอินทนินรวมใจใชโครงงานสานตอการคิด เพ่ือใหสะทอนประเด็นท่ีตองการพัฒนาและเปาหมายคุณภาพผูเรียนมากข้ึน โรงเรียนบานทุงขันหมาก ไดจัดทําองคประกอบและรายละเอียดของรูปแบบแลวเสร็จชื่อรูปแบบ การพัฒนาครู ผูบริหารและผูมีสวนเก่ียวของโดยใชกลยุทธการมีสวนรวมของภาคีเครือขาย ใจประสานใจ เพ่ือสงเสริมทักษะการคิด และโรงเรียนวัดสโมสร เปนโรงเรียนใหมท่ีเขารวมโครงการในระยะท่ี 2 ไดพัฒนารูปแบบการพัฒนาครูและผูบริหารสถานศึกษาแบบแลกเปลี่ยนความรูสูการปฏิบัติ: บูรณาการใช ICT ในการจัดการเรียนรู

4.3 การดําเนินการทดลองใชรูปแบบระดับโรงเรียนในการดําเนินการทดลองใชรูปแบบของแตละโรงเรียน ทางโครงการไดประชุมจัดทํา

เครื่องมือเก็บขอมูลเสนฐานกอนการพัฒนา จัดทําตัวบงชี้ความสําเร็จในการพัฒนาครูและผูบริหาร นักเรียนและชุมชน โรงเรียนดําเนินการเก็บขอมูลเสนฐาน เขารวมกิจกรรมสนับสนุนการพัฒนาครูและผูบริหารสถานศึกษาตามรูปแบบในระดับโครงการ ดําเนินการพัฒนาครูและผูบริหารตามรูปแบบและแผนปฏิบัติการของโรงเรียน จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรูภายในโรงเรียน รายงานความกาวหนาในการดําเนินงานตาม

124

รูปแบบของแตละโรงเรียน เก็บขอมูลหลังการทดลองใชรูปแบบ เพ่ือวิเคราะห สรุปผล และเขียนรายงานการทดลองใชรูปแบบ

4.4 กิจกรรมการพัฒนาครูและผูบริหารสถานศึกษาระดับโครงการในการทดลองใชรูปแบบการพัฒนาครูและผูบริหารสถานศึกษาแบบใชโรงเรียนเปนฐานใน

โรงเรียนขนาดเล็ก ผูวิจัยในฐานะสถาบันอุดมศึกษามีบทบาทในการสนับสนุนการดําเนินงานพัฒนาตามรูปแบบของโรงเรียน กิจกรรมสนับสนุนในระดับโครงการมีดังนี้

4.4.1 การสนับสนุนเอกสาร สื่อท่ีเอ้ือตอการพัฒนาครูตามรูปแบบ ไดแก เอกสาร หนังสือท่ีเก่ียวของกับการพัฒนาทักษะการคิด การจัดการเรียนรูแบบโครงงาน การจัดการเรียนรูแบบบูรณาการICT การปฏิรูปการเรียนรูท้ังโรงเรียน การพัฒนาแบบใชโรงเรียนเปนฐาน

4.4.2 การสนับสนุนวิทยากรใหความรูในประเด็นท่ีสอดคลองกับการพัฒนาครูตามรูปแบบของโรงเรียน เชน วิทยากรใหความรูและฝกปฏิบัติดานทักษะการคิด การดูแลชวยเหลือผูเรียน การใช ICTในการจัดการเรียนรู การจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน

4.4.3 การจัดประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรูระหวางโรงเรียนในระหวางการทดลองใชรูปแบบจํานวน 2 ครั้ง เพ่ือทบทวนและปรับแผนการดําเนินงาน นําผลจากการแลกเปลี่ยนไปประยุกตใชเพ่ือการปรับปรุงการดําเนินงานพัฒนาครูและผูบริหารสถานศึกษาตามรูปแบบของแตละโรงเรียน

4.4.4 การนิเทศติดตามและเยี่ยมเยียนการปฏิบัติงานของครูและผูบริหารสถานศึกษาเพ่ือใหกําลังใจ ชวยแกปญหา ใหขอเสนอแนะ และแนวทางในการพัฒนาการดําเนินงานตามรูปแบบ

4.4.5 การสนับสนุนงบประมาณในการจัดทําสื่อและเขียนรายงานผลการดําเนินงานการพัฒนาครูและผูบริหารสถานศึกษาตามรูปแบบของแตละโรงเรียน

การทดลองใชรูปแบบการพัฒนาครูและผูบริหารสถานศึกษาแบบใชโรงเรียนเปนฐาน มีข้ันตอนและกิจกรรมระดับโครงการและระดับโรงเรียน สรุปไดดังตาราง 4.16

125

ตารางท่ี 4.16 ข้ันตอนและกิจกรรมการดําเนินงานในการนํารูปแบบไปทดลองใชจําแนกตามระดับโครงการและระดับโรงเรียน

ข้ันตอน/กิจกรรมระดับโครงการ ข้ันตอน/ กิจกรรมระดับโรงเรียน1. การเตรียมการ

1.1 สรางความเขาใจกับโรงเรียนเก่ียวกับกรอบการดําเนินงานระยะท่ี 2 ทบทวนรูปแบบและแผนการดําเนินงาน

1.2 จัดทําตัวบงชี้ความสําเร็จและแบบประเมินความรู ทักษะ และเจตคติตอประเด็นพัฒนาของผูท่ีเก่ียวของ

1. การเตรียมการ1.1 ทบทวนรูปแบบ และแผนการดําเนินงาน

1.2 จัดทําตัวบงชี้ความสําเร็จและแบบประเมินความรู ทักษะ และเจตคติตอประเด็นพัฒนาของโรงเรียน

2. การดําเนินงาน2.1 สนับสนุนวิทยากร

2.2 จัดกิจกรรมการพัฒนาครู

2.3 ใหสนับสนุนสื่อ เอกสาร ตํารา2.4 จัดกิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู2.5 นิเทศติดตามการดําเนินงานของโรงเรียน

2.การดําเนินงาน2.1 จัดกิจกรรมพัฒนาครูและผูบริหารภายใน

โรงเรียน เขารวมกิจกรรมของโครงการ2.2 ครู นํ า คว ามรู ท่ี ไ ด จ ากการ พัฒนา ไป

ประยุกตใชในการจัดการเรียนการสอน2.3 นิเทศติดตามท้ังการประชุม จัดกิจกรรม

การพัฒนาครูประจําสัปดาห/เดือน การพูดคุยแบบไมเปนทางการ และการตรวจแผนการจัดการเรียนรู

3. การรวบรวมและวิเคราะหขอมูล3.1 รวบรวมขอมูลจากการสังเกต สัมภาษณเชิง

ลึกกลุมครู ผูบริหาร และนักเรียน3.2 รวบรวมขอมูลจากแบบสอบถามความพึง

พอใจในการจัดกิจกรรมพัฒนาและการเขารวมโครงการท้ังระดับโครงการและระดับโรงเรียน

3.3 รวบรวมขอ มูลจากเอกสารแผนการจัดการเรียนรูและชิ้นงานของผูเรียน

3.4 นํ าข อ มูลมาวิ เคราะห โดยใชส ถิติ เชิ งบรรยาย การวิเคราะหเนื้อหา

3. การรวบรวมและวิเคราะหขอมูล3.1 รวบรวมขอมูลโดยใชแบบประเมินความรู

ทักษะ และเจตคติของผูท่ีเก่ียวของท้ังกอนและหลังการพัฒนา

3.2 รวบรวมขอมูลโดยใชการสังเกต การพูดคุยกับครู นักเรียน ผูเก่ียวของระหวางการพัฒนา/การตรวจเอกสาร ชื้นงานครู และผูเรียน

3.3 นําขอมูลมาวิเคราะหโดยใชสถิติเชิงบรรยายและ T-test

4. การสรุปและรายงานผล นําผลการวิเคราะหขอมูลมาเขียนสรุปและรายงานผลการดําเนินงาน

4. การสรุปและรายงานผล นําผลการวิเคราะหขอมูลมาเขียนสรุปและรายงานผลการดําเนินงาน

126

จากตารางท่ี 4.16 เห็นไดวา การดําเนินกิจกรรมการทดลองใชรูปแบบในระดับโครงการและระดับโรงเรียนมีข้ันตอนท่ีเหมือนกัน แตจะแตกตางกันในรายละเอียดการดําเนินงาน กิจกรรมท่ีจัดในระดับโครงการเปนการจัดในภาพรวมใหแกโรงเรียนทุกโรง สวนในระดับโรงเรียนเปนการจัดกิจกรรมเฉพาะภายในโรงเรียนของแตละโรง

ตอนที่ 5 ผลการทดลองใชรูปแบบผลการทดลองใชรูปแบบการพัฒนาครูและผูบริหารสถานศึกษาแบบใชโรงเรียนเปนฐานในโรงเรียน

ขนาดเล็กในจังหวัดนครศรีธรรมราช ผูวิจัยนําเสนอเปน 3 ประเด็น คือ 1) ผลการดําเนินงานระดับโครงการ 2) ผลการดําเนินงานระดับโรงเรียน และ 3) ผลการประเมินความสําเร็จของรูปแบบ ดังนี้

5.1 ผลการดําเนินงานระดับโครงการนักวิจัยระดับโครงการไดสนับสนุนกิจกรรมพัฒนาครูและผูบริหารสถานศึกษาตามความตองการ

ของกลุมเปาหมาย ท้ังกลุมโรงเรียนท่ีมุงพัฒนาทักษะการคิดดวยโครงงานและกลุมท่ีพัฒนาความรูความสามารถดานเทคโนโลยีสารสนเทศ (ICT) ของครู สําหรับกลุมโรงเรียนท่ีมุงพัฒนาทักษะการคิดดวยโครงงานจัดกิจกรรมพัฒนา 2 ครั้ง ครั้งท่ี 1 เนนการพัฒนาทักษะการคิด ครั้งท่ี 2 เนนการจัดการเรียนรูแบบโครงงาน มีผลการประเมินกิจกรรมดังนี้

5.1.1 การพัฒนาทักษะการคิดดวยโครงงาน วันท่ี 9-10 มิถุนายน 2555 ณ หองมหาชัย’30คณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช ผลการจัดกิจกรรมสรุปดังตารางท่ี 4.17-4.18ตารางท่ี 4.17 ขอมูลพื้นฐานของผูเขารวมกิจกรรมพัฒนาทักษะการคิดดวยโครงงาน

รายการ จํานวน (n=35) รอยละเพศ หญิง

ชาย278

77.1422.86

อายุ 21-30 ป31-40 ป41-50 ป51 ปข้ึนไป

165

23

2.8617.1414.2865.71

การศึกษา ปริญญาตรีสูงกวาปริญญาตรี

305

85.7114.29

ประสบการณการทํางาน ต่ํากวา 10 ป10-20 ป21-30 ปมากกวา 30 ป

310157

8.5728.5742.8620.00

การเขารวมกิจกรรมคร้ังตอไป ไมเขารวมเขารวม

233

2.894.29

127

จากตาราง ผูเขารวมกิจกรรมสวนใหญเปนเพศหญิง อายุ 51-60 ป ระดับการศึกษาปริญญาตรี มีประสบการณการสอน 21-30 ป และสวนใหญตองเขารวมกิจกรรมครั้งตอไปอีก

ตารางท่ี 4.18 ความพึงพอใจตอกิจกรรมอบรมเสริมศักยภาพการพัฒนาทักษะการคิดดวยโครงงานท่ี รายการ ความคิดเห็น S.D. ความหมาย1 ความเหมาะสมของหลักสูตรการอบรม

1.1 เนื้อหาของหลักสูตรการอบรมมีประโยชน 4.29 0.46 มาก1.2 รูปแบบการอบรมสอดคลองกับความตองการ/สนใจ 4.20 0.53 มาก1.3 จํานวน/ชั่วโมงในการอบรม 3.83 0.72 มาก1.4 หลักสูตรสอดคลองกับรูปแบบฯ 4.06 0.60 มาก1.5 สิ่งท่ีไดจากการอบรมสามารถนําไปใชไดจริง 4.11 0.64 มาก

รวม 3.99 0.59 มาก2 ความรูความสามารถของวิทยากร

2.1 วิทยากรมีความรูและประสบการณในเนื้อหาท่ีนําเสนอ 4.46 0.50 มาก2.2 วิธีการและเทคนิคการถายทอดของวิทยากรมีประสิทธิภาพ 4.34 0.59 มาก2.3 การตอบคําถามของวิทยากรมีความชัดเจน 4.34 0.49 มาก2.4 การเปดโอกาสใหผูเขารวมอบรมมีสวนรวม/ซักถาม 4.20 0.54 มาก2.5 การจัดกิจกรรมมีความเหมาะสมและหลากหลาย 4.11 0.54 มาก

รวม 4.00 0.53 มาก3 ความพึงพอใจตอกระบวนการจัดอบรม

3.1 การประชาสัมพันธกิจกรรมการอบรม 3.71 0.68 มาก3.2 ระยะเวลาในการอบรม 3.66 0.77 มาก3.3 เอกสารและสื่อท่ีใชในการอบรม 4.14 0.63 มาก3.4 สถานท่ีในการจัดอบรม 4.34 0.60 มาก

รวม 3.99 0.67 มาก4 ภาพรวมในการจัดอบรม

4.1 ความรูความเขาใจ กอนการอบรม 3.09 0.85 ปานกลาง4.2 ความรูความเขาใจ หลังการอบรม 4.09 0.57 มาก4.3 ความพึงพอใจโดยภาพรวมของการจัดอบรม 4.23 0.50 มาก

รวม 4.07 0.64 มาก

128

จากตารางผูเขารวมกิจกรรมมีความพึงพอใจโดยภาพรวม อยูในระดับมาก เม่ือพิจารณารายดานพบวา ดานความรูความสามารถของวิทยากร ความเหมาะสมของหลักสูตรการอบรม และดานกระบวนการจัดอบรม อยูในระดับมาก โดยมีคาเฉลี่ยเรียงจากมากไปนอยตามลําดับ

นอกจากนี้ ผลการวิเคราะหขอมูลเชิงเนื้อหา พบวา ผูเขาอบรมมีขอเสนอแนะตอการจัดอบรม ดังนี้1. ควรใชวิธีการอบรมในลักษณะนี้สมํ่าเสมอเพ่ือใหครูมีความกระตือรือรนและนําไปใชในการ

จัดการเรียนการสอนใหมีประสิทธิภาพยิ่ง ๆ ข้ึนไป และควรจัดการอบรมหลักสูตรการจัดการเรียนการสอนเพ่ือพัฒนาการคิดในลักษณะนี้ใหกับครูทุกคนตามโอกาสท่ีเหมาะสม

2. ควรนําชิ้นงาน/โครงงานท่ีสําเร็จมานําเสนอเปนตัวอยางดวย3. เปนการจัดอบรมท่ีครูสามารถนําไปใชในการจัดการเรียนการสอนไดดี ทําใหเขาใจทักษะการ

คิดมากกวาเดิม4. ไมควรจัดการอบรมวันเสารคูวันอาทิตย ควรเวนหนึ่งวันเพ่ือใหครูไดทํางานบานหรือทําภาระ

สวนตัว5. ไมควรจัดอบรมในวันหยุดสุดสัปดาห ควรจัดอบรมในชวงปดภาคเรียน

5.1.2 การพัฒนาการจัดการเรียนรูดวยโครงงาน วันท่ี 15-16 กันยายน 2555 ณ โรงแรมขนอมโกลเดนบีช อําเภอขนอม จังหวัดนครศรีธรรมราช ท้ังกลุมโรงเรียนท่ีมุงพัฒนาทักษะการคิดดวยโครงงานและกลุมท่ีพัฒนาความรูความสามารถดานเทคโนโลยีสารสนเทศ (ICT) ของครู มีผลการประเมินกิจกรรมการพัฒนาการจัดการเรียนรูดวยโครงงาน สรุปไดดังตารางท่ี 4.19-4.20

ตารางท่ี 4.19 ขอมูลพื้นฐานของผูเขารวมกิจกรรมการพัฒนาการจัดการเรียนรูดวยโครงงาน

รายการ จํานวน รอยละเพศ หญิง

ชาย2511

69.4430.56

อายุ 21-30 ป31-40 ป41-50 ป51 ปข้ึนไป

53226

13.898.335.5672.22

การศึกษา ปริญญาตรีสูงกวาปริญญาตรี

324

88.8911.11

สถานทีป่ฏิบัตงิาน โรงเรียนบานทุงขันหมากโรงเรียนบานน้าํขาวโรงเรียนบานทุงชนโรงเรียนบานอินทนินโรงเรียนวัดสโมสร

641367

16.6711.1136.1116.6719.44

129

ตารางท่ี 4.19 ขอมูลพื้นฐานของผูเขารวมกิจกรรมการพัฒนาการจัดการเรียนรูดวยโครงงาน (ตอ)

รายการ จํานวน รอยละประสบการณการทํางาน ต่ําวา 1 ป

1-5 ป6-10 ป11-20 ป21 ข้ึนไป

723816

19.445.568.3322.2244.44

การเขารวมกิจกรรมของโครงการ

ไมเคยบางคร้ังเกือบทุกคร้ังทุกคร้ัง

251613

5.5613.8944.4436.11

การเขารวมกิจกรรมคร้ังตอไป ไมเขารวมไมแนใจเขารวม

1134

2.782.7894.44

จากตารางผูตอบแบบสอบถามสวนใหญเปนเพศหญิง รอยละ 69.94 มีอายุ 51 ปข้ึนไป รอยละ72.22 สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี รอยละ 88.89 ปฏิบัติงานอยูในโรงเรียนบานทุงชน รอยละ36.11 มีประสบการณในการทํางาน 21 ปข้ึนไป รอยละ 44.44 เขารวมกิจกรรมของโครงการทุกครั้งรอยละ 36.11 และจะเขารวมการประชุมครั้งตอไป รอยละ 94.44

130

ตารางท่ี 4.20 ความพึงพอใจตอการจัดกิจกรรมอบรมพัฒนาการจัดการเรียนรูดวยโครงงาน

รายการระดับความพึงพอใจ

ความหมายx SD

1 ความเหมาะสมของประชุม1.1 เนื้อหาสาระของการประชุมสอดคลองกับรูปแบบการพัฒนาครูและผูบริหารสถานศึกษาท่ีโรงเรียนพัฒนาข้ึน

4.53 .51 มากท่ีสุด

1.2 รูปแบบการประชุมสอดคลองกับความตองการ/สนใจ 4.50 .56 มาก1.3 จํานวน/ชั่วโมงในการประชุมเหมาะสม 4.17 .51 มาก1.4 เอกสารและสื่อท่ีใชในการประชุม 3.86 .64 มาก1.5 สถานท่ีในการจัดประชุม 4.56 .56 มากท่ีสุด

รวม 4.32 .38 มาก2 ความรูความสามารถของวิทยากร (เฉพาะการอบรม)

2.1 วิทยากรมีความรูและประสบการณในเนื้อหา/ประเด็นท่ีนําเสนอ

4.78 .42 มากท่ีสุด

2.2 วิธีการและเทคนิคการถายทอดของวิทยากรมีประสิทธิภาพ

4.64 .49 มากท่ีสุด

2.3 การตอบคําถามของวิทยากรมีความชัดเจน 4.56 .50 มากท่ีสุด2.4 การเปดโอกาสใหผูเขารวมอบรมมีสวนรวม/ซักถาม 4.42 .60 มาก2.5 การจัดกิจกรรมมีความเหมาะสมและหลากหลาย 4.36 .64 มาก

รวม 4.55 .45 มากท่ีสุด3 สิ่งท่ีไดเรียนรู

3.1 ความรูความเขาใจ กอน การอบรม/ประชุม 3.42 .77 ปานกลาง3.2 ความรูความเขาใจ หลัง การอบรม/ประชุม 4.14 .42 มาก3.3 สิ่งท่ีไดจากการอบรม/ประชุมสามารถนําไปใชในการเรียนการสอนไดจริง/การดําเนินงานตามรูปแบบการพัฒนาฯ

4.25 .56 มาก

3.4 มีความตระหนักในการพัฒนาตนเองตามรูปแบบฯ 4.14 .49 มาก3.5 รูปแบบการพัฒนาฯทีโ่รงเรียนพัฒนาข้ึนเหมาะสมกับบริบทของโรงเรียนและนาํไปสูการพฒันาคุณภาพผูเรียนไดจริง

4.25 .55 มาก

จากตาราง เม่ือพิจารณาเปนรายดานพบวา ดานระดับความเหมาะสมของการประชุมอยูในระดับมาก (คาเฉลี่ยเทากับ 4.32) ดานความรูความสามารถของวิทยากร อยูในระดับมากท่ีสุด (คาเฉลี่ยเทากับ4.55) ดานสิ่งท่ีไดเรียนรู กอนการประชุมมีความรูความเขาใจระดับปานกลาง (คาเฉลี่ยเทากับ 3.42)หลังการประชุมมีความรูความเขาใจระดับมาก (คาเฉลี่ยเทากับ 4.14)

131

จากการวิเคราะหขอมูลเชิงเนื้อหา พบวา ผูเขาอบรมมีขอเสนอแนะและความคิดเห็นตอการจัดอบรม ดังนี้

1. หัวขอท่ีตองการเสริมศักยภาพในการจัดประชุมในครั้งตอไป ไดแก การเขียนรายงานการใชนวัตกรรม การวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน การจัดทําโครงงานตามกลุมสาระ และการใช ICT ในการจัดการเรียนการสอน

2. การนําความรูจากการประชุมไปใช ไดแก นําไปใชในการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงานการจัดการเรียนการสอนเพ่ือพัฒนาทักษะการคิดของนักเรียน และการพัฒนารูปแบบการสอนในชั้นเรียน

3. ความคิดเห็นและขอเสนอแนะเพ่ิมเติม มีดังนี้ ควรมีการนิเทศติดตามผลการดําเนินงานอยางสมํ่าเสมอ ควรสรางความตระหนักใหผูท่ีเก่ียวของมากกวานี้ และควรใชวัน เวลา ราชการในการจัดอบรม

5.2 ผลการดําเนินงานระดับโรงเรียนโรงเรียนท่ีเขารวมโครงการท้ังกลุมโรงเรียนท่ีมุงพัฒนาทักษะการคิดดวยโครงงานและกลุมท่ี

พัฒนาความรูความสามารถดานเทคโนโลยีสารสนเทศ (ICT) ไดจัดกิจกรรมตามรูปแบบการพัฒนาครูและผูบริหารสถานศึกษา มีผลการจัดกิจกรรมดังนี้

5.2.1 โรงเรียนท่ีมุงพัฒนาทักษะการคิดดวยโครงงาน ไดแก โรงเรียนบานทุงชน โรงเรียนบานอินทนิน โรงเรียนบานน้ําขาว และโรงเรียนบานทุงขันหมากไดรวมกลุมกันจัดกิจกรรมพัฒนาครูภายในโรงเรียนโดยเชิญศึกษานิเทศกจากสํานักงานเขตพ้ืนท่ีมาเปนวิทยากรพาทําในการจัดการเรียนรูแบบโครงงาน โดยใชสถานท่ีของโรงเรียนบานอินทนิน ผลการจัดกิจกรรมพบวา ครูมีความพึงพอใจตอรูปแบบการอบรมแบบพาทํา และมีความเขาใจในการทําโครงงานมากข้ึน นอกจากนี้โรงเรียนบานทุงชนไดจัดกิจกรรมศึกษาดูงานโรงเรียนท่ีเปนแบบอยางการพัฒนาทักษะการคิด (โรงเรียนบานชุมโลง)

5.2.2 โรงเรียนท่ีพัฒนาความรูความสามารถดานเทคโนโลยีสารสนเทศ (ICT) ของครู ไดแกโรงเรียนวัดสโมสร ไดจัดกิจกรรมพัฒนาครูในเรื่องท่ีตรงกับความตองการโดยใชเวลาในวันหยุดราชการ(เสาร–อาทิตย) หลักสูตรท่ีครูไดรับการพัฒนาโดยการอบรมโดยตรงไดแก อบรมหลักสูตรการใช ICT บูรณาการในการจัดการเรียนรู เปนหลักสูตรการอบรมปฏิบัติการ ผูเขารับการอบรมเปนครู จํานวน 9 คน ใชเวลาในการอบรม 3 วัน รวม 20 ชั่วโมง (วันท่ี 19-21 พฤษภาคม 2555) ณ หองคอมพิวเตอรโรงเรียนวัดสโมสรโดยใชวิทยากรจากคณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช เนื้อหาการอบรมประกอบดวยความสําคัญของการจัดการเรียนรูบูรณาการ ICT สื่อ-วัสดุ ICT ท่ีใชบูรณาการในการจัดการเรียนรู การออกแบบการจัดการเรียนรูบูรณาการ ICT ในระดับปฐมวัยและประถมศึกษา การเก็บขอมูลวัดประเมินผลตามสภาพจริง การสรางสื่อการเรียนรู ใบความรู ดวยโปรแกรมคอมพิวเตอร (Word, Excel, PowerPoint,Internet) การสรางเกณฑประเมินผลชิ้นงานนักเรียน การใชระบบ Social Network ในการสื่อสารและเผยแพรผลงาน ผลการประเมินการจัดกิจกรรมสรุปดังตารางท่ี 4.21

132

ตารางท่ี 4.21 ผลการประเมินความรูท่ีครูไดรับจากการอบรมหลักสูตรบูรณาการ ICT

ขอ รายการกอนอบรม ความหมาย หลังอบรม ความหมาย

X S.D X S.D1 ความสําคัญของการจัดการเรียนรู

บูรณาการใช ICT3.11 .78 ปานกลาง 4.00 .71 มาก

2 สื่อ-วัสดุ ICT ที่ใชบูรณาการในการจัดการเรียนรู

3.22 .44 ปานกลาง 4.00 .50 มาก

3 การออกแบบการจัดการเรียนรูบูรณาการใช ICT

3.00 .71 ปานกลาง 3.67 .50 มาก

4 การออกแบบหนวยการเรียนรู 3.11 .33 ปานกลาง 4.11 .60 มาก

5 การจัดทําแผนการจัดการเรียนรู 2.89 .33 ปานกลาง 4.00 .50 มาก

6 การกําหนดสื่อ-แหลงเรียนรู 2.89 .60 ปานกลาง 4.00 .71 มาก

7 การจัดกิจกรรมการเรียนรู 3.11 .60 ปานกลาง 4.00 .50 มาก

8 การวัดประเมินผลตามสภาพจริง 3.11 .60 ปานกลาง 4.11 .60 มาก

9 การสรางสื่อการเรียนรู ใบความรูดวยโปรแกรมคอมพิวเตอร และInternet

2.89 .60 ปานกลาง 4.00 .71 มาก

10 การใชโปรแกรมประมวลคํา(Word)

3.11 .60 ปานกลาง 4.00 .71 มาก

11 การใชโปรแกรมตารางคํานวณ(Excel)

2.33 .50 นอย 3.89 .78 มาก

12 การใชโปรแกรมการนําเสนอ(PowerPoint)

2.44 .53 นอย 3.67 .71 มาก

13 การใช E-mail ในการสื่อสาร 2.44 .88 นอย 3.67 .71 มาก

14 การคนหาขอมูล ความรู ขาวสารจาก Internet

3.00 .71 ปานกลาง 4.00 .71 มาก

15 การใชประโยชนจากคอมพิวเตอรและInternet

2.67 .71 ปานกลาง 4.22 .67 มาก

16 การใชกลองดิจิตอล 3.00 .50 ปานกลาง 3.44 .73 มาก

133

ตารางท่ี 4.21 ผลการประเมินความรูท่ีครูไดรับจากการอบรมหลักสูตรบูรณาการ ICT (ตอ)

ขอ รายการกอนอบรม

ความหมายหลังอบรม

ความหมายX S.D X S.D

17 การใชโทรทัศน ,CD , DVD 3.00 .50 ปานกลาง 3.78 .67 มาก

18 การใชสื่อ CAI, CD-ROM 2.44 .53 นอย 3.89 .60 มาก

19 การใชระบบ Social Network ในการสื่อสารและเผยแพรผลงาน

2.44 .53 นอย 3.44 .53 มาก

20 การสรางสรรคงานจากคอมพิวเตอรและ Internet

2.44 .53 นอย 3.78 .44 มาก

รวม 2.86 .29 ปานกลาง 3.88 .41 มากคาความแตกตาง (t-test) 6.97**

จากตารางครูท่ีเขาอบรมหลักสูตรบูรณาการ ICT มีความรูความเขาใจในประเด็นท่ีพัฒนาหลังการอบรมอยูในระดับมาก โดยมีคาเฉลี่ยโดยภาพรวมหลังการอบรมสูงข้ึนกวากอนอบรมอยางมีนัยสําคัญทางสถิตท่ีิระดบั .01

5.3 ผลการประเมินความสําเร็จของรูปแบบผูวิจัยนําเสนอผลการทดลองใชรูปแบบการพัฒนาครูและผูบริหารสถานศึกษาแบบใชโรงเรียน

เปนฐานในโรงเรียนขนาดเล็ก ท่ีเกิดข้ึนกับผูบริหารสถานศึกษา ครู นักเรียน ผูปกครอง/ชุมชนและกรรมการสถานศึกษา จําแนกเปน 4 ดาน ไดแก 1) ดานความรูความเขาใจ 2) ดานทักษะ/การปฏิบัติ 3) ดานเจตคติ/ความพึงพอใจ และ 4) ดานผลงานหรือชิ้นงาน มีรายละเอียด ดังนี้

5.3.1 ผลท่ีเกิดข้ึนกับผูบริหารโรงเรียนผลท่ีเกิดข้ึนกับผูบริหารโดยภาพรวมจากการนํารูปแบบการพัฒนาครูและผูบริหาร

สถานศึกษาแบบใชโรงเรียนเปนฐานไปใช ผูวิจัยนําเสนอผลการวิเคราะหขอมูลเชิงปริมาณท่ีไดจากการตอบแบบสอบถามของผูบริหารโรงเรียนดังตารางท่ี 4.22-4.23 และตามดวยผลการวิเคราะหขอมูลเชิงคุณภาพจากการสัมภาษณเชิงลึก การแลกเปลี่ยนเรียนรู และการศึกษาเอกสารผลการดําเนินงาน ตามลําดับ

134

ตารางท่ี 4.22 ขอมูลพื้นฐานของผูบริหารโรงเรียน

รายการ โรงเรียนบานทุงขันหมาก

โรงเรียนบานทุงชน

โรงเรียนบานอินทนิน

โรงเรียนบานน้ําขาว

โรงเรียนวัดสโมสร

1.เพศ ชาย ชาย หญิง ชาย หญิง2.อายุ 40 52 39 39 443.วุฒิสูงสุด ป.โท ป.โท ป.โท ป.โท ป.โท4.วิทยฐานะ ชํานาญการ ชํานาญการ

พิเศษชํานาญการ

พิเศษชํานาญการ ชํานาญการ

พิเศษ5.ระยะเวลาในการปฏิบัติ

หนาท่ีครูผูสอน11 16 6 10 10

6.ระยะเวลาในการเปนผูบริหารโรงเรียน

6 14 10 5 11

7.ระยะเวลาในการเปนผูบริหารโรงเรียนนี้

2 4 3 2 1

8.เกียรติประวัติในตําแหนงบริหาร

จากตารางพบวา ผูบริหารโรงเรียนขนาดเล็กท่ีเปนพ้ืนท่ีวิจัยสวนใหญเปนเพศชาย อายุเฉลี่ย 43 ปจบการศึกษาสูงสุดวุฒิปริญญาโท มีวิทยฐานะชํานาญการพิเศษ ระยะเวลาปฏิบัติงานครูผูสอน เฉลี่ย 9 ปประสบการณในตําแหนงผูบริหารโรงเรียน เฉลี่ย 7 ป เปนผูบริหารโรงเรียนปจจุบัน เฉลี่ย 2.3 ป ผูบริหารโรงเรียนทุกโรงไดรับรางวัล/ มีเกียรติประวัติในตําแหนงบริหาร

135

136

137

ขอมูลเชิงคุณภาพจากการสัมภาษณ การแลกเปลี่ยนเรียนรู และการศึกษาเอกสารผลการดําเนินงาน ผูวิจัยสรุปผลการวิเคราะหขอมูลไดดังนี้

1) ผลการทดลองใชรูปแบบการพัฒนาครูและผูบริหารสถานศึกษาโดยใชโรงเรียนเปนฐาน“การพัฒนาทักษะการคิดดวยโครงงาน”

1.1) ดานความรูความเขาใจ พบวา ผูบริหารโรงเรียนมีพฤติกรรมท่ีเปลี่ยนแปลง ดังนี้1.1.1) มีความรูความเขาใจท่ีชัดเจนข้ึนในเรื่องเปาหมาย และแนวคิดในการพัฒนา

ผูเรียนใหมีความรู ทักษะ คุณลักษณะท่ีพึงประสงคตามเปาหมายของหลักสูตร และมีทักษะการคิดวิเคราะหในมาตรฐานดานผูเรียนมาตรฐานท่ี 4

1.1.2) มีความรูความเขาใจในการสรางความสัมพันธกับทุกฝายท่ีเก่ียวของใหมีสวนรวมในการบริหารและจัดการเรียนรูเพ่ือพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะหของนักเรียน

1.1.3) มีความรูความเขาใจเก่ียวกับการจัดการเรียนรูแบบโครงงานท่ีสงเสริมทักษะการการคิดของผูเรียน สามารถใชกระบวนการนิเทศติดตามอยางกัลยาณมิตรและเปนระบบมากข้ึน

1.2) ดานทักษะ/การปฏิบัติ/พฤติกรรมการบริหาร พบวา ผูบริหารมีพฤติกรรมท่ีเปลี่ยนแปลง ดังนี้

1.2.1) การจัดปจจัยเก้ือหนุนครูในการจัดการเรียนรูแบบโครงงานเพ่ือพัฒนาการคิดของผูเรียนอยูในระดับมาก

1.2.2) มีทักษะการนิเทศอยางกัลยาณมิตรและเปนระบบมากข้ึนในระดับมากท่ีสุด เชนจัดเวลาใหครูจับคูเพ่ือนคิดไดพบปะแลกเปลี่ยนเรียนรู และการจูงใจครูใหอยากทํางาน

1.2.3) การสรางความสัมพันธและใหชุมชนมีสวนรวมในระดับมากท่ีสุด โดยการสรางเครือขายพัฒนาการศึกษารวมกับผูปกครอง/ชุมชน และองคกรภายนอกในการใหมีสวนรวมในการบริหารและการจัดการเรียนการสอน เชน การเปนวิทยากร การสนับสนุนแหลงเรียนรู การดูแลการเรียนของลูกหลานท่ีบาน ติดตามนักเรียนท่ีไมมาเรียน การดูแลสุขภาพอนามัยของนักเรียน เชน ยาเสพติดและนักเรียนท่ีมีปญหาเก่ียวกับสายตา การอนุรักษสิ่งแวดลอม การสงเสริมคุณธรรมจริยธรรม การสนับสนุนงบประมาณในการศึกษาจากแหลงเรียนรูนอกโรงเรียน การสนับสนุนทุนการศึกษา และการบริหารการศึกษา

1.2.4) การประเมินโครงการและความสําเร็จของงานอยูในระดับปานกลาง1.2.5) การจัดการความรู ผูบริหารสามารถจัดสภาพแวดลอมและบรรยากาศใน

โรงเรียนใหเปนแหลงแลกเปลี่ยนเรียนรูท่ีมีคุณภาพของบุคลากร1.2.6) มีการพัฒนางานอ่ืนๆ ในหนาท่ีของตนเองใหเปนระบบโดยใชกระบวนการ

PDCA คือ การวางแผน การดําเนินการตามแผน การติดตามประเมินผล และการปรับปรง/พัฒนา1.3) ดานความพึงพอใจ/คุณลักษณะ พบวา ผูบริหารมีความพึงพอใจตอการทดลองใช

รูปแบบ และมีคุณลักษณะในดานตาง ๆ ท่ีเปลี่ยนแปลงในระหวางการทดลองใชรูปแบบ ดังนี้

138

1.3.1) มีความพึงพอใจตอกระบวนการพัฒนาในระดับมากท่ีสุด1.3.2) มีความกระตือรือรนท่ีจะพัฒนาตนเองใหมีความรูและเทคนิคในการนิเทศติดตาม

การเสริมพลังในการพัฒนาตนเอง1.3.3) มีปฏิสัมพันธระหวางผูบริหารกับครูในทางท่ีดีข้ึน1.3.4) มีการพูดคุยเรื่องวิชาการ/การเรียนการสอนกับครูมากข้ึน

1.4) ผลผลิต/ผลงาน/ชิ้นงาน1.4.1) ผูบริหารมีรายงานการวิจัยเรื่อง “การพัฒนารูปแบบการพัฒนาครูและผูบริหาร

โดยใชโรงเรียนเปนฐาน: การเรียนรูจากประสบการณสูการปฏิบัติ”1.4.2) ผูบริหารมีนวัตกรรมในการพัฒนาครูโดยใชโรงเรียนเปนฐานท่ีสอดคลองกับสภาพ

ปญหาและความตองการของครู เหมาะสมกับบริบทของโรงเรียน ทําใหครูสามารถนําความรูจากการอบรม/พัฒนาไปใชในการจัดการเรียนการสอนไดจริง

1.5) ดานรางวัลความภาคภูมิใจและผลกระทบตอโรงเรียน1.5.1) ผูบริหารไดรับรางวัลหนึ่งแสนครูดี ในปการศึกษา 2555 จากคุรุสภา1.5.2) ผูบริหารไดรับรางวัลครูดีศรีจรรยาบรรณในปการศึกษา 2554 จากสํานักงานเขต

พ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 41.5.3) ครูผูสอนไดรับรางวัลเหรียญทอง กิจกรรมการสอนแบบโครงงานในกิจกรรม

ประดิษฐสิ่งของเครื่องใชดวยวัสดุในทองถ่ิน จากโครงงาน “กะลามหัศจรรย”1.5.4) การพัฒนาครูและผูบริหารท่ีใชโรงเรียนเปนฐาน ทําใหเกิดวัฒนธรรมองคกรใน

พัฒนาครูและผูบริหารท่ีสงผลตอเพ่ือพัฒนาคุณภาพของผูเรียน และเปนการพัฒนาอยางตอเนื่องและยั่งยืน2) ผลจากการทดลองใชรูปแบบการพัฒนาครูและผูบริหารโดยใช โรงเรียนเปนฐาน

“การบูรณาการ ICT ในการจัดการเรียนรู”2.1) ดานความรูความเขาใจ ทักษะ/การปฏิบัติ และเจตคติ/ คุณลักษณะ พบวา ผูบริหาร

มีความรูความเขาใจ ทักษะ และคุณลักษณะดานการบริหารจัดการสูงกวากอนการทดลองใชรูปแบบ โดยผูบริหารพัฒนาครูดวยวิธีเนนการฝกปฏิบัติ และลงสูหองเรียนอยางจริงจัง จัดกิจกรรมการพัฒนาครูอยางตอเนื่องดวยวิธีการท่ีหลากหลาย นิเทศติดตามแบบกัลยาณมิตร และสรางแรงจูงใจในการพัฒนาตนเองใหกับครู

2.2) ดานผลผลิตและชิ้นงาน พบวา ผูบริหารมีรายงานนวัตกรรมวิธีการปฏิบัติท่ีดีนําเสนอสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 4 สอดคลองกับกลยุทธท่ี 1 การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานทุกระดับตามหลักสูตร และสงเสริมเทคโนโลยีเพ่ือเปนเครื่องมือในการเรียนรู “BestPractice : การแลกเปลี่ยน ความรูคูการปฏิบัติ : บูรณาการใช ICT ในการเรียนรู” และจัดทํารายงานการวิจัยและพัฒนารูปแบบการพัฒนาครูและผูบริหารโดยใชโรงเรียนเปนฐาน “การแลกเปลี่ยนความรูคูการปฏิบัติ : บูรณาการใช ICTในการจัดการเรียนรู” โรงเรียนวัดสโมสร

139

2.3) ดานรางวัลความภาคภูมิใจและผลกระทบตอโรงเรียน2.3.1) ผูบริหารผานการประเมินผูบริหารดีเดนโรงเรียนขนาดกลาง ของสํานักงานเขต

พ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 4 (นักเรียน 121-350 คน)2.3.2) ครูผานการประเมินครูดีเดนระดับระดับเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษา

นครศรีธรรมราช เขต 4 จํานวน 4 คน และไดรับประกาศเกียรติคุณครูดีเยี่ยมลําดับท่ี 1ของเขตพ้ืนท่ีการศึกษาจํานวน 1 คน

2.3.3) โรงเรียนไดรับการคัดเลือกเปนตัวแทนเครือขายทาศาลา 1 (จาก 27 โรงเรียน)เขารวมจัดแสดงนิทรรศการผลงานครูนักเรียนจากการเรียนรูบูรณาการ ICT ในงานมหกรรมวิชาการของเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประจําปการศึกษา 2555 (วันท่ี 11-12 กันยายน 2555)

5.3.2 ผลท่ีเกิดข้ึนกับครูผลท่ีเกิดข้ึนกับครูโดยภาพรวมจากการนํารูปแบบการพัฒนาครูและผูบริหารสถานศึกษาแบบ

ใชโรงเรียนเปนฐานไปใช ผูวิจัยนําเสนอผลการวิเคราะหขอมูลเชิงปริมาณท่ีไดจากการตอบแบบสอบถามของครูดังตารางท่ี 4.24-4.25 และตามดวยผลการวิเคราะหขอมูลเชิงคุณภาพจากการสัมภาษณเชิงลึก การสนทนากลุม การแลกเปลี่ยนเรียนรู และการศึกษาเอกสารผลการดําเนินงาน ตามลําดับ

140

141

142

ตารางท่ี 4.25 ผลการพัฒนาสมรรถนะทางวิชาชีพครูของครูท่ีเขารวมโครงการ

สมรรถนะทางวิชาชีพครู คาเฉลี่ย S.D. ความหมาย1. การจัดการเรียนรูแบบโครงงาน 3.73 0.59 มาก2. การจัดการเรียนรูแบบบูรณา ICT 3.33 0.96 ปานกลาง3. การเรียนการสอนท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญ 4.07 0.26 มาก4. การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง 3.60 0.63 มาก5. การวิจัยในชั้นเรียน 3.47 0.64 ปานกลาง6. การบริหารจัดการชั้นเรียน/ดูแลชวยเหลือผูเรียน 3.73 0.59 มาก7. การวิจัยและพัฒนารูปแบบการพัฒนาครูและผูบริหาร 3.26 0.80 ปานกลาง8. การพัฒนาแบบใชโรงเรียนเปนฐาน

ภาพรวม3.333.57

0.53.65

ปานกลางมาก

จากตาราง พบวา ผลการทดลองใชรูปแบบการพัฒนาครูและผูบริหารสถานศึกษาแบบใชโรงเรียนเปนฐานในโรงเรียนขนาดเล็กทําใหครูไดพัฒนาสมรรถนะทางวิชาชีพครูตามประเด็นจุดเนนการพัฒนาตามรูปแบบและกรอบแนวคิดการวิจัยของโครงการโดยภาพรวมอยูในระดับมาก เม่ือพิจารณารายดานพบวาครูมีสมรรถนะทางวิชาชีพครูในระดับมากในดานท่ีเก่ียวกับการจัดการเรียนการสอนและผูเรียน สวนสมรรถนะท่ีเก่ียวกับการวิจัยและการพัฒนาแบบใชโรงเรียนเปนฐานอยูในระดับปานกลาง

ขอมูลเชิงคุณภาพจากการสัมภาษณ การสนทนากลุม การแลกเปลี่ยนเรียนรู และการศึกษาเอกสารผลการดําเนินงาน ผูวิจัยสรุปผลการวิเคราะหขอมูลไดดังนี้

1) ดานความรูความเขาใจ1.1) ความรูความเขาใจของครูในภาพรวมหลังการทดลองใชรูปแบบสูงข้ึน โดยเฉพาะ

ในดานจัดการเรียนรูแบบโครงงานเพ่ือพัฒนาทักษะการคิดของผูเรียน การวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน การวิเคราะหหลักสูตร การวิเคราะหเนื้อหาและการเลือกหนวยการเรียนรูท่ีจะสอนแบบโครงงาน การสรางบรรยากาศใหผูเรียนเรียนอยางมีความสุข

1.2) ครูมีความรูความเขาใจโครงการวิจัยแบบมีสวนรวมมากข้ึน ตั้งแตการเริ่มวิเคราะหสภาพปญหา/ความตองการพัฒนา ข้ันตอนการดําเนินงาน ตลอดจนถึงการสรางเครื่องมือและการเก็บรวบรวมขอมูลท้ังในเชิงปริมาณ เชน แบบสอบถาม และเชิงคุณภาพ เชน การสนทนากลุม การเก็บรวบรวมขอมูลจากเอกสาร/หลักฐาน พรอมท้ังการวิเคราะหขอมูลและการเขียนรายงานการวิจัย

1.3) ครูเขาใจบทบาทและหนาท่ีตามท่ีกําหนดไวในรูปแบบการพัฒนาครูและผูบริหารโดยใชโรงเรียนเปนฐาน มองเห็นความสําเร็จ/ผลท่ีเกิดข้ึนกับนักเรียนอยางเปนรูปธรรม

143

2) ดานทักษะและการปฏิบัติ2.1) ทักษะของครูในภาพรวมหลังการทดลองใชรูปแบบสูงข้ึน มีทักษะในการให

ผูปกครองมีสวนรวมในการประเมินผลการเรียนรูของผูเรียน2.2) ครูมีทักษะการวิเคราะหหลักสูตร สามารถออกแบบและจัดการเรียนรูใหนักเรียน

ไดฝกทักษะคิด พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนมากข้ึน เชน การจัดการเรียนรูแบบโครงงาน การบูรณาการICT ในการจัดการเรียนรู มีทักษะในการใหผูเรียนระบุประเด็นท่ีสนใจจะทําโครงงานหรือศึกษาคนควา การใหผูเรียนวางแผนทําโครงงาน และการจัดการเรียนรูโดยใชชุมชนเปนแหลงเรียนรู

2.3) ครูสามารถใชกระบวนการวิจัยและพัฒนาเปนเครื่องมือในการแกปญหาและพัฒนาการเรียนรูของผูเรียนไดอยางตอเนื่อง เชน สามารถพัฒนาผูเรียนใหมีความสามารถในการคิดโดยนักเรียนไดฝกคิดจากกิจกรรมการทําโครงงาน สามารถวัดและประเมินผลทักษะการคิดท่ีสอดแทรกในการเรียนการสอนได

3) ดานเจตคติ และคุณลกัษณะ3.1) เจตคติของครูในภาพรวมสูงกวากอนทดลองใชรูปแบบ ครูมีเจตคติท่ีดีตอการวิจัย

และพัฒนา เจตคติตอการพัฒนาครูโดยใชโรงเรียนเปนฐานสูงข้ึน สวนเจตคติตอวิชาชีพครูสูงข้ึนแตมีรอยละการเปลี่ยนแปลงนอยท่ีสุด

3.2) ครูอุทิศเวลา/เอาใจใสในการจัดการเรียนรูมากข้ึน มีความพึงพอใจท่ีได พัฒนาตนเองตามความตองการ/สนใจ ใหเวลากับการเตรียมการจัดการเรียนรูมากข้ึน มีเจตคติท่ีดีตอการจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยใชโครงงานเพ่ือพัฒนาทักษะการคิดของนักเรียน และการบูรณาการ ICT เพ่ือพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน

3.3) ครูสามารถทํางานรวมกันเปนทีมได มีการรวมคิด รวมทํา แลกเปลี่ยนเรียนรูและใหความชวยเหลือซึ่งกันและกัน มีการศึกษาเรียนรูดวยตนเองมากข้ึน ทําใหเกิดวัฒนธรรมการเรียนรูในองคกร

3.4) ครูมีความพึงพอใจตอโครงการวิจัยและการทํางานแบบมีสวนรวม มีความสนุกในการอบรม มีปฏิสัมพันธท่ีดีกับวิทยากร ดีใจท่ีไดรวมวางแผนและปฏิบัติในการแกปญหา/ พัฒนาผูเรียนโดยใชโครงงานและเห็นผลสําเร็จท่ีเกิดข้ึนกับนักเรียน

4) ดานผลผลิต/ผลงาน/ชิ้นงาน4.1) ครูมีแผนการจัดการเรียนรูโดยใชโครงงานเพ่ือพัฒนาทักษะการคิดของนักเรียนใน

สาระการเรียนรูท่ีตนเองถนัด แผนการจัดการเรียนรูท่ีบูรณาการ ICT และสื่อประกอบการจัดการเรียนรูเชน ใบงาน แบบฝก

4.2) ครูไดจัดทํารายงานวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน บทความสะทอนการเรียนรูจากการเขารวมโครงการ

4.3) ครูมีเครือขายผูปกครอง ชุมชนท่ีเปนแหลงเรียนรูและภูมิปญญาทองถ่ินเพ่ือรวมมือและชวยเหลือในการจัดกิจกรรมการเรียนรู

144

5.3.3 ผลท่ีเกิดข้ึนกับผูเรียนผลท่ีเกิดข้ึนกับผูเรียนโดยภาพรวมจากการนํารูปแบบการพัฒนาครูและผูบริหารสถานศึกษา

แบบใชโรงเรียนเปนฐานไปใช ผูวิจัยนําเสนอผลการวิเคราะหขอมูลเชิงปริมาณท่ีไดจากการตอบแบบสอบถามของนักเรียนดังตารางท่ี 4.26-4.27 และตามดวยผลการวิเคราะหขอมูลเชิงคุณภาพจากการสัมภาษณเชิงลึก การสนทนากลุม การแลกเปลี่ยนเรียนรู และการศึกษาชิ้นงาน ตามลําดับ

145

146

147

148

การวิเคราะหขอมูลเชิงคุณภาพจากการสัมภาษณ การสนทนากลุม การแลกเปลี่ยนเรียนรูและการศึกษาชิ้นงาน ผูวิจัยสรุปผลการวิเคราะหขอมูลไดดังนี้

1) ดานผลสัมฤทธิ์และทักษะการคิด1.1) นักเรียนมีทักษะการคิดตามจุดเนนของโรงเรียน มีทักษะการคิดพ้ืนฐาน และทักษะ

การคิดข้ันสูงท่ีสอดคลองกับระดับชั้น1.2) นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังจากเรียนรูดวยแผนการจัดการเรียนรู

บูรณาการใช ICT และแผนการจัดการเรียนรูโครงงานบูรณาการใช ICT ผานเกณฑการประเมินตัวชี้วัดตามหลักสูตร

2) ดานทักษะและการปฏิบัติ2.1) นักเรียนมีทักษะในการใชเทคโนโลยีในชีวิตประจําวันสูงข้ึน รูจักวางแผนการเรียน

และการทํางาน มีทักษะการคนควาและเรียนรูดวยตนเอง มีทักษะทักษะในการสื่อสาร สามารถระบุประเด็นท่ีสนใจจะศึกษาโดยใช ICT เรียนรูโดยใชแหลงเรียนรูในชุมชน มีทักษะในการเรียนรูและการทํางาน

2.2) นักเรียนสามารถใชคอมพิวเตอรโปรแกรมสําเร็จรูป ชุดกิจกรรมพัฒนาผูเรียนGCompris และชุดกิจกรรมพัฒนาศิลปะ Tux Paint ในการสรางสรรคชิ้นงาน เชน เสนแบบตาง ๆ ภาพในจินตนาการ การหาผลลัพธทางคณิตศาสตร สามารถใช Internet ในการคนควา จัดทํารายงาน และสรางสรรคชิ้นงานในรูปแบบตาง ๆ

2.3) มีพัฒนาการดานภาษา เชน มีความสามารถในการอาน การเขียน การพูดการศึกษาคนควาจากแหลงเรียนรูตาง ๆ เชน หนังสือ อินเทอรเน็ต การสัมภาษณภูมิปญญาทองถ่ินและพอแมผูปกครอง มีความสามารถในการเขียนรายงานโครงงาน

2.4) มีทักษะในการเรียนรูและการทํางาน ทักษะการทํางาน เชน การประดิษฐของใชจากวัสดุเหลือใช การทําความสะอาดเสื้อผาและภาชนะท่ีใชในการรับประทานอาหารของตนเอง สามารถนําความรูไปประยุกตใชในชีวิตประจําวัน เชน การออม ลดรายจายโดยการปลูกผักสวนครัว

3) ดานพฤติกรรมและคุณลักษณะอันพึงประสงค3.1) นักเรียนมีความรับผิดชอบตอการเรียนและการทํางานนักเรียน กลาแสดงออกกับ

พอแมและบุคคลคนท่ัวไป รูจักทํางานเปนทีม มีความรับผิดชอบ กลาแสดงออกมากข้ึน รูจักวางแผนการเรียนและการทํางาน มีจิตสาธารณะ

3.2) นักเรียนมีความสุขและสนุกกับการเรียนเพราะมีอิสระในการทํางานและภาคภูมิใจในผลงานโดยเฉพาะเด็กเล็ก ๆ จะตื่นเตนในการเรียน ชางสังเกต ใฝรู ใฝเรียน ซักถามมากข้ึน สามารถแสวงหาความรูดวยตนเอง เรียนรูนอกหองเรียนมากข้ึนและสนใจสิ่งแวดลอมรอบ ๆ ตัว

149

4) ดานผลงาน/ชิ้นงาน/ ความสําเร็จของนักเรียน4.1) ชิ้นงานสรางสรรคท่ีไดจากคอมพิวเตอรโปรแกรมสําเร็จรูป ชุดกิจกรรมพัฒนา

ผูเรียน GCompris และชุดกิจกรรมพัฒนาศิลปะ Tux Paint เชน ตัวเลขอารบิกแทนจํานวนหนังสือเลมเล็กภาพและจํานวน 1 -10 แผนภูมิมาตราตัวสะกด ภาพวาด สมุดภาพ แผนพับ รายงาน เปนตน

4.2) โครงงานในกลุมสาระการเรียนรูตาง ๆ ทุกระดับชั้น เชน โครงงานศึกษาชนิดและสมบัติของวัสดุ โครงงานจัดทําพจนานุกรมคําท่ีมีตัวการันต โครงงานศึกษาบทบาทและหนาท่ีของเครื่องดนตรีพ้ืนเมือง โครงงานศึกษาองคประกอบของนาฏศิลป เปนตน

4.3) นักเรียนไดรับรางวัลชนะเลิศการประกวดในกิจกรรมแขงขันทักษะทางวิชาการกลุมเครือขายทาศาลา 1 จากผลงานการทําโครงงานกะลามหัศจรรยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 2

4.4) รางวัลรองชนะเลิศจากการเขารวมประกวดกิจกรรมแขงขันทักษะทางวิชาการกลุมเครือขายทาศาลา 1 จากการทําโครงงานแกวมังกรปนสูตรดีทอกซ

5.3.4 ผลท่ีเกิดข้ึนกับผูปกครอง/ชุมชน และกรรมการสถานศึกษาการนํารูปแบบการพัฒนาครูและผูบริหารสถานศึกษาไปทดลองใชทําใหเกิดผลกระทบตอ

ผูปกครอง ชุมชน และผูเก่ียวของดานการมีสวนรวมในการจัดการเรียนการสอน และการรับรูผลท่ีเกิดกับผูเรียน ผูวิจัยนําเสนอผลการวิเคราะหขอมูลจากแบบสอบถาม ดังตารางท่ี 4.28-4.31 ตามดวยผลการวิเคราะหขอมูลเชิงคุณภาพจากการสังเกต การสัมภาษณ สนทนากลุม และศึกษาชิ้นงานจากผูท่ีเก่ียวของตามลําดับ

150

ตารางท่ี 4.28 ขอมูลพื้นฐานของผูปกครอง

รายการ โรงเรียนบานทุงขันหมาก

โรงเรียนบานทุงชน

โรงเรียนบานอินทนิน

โรงเรียนบานนํ้าขาว

โรงเรียนวัดสโมสร

N % N % N % N % N %เพศ

ชายหญิง

221

8.7091.30

1442

25.0075.00

1826

40.9159.09

115

6.3093.70

624

20.0080.00

ระดับการศึกษาต่ํากวาปริญญาตรีปริญญาตรี

303

87.0013.00

4214

93.306.70

422

95.454.55

142

87.5012.50

282

93.306.70

อายุต่ํากวา 30 ป30-40 ป41-50 ปมากกวา 50 ป

21362

8.7056.5026.108.70

819254

14.2933.9344.647.14

1672

6.3037.5043.8012.50

-2123-

-47.7352.27

-

4197-

13.3063.3023.30

-

จากตาราง พบวา ผูปกครองของนักเรียนโรงเรียนขนาดเล็กท้ัง 5 โรง สวนใหญเปนเพศหญิง มีการศึกษาระดับต่ํากวาปริญญาตรี มีอายุระหวาง 41-50 ป ยกเวนโรงเรียนบานทุงขันหมาก และโรงเรียนวัดสโมสร มีอายุระหวาง 30-40 ป

151

152

ตารางท่ี 4.30 ขอมูลพื้นฐานของกรรมการสถานศึกษา

รายการ โรงเรียนบานทุงขันหมาก

โรงเรียนบานทุงชน

โรงเรียนบานอินทนิน

โรงเรียนบานนํ้าขาว

โรงเรียนวัดสโมสร

N % N % N % N % N %เพศ

ชายหญิง

70

1000.00

54

55.5644.44

72

40.9159.09

41

80.0020.00

52

71.4028.60

ระดับการศึกษาต่ํากวาปริญญาตรีปริญญาตรีสูงกวาปริญญาตรี

52-

71.4028.60

-

432

93.306.700.00

711

77.7811.1111.11

4-1

80.00-

20.00

61

85.7014.30

อายุต่ํากวา 30 ป30-40 ป41-50 ปมากกวา 50 ป

--61

--

85.7014.30

-414

-44.4411.1144.44

-144

-11.1144.4444.44

-3-2

-60.00

-40.00

331

42.9042.9014.20

จากตาราง พบวา กรรมการสถานศึกษาโรงเรียนขนาดเล็กสวนใหญเปนเพศชาย มีการศึกษาระดับต่ํากวาปริญญาตรี มีอายุระหวาง 30-40 ป ยกเวนโรงเรียนบานทุงขันหมาก มีอายุระหวาง 41-50 ป

153

154

การวิเคราะหขอมูลเชิงคุณภาพจากการสัมภาษณ การสนทนากลุม การแลกเปลี่ยนเรียนรู และการศึกษาชิ้นงานจากผูเก่ียวของ ผูวิจัยสรุปผลการวิเคราะหขอมูลไดดังนี้

1) ดานความรูความเขาใจ1.1) ผูปกครองมีความรูความเขาใจในการพัฒนาครูและผูบริหารโดยใชโรงเรียนเปนฐาน

และผลการดําเนินงานในดานการมีสวนรวมกับทางโรงเรียนมากข้ึน1.2) ความเขาใจเก่ียวกับการพัฒนาคุณภาพผูเรียน ผูปกครอง และชุมชนใหความรวมมือ

สนับสนุนในการดําเนินการจัดกิจกรรมตาง ๆ ของโรงเรียนเปนอยางดี มีเจตคติท่ีดีตอการปฏิรูปท้ังระบบ มีทัศนคติท่ีดีตอการจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยใชโครงงาน การเรียนรูโดยใช ICT

2) ดานการมีสวนรวม2.1) ผูปกครองและชุมชนมีสวนรวมวิเคราะหและเสนอแนะจุดเนนในการพัฒนานักเรียน

แกทางโรงเรียนมากข้ึน ใหการสนับสนุนวัสดุ อุปกรณ2.2) กรรมการสถานศึกษามีสวนรวมกับทางโรงเรียนสูงข้ึน และตระหนักในการเปนสวน

หนึ่งของความสําเร็จ/ หรือการพัฒนาของโรงเรียน2.3) การมีสวนรวมในการเรียนการสอนมากข้ึน เชน ผูปกครอง ชุมชนมีสวนรวมในการ

ประเมินผลการเรียนรูของลูกหลาน ใหขอมูลการเรียนรูของผูเรียน เปนแหลงเรียนรู/วิทยากร สนับสนุนอุปกรณการเรียน ผูปกครองมีสวนรวมในการประเมินผลการเรียนรูของลูกหลาน มีสวนรวมในการดูแลความประพฤติของลูกหลานสูงมากข้ึน

3) ดานการเรียนรูและสรางเครือขาย3.1) การเรียนรูภายในชุมชน มีเครือขายผูปกครอง/ชุมชนรวมแลกเปลี่ยนเรียนรูและให

ความชวยเหลือซึ่งกันและกัน ผูปกครองจะมีปฏิสัมพันธระหวางผูปกครองดวยกันเอง มีเครือขายการเรียนรูแหลงเรียนรูในชุมชน มีการแลกเปลี่ยนเรียนรูกันมากข้ึน

3.2) การทํางานรวมกันระหวางหนวยงาน การพัฒนาครูและผูบริหารสถานศึกษาแบบใชโรงเรียนเปนฐานทําใหโรงเรียน หนวยงานตนสังกัด สถาบันอุดมศึกษา ภาคีเครือขาย ไดทํางานรวมกันกอใหเกิดความเขาใจ ความรวมมือ และมีการบูรณาการทรัพยากรในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาในพ้ืนท่ีมากข้ึน

5.3.5 ผลการประเมินการนํารูปแบบการพัฒนาครูและผูบริหารสถานศึกษาไปใชโดยภาพรวมการนํารูปแบบการพัฒนาครูและผูบริหารสถานศึกษาไปทดลองใช ผูวิจัยไดเก็บรวบรวม

ขอมูลในดานการวางแผนการนํารูปแบบไปใช การดําเนินงาน ปจจัยเงื่อนไขท่ีเอ้ือตอความสําเร็จในการนํารูปแบบไปใชโดยภาพรวมโดยใชแบบประเมินตนเองของครูและผูบริหารสถานศึกษา ผลการวิเคราะหขอมูลนําเสนอไดดังตารางท่ี 4.32-4.33

155

ตารงท่ี 4.32 ขอมูลพื้นฐานของครูและผูบริหาร

โรงเรียน จํานวน (n=44) รอยละบานทุงชน 14 31.82บานน้ําขาว 7 15.91บานอินทนิน 9 20.45วัดสโมสร 7 15.91บานทุงขันหมาก 7 15.91

จากตาราง พบวา ผูตอบแบบสอบถามการประเมินการนํารูปแบบไปใชโดยภาพรวมประกอบดวยโรงเรียนท่ีเปนพ้ืนท่ีวิจัย จํานวน 4 โรง โดยโรงเรียนบานทุงชนมีผูตอบแบบสอบถามมากท่ีสุด คิดเปนรอยละ 40.00 สวนโรงเรียนอ่ืน ๆ มีจํานวนผูตอบแบบสอบถามจํานวนเทากัน คิดเปนรอยละ20.00 ท้ังสามโรงเรียน

ตารางท่ี 4.33 ผลการประเมินการนํารูปแบบไปใชโดยภาพรวม

ประเด็น คาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

ความหมาย

1.การวางแผนการนํารูปแบบไปใช 3.97 .54 มาก2. การดําเนินงาน 3.90 .48 มาก3. การพัฒนาครู

3.1 การฝกอบรม 3.95 .44 มาก3.2 การเรียนรูภายในโรงเรียน 3.92 .44 มาก3.3 การเรียนรูภายนอกโรงเรียน 3.96 .41 มาก

4. ปจจัยเงื่อนไขท่ีเอ้ือตอความสําเร็จของการนํารูปแบบไปใช4.1 ผูบริหารสถานศึกษา 4.70 .47 มากท่ีสุด4.2 ครู 4.26 .41 มาก4.3 กรรมการสถานศึกษา 4.15 .47 มาก4.4 อาจารยมหาวิทยาลัย 4.20 .55 มาก4.5 เขตพ้ืนท่ี/ ศึกษานิเทศก 3.82 .69 มาก4.6 บริบทการทํางานในโรงเรียน 4.09 .48 มาก4.7 แหลงเรียนรูในโรงเรียน

ภาพรวม3.984.08

.60

.52มากมาก

156

จากตารางพบวา ผลการประเมินการนํารูปแบบไปใชโดยภาพรวมอยูในระดับมาก โดยประเด็นเก่ียวกับปจจัยเงื่อนไขท่ีเอ้ือตอความสําเร็จในการนํารูปแบบไปใชดานผูบริหารมีคาเฉลี่ยสูงสุด อยูในระดับมากท่ีสุด รองลงมาคือดานครู อาจารยมหาวิทยาลัย กรรมการสถานศึกษา บริบทการทํางานในโรงเรียนแหลงเรียนรูในโรงเรียน และเขตพ้ืนท่ีการศึกษา/ ศึกษานิเทศก สวนประเด็นเก่ียวกับ การวางแผนการนํารูปแบบไปใชการดําเนินงาน และการพัฒนาครูอยูในระดับมาก

นอกจากนี้ จากการสัมภาษณผูบริหารและครู พบวา ผูบริหารและครูมีความคิดเห็นเก่ียวกับโครงการโดยภาพรวม ดังนี้

1. เปนโครงการท่ีดี ยกระดับมาตรฐานการทํางาน ชวยพัฒนาโรงเรียนขนาดเล็กได ผลท่ีเกิดข้ึนเปนไปตามวัตถุประสงคแตตองใชเวลามากกวานี้

2. รูปแบบการพัฒนาครูและผูบริหารสถานศึกษาท่ีพัฒนาข้ึนสามารถนําไปใชไดจริงตามกระบวนการ/ข้ันตอนของรูปแบบ ท้ังนีค้วรดําเนินการอยางตอเนื่อง

3. ปญหาและขอเสนอแนะ คือ ทางโครงการควรมีการประสานงานกับโรงเรียนใหมากข้ึน และควรพัฒนาทักษะการเขียนรายงานการวิจัยใหกับครูและผูบริหารของโรงเรียนควบคูกันไป

6. การถอดบทเรียนการทดลองใชรูปแบบ6.1 ปจจัยความสําเร็จในการดําเนินงาน

6.1.1 ความรูความเขาใจของผูบริหารท้ังในดานประเด็นและกระบวนการพัฒนา ทําใหสามารถกํากับติดตามและบริหารจัดการการพัฒนาใหเปนไปตามแผน เปนผูนําและใหคําแนะนําแกครูในการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนตามจุดเนนของโรงเรียน

6.1.2 ความตระหนัก ความพยายาม ความตั้งใจของครูในการนําความรูท่ีไดจากการพัฒนาตนเองไปใชในการปรับเปลี่ยนการเรียนการสอน รวมท้ังเจตคติของครูตอการเขารวมโครงการ การปรับแนวคิดและวิถีการทํางาน

6.1.3 บทบาทของอาจารยมหาวิทยาลัยในการเปนท่ีปรึกษาทางวิชาการและการนิเทศติดตามการจัดการเรียนการสอนตามประเด็นพัฒนา หากสามารถทําไดอยางสมํ่าเสมอตอเนื่องชวยใหครูและผูบริหารมีความม่ันใจกลาท่ีจะปรับเปลี่ยนแนวคิดและแนวปฏิบัติในการจัดการเรียนการสอน และเปนการกระตุนใหครูเรงพัฒนาตนเองและพัฒนางานอีกดวย

6.14 ความพยายามในการดําเนินการตามรูปแบบและแผนการทดลองใชรูปแบบของโรงเรียนและโครงการ เชน การสรางความเขาใจ การทบมวนรูปแบบและแผนการทดลองใชรูปแบบ การจัดกิจกรรมพัฒนาครูตามความตองการอยางตอเนื่อง การนิเทศติดตามอยางตอเนื่อง และการจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรูท่ีจะชวยใหครูแตละโรงเรียนมีโอกาสนําเสนองานของตนเอง เรียนรูจากครุโรงเรียนอ่ืนเพ่ือนําไปประยุกตใชในงานของตนเอง และเปนกําลังใจใหครูมุงม่ันกลาท่ีจะปรับเปลี่ยนมากข้ึน

157

6.1.5 มีปจจัยภายนอกท่ีเอ้ือตอการสรางสรรคงานการพัฒนาครูและผูบริหารตามรูปแบบ เชนการจัดงานวิชาการระดับเขตพ้ืนท่ี และระดับภูมิภาค มีนโยบายเขตพ้ืนท่ีการศึกษาท่ีสนับสนุนใหโรงเรียนจัดการเรียนการสอนโดยใชโครงงาน

6.2 ปญหา อุปสรรคในการดําเนินงาน6.2.1 ผูบริหารและครูบางสวนขาดความรูความเขาใจหรือไมชัดเจนเก่ียวกับโครงการวิจัยทําให

ไมสามารถขับเคลื่อนการดําเนินงานใหเปนไปตามแผนงานและเกิดผลอยางท่ีตองการได6.2.2 ในการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงานเพ่ือพัฒนาการคิดของผูเรียน อาจตองใชเวลา

นอกชั้นเรียนจึงจะทําไดครบกระบวนการ ทําใหไมสามารถติดตามการเรียนรูของผูเรียนไดอยางตอเนื่อง6.2.3 ครูบางสวนมองวาการพัฒนาตนเองและการเรียนการสอนตามรูปแบบเปนการเพ่ิมภาระ

เพราะนอกจากมีงานสอนแลวยังมีงานอ่ืนๆ ในโรงเรียนท่ีตองรับผิดชอบ และมีงานขอความรวมมือจากหนวยงานอ่ืนๆ

6.2.4 การพัฒนาครูตามรูปแบบท่ีโรงเรียนพัฒนาข้ึนชวยลดปญหาครูท้ิงหองเรียนไดบางสวนเนื่องจากครูตองไปอบรม/ประชุม/สัมมนาขางนอกหลายครั้งตามนโยบายของหนวยงานตนสังกัด เชน เขตพ้ืนท่ีการศึกษาและ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน โดยเฉพาะในชวงปลายปงบประมาณ

6.2.5 การจัดสรรเวลาและการประสานงานของนักวิจัยในโครงการและโรงเรียนยังไมสามารถดําเนินการไดตามแผน เนื่องจากภาระงานประจําและความรับผิดชอบในพันธกิจแตกตางกัน

6.3 ขอเสนอเชิงนโยบายในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนขนาดเล็ก6.3.1 จัดระบบและกลไกในการพัฒนาครูและผูบริหารสถานศึกษาในโรงเรียนขนาดเล็กเปน

การเฉพาะ สามารถจัดการเรียนการสอน บริหารจัดการและสนับสนุนการจัดการเรียนการสอน ท่ีสงผลถึงคุณภาพผูเรียนไดอยางมีประสิทธิภาพ

(1) กระทรวงศึกษาธิการ รวมกับสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ศึกษาขอมูลโรงเรียนขนาดเล็ก ดานท่ีมา ความตองการของโรงเรียน ผูปกครองและชุมชน ศักยภาพของโรงเรียนความเปนไปไดในการพัฒนาใหรอบคอบกอนกําหนดนโยบายรักษา หรือยุบเลิกโรงเรียน เพ่ือกระจายโอกาสทางการศึกษาใหกับนักเรียนในพ้ืนท่ี

(2) กระทรวงศึกษาธิการและหนวยงานอ่ืนท่ีเก่ียวของกับการจัดการศึกษา สงเสริมสนับสนุนให มีการพัฒนาเครือขายความรวมมือในการพัฒนาครูและบุคลากรในการศึกษากับสถาบันอุดมศึกษาและหนวยงานตางๆ เพ่ือเสริมสรางความเขมแข็งในการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา

(3) กระทรวงศึกษาธิการสนับสนุนใหมีเครือขายความรวมมือทางการวิชาการจากสถาบันอุดมศึกษา สถาบันพัฒนาครู คณาจารย และบุคลากรทางการศึกษาการพัฒนาหลักสูตร การจัดการเรียนการสอน พัฒนาสื่อนวัตกรรมการเรียนการสอนและการวัดการประเมินผลท่ีเหมาะสมกับโรงเรียนขนาดเล็ก

158

(4) สํานักงานคณะกรรมการขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา (ก.ค.ศ.) ควรปรับปรุงหลักเกณฑการคัดเลือกผูบริหารสถานศึกษาในโรงเรียนขนาดเล็ก โดยใหความสําคัญกับเจตคติความมุงม่ันตั้งใจในการพัฒนาคุณภาพของการศึกษาของโรงเรียนขนาดเล็ก และภาวะผูนําทางวิชาการเปนลําดับตนๆ เพ่ือสรางเสริมแรงจูงใจ ความตระหนัก และความมุงม่ันในการเปนผูบริหารสถานศึกษาท่ีมีคุณภาพในสภาพโรงเรียนท่ีมีขอจํากัด

(5) สํานักคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา และหนวยงานท่ีเก่ียวของกับการจัดการศึกษา ควรจัดทําแผนพัฒนาครู และผูบริหารสถานศึกษาในโรงเรียนขนาดเล็กใหมีความรูความสามารถในดานเนื้อหา ทักษะการจัดการเรียนรู การผลิตสื่อ ICT การวัดและประเมินผลท่ีเหมาะสมกับจํานวนนักเรียน และภาระงานอ่ืนๆท่ีตองรับผิดชอบ เปนไปตามมาตรฐานของหลักสูตรโดยเฉพาะการจัดการเรียนรูท่ีเนนการใหผูเรียนเรียนรูวิธีการหาความรูมากกวาเนื้อหาสาระและสอดคลองกับความตองการของผูเรียน ท้ังนี้ควรนํานวัตกรรมเครือขายการเรียนรูของครูและผูบริหารการศึกษา การพัฒนาครู และผูบริหารสถานศึกษาแบบใชโรงเรียนเปนฐานและรายการโทรทัศนครูมาใชรวมกับการพัฒนาครูและผูบริหารในรูปแบบอ่ืนๆ

(6) สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานสงเสริมสนับสนุนใหมีการตั้งศูนยพัฒนาการเรียนการสอนของครูในโรงเรียนขนาดเล็กในระดับจังหวัดและระดับเขตพ้ืนท่ีการศึกษาโดยเปนเครือขายเชื่อมโยงกับสถาบันอุดมศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน และสนับสนุนใหมีการพัฒนาเครือขายการเรียนรูเพ่ือพัฒนาสมรรถนะทางวิชาชีพครู โดยรวมกลุมเปนชมรมวิชาชีพ/สมาคมครูเฉพาะทางท้ังในระดับสถานศึกษา เขตพ้ืนท่ีการศึกษา จังหวัดและประเทศ

(7) สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาและหนวยงานอ่ืนท่ีเก่ียวของกับการจัดการศึกษา สงเสริมและพัฒนาใหสถานศึกษาเปนองคกรแหงการเรียนรูครูและบุคลากรทางการศึกษาเปนบุคคลแหงการเรียนรู โดยใชเครือขายการจัดการเรียนรูเพ่ือพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาใหมีศักยภาพในการจัดการเรียนการสอนและการจัดการศึกษา

(8) สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานและหนวยงานอ่ืนท่ีเก่ียวของกับการจัดการศึกษารวมกันสรางเครือขายแหลงการเรียนรูท่ีหลากหลายกับหนวยงาน/องคกร/ชุมชน/เอกชน เพ่ือสงเสริมสนับสนุนใหสถานศึกษาและครูใชประโยชนรวมกันในการจัดการเรียนการสอนอยางมีประสิทธิภาพ

(9) สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา หนวยงานอ่ืนท่ีเก่ียวของกับการจัดการศึกษาและสถานศึกษาสนับสนุนสงเสริมการพัฒนาศักยภาพครูในดานการผลิตและการใชสื่อในนวัตกรรมการเรียนการสอน และสงเสริมสนับสนุนใหครูใชสื่อ นวัตกรรม ในการจัดการเรียนการสอนใหหลากหลาย รวมท้ังจัดกิจกรรมยกยองเชิดชูเกียรติครูท่ีผลงานดานสื่อนวัตกรรมการเรียนการสอนดีเดน

(10) สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาควรใหความสําคัญกับการพัฒนาโรงเรียนขนาดเล็กในพ้ืนท่ีอยางจริงจังเพ่ือใหการพัฒนาคุณภาพโรงเรียนขนาดเล็กมีประสิทธิภาพมากข้ึน รวมท้ังมีการพัฒนา

159

ศึกษานิเทศกใหเปนผูนําทางวิชาการ สามารถนิเทศชวยเหลือติดตามการพัฒนาคุณภาพโรงเรียนขนาดเล็กไดอยางมีประสิทธิภาพ

(11) สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาหนวยงานอ่ืนท่ีเก่ียวของกับการจัดการศึกษาและสถานศึกษาสรางกลไกสงเสริมสนับสนุนใหพอ แม ผูปกครอง ชุมชน และสังคมใหเห็นความสําคัญในการพัฒนาคุณภาพผูเรียนและเขามามีสวนรวมในการปลูกฝงคุณธรรม จริยธรรมและคุณลักษณะท่ีพึงประสงครวมท้ังเปนแบบอยางท่ีดีใหแกเยาวชน

6.3.2 พัฒนาระบบการบริหารจัดการใหมีประสิทธิภาพ เอ้ือตอการปฏิบัติงานของครู และผูบริหารสถานศึกษาขนาดเล็ก

(1) กระทรวงศึกษาธิการ และหนวยงานอ่ืนท่ีเก่ียวของกับการจัดการศึกษาเรงรัด กํากับติดตาม ใหมีการดําเนินการตามแนวทางการแกไขปญหาการขาดแคลนครูระยะสั้นในเรื่องเก่ียวกับการขอคืนอัตราการเกษียณ การจัดสรรบุคลากรสายสนับสนุนการสอน การปรับเกณฑการกําหนดอัตราครูใหมรวมท้ังใหมีแนวทางในการขยายเวลาอายุราชการของครูและบุคลากรทางการศึกษาในโรงเรียนขนาดเล็ก

(2) สํานักงานคณะกรรมการขาราชการครูละบุคลากรทางการศึกษา (ก.ค.ศ.) ปรับปรุงหลักเกณฑและวิธีการยายครูและบุคลากรทางการศึกษาโดยยึดหลักความถูกตอง โปรงใส ยุติธรรม และคํานึงถึงผลกระทบตอคุณภาพการจัดการเรียนการสอน

(3) สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน และหนวยงานอ่ืนท่ีเก่ียวของกับการจัดการศึกษาปรับหลักเกณฑและวิธีการจัดสรรทรัพยากรทางการศึกษาใหมีความเสมอภาคและเปนธรรมท่ีเอ้ือตอการพัฒนาครู บุคลากรทางการศึกษา และสถานศึกษาขนาดเล็กใหมีคุณภาพตามมาตรฐาน

(4) หนวยงานพัฒนาและหนวยงานใชครูและบุคลากรทางการศึกษารวมดําเนินการนิเทศติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงานของครูและบุคลากรทางการศึกษาท่ีผานการพัฒนาเปนรายบุคคลอยางเปนระบบและตอเนื่อง เพ่ือใหไดขอมูลสารสนเทศในการพัฒนาและสงเสริมความกาวหนาของครูและบุคลากรทางการศึกษาในโรงเรียนขนาดเล็ก

6.3.3 จัดระบบเสริมสรางขวัญกําลังใจและความกาวหนาในวิชาชีพของครู และบุคลากรทางสถานศึกษาของโรงเรียนขนาดเล็ก

(1) กระทรวงศึกษาธิการปรับระบบการยกยองเชิดชูเกียรติครูและบุคลากรทางการศึกษาท่ีเปนคนเกง คนดี มีจิตวิญญาณ รักและผูกพันตอวิชาชีพทางการศึกษาเพ่ือเสริมสรางใหครูและบุคลากรทางการศึกษาในโรงเรียนขนาดเล็กมีขวัญกําลังใจในการพัฒนาตนเองอยางตอเนื่อง

(2) กระทรวงศึกษาธิการปรับปรุงหลักเกณฑการประเมินวิทยฐานะของผูบริหารและครูในโรงเรียนขนาดเล็กท่ีสอดคลองกับภาระงานตามบริบทของโรงเรียนขนาดเล็ก และเนนการประเมินเชิงประจักษ และผลการพัฒนาคุณภาพผูเรียนเปนสําคัญ