28

คํานํา · 2017-06-06 · 0 4 6 - 7 9 2 - 4 1 6 0 6 6 0 8 7 6 5 4 3 2 1 0 ข้อมูลทางบรรณาน ุกรมของสํ านักหอสมุดแห่งชาติ

  • Upload
    others

  • View
    5

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: คํานํา · 2017-06-06 · 0 4 6 - 7 9 2 - 4 1 6 0 6 6 0 8 7 6 5 4 3 2 1 0 ข้อมูลทางบรรณาน ุกรมของสํ านักหอสมุดแห่งชาติ
Page 2: คํานํา · 2017-06-06 · 0 4 6 - 7 9 2 - 4 1 6 0 6 6 0 8 7 6 5 4 3 2 1 0 ข้อมูลทางบรรณาน ุกรมของสํ านักหอสมุดแห่งชาติ

ในกรณีที่ตองการซื้อเปนจํานวนมาก เพื่อใชในการสอน การฝกอบรม การสงเสริมการขาย หรือเปนของขวัญพิเศษ เปนตน กรุณาติดตอสอบถามราคาพิเศษไดที่ ฝา่ยขาย บริษัท ซีเอ็ดยูเคช่ัน จํากัด (มหาชน) เลขที่ 1858/87-90 ถนนบางนา-ตราด แขวงบางนา เขตบางนา กรุงเทพฯ 10260 โทรศพัท 0-2739-8222 โทรสาร 0-2739-8359

หากมีคาํแนะนําหรือติชม สามารถติดต่อได้ท่ี [email protected] คมัภีรก์ารใช้งาน ระบบนิวแมติกส ์(Pneumatics System) โดย ผศ.ดร เดชฤทธิ์ มณีธรรม

ราคา 320 บาท สงวนลิขสิทธิ์ในประเทศไทยตาม พ.ร.บ. ลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2560 โดย ผศ.ดร. เดชฤทธิ์ มณีธรรม หามคัดลอก ลอกเลียน ดัดแปลง ทําซ้ํา จัดพิมพ หรือกระทําอ่ืนใด โดยวิธีการใดๆ ในรูปแบบใดๆ ไมวาสวนหนึ่งสวนใดของหนังสือเลมนี้ เพื่อเผยแพรในสื่อทุกประเภท หรือเพื่อวัตถุประสงคใดๆ นอกจากจะไดรับอนุญาต 0 4 6 - 7 9 2 - 4 1 6 0 6 6 0 8 7 6 5 4 3 2 1 0

ข้อมูลทางบรรณานุกรมของสํานักหอสมุดแห่งชาติ เดชฤทธิ์ มณีธรรม. คัมภีรการใชงาน ระบบนิวแมติกส (Pneumatics System). —กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น, 2560. 416 หนา 1. นวิแมติกส. I. ชื่อเรื่อง. 621.51

ISBN 978-616-08-2594-3 จัดพิมพและจัดจาํหนายโดย

เลขท่ี 1858/87-90 ถนนบางนา-ตราด แขวงบางนา เขตบางนา กรุงเทพฯ 10260 โทรศัพท 0-2739-8000

พิมพที่ บริษัท วี.พร้ินท (1991) จํากัด เลขที่ 23/71-72 หมู 1 ซอยเทียนทะเล 10 ถนนบางขนุเทียน-ชายทะเล แขวงแสมดํา เขตบางขุนเทียน กรุงเทพฯ 10150 โทรศัพท 0-2451-3010 นายวิชัย กาญจนพัฒนา ผูพิมพผูโฆษณา พ.ศ. 2560

คํานํา คัมภีรการใชงาน ระบบนิวแมติกส iii

คาํนาํ

ปจจุบันระบบนิวแมติกสถูกนํามาใชในงานอุตสาหกรรมอยางแพรหลาย เพื่อใชในการควบคุมระบบการทํางานของอุตสาหกรรม ตั้งแตขนาดเล็กจนถึงอุตสาหกรรมขนาดใหญ โดยทั่วไปวัตถุประสงคของการใชระบบนิวแมติกสในการควบคุม ก็เพื่อใหเกิดความสะดวกในการทํางาน การออกแบบวงจร และควบคุมงาย ตลอดจนระบบนิวแมติกส ยังมีความปลอดภัยสูงอีกดวย

หนังสือ "คัมภีรการใชงาน ระบบนิวแมติกส (Pneumatics System)” เลมนี้ มีจุดมุงหมายที่จะพัฒนาระบบนิวแมติกสที่ใชอยูในปจจุบัน ใหเปนระบบควบคุมอัตโนมัติ เพื่อใหทันกับโลกของเทคโนโลยีสมัยใหม โดยไดรวบรวมและเรียบเรียงตลอดจนคนควาและทดลอง เพื่อใหสามารถนําไปประยุกตใชกับงานไดจริง โดยจะเร่ิมตนอธิบายเก่ียวกับระบบนิวแมติกสควบคุมดวยลม ระบบนิวแมติกสควบคุมดวยไฟฟา ระบบนิวแมติกสควบคุมดวยโปรแกรมเมเบิล ลอจิก คอนโทรลเลอร และจบดวยระบบนิวแมติกสควบคุมดวยไมโครคอนโทรลเลอร หนังสือเลมน้ีจึงเหมาะสําหรับนักศึกษาไดใชเรียนและคนควาเพิ่มเติม รวมทั้งชางซอมบํารุง วิศวกรโรงงาน ตลอดจนผูที่สนใจในงานระบบนิวแมติกสสมัยใหม

สําหรับหนังสือเลมน้ี ผูเขียนมีความปรารถนาที่จะขอขอบพระคุณทุกๆ ทาน ที่ไดใหความชวยเหลือดานขอมูล เอกสาร การจัดทํา ตลอดจนคําแนะนําตาง ๆ เพื่อใหหนังสือเลมนี้ มีความสมบูรณย่ิงขึ้น จนสําเร็จเปนรูปเลมได หากหนังสือเลมนี้มีความผิดพลาด ผูเขียนยินดีนอมรับ คําแนะนํา คําติชม เพื่อนําไปพัฒนาและปรับปรุงใหดีย่ิงขึ้นตอไป ดวยความเคารพย่ิง

ผศ.ดร. เดชฤทธิ์ มณีธรรม e-mail: [email protected]

หรือ [email protected]

คัมภีร์การใช้งาน ระบบนิวแมติกส์ii ดัชนี

Page 3: คํานํา · 2017-06-06 · 0 4 6 - 7 9 2 - 4 1 6 0 6 6 0 8 7 6 5 4 3 2 1 0 ข้อมูลทางบรรณาน ุกรมของสํ านักหอสมุดแห่งชาติ

ในกรณีที่ตองการซื้อเปนจํานวนมาก เพ่ือใชในการสอน การฝกอบรม การสงเสริมการขาย หรือเปนของขวัญพิเศษ เปนตน กรุณาติดตอสอบถามราคาพิเศษไดที่ ฝา่ยขาย บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จํากัด (มหาชน) เลขที่ 1858/87-90 ถนนบางนา-ตราด แขวงบางนา เขตบางนา กรุงเทพฯ 10260 โทรศพัท 0-2739-8222 โทรสาร 0-2739-8359

หากมีคาํแนะนําหรือติชม สามารถติดต่อได้ท่ี [email protected] คมัภีรก์ารใช้งาน ระบบนิวแมติกส ์(Pneumatics System) โดย ผศ.ดร เดชฤทธิ์ มณีธรรม

ราคา 320 บาท สงวนลิขสิทธิ์ในประเทศไทยตาม พ.ร.บ. ลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2560 โดย ผศ.ดร. เดชฤทธิ์ มณีธรรม หามคัดลอก ลอกเลียน ดัดแปลง ทําซ้ํา จัดพิมพ หรือกระทําอ่ืนใด โดยวิธีการใดๆ ในรูปแบบใดๆ ไมวาสวนหนึ่งสวนใดของหนังสือเลมนี้ เพื่อเผยแพรในสื่อทุกประเภท หรือเพื่อวัตถุประสงคใดๆ นอกจากจะไดรับอนุญาต 0 4 6 - 7 9 2 - 4 1 6 0 6 6 0 8 7 6 5 4 3 2 1 0

ข้อมูลทางบรรณานุกรมของสํานักหอสมุดแห่งชาติ เดชฤทธิ์ มณีธรรม. คัมภีรการใชงาน ระบบนิวแมติกส (Pneumatics System). —กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น, 2560. 416 หนา 1. นวิแมติกส. I. ชื่อเรื่อง. 621.51

ISBN 978-616-08-2594-3 จัดพิมพและจัดจาํหนายโดย

เลขท่ี 1858/87-90 ถนนบางนา-ตราด แขวงบางนา เขตบางนา กรุงเทพฯ 10260 โทรศัพท 0-2739-8000

พิมพที่ บริษัท วี.พร้ินท (1991) จํากัด เลขที่ 23/71-72 หมู 1 ซอยเทียนทะเล 10 ถนนบางขนุเทียน-ชายทะเล แขวงแสมดํา เขตบางขุนเทียน กรุงเทพฯ 10150 โทรศัพท 0-2451-3010 นายวิชัย กาญจนพัฒนา ผูพิมพผูโฆษณา พ.ศ. 2560

คํานํา คัมภีรการใชงาน ระบบนิวแมติกส iii

คาํนาํ

ปจจุบันระบบนิวแมติกสถูกนํามาใชในงานอุตสาหกรรมอยางแพรหลาย เพื่อใชในการควบคุมระบบการทํางานของอุตสาหกรรม ตั้งแตขนาดเล็กจนถึงอุตสาหกรรมขนาดใหญ โดยทั่วไปวัตถุประสงคของการใชระบบนิวแมติกสในการควบคุม ก็เพื่อใหเกิดความสะดวกในการทํางาน การออกแบบวงจร และควบคุมงาย ตลอดจนระบบนิวแมติกส ยังมีความปลอดภัยสูงอีกดวย

หนังสือ "คัมภีรการใชงาน ระบบนิวแมติกส (Pneumatics System)” เลมนี้ มีจุดมุงหมายที่จะพัฒนาระบบนิวแมติกสที่ใชอยูในปจจุบัน ใหเปนระบบควบคุมอัตโนมัติ เพื่อใหทันกับโลกของเทคโนโลยีสมัยใหม โดยไดรวบรวมและเรียบเรียงตลอดจนคนควาและทดลอง เพ่ือใหสามารถนําไปประยุกตใชกับงานไดจริง โดยจะเร่ิมตนอธิบายเก่ียวกับระบบนิวแมติกสควบคุมดวยลม ระบบนิวแมติกสควบคุมดวยไฟฟา ระบบนิวแมติกสควบคุมดวยโปรแกรมเมเบิล ลอจิก คอนโทรลเลอร และจบดวยระบบนิวแมติกสควบคุมดวยไมโครคอนโทรลเลอร หนังสือเลมนี้จึงเหมาะสําหรับนักศึกษาไดใชเรียนและคนควาเพิ่มเติม รวมทั้งชางซอมบํารุง วิศวกรโรงงาน ตลอดจนผูที่สนใจในงานระบบนิวแมติกสสมัยใหม

สําหรับหนังสือเลมนี้ ผูเขียนมีความปรารถนาที่จะขอขอบพระคุณทุกๆ ทาน ที่ไดใหความชวยเหลือดานขอมูล เอกสาร การจัดทํา ตลอดจนคําแนะนําตาง ๆ เพื่อใหหนังสือเลมนี้ มีความสมบูรณย่ิงขึ้น จนสําเร็จเปนรูปเลมได หากหนังสือเลมนี้มีความผิดพลาด ผูเขียนยินดีนอมรับ คําแนะนํา คําติชม เพื่อนําไปพัฒนาและปรับปรุงใหดีย่ิงขึ้นตอไป ดวยความเคารพย่ิง

ผศ.ดร. เดชฤทธิ์ มณีธรรม e-mail: [email protected]

หรือ [email protected]

คัมภีร์การใช้งาน ระบบนิวแมติกส์ iiiค�ำน�ำ

Page 4: คํานํา · 2017-06-06 · 0 4 6 - 7 9 2 - 4 1 6 0 6 6 0 8 7 6 5 4 3 2 1 0 ข้อมูลทางบรรณาน ุกรมของสํ านักหอสมุดแห่งชาติ

สารบัญ คัมภีรการใชงาน ระบบนิวแมติกส v

สารบัญ หนา คํานํา i บทที ่1 ระบบนิวแมติกส 1 1.1 ระบบควบคุมในงานวิศวกรรม 3 1.2 ระบบนิวแมติกสในงานอุตสาหกรรม 4 1.3 การควบคุมระบบนิวแมติกส 6 1.3.1 การควบคุมระบบนิวแมติกสดวยลม 7 1.3.2 การควบคุมระบบนิวแมติกสดวยไฟฟา 8 1.3.3 การควบคุมระบบนิวแมติกสดวยพีแอลซ ี 9 1.3.4 การควบคุมระบบนิวแมติกสดวยไมโครคอนโทรลเลอร 10 1.4 ขอดีและขอเสียของระบบนิวแมติกส 12 1.4.1 ขอดีของลมอัด 12 1.4.2 ขอเสียของลมอัด 13 1.5 สัญลักษณในระบบนิวแมติกส 13 1.6 บทสรุป 22 1.7 แบบฝกหัด 23 บทที ่2 ระบบลมอัดในระบบนิวแมติกส 25 2.1 เคร่ืองอัดอากาศ 27 2.1.1 เคร่ืองอัดอากาศแบบลูกสูบหมุน 29 2.1.2 เคร่ืองอัดอากาศแบบไดอะแฟรม 30 2.1.3 เคร่ืองอัดอากาศแบบใบพัดเลื่อน 30 2.1.4 เคร่ืองอัดอากาศแบบสกรู 31 2.1.5 เคร่ืองอัดอากาศแบบใบพัดหมุน 31 2.1.6 เคร่ืองอัดอากาศแบบกังหัน 32

คัมภีร์การใช้งาน ระบบนิวแมติกส์ vสารบัญ

Page 5: คํานํา · 2017-06-06 · 0 4 6 - 7 9 2 - 4 1 6 0 6 6 0 8 7 6 5 4 3 2 1 0 ข้อมูลทางบรรณาน ุกรมของสํ านักหอสมุดแห่งชาติ

vi คัมภีรการใชงาน ระบบนิวแมติกส สารบัญ

หนา

2.2 ถังเกบ็ลมอัด 34 2.3 ชุดควบคุมคุณภาพลมอัด 37 2.3.1 ชุดกรองอากาศ 38 2.3.2 ชุดควบคุมความดัน 39 2.3.3 ชุดน้ํามันหลอล่ืน 40 2.4 การติดต้ังทอลมอดั 41 2.4.1 แบบทอแยก 42 2.4.2 แบบวงแหวน 42 2.4.3 แบบทอรวม 43 2.5 บทสรุป 43 2.6 แบบฝกหัด 44 บทที ่3 อุปกรณทํางานในระบบนิวแมติกส 45 3.1 อุปกรณทํางานในแนวเสนตรง 48 3.1.1 กระบอกสูบทางเดียว 48 3.1.2 กระบอกสูบสองทาง 49 3.2 อุปกรณทํางานในแนวหมุนรอบตัว 56 3.2.1 มอเตอรลม 56 3.2.2 ลูกสูบหมุน 57 3.2.3 ใบพัดเลื่อนหมุน 57 3.3 บทสรุป 58 3.4 แบบฝกหัด 58 บทที ่4 วาลวและอุปกรณควบคุมในระบบนิวแมติกส 59 4.1 วาลวควบคุมทิศทาง 61 4.1.1 สัญลักษณของวาลวควบคุมทิศทาง 62

สารบัญ คัมภีรการใชงาน ระบบนิวแมติกส vii

หนา

4.1.2 อุปกรณควบคุมการเล่ือนวาลวควบคุมทิศทาง 65 4.1.3 โครงสรางแและหลักการออกแบบของวาลวควบคุมทิศทาง 70 4.2 วาลวควบคุมการไหลทางเดียว 77 4.2.1 วาลวกันกลับ 78 4.2.2 วาลวลมเด่ียว 79 4.2.3 วาลวลมคู 82 4.2.4 วาลวระบายลมเร็ว 85 4.3 วาลวควบคุมความดัน 86 4.3.1 วาลวควบคุมความดัน 87 4.3.2 วาลวจํากัดความดัน 88 4.3.3 วาลวจัดลําดับ 88 4.4 วาลวควบคุมอัตราการไหล 90 4.5 วาลวเปด-ปดและวาลวผสม 93 4.5.1 วาลวเปด-ปด 93 4.5.2 วาลวหนวงเวลา 93 4.6 บทสรุป 96 4.7 แบบฝกหัด 96 บทที ่5 วงจรนิวแมติกส 97 5.1 การเขียนรหัสอุปกรณในระบบนิวแมติกส 99 5.2 วงจรนิวแมติกส 101 5.2.1 การควบคุมทิศทางโดยตรง 101 5.2.2 การควบคุมทิศทางโดยทางออม 102 5.3 การใชวาลวความดัน 2 ทาง 105 5.4 การใชวาลวกันกลับ 2 ทาง 107 5.5 การใชวาลวเรงระบายลม 109

คัมภีร์การใช้งาน ระบบนิวแมติกส์vi สารบัญ

Page 6: คํานํา · 2017-06-06 · 0 4 6 - 7 9 2 - 4 1 6 0 6 6 0 8 7 6 5 4 3 2 1 0 ข้อมูลทางบรรณาน ุกรมของสํ านักหอสมุดแห่งชาติ

vi คัมภีรการใชงาน ระบบนิวแมติกส สารบัญ

หนา

2.2 ถังเกบ็ลมอัด 34 2.3 ชุดควบคุมคุณภาพลมอัด 37 2.3.1 ชุดกรองอากาศ 38 2.3.2 ชุดควบคุมความดัน 39 2.3.3 ชุดน้ํามันหลอลื่น 40 2.4 การติดต้ังทอลมอดั 41 2.4.1 แบบทอแยก 42 2.4.2 แบบวงแหวน 42 2.4.3 แบบทอรวม 43 2.5 บทสรุป 43 2.6 แบบฝกหัด 44 บทที ่3 อุปกรณทํางานในระบบนิวแมติกส 45 3.1 อุปกรณทํางานในแนวเสนตรง 48 3.1.1 กระบอกสูบทางเดียว 48 3.1.2 กระบอกสูบสองทาง 49 3.2 อุปกรณทํางานในแนวหมุนรอบตัว 56 3.2.1 มอเตอรลม 56 3.2.2 ลูกสูบหมุน 57 3.2.3 ใบพัดเลื่อนหมุน 57 3.3 บทสรุป 58 3.4 แบบฝกหัด 58 บทที ่4 วาลวและอุปกรณควบคุมในระบบนิวแมติกส 59 4.1 วาลวควบคุมทิศทาง 61 4.1.1 สัญลักษณของวาลวควบคุมทิศทาง 62

สารบัญ คัมภีรการใชงาน ระบบนิวแมติกส vii

หนา

4.1.2 อุปกรณควบคุมการเล่ือนวาลวควบคุมทิศทาง 65 4.1.3 โครงสรางแและหลักการออกแบบของวาลวควบคุมทิศทาง 70 4.2 วาลวควบคุมการไหลทางเดียว 77 4.2.1 วาลวกันกลับ 78 4.2.2 วาลวลมเด่ียว 79 4.2.3 วาลวลมคู 82 4.2.4 วาลวระบายลมเร็ว 85 4.3 วาลวควบคุมความดัน 86 4.3.1 วาลวควบคุมความดัน 87 4.3.2 วาลวจํากัดความดัน 88 4.3.3 วาลวจัดลําดับ 88 4.4 วาลวควบคุมอัตราการไหล 90 4.5 วาลวเปด-ปดและวาลวผสม 93 4.5.1 วาลวเปด-ปด 93 4.5.2 วาลวหนวงเวลา 93 4.6 บทสรุป 96 4.7 แบบฝกหัด 96 บทที ่5 วงจรนิวแมติกส 97 5.1 การเขียนรหัสอุปกรณในระบบนิวแมติกส 99 5.2 วงจรนิวแมติกส 101 5.2.1 การควบคุมทิศทางโดยตรง 101 5.2.2 การควบคุมทิศทางโดยทางออม 102 5.3 การใชวาลวความดัน 2 ทาง 105 5.4 การใชวาลวกันกลับ 2 ทาง 107 5.5 การใชวาลวเรงระบายลม 109

คัมภีร์การใช้งาน ระบบนิวแมติกส์ viiสารบัญ

Page 7: คํานํา · 2017-06-06 · 0 4 6 - 7 9 2 - 4 1 6 0 6 6 0 8 7 6 5 4 3 2 1 0 ข้อมูลทางบรรณาน ุกรมของสํ านักหอสมุดแห่งชาติ

viii คัมภีรการใชงาน ระบบนิวแมติกส สารบัญ

หนา

5.6 การใชวาลวปรับอัตราการไหล 110 5.7 การใชวาลวจัดลําดับ 113 5.8 วงจรการทํางานแบบก่ึงอัตโนมัติ 114 5.9 การใชนิวแมติกสรีดวาลว 115 5.10 การใชวาลวต้ังเวลา 116 5.11 การใชอุปกรณนบัจํานวน 117 5.12 การใชอุปกรณสญุญากาศ 120 5.13 บทสรุป 121 5.14 แบบฝกหัด 121 บทที ่6 วงจรนิวแมตกิส์ควบคุมการทาํงานแบบต่อเน่ือง 123 6.1 วงจรควบคุมการทํางานแบบตอเน่ือง 125 6.2 วิธีการแกปญหาของวงจรที่เกิดสัญญาณลมตาน 131 6.2.1 วาลวลูกกล้ิงทางเดียว 133 6.2.2 วาลวใหสัญญาณลมผานชั่วขณะ 138 6.2.3 การควบคุมแบบแคสเคด 141 6.2.4 การควบคุมแบบชิฟตรีจิสเตอร 157 6.3 บทสรุป 168 6.4 แบบฝกหัด 168 บทที ่7 ส่วนประกอบระบบนิวแมตกิส์ไฟฟ้า 169 7.1 สวิตชปุมกด 172 7.1.1 สวิตชปุมกดปกติเปด 173 7.1.2 สวิตชกดคางตําแหนง 174 7.2 ลิมิตสวิตช 175 7.3 รีดสวิตช 176

สารบัญ คัมภีรการใชงาน ระบบนิวแมติกส ix

หนา

7.4 รีเลย 177 7.5 รีเลยต้ังเวลา 178 7.5.1 รีเลยต้ังเวลาแบบหนวงเวลาเปด 178 7.5.2 รีเลยต้ังเวลาแบบหนวงเวลาปด 180 7.6 ตัวนับจํานวน 181 7.6.1 ตัวนับจํานวนอยางเดียว 181 7.6.2 ตัวนับจํานวนแบบต้ังคานับจํานวนได 181 7.7 อุปกรณตรวจจับชิ้นงาน 182 7.7.1 Inductive Proximity Sensor 183 7.7.2 Capacitive Proximity Sensor 184 7.7.3 Optic Proximity Sensor 185 7.8 โซลีนอยดวาลว 187 7.8.1 วาลว 3/2 ปกติปด เลื่อนวาลวดวยโซลีนอยดวาลวกลับดวยแรง สปริง 188 7.8.2 วาลว 5/2 เลือ่นวาลวดวยโซลีนอยดวาลวกลับดวยแรงสปริง 188 7.8.3 วาลว 5/2 เลือ่นวาลวดวยโซลีนอยดวาลวกลับดวยโซลีนอยดวาลว 190 7.9 บทสรุป 191 7.10 แบบฝกหัด 191 บทที ่8 วงจรนิวแมติกสไฟฟา 193 8.1 วงจรนิวแมติกสไฟฟา 196 8.2 วงจรนิวแมติกสไฟฟาแบบทํางานตอเน่ือง 213 8.3 วงจรนิวแมติกสไฟฟาควบคุมแบบแคสเคด 224 8.4 วงจรนิวแมติกสไฟฟาควบคุมแบบชิฟตรีจิสเตอร 231 8.5 บทสรุป 234 8.6 แบบฝกหัด 234

คัมภีร์การใช้งาน ระบบนิวแมติกส์viii สารบัญ

Page 8: คํานํา · 2017-06-06 · 0 4 6 - 7 9 2 - 4 1 6 0 6 6 0 8 7 6 5 4 3 2 1 0 ข้อมูลทางบรรณาน ุกรมของสํ านักหอสมุดแห่งชาติ

viii คัมภีรการใชงาน ระบบนิวแมติกส สารบัญ

หนา

5.6 การใชวาลวปรับอัตราการไหล 110 5.7 การใชวาลวจัดลําดับ 113 5.8 วงจรการทํางานแบบก่ึงอัตโนมัติ 114 5.9 การใชนิวแมติกสรีดวาลว 115 5.10 การใชวาลวต้ังเวลา 116 5.11 การใชอุปกรณนบัจํานวน 117 5.12 การใชอุปกรณสญุญากาศ 120 5.13 บทสรุป 121 5.14 แบบฝกหัด 121 บทที ่6 วงจรนิวแมตกิส์ควบคุมการทาํงานแบบต่อเน่ือง 123 6.1 วงจรควบคุมการทํางานแบบตอเน่ือง 125 6.2 วิธีการแกปญหาของวงจรที่เกิดสญัญาณลมตาน 131 6.2.1 วาลวลูกกลิ้งทางเดียว 133 6.2.2 วาลวใหสัญญาณลมผานชั่วขณะ 138 6.2.3 การควบคุมแบบแคสเคด 141 6.2.4 การควบคุมแบบชิฟตรีจิสเตอร 157 6.3 บทสรุป 168 6.4 แบบฝกหัด 168 บทที ่7 ส่วนประกอบระบบนิวแมตกิส์ไฟฟ้า 169 7.1 สวิตชปุมกด 172 7.1.1 สวิตชปุมกดปกติเปด 173 7.1.2 สวิตชกดคางตําแหนง 174 7.2 ลิมิตสวิตช 175 7.3 รีดสวิตช 176

สารบัญ คัมภีรการใชงาน ระบบนิวแมติกส ix

หนา

7.4 รีเลย 177 7.5 รีเลยต้ังเวลา 178 7.5.1 รีเลยต้ังเวลาแบบหนวงเวลาเปด 178 7.5.2 รีเลยต้ังเวลาแบบหนวงเวลาปด 180 7.6 ตัวนับจํานวน 181 7.6.1 ตัวนับจํานวนอยางเดียว 181 7.6.2 ตัวนับจํานวนแบบต้ังคานับจํานวนได 181 7.7 อุปกรณตรวจจับชิ้นงาน 182 7.7.1 Inductive Proximity Sensor 183 7.7.2 Capacitive Proximity Sensor 184 7.7.3 Optic Proximity Sensor 185 7.8 โซลีนอยดวาลว 187 7.8.1 วาลว 3/2 ปกติปด เล่ือนวาลวดวยโซลีนอยดวาลวกลับดวยแรง สปริง 188 7.8.2 วาลว 5/2 เล่ือนวาลวดวยโซลีนอยดวาลวกลับดวยแรงสปริง 188 7.8.3 วาลว 5/2 เล่ือนวาลวดวยโซลีนอยดวาลวกลับดวยโซลีนอยดวาลว 190 7.9 บทสรุป 191 7.10 แบบฝกหัด 191 บทที ่8 วงจรนิวแมติกสไฟฟา 193 8.1 วงจรนิวแมติกสไฟฟา 196 8.2 วงจรนิวแมติกสไฟฟาแบบทํางานตอเน่ือง 213 8.3 วงจรนิวแมติกสไฟฟาควบคุมแบบแคสเคด 224 8.4 วงจรนิวแมติกสไฟฟาควบคุมแบบชิฟตรีจิสเตอร 231 8.5 บทสรุป 234 8.6 แบบฝกหัด 234

คัมภีร์การใช้งาน ระบบนิวแมติกส์ ixสารบัญ

Page 9: คํานํา · 2017-06-06 · 0 4 6 - 7 9 2 - 4 1 6 0 6 6 0 8 7 6 5 4 3 2 1 0 ข้อมูลทางบรรณาน ุกรมของสํ านักหอสมุดแห่งชาติ

x คัมภีรการใชงาน ระบบนิวแมติกส สารบัญ

หนา บทที ่9 โปรแกรมเมเบลิ ลอจิก คอนโทรลเลอร 235 9.1 โครงสรางของพีแอลซ ี 238 9.1.1 หนวยประมวลผล 239 9.1.2 หนวยอินพุต / เอาตพุต 240 9.1.3 หนวยอุปกรณที่ใชในการโปรแกรม 241 9.2 ภาษาท่ีใชในการเขียนโปรแกรมพีแอลซ ี 243 9.2.1 ภาษาบูลีน 243 9.2.2 ภาษาแลดเดอร 244 9.2.3 ภาษาบล็อค 244 9.3 ระบบเลขฐาน 245 9.3.1 ระบบเลขฐานสอง 247 9.3.2 ระบบเลขฐานสบิ 247 9.3.3 ระบบเลขฐานแปด 248 9.3.4 ระบบเลขฐานสบิหก 250 9.4 ลอจิกเกทพ้ืนฐาน 251 9.4.1 ลอจิก AND Gate 252 9.4.2 ลอจิก OR Gate 253 9.4.3 ลอจิก NOT Gate 254 9.4.4 ลอจิก NAND Gate 255 9.4.5 ลอจิก NOR Gate 257 9.4.6 ลอจิก Exclusive OR และ Exclusive NOR Gate 258 9.5 บทสรุป 259 9.6 แบบฝกหัด 259 บทที ่10 พีแอลซีและการประยุกตใชงานในงานอุตสาหกรรม 261 10.1 การใชงานพีแอลซีควบคุมระบบนิวแมติกส 264

สารบัญ คัมภีรการใชงาน ระบบนิวแมติกส xi

หนา

10.2 การใชพีแอลซีควบคุมชุด MPS 290 10.3 บทสรุป 313 10.4 แบบฝกหัด 314 บทที ่11 การใชไมโครคอนโทรลเลอรควบคุมในระบบนวิแมติกส 315 11.1 ไมโครคอนโทรลเลอรตระกูล 8051 (MCS-51) 381 11.1.1 โครงสรางของ MCS-51 389 11.1.2 ภาษาในการพัฒนาโปรแกรม 390 11.2 ไมโครคอนโทรลเลอรควบคุมระบบนิวแมติกส 381 11.3 บทสรุป 389 11.4 แบบฝกหัด 390 ภาคผนวก ชุดเครื่องมือ (Tools) 381 บรรณานกุรม 389

คัมภีร์การใช้งาน ระบบนิวแมติกส์x สารบัญ

Page 10: คํานํา · 2017-06-06 · 0 4 6 - 7 9 2 - 4 1 6 0 6 6 0 8 7 6 5 4 3 2 1 0 ข้อมูลทางบรรณาน ุกรมของสํ านักหอสมุดแห่งชาติ

x คัมภีรการใชงาน ระบบนิวแมติกส สารบัญ

หนา บทที ่9 โปรแกรมเมเบลิ ลอจิก คอนโทรลเลอร 235 9.1 โครงสรางของพีแอลซ ี 238 9.1.1 หนวยประมวลผล 239 9.1.2 หนวยอินพุต / เอาตพุต 240 9.1.3 หนวยอุปกรณที่ใชในการโปรแกรม 241 9.2 ภาษาท่ีใชในการเขียนโปรแกรมพีแอลซ ี 243 9.2.1 ภาษาบูลีน 243 9.2.2 ภาษาแลดเดอร 244 9.2.3 ภาษาบล็อค 244 9.3 ระบบเลขฐาน 245 9.3.1 ระบบเลขฐานสอง 247 9.3.2 ระบบเลขฐานสบิ 247 9.3.3 ระบบเลขฐานแปด 248 9.3.4 ระบบเลขฐานสบิหก 250 9.4 ลอจิกเกทพ้ืนฐาน 251 9.4.1 ลอจิก AND Gate 252 9.4.2 ลอจิก OR Gate 253 9.4.3 ลอจิก NOT Gate 254 9.4.4 ลอจิก NAND Gate 255 9.4.5 ลอจิก NOR Gate 257 9.4.6 ลอจิก Exclusive OR และ Exclusive NOR Gate 258 9.5 บทสรุป 259 9.6 แบบฝกหัด 259 บทที ่10 พีแอลซีและการประยุกตใชงานในงานอุตสาหกรรม 261 10.1 การใชงานพีแอลซีควบคุมระบบนิวแมติกส 264

สารบัญ คัมภีรการใชงาน ระบบนิวแมติกส xi

หนา

10.2 การใชพีแอลซีควบคุมชุด MPS 290 10.3 บทสรุป 313 10.4 แบบฝกหัด 314 บทที ่11 การใชไมโครคอนโทรลเลอรควบคุมในระบบนวิแมติกส 315 11.1 ไมโครคอนโทรลเลอรตระกูล 8051 (MCS-51) 381 11.1.1 โครงสรางของ MCS-51 389 11.1.2 ภาษาในการพัฒนาโปรแกรม 390 11.2 ไมโครคอนโทรลเลอรควบคุมระบบนิวแมติกส 381 11.3 บทสรุป 389 11.4 แบบฝกหัด 390 ภาคผนวก ชุดเครื่องมือ (Tools) 381 บรรณานกุรม 389

คัมภีร์การใช้งาน ระบบนิวแมติกส์ xiสารบัญ

Page 11: คํานํา · 2017-06-06 · 0 4 6 - 7 9 2 - 4 1 6 0 6 6 0 8 7 6 5 4 3 2 1 0 ข้อมูลทางบรรณาน ุกรมของสํ านักหอสมุดแห่งชาติ

บทที่ 1 ระบบนิวแมติกส 1

1.1 ระบบควบคุมในงานวิศวกรรม

1.2 ระบบนิวแมติกส์ในงานอุตสาหกรรม

1.3 การควบคุมระบบนิวแมติกส์

1.4 ข้อดีและข้อเสียของระบบนิวแมติกส์

1.5 สัญลักษณ์ในระบบนิวแมติกส์

.6 บทสรปุ

.7 แบบฝึกหัด

ระบบควบคุมในงานวิศวกรรม

ระบบนิวแมติกส์ ในงานอุตสาหกรรม

การควบคุมระบบนิวแมติกส์

ข้อดีและข้อเสียของระบบนิวแมติกส์

สัญลักษณ์ ในระบบนิวแมติกส์

บทสรุป

แบบฝึกหัด

1 ระบบนิวแมติกส์

Page 12: คํานํา · 2017-06-06 · 0 4 6 - 7 9 2 - 4 1 6 0 6 6 0 8 7 6 5 4 3 2 1 0 ข้อมูลทางบรรณาน ุกรมของสํ านักหอสมุดแห่งชาติ

2 คัมภีรการใชงาน ระบบนิวแมติกส บทที่ 1

บทที่ 1 ระบบนิวแมติกส 3

นิวแมติกส (Pneumatics) มาจากคําศัพทภาษากรีกวา “Pneuma” หมายถึง หายใจ หรือลม แตในปจจุบัน ตามความหมายในระบบอุตสาหกรรมน้ันหมายถึง การนําลมชักไปใชกับเครื่องจักรในงานอุตสาหกรรม โดยเฉพาะการนํามาใชขับเคล่ือนและควบคุมอุปกรณเครื่องจักรกลตางๆ ที่ใชลมเปนตนกําเนิดกําลังในการทํางาน

ปจจุบันมีโรงงานมากมายเขามาตั้งฐานผลิตในเมืองไทย ทําใหเกิดนิคมอุตสาหกรรมขึ้นหลายแหง ทั้งนี้เนื่องมาจากรัฐบาลมีนโยบายสงเสริมอุตสาหกรรมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม หรือ SME (Small and Medium Enterprise) จึงมีการแขงขันกันสูงในเร่ืองของการตลาด ราคาของผลิตภัณฑ ดังนั้น จึงมีหลายบริษัทท่ีพยายามปรับตัวเอง โดยการนําเทคโนโลยีระบบควบคุมอัตโนมัติ (Automation Technology) เขามาใชงาน เพื่อใหสินคาสามารถแขงขันในตลาดโลกไดทั้งในเรื่องราคาและคุณภาพ 1.1 ระบบควบคมุในงานวิศวกรรม

ปจจุบันในโรงงานอุตสาหกรรมหลายแหงใชระบบควบคุมอัตโนมัติ เพื่อควบคุมเคร่ืองจักรในโรงงาน อุตสาหกรรม ระบบควบคุมอัตโนมัตินี้สามารถใชควบคุมโรงงานอุตสาหกรรมไดทุกประเภท ทําใหไดผลผลิตที่ถูกตองเท่ียงตรงและรวดเร็ว และสามารถเก็บบันทึกขอมูลการทํางานไดตลอดเวลา ระบบควบคุมอัตโนมัติที่ใชควบคุมในโรงงานอุตสาหกรรมโดยทั่วไปจะใชคอมพิวเตอรพีแอลซี หรือ ไมโครคอนโทรลเลอร เปนตัวควบคุมระบบอัตโนมัติ เชน หุนยนตอุตสาหกรรมใชควบคุมระบบการผลิตไดมากมายหลายอยาง (อุตสาหกรรมประกอบรถยนต อุตสาหกรรมขนถายวัสดุ อุตสาหกรรมงานเชื่อม เปนตน) ระบบซอฟตแวร CAD/CAM/CAPP ควบคุมเคร่ือง CNC หรือระบบควบคุมตรวจสอบการทํางานของเครื่องจักร เปนตน

ระบบนิวแมติกส์ 3บทที่ 1

Page 13: คํานํา · 2017-06-06 · 0 4 6 - 7 9 2 - 4 1 6 0 6 6 0 8 7 6 5 4 3 2 1 0 ข้อมูลทางบรรณาน ุกรมของสํ านักหอสมุดแห่งชาติ

4 คัมภีรการใชงาน ระบบนิวแมติกส บทที่ 1

เทคโนโลยีระบบควบคุมอัตโนมัติกําลังพัฒนากาวหนาไปอยางรวดเร็ว โรงงานอุตสาหกรรมบางแหงจัดตั้งทีมงานวิศวกรรมระบบควบคุมอัตโนมัติขึ้นมา เพื่อใหสามารถแกไขและตรวจสอบระบบการทํางานของเครื่องจักรไดทันทวงที และเพื่อรองรับเทคโนโลยีระบบควบคุมอัตโนมัติเพื่อนํามาใชในสายงานการผลิต จึงกลาวไดวาเทคโนโลยีระบบควบคุมอัตโนมัติเขามามีบทบาทคอนขางมากในอุตสาหกรรม และจะเติบโตอีกมากตอไปในอนาคต

รูปที ่1.1 แสดงระบบควบคุมอัตโนมัติ

1.2 ระบบนิวแมติกส์ในงานอุตสาหกรรมปจจุบันระบบนิวแมติกสถูกนํามาใชในงานอุตสาหกรรมอยางแพรหลาย ซึ่งหลักการของระบบนิวแมติกส

คือ การนําอากาศมาอัดใหมีความดันสูงดวยเครื่องอัดอากาศ (Compressor) แลวนําลมอัดที่ไดมาเก็บไวที่ถังเก็บลมอัด (Reservoir) โดยลมอัดที่ไดจะมีความดันลมอัดท่ีสูงและมีละอองนํ้า ตลอดจนส่ิงสกปรกปนเปอนมากับลมอัด จึงตองผานชุดควบคุมคุณภาพลมอัด (Service Unit) สุดทายก็จะนําลมอัดที่สะอาดไปใชในระบบนิวแมติกสตอไป

บทที่ 1 ระบบนิวแมติกส 5

รูปที ่1.2 แสดงระบบนิวแมติกส

ระบบนิวแมติกสสามารถแบงออกตามลักษณะการทํางานไดดังนี้ (ดูรูปที่ 1.2 ประกอบ)

. เคร่ืองอัดอากาศ (Compressor) จะทําหนาที่เปล่ียนพลังงานกลใหเปนพลังงานลมอัดที่ใชในระบบนิวแมติกส

. เคร่ืองระบายความร้อน (Heat Exchanger) ลมอัดที่มาจากเครื่องอัดอากาศจะมีความดันสูง และมีปริมาณนํ้าเปนจํานวนมาก จึงตองมีการระบายความรอนและดักน้ําออกสวนหนึ่งกอน

. เคร่ืองกรองลมอัด (Main Air Filter) จะทําหนาที่กรองลมอัดที่มีความชื้น ฝุนละออง และนํ้าที่ปะปนมาใหสะอาดกอนนําไปใชงาน

. ถังเก็บลมอัด (Reservoir) มีหนาที่เก็บปริมาณลมอัดใหเพียงพอกับปริมาณการใชงาน และจายลมอัดไปใชงานดวยความดันสมํ่าเสมอ

. เคร่ืองกาํจัดความช้ืน (Air Dryer) ลมอัดจะมีความชื้นปะปนมาดวย จึงตองกําจัดความชื้น โดยทําใหลมอัดมีอุณหภูมิตํ่าลง

6. ชดุควบคมุคณุภาพลมอัด (Service Unit) ชุดควบคุมคุณภาพลมอัดนี้ จะประกอบไปดวยอุปกรณ 3 ชนิด ดังนี้

เครื่องอัดอากาศ

ตัวกรองลมอัด

เครื่องระบายความรอน เครื่องกําจัดความช้ืน

กระบอกสูบ วาลวควบคุมความเร็ว

วาลวควบคุมความเร็ว อุปกรณเก็บเสียง

ชุดนํ้ามันหลอลื่น

ชุดควบคุมความดันชุดกรองอากาศ

คัมภีร์การใช้งาน ระบบนิวแมติกส์4 บทที่ 1

Page 14: คํานํา · 2017-06-06 · 0 4 6 - 7 9 2 - 4 1 6 0 6 6 0 8 7 6 5 4 3 2 1 0 ข้อมูลทางบรรณาน ุกรมของสํ านักหอสมุดแห่งชาติ

4 คัมภีรการใชงาน ระบบนิวแมติกส บทที่ 1

เทคโนโลยีระบบควบคุมอัตโนมัติกําลังพัฒนากาวหนาไปอยางรวดเร็ว โรงงานอุตสาหกรรมบางแหงจัดตั้งทีมงานวิศวกรรมระบบควบคุมอัตโนมัติขึ้นมา เพื่อใหสามารถแกไขและตรวจสอบระบบการทํางานของเครื่องจักรไดทันทวงที และเพื่อรองรับเทคโนโลยีระบบควบคุมอัตโนมัติเพื่อนํามาใชในสายงานการผลิต จึงกลาวไดวาเทคโนโลยีระบบควบคุมอัตโนมัติเขามามีบทบาทคอนขางมากในอุตสาหกรรม และจะเติบโตอีกมากตอไปในอนาคต

รูปที ่1.1 แสดงระบบควบคุมอัตโนมัติ

1.2 ระบบนิวแมติกส์ในงานอุตสาหกรรมปจจุบันระบบนิวแมติกสถูกนํามาใชในงานอุตสาหกรรมอยางแพรหลาย ซึ่งหลักการของระบบนิวแมติกส

คือ การนําอากาศมาอัดใหมีความดันสูงดวยเครื่องอัดอากาศ (Compressor) แลวนําลมอัดที่ไดมาเก็บไวที่ถังเก็บลมอัด (Reservoir) โดยลมอัดที่ไดจะมีความดันลมอัดท่ีสูงและมีละอองนํ้า ตลอดจนส่ิงสกปรกปนเปอนมากับลมอัด จึงตองผานชุดควบคุมคุณภาพลมอัด (Service Unit) สุดทายก็จะนําลมอัดที่สะอาดไปใชในระบบนิวแมติกสตอไป

บทที่ 1 ระบบนิวแมติกส 5

รูปที ่1.2 แสดงระบบนิวแมติกส

ระบบนิวแมติกสสามารถแบงออกตามลักษณะการทํางานไดดังนี้ (ดูรูปที่ 1.2 ประกอบ)

. เคร่ืองอัดอากาศ (Compressor) จะทําหนาที่เปล่ียนพลังงานกลใหเปนพลังงานลมอัดที่ใชในระบบนิวแมติกส

. เคร่ืองระบายความร้อน (Heat Exchanger) ลมอัดที่มาจากเครื่องอัดอากาศจะมีความดันสูง และมีปริมาณนํ้าเปนจํานวนมาก จึงตองมีการระบายความรอนและดักน้ําออกสวนหนึ่งกอน

. เคร่ืองกรองลมอัด (Main Air Filter) จะทําหนาที่กรองลมอัดที่มีความชื้น ฝุนละออง และนํ้าที่ปะปนมาใหสะอาดกอนนําไปใชงาน

. ถังเก็บลมอัด (Reservoir) มีหนาที่เก็บปริมาณลมอัดใหเพียงพอกับปริมาณการใชงาน และจายลมอัดไปใชงานดวยความดันสมํ่าเสมอ

. เคร่ืองกาํจัดความช้ืน (Air Dryer) ลมอัดจะมีความชื้นปะปนมาดวย จึงตองกําจัดความชื้น โดยทําใหลมอัดมีอุณหภูมิตํ่าลง

6. ชดุควบคมุคณุภาพลมอัด (Service Unit) ชุดควบคุมคุณภาพลมอัดนี้ จะประกอบไปดวยอุปกรณ 3 ชนิด ดังนี้

เครื่องอัดอากาศ

ตัวกรองลมอัด

เครื่องระบายความรอน เครื่องกําจัดความช้ืน

กระบอกสูบ วาลวควบคุมความเร็ว

วาลวควบคุมความเร็ว อุปกรณเก็บเสียง

ชุดนํ้ามันหลอลื่น

ชุดควบคุมความดันชุดกรองอากาศ

ระบบนิวแมติกส์ 5บทที่ 1

Page 15: คํานํา · 2017-06-06 · 0 4 6 - 7 9 2 - 4 1 6 0 6 6 0 8 7 6 5 4 3 2 1 0 ข้อมูลทางบรรณาน ุกรมของสํ านักหอสมุดแห่งชาติ

6 คัมภีรการใชงาน ระบบนิวแมติกส บทที่ 1

1. ชุดกรองอากาศ (Filter) จะทําหนาที่กรองลมอัดที่มีฝุนละออง น้ํา และนํ้ามันที่ปนมากับอากาศ 2. ชุดควบคุมความดัน (Regulator) เนื่องจากลมอัดที่ไหลเขามามีความดันสูงจึงตองปรับความ

ดันลมอัดดานใชงานใหคงที่ และเหมาะสมกับอุปกรณในระบบนิวแมติกส 3. ชุดน้ํามันหลอล่ืน (Lubricator) จะทําหนาท่ีเปนตัวจายสารหลอล่ืนใหกับอุปกรณนิวแมติกส

เพื่อลดการสึกหรอ และความฝดของอุปกรณตางๆ

7. อุปกรณ์เก็บเสียง (Air Silencer) จะทําหนาที่เก็บเสียงลมอัดกอนท่ีจะระบายสูบรรยากาศ เพื่อไมใหเกิดเสียงดัง

8. วาล์วควบคมุทิศทาง (Directional Control Valve) จะทําหน า ท่ีควบคุมอุปกรณต างๆ ใหเคล่ือนท่ีไปตามทิศทางการไหลของลมเปนการควบคุมลูกสูบใหทํางานเคลื่อนท่ีเขา-ออก หรือใหคางตําแหนงการทํางาน

9. วาล์วควบคมุความเร็ว (Flow Control Valve) จะทําหนาที่ควบคุมปริมาณการไหลของลม โดยสามารถปรับใหลูกสูบเคล่ือนท่ีเขา-ออก โดยใหชาหรือเร็วได

0. กระบอกสบู (Pneumatic Cylinder) กระบอกสูบจะเคลื่อนท่ีในแนวเสนตรงโดยจะเปลี่ยนพลังงาน ลมอัดใหเปนพลังงานกล กระบอกสูบที่ใชในงานอุตสาหกรรมจะมีอยู 2 ชนิดคือ กระบอกสูบทางเดียว (Single Acting Cylinder) และกระบอกสูบสองทาง (Double Acting Cylinder)

1.3 การควบคมุระบบนิวแมติกส์

ปจจุบันระบบนิวแมติกสถูกพัฒนาไปอยางรวดเร็วเพื่อใหทันกับเทคโนโลยีที่ทันสมัย จึงไดมีชุดควบคุมระบบนิวแมติกสเพื่อใหการทํางานถูกตองและรวดเร็วย่ิงขึ้น โดยแบงวงจรควบคุมออกเปน 2 ชนิดคือ วงจรกําลัง (Power Circuit) และวงจรควบคุม (Control Circuit) โดยวงจรกําลังจะอาศัยลมอัดเปนตัวกลางในการสงกําลังเพื่อควบคุมวงจรการทํางาน สวนวงจรควบคุมจะใชตัวควบคุมไดหลายอยาง เชน ระบบไฟฟา พีแอลซี และไมโครคอนโทรลเลอร เปนตน

บทที่ 1 ระบบนิวแมติกส 7

(ก) พีแอลซ ี (ข) ไมโครคอนโทรลเลอร

รูปที ่1.3 แสดงอุปกรณควบคุมระบบนิวแมติกส

การควบคุมระบบนิวแมติกสสามารถแบงออกตามลักษณะการใชงานไดดังนี้ การควบคุมระบบนิวแมติกสดวยลม การควบคุมระบบนิวแมติกสดวยไฟฟา การควบคุมระบบนิวแมติกสดวยโปรแกรมเมเบิล ลอจิก คอนโทรเลอร หรือ พีแอลซี (PLC) การควบคุมระบบนิวแมติกสดวยไมโครคอนโทรลเลอร (Microcontroller)

1.3.1 การควบคมุระบบนิวแมติกส์ด้วยลม

ระบบนิวแมติกสทุกระบบจะตองใชลมอัดเปนตัวกลางในการสงกําลัง การควบคุมระบบนิวแมติกส ดวยลมระบบนี้ก็เชนกัน การทํางานจะประกอบดวยแหลงจายลม อุปกรณใหสัญญาณ อุปกรณควบคุมความเร็ว และอุปกรณทํางาน แตการทํางานในระบบนิวแมติกสเมื่อใชกระบอกสูบ 2 กระบอกสูบขึ้นไป การทํางานของวงจรอาจเกิดสัญญาณลมตานจากการออกแบบระบบการทํางาน การควบคุมระบบนิวแมติกสดวยลมที่เกิดสัญญาณลมตานสามารถแกปญหาไดดังนี้

คัมภีร์การใช้งาน ระบบนิวแมติกส์6 บทที่ 1

Page 16: คํานํา · 2017-06-06 · 0 4 6 - 7 9 2 - 4 1 6 0 6 6 0 8 7 6 5 4 3 2 1 0 ข้อมูลทางบรรณาน ุกรมของสํ านักหอสมุดแห่งชาติ

6 คัมภีรการใชงาน ระบบนิวแมติกส บทที่ 1

1. ชุดกรองอากาศ (Filter) จะทําหนาท่ีกรองลมอัดที่มีฝุนละออง น้ํา และนํ้ามันที่ปนมากับอากาศ 2. ชุดควบคุมความดัน (Regulator) เนื่องจากลมอัดที่ไหลเขามามีความดันสูงจึงตองปรับความ

ดันลมอัดดานใชงานใหคงที่ และเหมาะสมกับอุปกรณในระบบนิวแมติกส 3. ชุดนํ้ามันหลอล่ืน (Lubricator) จะทําหนาที่เปนตัวจายสารหลอล่ืนใหกับอุปกรณนิวแมติกส

เพื่อลดการสึกหรอ และความฝดของอุปกรณตางๆ

7. อุปกรณ์เก็บเสียง (Air Silencer) จะทําหนาที่เก็บเสียงลมอัดกอนท่ีจะระบายสูบรรยากาศ เพื่อไมใหเกิดเสียงดัง

8. วาล์วควบคมุทิศทาง (Directional Control Valve) จะทําหน าที่ ควบคุมอุปกรณต างๆ ใหเคล่ือนท่ีไปตามทิศทางการไหลของลมเปนการควบคุมลูกสูบใหทํางานเคลื่อนที่เขา-ออก หรือใหคางตําแหนงการทํางาน

9. วาล์วควบคมุความเร็ว (Flow Control Valve) จะทําหนาที่ควบคุมปริมาณการไหลของลม โดยสามารถปรับใหลูกสูบเคล่ือนท่ีเขา-ออก โดยใหชาหรือเร็วได

0. กระบอกสบู (Pneumatic Cylinder) กระบอกสูบจะเคลื่อนที่ในแนวเสนตรงโดยจะเปลี่ยนพลังงาน ลมอัดใหเปนพลังงานกล กระบอกสูบที่ใชในงานอุตสาหกรรมจะมีอยู 2 ชนิดคือ กระบอกสูบทางเดียว (Single Acting Cylinder) และกระบอกสูบสองทาง (Double Acting Cylinder)

1.3 การควบคมุระบบนิวแมติกส์

ปจจุบันระบบนิวแมติกสถูกพัฒนาไปอยางรวดเร็วเพื่อใหทันกับเทคโนโลยีที่ทันสมัย จึงไดมีชุดควบคุมระบบนิวแมติกสเพื่อใหการทํางานถูกตองและรวดเร็วย่ิงขึ้น โดยแบงวงจรควบคุมออกเปน 2 ชนิดคือ วงจรกําลัง (Power Circuit) และวงจรควบคุม (Control Circuit) โดยวงจรกําลังจะอาศัยลมอัดเปนตัวกลางในการสงกําลังเพื่อควบคุมวงจรการทํางาน สวนวงจรควบคุมจะใชตัวควบคุมไดหลายอยาง เชน ระบบไฟฟา พีแอลซี และไมโครคอนโทรลเลอร เปนตน

บทที่ 1 ระบบนิวแมติกส 7

(ก) พีแอลซ ี (ข) ไมโครคอนโทรลเลอร

รูปที ่1.3 แสดงอุปกรณควบคุมระบบนิวแมติกส

การควบคุมระบบนิวแมติกสสามารถแบงออกตามลักษณะการใชงานไดดังนี้ การควบคุมระบบนิวแมติกสดวยลม การควบคุมระบบนิวแมติกสดวยไฟฟา การควบคุมระบบนิวแมติกสดวยโปรแกรมเมเบิล ลอจิก คอนโทรเลอร หรือ พีแอลซี (PLC) การควบคุมระบบนิวแมติกสดวยไมโครคอนโทรลเลอร (Microcontroller)

1.3.1 การควบคมุระบบนิวแมติกส์ด้วยลม

ระบบนิวแมติกสทุกระบบจะตองใชลมอัดเปนตัวกลางในการสงกําลัง การควบคุมระบบนิวแมติกส ดวยลมระบบนี้ก็เชนกัน การทํางานจะประกอบดวยแหลงจายลม อุปกรณใหสัญญาณ อุปกรณควบคุมความเร็ว และอุปกรณทํางาน แตการทํางานในระบบนิวแมติกสเมื่อใชกระบอกสูบ 2 กระบอกสูบขึ้นไป การทํางานของวงจรอาจเกิดสัญญาณลมตานจากการออกแบบระบบการทํางาน การควบคุมระบบนิวแมติกสดวยลมที่เกิดสัญญาณลมตานสามารถแกปญหาไดดังนี้

ระบบนิวแมติกส์ 7บทที่ 1

Page 17: คํานํา · 2017-06-06 · 0 4 6 - 7 9 2 - 4 1 6 0 6 6 0 8 7 6 5 4 3 2 1 0 ข้อมูลทางบรรณาน ุกรมของสํ านักหอสมุดแห่งชาติ

8 คัมภีรการใชงาน ระบบนิวแมติกส บทที่ 1

ใชวาลวลูกกล้ิงทางเดียว (Roller Trip) ใชวาลวใหสัญญาณลมผานชั่วขณะ (One Short Valve) ใชวิธีแบงกลุมลมแบบเเคสเคด (Cascade Control) ใชวิธีแบงกลุมลมแบบชิฟตรีจีสเตอร (Shift Register Control)

รูปที ่1.4 แสดงวงจรควบคุมนิวแมติกสดวยลม

1.3.2 การควบคมุระบบนิวแมติกส์ด้วยไฟฟ้า

การควบคุมระบบนิวแมติกสดวยไฟฟาจะแบงวงจรการควบคุมออกเปน 2 ชนิดคือ

1. วงจรกาํลัง (Power Circuit) เปนวงจรควบคุมการทํางานของระบบนิวแมติกสประกอบไปดวยแหลงจายลม (Power Source) ชุดควบคุมคุณภาพลมอัด (Service Unit) โซลีนอยดวาลว (Solenoid Valve) ลูกสูบ (Cylinder) เปนตน

2. วงจรควบคุม (Control Circuit) เปนวงจรควบคุมการทํางานของระบบนิวแมติกสดวยไฟฟาประกอบไปดวย สวิตชปุมกด (Pushbutton Switch) รีเลย (Relay) ตัวต้ังเวลา (Timer) ตัวนับเวลา (Counter) เซ็นเซอร (Sensor) เปนตน

1.0 1.3

1.3

0.1

1.2 1.4

1.6

1.1

บทที่ 1 ระบบนิวแมติกส 9

วงจรกาํลัง

วงจรควบคมุ

รูปที ่1.5 แสดงวงจรควบคุมนิวแมติกสดวยไฟฟา

1.3.3 การควบคมุระบบนิวแมติกส์ด้วยพแีอลซี

การใชพีแอลซีควบคุมเคร่ืองจักรในโรงงานอุตสาหกรรมจะมีความสะดวกมากในปจจุบัน เพราะในตัวของพีแอลซีนั้น จะมี Input/Output Ports ตลอดจนอุปกรณควบคุมภายใน เชน Relay, Timer และ Counter จะเปนอุปกรณซึ่งอยูในซอฟตแวร ทําใหการเรียกใชหรือแกไขสะดวกรวดเร็ว และลดคาใชจายลงอีกดวย ปจจุบันภาษาที่ใชในการเขียนโปรแกรมพีแอลซี สามารถแบงออกเปน 3 ภาษา ดังนี้

1. ภาษาบูลีน (STL ; Instruction List Boolean Logic Element) 2. ภาษาแลดเดอร (Ladder Diagram) 3. ภาษาบล็อค (Function Chart)

คัมภีร์การใช้งาน ระบบนิวแมติกส์8 บทที่ 1

Page 18: คํานํา · 2017-06-06 · 0 4 6 - 7 9 2 - 4 1 6 0 6 6 0 8 7 6 5 4 3 2 1 0 ข้อมูลทางบรรณาน ุกรมของสํ านักหอสมุดแห่งชาติ

8 คัมภีรการใชงาน ระบบนิวแมติกส บทที่ 1

ใชวาลวลูกกล้ิงทางเดียว (Roller Trip) ใชวาลวใหสัญญาณลมผานชั่วขณะ (One Short Valve) ใชวิธีแบงกลุมลมแบบเเคสเคด (Cascade Control) ใชวิธีแบงกลุมลมแบบชิฟตรีจีสเตอร (Shift Register Control)

รูปที ่1.4 แสดงวงจรควบคุมนิวแมติกสดวยลม

1.3.2 การควบคมุระบบนิวแมติกส์ด้วยไฟฟ้า

การควบคุมระบบนิวแมติกสดวยไฟฟาจะแบงวงจรการควบคุมออกเปน 2 ชนิดคือ

1. วงจรกาํลัง (Power Circuit) เปนวงจรควบคุมการทํางานของระบบนิวแมติกสประกอบไปดวยแหลงจายลม (Power Source) ชุดควบคุมคุณภาพลมอัด (Service Unit) โซลีนอยดวาลว (Solenoid Valve) ลูกสูบ (Cylinder) เปนตน

2. วงจรควบคุม (Control Circuit) เปนวงจรควบคุมการทํางานของระบบนิวแมติกสดวยไฟฟาประกอบไปดวย สวิตชปุมกด (Pushbutton Switch) รีเลย (Relay) ตัวต้ังเวลา (Timer) ตัวนับเวลา (Counter) เซ็นเซอร (Sensor) เปนตน

1.0 1.3

1.3

0.1

1.2 1.4

1.6

1.1

บทที่ 1 ระบบนิวแมติกส 9

วงจรกาํลัง

วงจรควบคมุ

รูปที ่1.5 แสดงวงจรควบคุมนิวแมติกสดวยไฟฟา

1.3.3 การควบคมุระบบนิวแมติกส์ด้วยพแีอลซี

การใชพีแอลซีควบคุมเคร่ืองจักรในโรงงานอุตสาหกรรมจะมีความสะดวกมากในปจจุบัน เพราะในตัวของพีแอลซีนั้น จะมี Input/Output Ports ตลอดจนอุปกรณควบคุมภายใน เชน Relay, Timer และ Counter จะเปนอุปกรณซึ่งอยูในซอฟตแวร ทําใหการเรียกใชหรือแกไขสะดวกรวดเร็ว และลดคาใชจายลงอีกดวย ปจจุบันภาษาที่ใชในการเขียนโปรแกรมพีแอลซี สามารถแบงออกเปน 3 ภาษา ดังนี้

1. ภาษาบูลีน (STL ; Instruction List Boolean Logic Element) 2. ภาษาแลดเดอร (Ladder Diagram) 3. ภาษาบล็อค (Function Chart)

ระบบนิวแมติกส์ 9บทที่ 1

Page 19: คํานํา · 2017-06-06 · 0 4 6 - 7 9 2 - 4 1 6 0 6 6 0 8 7 6 5 4 3 2 1 0 ข้อมูลทางบรรณาน ุกรมของสํ านักหอสมุดแห่งชาติ

10 คัมภีรการใชงาน ระบบนิวแมติกส บทที่ 1

วงจรกาํลัง

Ladder Diagram

Absol. Op Symbol. Op Comment I0.0 Start - I0.1 A1 Limit Sw. Q0.0 Y1 Output1 Q0.1 Y2 Output2

รูปที ่1.6 แสดงวงจรควบคุมนิวแมติกสดวยพีแอลซ ี

1.3.4 การควบคมุระบบนิวแมติกส์ด้วยไมโครคอนโทรลเลอร์

การใชไมโครคอนโทรลเลอรควบคุมระบบนิวแมติกสในปจจุบันยังไมนิยมมากนัก แตนิยมใชควบคุม เคร่ืองจักรและระบบการผลิตในอุตสาหกรรม เพราะจะตองศึกษาหลายอยาง และรูเรื่องเก่ียวกับกระบวนการทํางานอยางแทจริง เชน สถาปตยกรรมของ ไมโครคอนโทรลเลอร ประกอบดวยหนวยประมวลผลกลาง หนวยความจําอินพุต เอาตพุต โปรแกรมวงจรอิเล็กทรอนิกส เปนตน ซึ่งไมโครคอนโทรลเลอรจะมีอุปกรณภายใน เชน Timer และ Counter อยู และสามารถขยายเอาตพุตได ไมโครคอนโทรลเลอรที่ใชในปจจุบันมีหลายคาย เชน Intel, Phillips, Siemens เปนตน ปจจุบันภาษาที่ใชในการเขียนโปรแกรม ไมโครคอนโทรลเลอร มีอยูหลายภาษาดังนี้ ภาษาเบสิก ภาษาแอสแซมบลี และภาษาซี

บทที่ 1 ระบบนิวแมติกส 11

วงจรกาํลัง

ภาษาซี

#include <AT89X51.H> sbit start = P2^0; sbit stop = P2^1; sbit y1 = P2^3; sbit y2 = P2^4; void main () { start = 1; stop = 1; y1 = 0; y2 = 0; while (1) { if((!start)&&(stop)) { y1 = 1; y2 = 0;

รูปที ่1.7 แสดงวงจรควบคุมนิวแมติกสดวยไมโครคอนโทรลเลอร

คัมภีร์การใช้งาน ระบบนิวแมติกส์10 บทที่ 1

Page 20: คํานํา · 2017-06-06 · 0 4 6 - 7 9 2 - 4 1 6 0 6 6 0 8 7 6 5 4 3 2 1 0 ข้อมูลทางบรรณาน ุกรมของสํ านักหอสมุดแห่งชาติ

10 คัมภีรการใชงาน ระบบนิวแมติกส บทที่ 1

วงจรกาํลัง

Ladder Diagram

Absol. Op Symbol. Op Comment I0.0 Start - I0.1 A1 Limit Sw. Q0.0 Y1 Output1 Q0.1 Y2 Output2

รูปที ่1.6 แสดงวงจรควบคุมนิวแมติกสดวยพีแอลซ ี

1.3.4 การควบคมุระบบนิวแมติกส์ด้วยไมโครคอนโทรลเลอร์

การใชไมโครคอนโทรลเลอรควบคุมระบบนิวแมติกสในปจจุบันยังไมนิยมมากนัก แตนิยมใชควบคุม เคร่ืองจักรและระบบการผลิตในอุตสาหกรรม เพราะจะตองศึกษาหลายอยาง และรูเรื่องเก่ียวกับกระบวนการทํางานอยางแทจริง เชน สถาปตยกรรมของ ไมโครคอนโทรลเลอร ประกอบดวยหนวยประมวลผลกลาง หนวยความจําอินพุต เอาตพุต โปรแกรมวงจรอิเล็กทรอนิกส เปนตน ซึ่งไมโครคอนโทรลเลอรจะมีอุปกรณภายใน เชน Timer และ Counter อยู และสามารถขยายเอาตพุตได ไมโครคอนโทรลเลอรที่ใชในปจจุบันมีหลายคาย เชน Intel, Phillips, Siemens เปนตน ปจจุบันภาษาที่ใชในการเขียนโปรแกรม ไมโครคอนโทรลเลอร มีอยูหลายภาษาดังนี้ ภาษาเบสิก ภาษาแอสแซมบลี และภาษาซี

บทที่ 1 ระบบนิวแมติกส 11

วงจรกาํลัง

ภาษาซี

#include <AT89X51.H> sbit start = P2^0; sbit stop = P2^1; sbit y1 = P2^3; sbit y2 = P2^4; void main () { start = 1; stop = 1; y1 = 0; y2 = 0; while (1) { if((!start)&&(stop)) { y1 = 1; y2 = 0;

รูปที ่1.7 แสดงวงจรควบคุมนิวแมติกสดวยไมโครคอนโทรลเลอร

ระบบนิวแมติกส์ 11บทที่ 1

Page 21: คํานํา · 2017-06-06 · 0 4 6 - 7 9 2 - 4 1 6 0 6 6 0 8 7 6 5 4 3 2 1 0 ข้อมูลทางบรรณาน ุกรมของสํ านักหอสมุดแห่งชาติ

12 คัมภีรการใชงาน ระบบนิวแมติกส บทที่ 1

while (!start); } if((start)&&(!stop)) { y1 = 0; y2 = 1; while (!stop); } } }

รูปที ่1.7 (ตอ) แสดงวงจรควบคุมนิวแมติกสดวยไมโครคอนโทรลเลอร

1.4 ข้อดีและข้อเสียของระบบนิวแมติกส์

ระบบนิวแมติกสถูกนํามาใชอยางแพรหลายในปจจุบัน ดังนั้น การที่จะนําระบบลมอัดไปใชรวมกับระบบควบคุมอัตโนมัติจึงตองศึกษาถึงขอดีและขอเสียของลมอัดกอน ดังมีรายละเอียดตอไปนี้

1.4.1 ข้อดีของลมอัด

1. มีความปลอดภัยสูงถึงแมวาจะใชงานเกินกําลัง เพราะลมอัดไมเปนอันตรายตอผูควบคุมเครื่องจักร 2. การบํารุงรักษางายและสะดวก 3. โครงสรางโดยทั่วไปของระบบนิวแมติกสไมยุงยากซับซอน เชน ลูกสูบ วาลว ขอตอ เปนตน 4. ไมเกิดอันตรายหรือระเบิดเมื่อลมอัดร่ัวออกจากทอลม 5. ลมอัดมีความเร็วในการทํางานสูง โดยลูกสูบสามารถเคล่ือนท่ีไดดวยความเร็วสูงถึง 2 เมตร/วินาที 6. สามารถควบคุมความเร็วในการเคล่ือนท่ีของลูกสูบได 7. ระบบลมอัดมีความสะอาด เพราะลมอัดไดผานชุดควบคุมคุณภาพลมอัด (Service Unit) มาแลว 8. สามารถใชรวมกับระบบไฟฟาได

บทที่ 1 ระบบนิวแมติกส 13

1.4.2 ข้อเสียของลมอัด

1. มีขีดจํากัดในการทํางานที่มีโหลดมากๆ 2. ลมอัดจะมีเสียงดังกอนระบายสูบรรยากาศ 3. ลมอัดสามารถอัดตัวได การทํางานในขณะมีโหลดอาจทําใหลูกสูบเคล่ือนท่ีไมสม่ําเสมอ 4. ความชื้นสามารถปะปนไปไดกับลมอัด ทําใหอุปกรณในระบบนิวแมติกสเกิดสนิม และชํารุดได 5. ความดันลมอัดจะเปลี่ยนแปลงไปตามอุณหภูมิ ทําใหการควบคุมของระบบเกิดการเปล่ียนแปลงได

1.5 สัญลักษณ์ในระบบนิวแมติกส์

อุปกรณในระบบนิวแมติกสมีหลากหลายชนิดขึ้นอยูกับลักษณะการใชงาน ดังนั้น จึงมีการกําหนดสัญลักษณขึ้นตามมาตรฐาน DIN (24300) เพ่ือใหงายและสะดวกแกผูใชตลอดจนแกไข หรือดัดแปลงวงจรนิวแมติกส โดยไดกําหนดสัญลักษณดังแสดงในรูปที่ 1.8 ตอไปนี้

อุปกรณ์ สัญลักษณ์ ความหมาย

เคร่ืองอัดอากาศ (Compressor)

ชุดควบคุมคุณภาพลมอัด (Service Unit)

รูปที ่1.8 สัญลักษณและอุปกรณในระบบนิวแมติกส

คัมภีร์การใช้งาน ระบบนิวแมติกส์12 บทที่ 1

Page 22: คํานํา · 2017-06-06 · 0 4 6 - 7 9 2 - 4 1 6 0 6 6 0 8 7 6 5 4 3 2 1 0 ข้อมูลทางบรรณาน ุกรมของสํ านักหอสมุดแห่งชาติ

12 คัมภีรการใชงาน ระบบนิวแมติกส บทที่ 1

while (!start); } if((start)&&(!stop)) { y1 = 0; y2 = 1; while (!stop); } } }

รูปที ่1.7 (ตอ) แสดงวงจรควบคุมนิวแมติกสดวยไมโครคอนโทรลเลอร

1.4 ข้อดีและข้อเสียของระบบนิวแมติกส์

ระบบนิวแมติกสถูกนํามาใชอยางแพรหลายในปจจุบัน ดังนั้น การที่จะนําระบบลมอัดไปใชรวมกับระบบควบคุมอัตโนมัติจึงตองศึกษาถึงขอดีและขอเสียของลมอัดกอน ดังมีรายละเอียดตอไปนี้

1.4.1 ข้อดีของลมอัด

1. มีความปลอดภัยสูงถึงแมวาจะใชงานเกินกําลัง เพราะลมอัดไมเปนอันตรายตอผูควบคุมเครื่องจักร 2. การบํารุงรักษางายและสะดวก 3. โครงสรางโดยทั่วไปของระบบนิวแมติกสไมยุงยากซับซอน เชน ลูกสูบ วาลว ขอตอ เปนตน 4. ไมเกิดอันตรายหรือระเบิดเมื่อลมอัดร่ัวออกจากทอลม 5. ลมอัดมีความเร็วในการทํางานสูง โดยลูกสูบสามารถเคล่ือนท่ีไดดวยความเร็วสูงถึง 2 เมตร/วินาที 6. สามารถควบคุมความเร็วในการเคล่ือนท่ีของลูกสูบได 7. ระบบลมอัดมีความสะอาด เพราะลมอัดไดผานชุดควบคุมคุณภาพลมอัด (Service Unit) มาแลว 8. สามารถใชรวมกับระบบไฟฟาได

บทที่ 1 ระบบนิวแมติกส 13

1.4.2 ข้อเสียของลมอัด

1. มีขีดจํากัดในการทํางานที่มีโหลดมากๆ 2. ลมอัดจะมีเสียงดังกอนระบายสูบรรยากาศ 3. ลมอัดสามารถอัดตัวได การทํางานในขณะมีโหลดอาจทําใหลูกสูบเคล่ือนท่ีไมสม่ําเสมอ 4. ความชื้นสามารถปะปนไปไดกับลมอัด ทําใหอุปกรณในระบบนิวแมติกสเกิดสนิม และชํารุดได 5. ความดันลมอัดจะเปลี่ยนแปลงไปตามอุณหภูมิ ทําใหการควบคุมของระบบเกิดการเปล่ียนแปลงได

1.5 สัญลักษณ์ในระบบนิวแมติกส์

อุปกรณในระบบนิวแมติกสมีหลากหลายชนิดขึ้นอยูกับลักษณะการใชงาน ดังนั้น จึงมีการกําหนดสัญลักษณขึ้นตามมาตรฐาน DIN (24300) เพ่ือใหงายและสะดวกแกผูใชตลอดจนแกไข หรือดัดแปลงวงจรนิวแมติกส โดยไดกําหนดสัญลักษณดังแสดงในรูปที่ 1.8 ตอไปนี้

อุปกรณ์ สัญลักษณ์ ความหมาย

เคร่ืองอัดอากาศ (Compressor)

ชุดควบคุมคุณภาพลมอัด (Service Unit)

รูปที ่1.8 สัญลักษณและอุปกรณในระบบนิวแมติกส

ระบบนิวแมติกส์ 13บทที่ 1

Page 23: คํานํา · 2017-06-06 · 0 4 6 - 7 9 2 - 4 1 6 0 6 6 0 8 7 6 5 4 3 2 1 0 ข้อมูลทางบรรณาน ุกรมของสํ านักหอสมุดแห่งชาติ

14 คัมภีรการใชงาน ระบบนิวแมติกส บทที่ 1

อุปกรณ์ สัญลักษณ์ ความหมาย

อุปกรณจายลม (Manifold)

กระบอกสูบทํางานสองทางแบบ มีกันกระแทกปรับไดสองทาง

(Double acting cylinder with adjustable cushioning in both

directions)

กระบอกสูบทางเดียว (Single acting cylinder)

กระบอกสูบสองทาง แบบลูกสูบเคลื่อนท่ี

(Double rod cylinder)

วาลว 3/2 แบบปุมกด ปกติปด (3/2 way valve with pushbutton

actuation, normally closed)

วาลว 3/2 แบบปุมกด ปกติเปด (3/2 way valve with pushbutton

actuation, normally open)

รูปที ่1.8 (ตอ) สัญลักษณและอุปกรณในระบบนิวแมติกส

บทที่ 1 ระบบนิวแมติกส 15

อุปกรณ์ สัญลักษณ์ ความหมาย

วาลว 3/2 แบบลอ็ก หรือคางตําแหนง ปกติปด

(3/2 way valve with selector actuation, normally closed)

วาลว 5/2 แบบลอ็กหรือคางตําแหนง (5/2 way valve with selector switch)

วาลว 3/2 แบบเลือ่นดวยลมดานเดียวแบบปกติเปด

วาลว 5/2 แบบเลือ่นดวยลมดานเดียว แบบปกติเปด

วาลว 5/2 แบบเลือ่นดวยลมสองดาน (5/2 way double pilot valve,

both sides)

รูปที่ 1.8 (ต่อ) สัญลักษณและอุปกรณในระบบนิวแมติกส

คัมภีร์การใช้งาน ระบบนิวแมติกส์14 บทที่ 1

Page 24: คํานํา · 2017-06-06 · 0 4 6 - 7 9 2 - 4 1 6 0 6 6 0 8 7 6 5 4 3 2 1 0 ข้อมูลทางบรรณาน ุกรมของสํ านักหอสมุดแห่งชาติ

14 คัมภีรการใชงาน ระบบนิวแมติกส บทที่ 1

อุปกรณ์ สัญลักษณ์ ความหมาย

อุปกรณจายลม (Manifold)

กระบอกสูบทํางานสองทางแบบ มีกันกระแทกปรับไดสองทาง

(Double acting cylinder with adjustable cushioning in both

directions)

กระบอกสูบทางเดียว (Single acting cylinder)

กระบอกสูบสองทาง แบบลูกสูบเคลื่อนท่ี

(Double rod cylinder)

วาลว 3/2 แบบปุมกด ปกติปด (3/2 way valve with pushbutton

actuation, normally closed)

วาลว 3/2 แบบปุมกด ปกติเปด (3/2 way valve with pushbutton

actuation, normally open)

รูปที ่1.8 (ตอ) สัญลักษณและอุปกรณในระบบนิวแมติกส

บทที่ 1 ระบบนิวแมติกส 15

อุปกรณ์ สัญลักษณ์ ความหมาย

วาลว 3/2 แบบลอ็ก หรือคางตําแหนง ปกติปด

(3/2 way valve with selector actuation, normally closed)

วาลว 5/2 แบบลอ็กหรือคางตําแหนง (5/2 way valve with selector switch)

วาลว 3/2 แบบเลือ่นดวยลมดานเดียวแบบปกติเปด

วาลว 5/2 แบบเลือ่นดวยลมดานเดียว แบบปกติเปด

วาลว 5/2 แบบเลือ่นดวยลมสองดาน (5/2 way double pilot valve,

both sides)

รูปที่ 1.8 (ต่อ) สัญลักษณและอุปกรณในระบบนิวแมติกส

ระบบนิวแมติกส์ 15บทที่ 1

Page 25: คํานํา · 2017-06-06 · 0 4 6 - 7 9 2 - 4 1 6 0 6 6 0 8 7 6 5 4 3 2 1 0 ข้อมูลทางบรรณาน ุกรมของสํ านักหอสมุดแห่งชาติ

16 คัมภีรการใชงาน ระบบนิวแมติกส บทที่ 1

อุปกรณ์ สัญลักษณ์ ความหมาย

วาลว 5/3 ตําแหนงกลางปด

(5/3 way valve mid-position closed)

ลูกกลิ้งกดทํางานสองทิศทาง ปกติปด (3/2 way roller lever valve, normally

closed)

ลูกกลิ้งกดทํางานทิศทางเดียว ปกติปด (3/2 way roller with idle return,

normally closed)

นิวแมติกสรีดวาลว (Pneumatic reed valve)

เซ็นเซอรแบบสะทอนกลบั (Reflex sensor)

วาลวลมเด่ียว (Shuttle valve, OR)

รูปที ่1.8 (ตอ) สัญลักษณและอุปกรณในระบบนิวแมติกส

บทที่ 1 ระบบนิวแมติกส 17

อุปกรณ์ สัญลักษณ์ ความหมาย

ชุดวาลวลมเด่ียว (Shuttle valve 3-fold, OR)

วาลวลมคู

(Two pressure valve, AND)

ชุดวาลวลมคู (Two pressure valve 3-fold, AND)

วาลวระบายลมเร็ว

(Quick exhaust valve)

วาลวควบคุมอัตราการไหล (Flow control valve)

วาลวต้ังเวลา ปกติปด (Time delay valve, normally closed)

รูปที่ 1.8 (ต่อ) สัญลักษณและอุปกรณในระบบนิวแมติกส

คัมภีร์การใช้งาน ระบบนิวแมติกส์16 บทที่ 1

Page 26: คํานํา · 2017-06-06 · 0 4 6 - 7 9 2 - 4 1 6 0 6 6 0 8 7 6 5 4 3 2 1 0 ข้อมูลทางบรรณาน ุกรมของสํ านักหอสมุดแห่งชาติ

หนังสือชุด คัมภีร์การใช้งานโดย ผศ.ดร. เดชฤทธิ์ มณีธรรม

คมัภีรก์ารใช้งาน พีแอลซีเบคฮอฟฟ์Barcode 9786160827398ราคา 250 บาทจ�านวน 284 หน้า

น�าเสนอและอธิบายเกี่ยวกับระบบการท�างานและระบบการควบคุมการท�างานด้วยพีแอลซีเบคฮอฟฟ์ ที่ผลิตจากประเทศเยอรมนี เพื่อเรียนรู้และน�าผลที่ได้ไปใช้ในการควบคุมเครื่องจักรอุตสาหกรรม ท่ีมีการแข่งขันทางด้านการตลาด และระบบเศรษฐกิจท่ีสูง โดยจะเริม่ต้นอธบิายเกีย่วกบัพแีอลซเีบคฮอฟฟ์ การใช้โปรแกรมพแีอลซ ี(PLC Programmer) การซิมูเลชั่นซอฟต์แวร์ (Software Simulation) การประยุกต์ใช้งานพีแอลซีควบคุมระบบนิวแมติกส์และไฮดรอลิกส์ในงานอุตสาหกรรม การควบคุมระบบแอนะล็อก (Analog Control System) การควบคุมระบบปิด (Closed Loop Control System) การควบคุมพีแอลซีผ่านจอสัมผัส จึงเหมาะส�าหรับนักเรียนนักศึกษาใช้เรียนและค้นคว้าเพ่ิมเติม รวมทั้งช่างเครื่องกล ช่างไฟฟ้า ช่างอิเล็กทรอนิกส์ วิศวกรโรงงาน ตลอดจนผู้สนใจในงานหุ่นยนต์อุตสาหกรรม

คมัภีรก์ารใช้งาน ไมโครคอนโทรลเลอร ์PICBarcode 9786160825967ราคา 280 บาทจ�านวน 360 หน้า

กล่าวถึงไมโครคอนโทรลเลอร์ (Microcontroller) ท่ีได้ถูกน�ามาใช้อย่างกว้างขวางในงานอุตสาหกรรมเพื่อควบคุมเครื่องจักรและระบบการผลิตต่างๆ เช่น ควบคุมระบบในรถยนต์ (ECU) ควบคุมหุ่นยนต์อุตสาหกรรมหรือควบคุมระบบขนถ่ายวัสดุ เป็นต้น เพื่อให้ระบบการผลติเกดิความรวดเรว็ ถกูต้อง และแม่นย�า จนท�าให้เครือ่งจกัรท�างานได้มปีระสทิธภิาพสูง และสามารถลดจ�านวนคนงานลงได้มาก เหมาะส�าหรับนักศึกษาได้ใช้เรียนและค้นคว้าเพิม่เตมิ รวมทัง้ช่างไฟฟ้า ช่างอเิล็กทรอนกิส์ วิศวกรโรงงาน ตลอดจนผูส้นใจในงานควบคุมด้วยไมโครคอนโทรลเลอร์

Page 27: คํานํา · 2017-06-06 · 0 4 6 - 7 9 2 - 4 1 6 0 6 6 0 8 7 6 5 4 3 2 1 0 ข้อมูลทางบรรณาน ุกรมของสํ านักหอสมุดแห่งชาติ

คมัภีรก์ารใช้งาน ไมโครคอนโทรลเลอร ์MCS-51Barcode 9786160825950ราคา 250 บาท จ�านวน 284 หน้า

หนังสือเล่มน้ี มีจุดมุ่งหมายท่ีจะพัฒนาระบบควบคุมอัตโนมัติ (Automation Control System) ตลอดจนหุ่นยนต์อุตสาหกรรม (Industrial Robot) ให้มีการแข่งขันและพัฒนาให้ทนักบัโลกยคุปัจจบุนั ทีม่กีารแข่งขนัทางด้านการตลาดและระบบเศรษฐกจิทีส่งูขึน้ โดยจะเริ่มต้นอธิบายเกี่ยวกับไมโครคอนโทรลเลอร์ (MCS-51) ภาษาซี การออกแบบควบคุมการท�างานของ Input/Output port การควบคุม Stepping Motor การควบคุม DC Motor การควบคมุ DC Servo Motor และจบด้วยการควบคมุหุน่ยนต์อตุสาหกรรม เหมาะส�าหรบันกัศกึษาได้ใช้เรยีนและค้นคว้าเพิม่เตมิ รวมทัง้ช่างไฟฟ้า ช่างอเิลก็ทรอนกิส์ วศิวกรโรงงาน

ตลอดจนผู้สนใจในงานควบคุมด้วยไมโครคอนโทรลเลอร์

คมัภีรก์ารใช้งาน หุ่นยนต ์(Robot)Barcode 9786160826018ราคา 350 บาท จ�านวน 448 หน้า

กล่าวถงึการพฒันาหุน่ยนต์อตุสาหกรรมด้วยการเรยีนรูร้ะบบการควบคมุหุน่ยนต์หรอืสมองของหุ่นยนต์ (Brain of a Robot) เพื่อให้มีการแข่งขันทางด้านการตลาดและการพัฒนาความสามารถของหุ่นยนต์ โดยจะเริ่มอธิบายถึงความรู้เบื้องต้นของหุ่นยนต์ อุปกรณ์ในระบบหุน่ยนต์ ซอฟต์แวร์ควบคมุหุน่ยนต์ การควบคมุหุน่ยนต์ด้วยคอมพวิเตอร์ การควบคมุหุ่นยนต์ด้วย โปรแกรมเมเบิล ลอจิก คอนโทรลเลอร์ หรือ PLC การควบคุมหุ่นยนต์ด้วยไมโครคอนโทรลเลอร์ และตัวอย่างโครงงานการสร้างชุดจ�าลองรถไฟฟ้าขับเคล่ือนด้วยมอเตอร์กระแสตรงควบคุมด้วยไมโครคอนโทรลเลอร์

คมัภีรก์ารใช้งาน ไฮดรอลิกส ์(Hydraulics System)Barcode 9786160826025ราคา 300 บาท จ�านวน 384 หน้า

กล่าวถึงระบบไฮดรอลิกส์ (Hydraulic System) ที่ถูกน�ามาใช้ในงานอุตสาหกรรมกันอย่างแพร่หลาย เพื่อใช้ในการควบคุมระบบการท�างานของอุตสาหกรรม ตั้งแต่ขนาดเล็กจนถึงอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ เช่น ไฮดรอลิกส์อุตสาหกรรม (Industrial Hydraulic) ไฮดรอลิกส์โมบาย (Mobile Hydraulic) อตุสาหกรรมขดุเจาะน�า้มนั (Offshore Industry) เพือ่ให้ใช้ระบบไฮดรอลกิส์ในการควบคมุให้เกดิความดนั ความเรว็ ก�าลงัและการส่งถ่ายก�าลงัทีส่งูได้ อกีทัง้ระบบไฮดรอลกิส์ยงัมปีระสทิธภิาพในการท�างานทีด่ด้ีวย ซึง่จะเริม่ต้นอธบิายเกีย่วกบัระบบไฮดรอลกิส์ควบคมุด้วยน�า้มนั ระบบไฮดรอลกิส์ควบคมุด้วยไฟฟ้า ระบบไฮดรอลกิส์ควบคมุด้วยโปรแกรมเมเบิล ลอจิก คอนโทรลเลอร์ หรือ PLC และระบบไฮดรอลิกส์ควบคุมด้วยไมโครคอนโทรลเลอร์ และตัวอย่างโครงงานการสร้างชุดเครื่องอัดไฮดรอลิกส์(ขนาดเล็ก) ที่ควบคุมด้วยไมโครคอนโทรลเลอร์ เพื่อน�าไปใช้เป็นกรณีศึกษาอีกด้วย

Page 28: คํานํา · 2017-06-06 · 0 4 6 - 7 9 2 - 4 1 6 0 6 6 0 8 7 6 5 4 3 2 1 0 ข้อมูลทางบรรณาน ุกรมของสํ านักหอสมุดแห่งชาติ