14
1 แบบฟอรมเสนอผลงานโครงการวิจัย 1.ชื่อโครงการวิจัย ศึกษาคุณภาพการบันทึกทางการพยาบาล แบบ Focus charting โรงพยาบาลสมเด็จพระปนเกลา (The Study of Quality of Focus charting Nursing record in Somdejprapinklao Hospital) 2.ผูวิจัย: นาวาตรีหญิง นิตญา ฤทธิ์เพชร ผูรวมวิจัย: เรือเอกหญิงขันธแกว ลักขณานุกูล 3.หนวยงาน : คณะอนุกรรมการงานการบันทึกทางการพยาบาลฝายการพยาบาลฯ 4.เบอรโทร 0897958643 Email [email protected] 5.บทคัดยอ : การวิจัยครั้งนี้เปนการศึกษาแบบ Retrospective study มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาคุณภาพการ บันทึกทางการพยาบาลแบบ Focus charting ขั้นตอนการดําเนินงาน 1.จัดประชุมปรึกษาเพื่อหารือและ ออกแบบการวิจัยที่เหมาะสมกับขอมูลบันทึกทางการพยาบาลที่คณะอนุกรรมการงานการบันทึกทางการ พยาบาล ฝายการพยาบาลฯบันทึกไว 2. ทําหนังสือขออนุมัติฝายการพยาบาลฯแจงวัตถุประสงค และ รายละเอียดของการวิจัย เพื่อขออนุญาตใชขอมูล 3.ขอรับรองโครงการวิจัยจากคณะกรรมการจริยธรรมการ วิจัยกรมแพทยทหารเรือ 4. เมื่อไดรับการรับรองโครงการวิจัย ทําการวิเคราะหขอมูล ดําเนินงานระหวาง พฤษภาคม - กรกฎาคม 60 กลุมตัวอยางที่ใช ขอมูลจากผลการประเมินความสมบูรณของการบันทึกทางการ พยาบาลโรงพยาบาลสมเด็จพระปนเกลา พ.2558 และ2559 จํานวน 354 ฉบับ เครื่องมือที่ใช เครื่องมือที่ใช ในการวิจัย ประกอบดวย แบบบันทึกผลตรวจการประเมินคุณภาพบันทึกการพยาบาลฝายการพยาบาล ฯและ แบบบันทึกผลการประเมินคุณภาพบันทึกการพยาบาลฝายการพยาบาลฯผูวิจัยแบงตามกระบวนการดูแล ผูปวยตั้งแตแรกรับจนจําหนายประกอบดวย การประเมินแรกรับ การประเมิน การวินิจฉัยทางการพยาบาล การวางแผน/กําหนดเปาหมาย การปฏิบัติการพยาบาล การประเมินผลการพยาบาลและการวางแผนจําหนาย วิเคราะหขอมูล คะแนนคุณภาพการบันทึกโดยแจกแจงความถี่ และหาคารอยละ ผลการศึกษาพบวา ผลรวมของคะแนนการประเมินคุณภาพการบันทึกทางการพยาบาลทั้งฉบับซึ่ง ประกอบดวยคะแนนของขอมูลทั่วไป คะแนนของขอมูลเชิงปริมาณและคะแนนของขอมูลเชิงคุณภาพ 80% ในป 2558 คิดเปนรอยละ 84.3 และป 2559 คิดเปนรอยละ 95.1 ระดับคุณภาพการบันทึกอยูในระดับดี มาก โดยเฉพาะคุณภาพการบันทึกเชิงปริมาณ สวนการบันทึกเชิงคุณภาพอยูในเกณฑตองปรับปรุง เมื่อดูผล คุณภาพการบันทึกทางการพยาบาลจําแนกตามกระบวนการดูแลผูปวยตั้งแตแรกรับจนจําหนายพบวาการ ประเมินแรกรับมีคุณภาพการบันทึกทางการพยาบาล ทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ มากที่สุด สวน การประเมิน ปญหา การปฏิบัติการพยาบาล การวางแผนจําหนาย คุณภาพการบันทึกทางการพยาบาลเชิงคุณภาพอยูใน ระดับควรปรับปรุง และเมื่อจําแนกตามกลุมงานการพยาบาล ซึ่งประกอบดวย 7 กลุมงาน พบวากลุมงานการ พยาบาลกุมารเวชกรรมมีคุณภาพการบันทึกทางการพยาบาลทั้งในเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพมาก ที่สุด และ พบวากลุมงานพยาบาลศัลยกรรมมีคุณภาพการบันทึกทางการพยาบาลทั้งในเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ นอย ที่สุด คําสําคัญทางการพยาบาล แบบ Focus charting 6.ความเปนมาและความสําคัญของปญหา บันทึกทางการพยาบาลเปนกิจกรรมที่สําคัญที่สะทอนใหเห็นถึงการใชกระบวนการพยาบาลเพื่อเปน แนวทางในการปฏิบัติตอผูปวยและสะทอนใหเห็นถึงการพยาบาลทั้งในบทบาทอิสระและในบทบาทรวมกับ วิชาชีพอื่น (พวงรัตน บุญญานุรักษและกุลยา ตันติผลาชีวะ ,2524) การบันทึกทางการพยาบาลยังมี ความสําคัญตอการดูแลผูปวยของทีมสุขภาพ เปนเครื่องมือที่ใชติดตอสื่อสาร เชื่อมโยงขอมูลและรายงาน รูปผูวิจัย

แบบฟอร มเสนอผลงานโครงการวิจัย164.115.23.147/www/srkhos/www/download/Academic60/... · 1.ชื่อโครงการวิจัย

  • Upload
    others

  • View
    1

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: แบบฟอร มเสนอผลงานโครงการวิจัย164.115.23.147/www/srkhos/www/download/Academic60/... · 1.ชื่อโครงการวิจัย

1

แบบฟอรมเสนอผลงานโครงการวิจัย 1.ช่ือโครงการวิจัย ศึกษาคุณภาพการบันทึกทางการพยาบาล แบบ Focus charting โรงพยาบาลสมเด็จพระปนเกลา (The Study of Quality of Focus charting Nursing record in Somdejprapinklao Hospital) 2.ผูวิจัย: นาวาตรีหญิง นิตญา ฤทธิ์เพชร ผูรวมวิจัย: เรือเอกหญิงขันธแกว ลักขณานุกูล 3.หนวยงาน : คณะอนุกรรมการงานการบันทึกทางการพยาบาลฝายการพยาบาลฯ 4.เบอรโทร 0897958643 Email [email protected] 5.บทคัดยอ : การวิจัยครั้งนี้เปนการศึกษาแบบ Retrospective study มีวัตถุประสงคเพ่ือศึกษาคุณภาพการบันทึกทางการพยาบาลแบบ Focus charting ข้ันตอนการดําเนินงาน 1.จัดประชุมปรึกษาเพ่ือหารือและออกแบบการวิจัยท่ีเหมาะสมกับขอมูลบันทึกทางการพยาบาลท่ีคณะอนุกรรมการงานการบันทึกทางการพยาบาล ฝายการพยาบาลฯบันทึกไว 2. ทําหนังสือขออนุมัติฝายการพยาบาลฯแจงวัตถุประสงค และรายละเอียดของการวิจัย เพ่ือขออนุญาตใชขอมูล 3.ขอรับรองโครงการวิจัยจากคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยกรมแพทยทหารเรือ 4. เม่ือไดรับการรับรองโครงการวิจัย ทําการวิเคราะหขอมูล ดําเนินงานระหวางพฤษภาคม - กรกฎาคม 60 กลุมตัวอยางท่ีใช ขอมูลจากผลการประเมินความสมบูรณของการบันทึกทางการพยาบาลโรงพยาบาลสมเด็จพระปนเกลา พ.ศ 2558 และ2559 จํานวน 354 ฉบับ เครื่องมือท่ีใช เครื่องมือท่ีใชในการวิจัย ประกอบดวย แบบบันทึกผลตรวจการประเมินคุณภาพบันทึกการพยาบาลฝายการพยาบาล ฯและ แบบบันทึกผลการประเมินคุณภาพบันทึกการพยาบาลฝายการพยาบาลฯผูวิจัยแบงตามกระบวนการดูแลผูปวยต้ังแตแรกรับจนจําหนายประกอบดวย การประเมินแรกรับ การประเมิน การวินิจฉัยทางการพยาบาล การวางแผน/กําหนดเปาหมาย การปฏิบัติการพยาบาล การประเมินผลการพยาบาลและการวางแผนจําหนายวิเคราะหขอมูล คะแนนคุณภาพการบันทึกโดยแจกแจงความถ่ี และหาคารอยละ ผลการศึกษาพบวา ผลรวมของคะแนนการประเมินคุณภาพการบันทึกทางการพยาบาลท้ังฉบับ ซ่ึงประกอบดวยคะแนนของขอมูลท่ัวไป คะแนนของขอมูลเชิงปริมาณและคะแนนของขอมูลเชิงคุณภาพ≥ 80% ในป 2558 คิดเปนรอยละ 84.3 และป 2559 คิดเปนรอยละ 95.1 ระดับคุณภาพการบันทึกอยูในระดับดี มากโดยเฉพาะคุณภาพการบันทึกเชิงปริมาณ สวนการบันทึกเชิงคุณภาพอยูในเกณฑตองปรับปรุง เม่ือดูผลคุณภาพการบันทึกทางการพยาบาลจําแนกตามกระบวนการดูแลผูปวยตั้งแตแรกรับจนจําหนายพบวาการประเมินแรกรับมีคุณภาพการบันทึกทางการพยาบาล ท้ังเชิงปริมาณและคุณภาพ มากท่ีสุด สวน การประเมินปญหา การปฏิบัติการพยาบาล การวางแผนจําหนาย คุณภาพการบันทึกทางการพยาบาลเชิงคุณภาพอยูในระดับควรปรับปรุง และเม่ือจําแนกตามกลุมงานการพยาบาล ซ่ึงประกอบดวย 7 กลุมงาน พบวากลุมงานการพยาบาลกุมารเวชกรรมมีคุณภาพการบันทึกทางการพยาบาลท้ังในเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพมาก ท่ีสุด และพบวากลุมงานพยาบาลศัลยกรรมมีคุณภาพการบันทึกทางการพยาบาลท้ังในเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ นอยท่ีสุด คําสําคัญทางการพยาบาล แบบ Focus charting 6.ความเปนมาและความสําคัญของปญหา

บันทึกทางการพยาบาลเปนกิจกรรมท่ีสําคัญท่ีสะทอนใหเห็นถึงการใชกระบวนการพยาบาลเพ่ือเปนแนวทางในการปฏิบัติตอผูปวยและสะทอนใหเห็นถึงการพยาบาลท้ังในบทบาทอิสระและในบทบาทรวมกับวิชาชีพอ่ืน (พวงรัตน บุญญานุรักษและกุลยา ตันติผลาชีวะ ,2524) การบันทึกทางการพยาบาลยังมีความสําคัญตอการดูแลผูปวยของทีมสุขภาพ เปนเครื่องมือท่ีใชติดตอสื่อสาร เชื่อมโยงขอมูลและรายงาน

รูปผูวิจัย

Page 2: แบบฟอร มเสนอผลงานโครงการวิจัย164.115.23.147/www/srkhos/www/download/Academic60/... · 1.ชื่อโครงการวิจัย

2

ความกาวหนาอาการของผูปวย การบันทึกท่ีมีคุณภาพตองไดจากกระบวนการดูแลผูปวยท่ีมีคุณภาพ บันทึกทางการพยาบาลท่ีดีและมีคุณภาพจะสื่อใหเห็นถึงการดูแลผูปวยอยางตอเนื่องของพยาบาลโดยใชกระบวนการพยาบาลในการดูแลผูปวย ใชเปนหลักฐานท่ีอางอิงการปฏิบัติการพยาบาล ดังนั้นถาพยาบาลสามารถบันทึกทางการพยาบาลไดเปนอยางดี ครบถวน ยอมสามารถบงบอกถึงคุณภาพของพยาบาลได และบันทึกทางการพยาบาล เปนเครื่องมือพ้ืนฐานชนิดหนึ่งท่ีแสดงถึงคุณภาพการปฏิบัติงานของบุคลากร เปนเครื่องมือในการประกันคุณภาพทางการพยาบาลตามมาตรฐานวิชาชีพและกิจกรรมการปฏิบัติของพยาบาลท่ีสามารถใชเปนหลักฐานสําคัญทางกฎหมาย (ยุวดี เกตุสัมพันธ,2555) จึงเปนการสมควรอยางยิ่งท่ีพยาบาลจะตองระมัดระวังในการเขียนบันทึกทางการพยาบาล ตองเขียนตามท่ีเห็นจริงเขียนอยางเปนกลางและตองคํานึงถึงจรรยาบรรณท่ีกฎหมายของวิชาชีพกําหนด ตองไมเปดเผยความลับของผูปวย

โรงพยาบาลสมเด็จพระปนเกลาเปนโรงพยาบาลท่ัวไประดับตติยภูมิ ไดมีการพัฒนางานคุณภาพสูโรงพยาบาลประกันสุขภาพ (Hospital Accredit) ตั้งแต พ.ศ2553 มีวิสัยทัศน สูการเปนโรงพยาบาลชั้นสูงท่ีมีคุณภาพระดับประเทศและเปนเลิศในการบริหารจัดการ สําหรับฝายการพยาบาลโรงพยาบาลสมเด็จ พระปนเกลาไดมีการพัฒนาคุณภาพการบริการอยางตอเนื่องมาโดยตลอด งานบันทึกทางการพยาบาลก็เปนหนึ่งในงานท่ีมีการพัฒนาอยางตอเนื่อง ใชการบันทึกทางการพยาบาลเปนเครื่องมืออยางหนึ่งในการตรวจสอบคุณภาพ โดยระยะเวลาท่ีผานมาใชการบันทึกตามรูปแบบกระบวนการพยาบาล และไดมีการพัฒนาปรับปรุงระบบบันทึกทางการพยาบาลมาโดยตลอด มีการเปลี่ยนแปลงปรับปรุงแบบฟอรมตางๆ อยางตอเนื่องแตคุณภาพในการบันทึกยังไมพบการเปลี่ยนแปลงท่ีชัดเจน โดยพบวาการบันทึกไมครบถวน ไมสมบูรณและไมสอดคลองกับแผนการรักษา เกิดการบันทึกซํ้าๆ ในแตละชวงเวลาการปฏิบัติงาน ใชเวลามาก ไมตรงประเด็นกับปญหาผูปวย เขียนแยกเปนสวนๆไมตอเนื่อง (เวชระเบียนฝายการพยาบาลฯ ,2558) จากการเขาเยี่ยมสํารวจของสถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล ไดใหขอเสนอแนะเก่ียวกับการบันทึกทางการพยาบาลแกกลุมการพยาบาลไว คือ ควรสงเสริมใหมีการนํากระบวนการพยาบาลมาใชใหมีประสิทธิภาพ ดวยการสรุปประเด็นปญหาสําคัญเฉพาะราย เพ่ือนํามาวางแผนการดูแลท้ังในระหวางอยูโรงพยาบาลและวางแผนจําหนายเพ่ือเตรียมความพรอมสําหรับการดูแลตนเองท่ีบาน รวมท้ัง มีการติดตามความกาวหนาและผลลัพธของการปฏิบัติตามแผนดังกลาว จากปญหาและขอเสนอแนะดังกลาวฝายการพยาบาลโรงพยาบาลสมเด็จพระปนเกลาจึงเห็นความจําเปนท่ีจะตองพัฒนารูปแบบการบันทึกทางการพยาบาลของฝายการพยาบาลฯ ไดมีศึกษาทบทวนงานวิจัยและบทความทางวิชา ตางๆพบวาการบันทึกทางการพยาบาลแบบ focus charting เปนการบันทึกเพ่ือเปนขอมูลสื่อสารสิ่งท่ีเกิดกับผูปวย หรือระบุเหตุการณสําคัญในการดูแลรักษาโดยมุงผูปวยเปนศูนยกลางในการบรรยายสภาวะสุขภาพของผูปวยในปจจุบันและความกาวหนาของผูปวยตอเปาหมาย และการตอบสนองของผูปวยตอการดูแลรักษา สามารถใชสื่อสารขอมูลท่ีสําคัญของผูปวยใหแกบุคลากรวิชาชีพอ่ืนในทีมดูแลรักษาไดชัดเจนข้ึน ประกอบกับเปนการบันทึกท่ีรวบรัด กระชับ ชัดเจน งายตอการอานและลดระยะเวลาในการบันทึก (ยุวดี เกตุสัมพันธ ,2555) เหมาะสมท่ีจะใชในการพัฒนาการบันทึกทางการพยาบาลของโรงพยาบาลสมเด็จพระปนเกลา ในเดือน ม.ค 2556 ฝายการพยาบาลฯสงตัวแทนไปอบรมการเขียนบันทึกทางการพยาบาลแบบ Focus Charting จัดโดยศิริราชพยาบาล จากนั้นมีการจัดอบรมใหความรูแกเจาหนาท่ีพยาบาลในหัวขอเรื่องการเขียน Focus Charting พรอมออกแบบเอกสารการบันทึกทางการพยาบาลใหครอบคลุมกระบวนการพยาบาลประกอบดวย ประกอบดวย Focus list, Nursing Progress Note, Nursing Activity รวมท้ังจัดทําคูมือบันทึกทางการพยาบาลแบบ focus charting จนกระท้ังในเดือนมีนาคม 2556 ฝายการพยาบาลฯประกาศใชรูปแบบการบันทึกทางการพยาบาลเปนแบบ Focus Charting ทุกหอผูปวย และมีการพัฒนาให

Page 3: แบบฟอร มเสนอผลงานโครงการวิจัย164.115.23.147/www/srkhos/www/download/Academic60/... · 1.ชื่อโครงการวิจัย

3

ความรูเปนระยะๆ เพ่ือพัฒนาการบันทึกทางการพยาบาลใหมีคุณภาพ นอกจากนี้มีการแตงตั้งคณะอนุกรรมการงานการบันทึกทางการพยาบาล ฝายการพยาบาลฯรับผิดชอบการใชกระบวนการพยาบาลและบันทึกทางการพยาบาลในหนวยงาน/หอผูปวย เพ่ือเปนทีมกลางในการสื่อสารประเมินความคิดเห็นและปญหาจากการใชแบบบันทึก focus charting จากการนําการบันทึกแบบ focus charting มาใชพบมีประเด็นปญหาหลายๆอยางจากพยาบาลผูปฏิบัติ ในเดือน เมษายน 2558 จึงไดมีการสงตัวตัวแทนคณะอนุกรรมการงานการบันทึกทางการพยาบาล ฝายการพยาบาลฯเขารวมประชุมในการประชุมวิชาการหัวขอ “บันทึกทางการพยาบาล : การปฏิรูประบบท่ีมุงเนนผูปวย ณ.โรงพยาบาลพระมงกุฎเกลา จํานวน 6 คน หลังจากอบรมจัดประชุมคณะอนุกรรมการงานการบันทึกทางการพยาบาล ฝายการพยาบาลฯ เพ่ือทําความเขาใจเรื่องการพัฒนาระบบบันทึกทางการพยาบาลแลกเปลี่ยนเรียนรูระหวางทีมท่ีเขารวมประชุมวิชาการกับคณะทํางานท้ังหมด มีการจัดทําคูมือ update Focus charting และคูมือการประเมินคุณภาพบันทึกทางการพยาบาล ในเดือน กรกฎาคม 2558 และ 2559 ไดจัดอบรม เรื่อง Focus charting ใหพยาบาลวิชาชีพจบใหมและพยาบาลปฏิบัติการท่ีตองพัฒนาศักยภาพการบันทึกทางการพยาบาล รวมท้ังไดมีการติดตามและใหคําแนะนําในหอผูปวยตางๆ และมีการตรวจประเมินคุณภาพของการบันทึกทางการพยาบาลเปนระยะๆ ผูวิจัยซ่ึงเปนหนึ่งคณะอนุกรรมการงานการบันทึกทางการพยาบาล ฝายการพยาบาลฯจึงมีความสนใจท่ีจะคุณภาพการบันทึกทางการพยาบาล แบบ Focus charting หลังจากไดพัฒนามาเปนระยะเวลา 4 ป เพ่ือการพัฒนาคุณภาพทางการบันทึกการพยาบาลฝายการพยาบาลฯใหมีคุณภาพยิ่งข้ึน 7.วัตถุประสงคการวิจัย : เพ่ือศึกษาคุณภาพการบันทึกทางการพยาบาล แบบ Focus charting 8. กรอบแนวคิด - วิธีดําเนินการวิจัย : ประชากรและกลุมตัวอยาง - ขนาดของกลุมตัวอยางขอมูลจากผลการประเมินความสมบูรณของการบันทึกทางการพยาบาลโรงพยาบาลสมเด็จพระปนเกลาพ.ศ 2558และ พ.ศ.2559 จํานวน 354 ฉบับ -เกณฑการคัดเลือกประชากรขอมูลจากผลการประเมินความสมบูรณของการบันทึกทางการพยาบาลโรงพยาบาลสมเด็จพระปนเกลา พ.ศ 2558 และ 2559 จํานวน 354 ฉบับ ซ่ึงเวชระเบียนท้ังหมดท่ีไดรับการสุมโดยใช HN ครอบคลุมจํานวน 17 หอผูปวย และเวชระเบียนดังกลาวไดรับการตรวจจากคณะอนุกรรมการงานการบันทึกทางการพยาบาล ฝายการพยาบาลฯ การดําเนินการวิจัย

1.จัดประชุมปรึกษาเพ่ือออกแบบการวิจัยท่ีเหมาะสมกับขอมูลบันทึกทางการพยาบาลท่ีคณะอนุกรรมการงานการบันทึกทางการพยาบาล ฝายการพยาบาลฯ บันทึกไว

2. ทําหนังสือขออนุมัติฝายการพยาบาลฯแจงรายละเอียดของการวิจัย เพ่ือขออนุญาตใชขอมูล 3. ขอรับรองโครงการวิจัยจากคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัย กรมแพทยทหารเรือ

การเก็บรวบรวมขอมูล :เม่ือไดรับการรับรองโครงการวิจัยจากคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัย กรมแพทยทหารเรือ ทําการวิเคราะหขอมูลผลการประเมินความสมบูรณของการบันทึกทางการพยาบาล การวิเคราะหขอมูล: คะแนนคุณภาพการบันทึกทางการพยาบาล วิเคราะหโดยแจกแจงความถ่ี และหาคารอยละ 10.ผลการวิจัย: ตอนท่ี1 ผลคุณภาพการบันทึกทางการพยาบาล แบบ Focus charting และ ผลการศึกษาคุณภาพการบันทึก ทางการพยาบาลจําแนกตามกระบวนการดูแลผูปวยตั้งแตแรกรับจนจําหนาย ตารางท่ี 1แสดงรอยละของผลรวมของคะแนนการประเมินคุณภาพการบันทึกทางการพยาบาลท้ังฉบับ ≥ 80% โรงพยาบาลสมเด็จพระปนเกลา

Page 4: แบบฟอร มเสนอผลงานโครงการวิจัย164.115.23.147/www/srkhos/www/download/Academic60/... · 1.ชื่อโครงการวิจัย

4

จากตารางพบวาผลรวมของคะแนนการประเมินคุณภาพการบันทึกทางการพยาบาลท้ังฉบับ ≥ 80%

ป 2558 คิดเปนรอยละ 84.3 ภายหลังการพัฒนาคุณภาพการบันทึกทางการพยาบาล Update focus charting ในป 2559 ผลรวมของคะแนนการประเมินคุณภาพการบันทึกทางการพยาบาลท้ังฉบับ ≥ 80% เพ่ิมข้ึนเปนรอยละ 95.1 ผลการศึกษาคุณภาพการบันทึกทางการพยาบาลจําแนกตามกระบวนการดูแลผูปวยตั้งแตแรกรับจนจําหนาย

แผนภูมท่ี 1 แสดงรอยละคุณภาพการบันทึกทางการพยาบาลเชิงปริมาณจําแนกตามกระบวนการดูแลผูปวยตั้งแตแรกรับจนจําหนายป 2558 และ 2559

จากแผนภูมิพบวาการประเมินแรกรับมีคุณภาพการบันทึกทางการพยาบาลเชิงปริมาณมากท่ีสุด โดย

ในป 2558 รอยละ 88.1ป 2559 รอยละ 88.9 รองลงมาคือการประเมินผลป 2558 รอยละ 84.5 ป 2559 รอยละ 84.4 สําหรับคุณภาพการบันทึกทางการพยาบาลเชิงปริมาณท่ีมีคุณภาพต่ําสุด คือ การประเมินปญหา ป 2558 รอยละ 69.1 พัฒนาเพ่ิมข้ึนในป2559 รอยละ 81.2

แผนภูมท่ี 2 แสดงรอยละคุณภาพการบันทึกทางการพยาบาลเชิงคุณภาพจําแนกตามกระบวนการดูแลผูปวยตั้งแตแรกรับจนจําหนายป 2558 และ 2559

จากแผนภูมิพบวาในสวนของคุณภาพการบันทึกทางการพยาบาลเชิงคุณภาพ การประเมินแรกรับมี

คุณภาพมากท่ีสุดป 2558 รอยละ 84.2 ป 2559 รอยละ 79.7 สําหรับคุณภาพการบันทึกทางการพยาบาลเชิงคุณภาพท่ีมีคุณภาพต่ําสุด คือ การประเมินปญหา ป 2558 รอยละ 51.7 ป2559 รอยละ 56.8 ตอนท่ี 2 ผลการศึกษาคุณภาพการบันทึกทางการพยาบาลตามกระบวนการดูแลผูปวยตั้งแตแรกรับจน จําหนายจําแนกกลุมงานการพยาบาลประกอบดวย 7 กลุมงานการพยาบาล

คะแนนคุณภาพ ป 58 คะแนนคุณภาพ ป 59

ผลรวมของคะแนนการประเมินคุณภาพการบันทึกทางการพยาบาลท้ังฉบับ ≥ 80%

84.3 95.1

Page 5: แบบฟอร มเสนอผลงานโครงการวิจัย164.115.23.147/www/srkhos/www/download/Academic60/... · 1.ชื่อโครงการวิจัย

5

แผนภูมิท่ี 3 แสดงรอยละคุณภาพการบันทึกทางการพยาบาลเชิงปริมาณจําแนกตามกระบวนการดูแลผูปวยตั้งแตแรกรับจนจําหนายของกลุมงานการพยาบาลกุมารเวชกรรมป2558 และป 2559

จากแผนภูมิพบวาการวางแผนจําหนาย มีคุณภาพการบันทึกทางการพยาบาลเชิงปริมาณมากท่ีสุด

ป 2558 รอยละ 97.9 ป 2559 รอยละ 98.3 รองลงมาการวางแผน/กําหนดเปาหมาย โดยในป 2558 รอยละ 90.6 ป2559 รอยละ 100 สําหรับคุณภาพการบันทึกทางการพยาบาลเชิงปริมาณท่ีมีคุณภาพต่ําสุด คือ การประเมินปญหา ป 2558 รอยละ 62.5 หลังพัฒนาป2559 เพ่ิมข้ึนเปน รอยละ 95 รวมถึงการการปฏิบัติการพยาบาลป 2558 รอยละ 65.2 หลังพัฒนาป2559 เพ่ิมข้ึนเปน รอยละ 100

แผนภูมิท่ี 4 แสดงรอยละคุณภาพการบันทึกทางการพยาบาลเชิงคุณภาพจําแนกตามกระบวนการ

ดูแลผูปวยตั้งแตแรกรับจนจําหนายของกลุมงานการพยาบาลกุมารเวชกรรมป2558 และป 2559

จากแผนภูมิในสวนของคุณภาพการบันทึกทางการพยาบาลเชิงคุณภาพ พบวาการวางแผนจําหนายมี

คุณภาพมากท่ีสุดป 2558 รอยละ 93.7 ป2559 รอยละ 92.9 รองลงมาคือการประเมินแรกรับป 2558 รอยละ 82.6 ป2559 รอยละ 91.4 สําหรับคุณภาพการบันทึกทางการพยาบาลเชิงคุณภาพท่ีมีคุณภาพต่ําสุด คือ การประเมินปญหาป 2558 รอยละ 56.2 หลังพัฒนาป2559 เพ่ิมข้ึนเปน รอยละ 90

แผนภูมท่ี 5 แสดงรอยละคุณภาพการบันทึกทางการพยาบาลเชิงปริมาณจําแนกตามกระบวนการดูแลผูปวยตั้งแตแรกรับจนจําหนายของกลุมงานการพยาบาลจักษุ – โสต ศอ นาสิกกรม ป 2558 และป 2559

จากแผนภูมิพบวาการวางแผนจําหนายมีคุณภาพการบันทึกทางการพยาบาลเชิงปริมาณมากท่ีสุดโดย

ในป 2558 รอยละ 96.6 ป2559 รอยละ 96.6 รองลงมาคือการประเมินแรกรับ ป 2558 รอยละ 90 ป2559

Page 6: แบบฟอร มเสนอผลงานโครงการวิจัย164.115.23.147/www/srkhos/www/download/Academic60/... · 1.ชื่อโครงการวิจัย

6

รอยละ 93.3 สําหรับคุณภาพการบันทึกทางการพยาบาลเชิงปริมาณท่ีมีคุณภาพต่ําสุด คือ การวินิจฉัยทางการพยาบาล ป 2558 รอยละ 70 หลังพัฒนาป2559 เพ่ิมข้ึนเปน รอยละ 100 แผนภูมท่ี 6 แสดงรอยละคุณภาพการบันทึกทางการพยาบาลเชิงคุณภาพจําแนกตามกระบวนการดูแลผูปวยตั้งแตแรกรับจนจําหนายของกลุมงานการพยาบาลจักษุ – โสต ศอ นาสิกกรม ป 2558 และป 2559

จากแผนภูมิในสวนของคุณภาพการบันทึกทางการพยาบาลเชิงคุณภาพมากท่ีสุดคือ การประเมินแรกรับ ป 2558 รอยละ 85.7 ป2559 รอยละ 85.7 และคุณภาพการบันทึกทางการพยาบาลเชิงคุณภาพท่ีมีคุณภาพต่ําสุด คือ การประเมินปญหาป 2558 รอยละ 50 ป2559 รอยละ 60 รองลงมาการปฏิบัติการพยาบาลป 2558 รอยละ 50 หลังป2559 รอยละ 70 และการวินิจฉัยทางการพยาบาลป 2558 รอยละ 65 หลังพัฒนาป2559 รอยละ 90

แผนภูมิท่ี 7 แสดงรอยละคุณภาพการบันทึกทางการพยาบาลเชิงปริมาณจําแนกตามกระบวนการดูแลผูปวยตั้งแตแรกรับจนจําหนายของกลุมงานการพยาบาลสูติ-นารีเวชกรรม ป 2558 และป 2559

จากแผนภูมิพบวาการ ประเมินแรกรับ มีคุณภาพการบันทึกทางการพยาบาลเชิงปริมาณมากท่ีสุดโดย

ในป 2558 รอยละ 95 รองลงมา การวินิจฉัยทางการพยาบาล ป 2558 รอยละ 94.4 สําหรับคุณภาพการบันทึกทางการพยาบาลเชิงปริมาณต่ําสุด คือ การวางแผน/กําหนดเปาหมาย ป 2558 รอยละ 40 หลังพัฒนาป 2559 เพ่ิมข้ึนเปน รอยละ 88.9

แผนภูมิท่ี 8 แสดงรอยละคุณภาพการบันทึกทางการพยาบาลเชิงคุณภาพจําแนกตามกระบวนการดูแลผูปวยตั้งแตแรกรับจนจําหนายของกลุมงานการพยาบาลสูติ-นารีเวชกรรม ป 2558 และป 2559

Page 7: แบบฟอร มเสนอผลงานโครงการวิจัย164.115.23.147/www/srkhos/www/download/Academic60/... · 1.ชื่อโครงการวิจัย

7

จากแผนภูมิ การประเมินแรกรับมีคุณภาพการบันทึกเชิงคุณภาพมากท่ีสุด คือป 2558 รอยละ 92 ป2559 รอยละ 85.7 และคุณภาพการบันทึกทางการพยาบาลเชิงคุณภาพท่ีมีคุณภาพต่ําสุด คือ การปฏิบัติการพยาบาลป 2558 รอยละ 22.2 ป2559 รอยละ 50 รองลงมาการประเมินปญหา ป 2558 รอยละ 33.3 ป 2559 รอยละ 30

แผนภูมิท่ี 9 แสดงรอยละคุณภาพการบันทึกทางการพยาบาลเชิงปริมาณจําแนกตามกระบวนการดูแลผูปวยตั้งแตแรกรับจนจําหนายของกลุมงานการพยาบาลศัลยกรรมกระดูก ป 2558 และป 2559

จากแผนภูมิพบวาการประเมินแรกรับ มีคุณภาพการบันทึกทางการพยาบาลเชิงปริมาณมากท่ีสุดโดยใน

ป 2558 รอยละ 89.5 ป2559 รอยละ 89.8 รองลงมา การประเมินผลการพยาบาล ป 2558 รอยละ 84.7 ป2559 รอยละ 85 สําหรับคุณภาพการบันทึกทางการพยาบาลเชิงปริมาณต่ําสุด คือ การวินิจฉัยทางการพยาบาล ป 2559 รอยละ 65.8

แผนภูมิท่ี 10 แสดงรอยละคุณภาพการบันทึกทางการพยาบาลเชิงคุณภาพจําแนกตามกระบวนการดูแลผูปวยตั้งแตแรกรับจนจําหนายของกลุมงานการพยาบาลศัลยกรรมกระดูก ป 2558 และป 2559

จากแผนภูมิในสวนของคุณภาพการบันทึกทางการพยาบาลเชิงคุณภาพมากท่ีสุดคือการประเมินแรก

รับโดยในป 2558 รอยละ 82.7 ป2559 รอยละ 76.3 และคุณภาพการบันทึกทางการพยาบาลเชิงคุณภาพท่ีมีคุณภาพต่ําสุด คือ การปฏิบัติการพยาบาลป 2558 รอยละ 59.7 ป2559 รอยละ 41.7 การประเมินปญหา ป 2558 รอยละ 51.3 หลังป2559 รอยละ 40.8

Page 8: แบบฟอร มเสนอผลงานโครงการวิจัย164.115.23.147/www/srkhos/www/download/Academic60/... · 1.ชื่อโครงการวิจัย

8

แผนภูมิท่ี 11 แสดงรอยละคุณภาพการบันทึกทางการพยาบาลเชิงปริมาณจําแนกตามกระบวนการดูแลผูปวยตั้งแตแรกรับจนจําหนายของกลุมงานศัลยกรรม ป 2558 และ 2559

จากแผนภูมิพบวาการประเมินแรกรับ มีคุณภาพการบันทึกทางการพยาบาลเชิงปริมาณมากท่ีสุดโดย

ในป 2558 รอยละ 90 ป2559 รอยละ 89.8 รองลงมา การวางแผน/กําหนดเปาหมาย ป 2558 รอยละ 88.3 ป2559 รอยละ 82.9 สําหรับคุณภาพการบันทึกเชิงปริมาณต่ําสุด คือ การประเมิน ป 2558 รอยละ 59.1 ป 2559 รอยละ 59.1

แผนภูมิท่ี 12 แสดงรอยละคุณภาพการบันทึกทางการพยาบาลเชิงคุณภาพจําแนกตามกระบวนการดูแลผูปวยตั้งแตแรกรับจนจําหนายของกลุมงานศัลยกรรม ป 2558 และ 2559

ในสวนของคุณภาพการบันทึกทางการพยาบาลเชิงคุณภาพมากท่ีสุดคือการประเมินแรกรับโดยในป

2558 รอยละ 86.3 ป2559 รอยละ 83.2 และคุณภาพการบันทึกทางการพยาบาลเชิงคุณภาพท่ีมีคุณภาพต่ําสุด คือ การประเมิน ป 2558 รอยละ 38.3. ป2559 รอยละ 33.6 รองลงมาการประเมินผลการพยาบาล ป 2558 รอยละ 39.1 หลังป2559 รอยละ 49.3

แผนภูมิท่ี 13 แสดงรอยละคุณภาพการบันทึกทางการพยาบาลเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพของเวชระเบียนของโรงพยาบาลสมเด็จพระปนเกลาตามกระบวนการดูแลผูปวยตั้งแตแรกรับจนจําหนายของกลุมงานอายุรกรรม

จากแผนภูมิพบวาการประเมินแรกรับ มีคุณภาพการบันทึกทางการพยาบาลเชิงปริมาณมากท่ีสุดโดย

ในป 2558 รอยละ 88.9 ป2559 รอยละ 88.9 รองลงมาการวางแผน/กําหนดเปาหมาย ป 2558 รอยละ 87.5

Page 9: แบบฟอร มเสนอผลงานโครงการวิจัย164.115.23.147/www/srkhos/www/download/Academic60/... · 1.ชื่อโครงการวิจัย

9

ป2559 รอยละ 88 สําหรับคุณภาพการบันทึกทางการพยาบาลเชิงปริมาณต่ําสุด คือการวินิจฉัยทางการพยาบาล ป 2558 รอยละ 75.2 ป 2559 รอยละ 70.7

แผนภูมิท่ี 14 แสดงรอยละคุณภาพการบันทึกทางการพยาบาลเชิงคุณภาพของเวชระเบียนของโรงพยาบาลสมเด็จพระปนเกลาตามกระบวนการดูแลผูปวยตั้งแตแรกรับจนจําหนายของกลุมงานอายุรกรรม

ในสวนของคุณภาพการบันทึกทางการพยาบาลเชิงคุณภาพมากท่ีสุดคือการประเมินแรกรับโดยในป 2558 รอยละ 84 ป2559 รอยละ 81.8 และคุณภาพการบันทึกเชิงคุณภาพท่ีมีคุณภาพต่ําสุด คือ การวินิจฉัยทางการพยาบาล ป 2558 รอยละ 51.8 ป2559 รอยละ 50

แผนภูมิท่ี 15 แสดงรอยละคุณภาพการบันทึกทางการพยาบาลเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพจําแนกตามกระบวนการดูแลผูปวยตั้งแตแรกรับจนจําหนายของกลุมงานวิกฤติป 2558 และ 2559

จากแผนภูมิพบวาการประเมินผลการพยาบาล มีคุณภาพการบันทึกทางการพยาบาลเชิงปริมาณมาก

ท่ีสุดโดยในป 2558 รอยละ 88.3 ป2559 รอยละ 90 รองลงมาการประเมินแรกรับ ป 2558 รอยละ 86.4 ป2559 รอยละ 92.2 สําหรับคุณภาพการบันทึกทางการพยาบาลเชิงปริมาณต่ําสุด คือ การวางแผนจําหนาย ป 2558 รอยละ 65.7 รวมถึงการประเมินปญหาป 2558 รอยละ 73 แผนภูมิท่ี 16 แสดงรอยละคุณภาพการบันทึกทางการพยาบาลเชิงคุณภาพจําแนกตามกระบวนการดูแลผูปวยตั้งแตแรกรับจนจําหนายของกลุมงานวิกฤติป 2558 และ 2559

Page 10: แบบฟอร มเสนอผลงานโครงการวิจัย164.115.23.147/www/srkhos/www/download/Academic60/... · 1.ชื่อโครงการวิจัย

10

ในสวนของคุณภาพการบันทึกทางการพยาบาลเชิงคุณภาพมากท่ีสุดคือการประเมินแรกรับโดยในป

2558 รอยละ 83.3 ป2559 รอยละ 86.4 และคุณภาพการบันทึกทางการพยาบาลเชิงคุณภาพท่ีมีคุณภาพต่ําสุด คือ การวางแผนจําหนาย ป 2558 รอยละ 51.3 ป2559 รอยละ 75.5 11.สรุปผลการวิจัยและอภิปรายผล

พบวา ผลรวมของคะแนนการประเมินคุณภาพการบันทึกทางการพยาบาลท้ังฉบับซ่ึงประกอบดวยคะแนนของขอมูลท่ัวไป คะแนนของขอมูลเชิงปริมาณและคะแนนของขอมูลเชิงคุณภาพ ≥ 80%ป 2558 คิดเปนรอยละ 84.3 ป 2559 คิดเปนรอยละ 95.1ระดับคุณภาพการบันทึกอยูในระดับดี แตเม่ือดูผลคุณภาพการบันทึกทางการพยาบาลจําแนกตามกระบวนการดูแลผูปวยตั้งแตแรกรับจนจําหนายพบวาการประเมินแรกรับมีคุณภาพการบันทึกทางการพยาบาลมากท่ีสุด สวน การประเมินปญหา การปฏิบัติการพยาบาล การวางแผนจําหนาย คุณภาพการบันทึกทางการพยาบาล การบันทึกเชิงคุณภาพ อยูในระดับควรปรับปรุง

อภิปรายผล 1.คุณภาพการบันทึกทางการพยาบาล แบบ Focus charting ของโรงพยาบาลสมเด็จพระปนเกลา

ผลรวมของคะแนนการประเมินคุณภาพการบันทึกทางการพยาบาลท้ังฉบับ ≥ 80% ป พ.ศ 2558 คิดเปนรอยละ 84.3 และในปพ.ศ 2559 ภายหลังสงตัวแทนคณะอนุกรรมการงานการบันทึกทางการพยาบาล ฝายการพยาบาลฯเขารวมประชุมในการประชุมวิชาการหัวขอ “บันทึกทางการพยาบาล : การปฏิรูประบบท่ีมุงเนนผูปวย ณ.โรงพยาบาลพระมงกุฎเกลา จากนั้นจัดประชุมคณะอนุกรรมการงานการบันทึกทางการพยาบาล ฝายการพยาบาลฯ เพ่ือทําความเขาใจเรื่องการพัฒนาระบบบันทึกทางการพยาบาลแลกเปลี่ยนเรียนรูระหวางทีมท่ีเขารวมประชุมกับคณะทํางานท้ังหมดและมีการจัดทําคูมือ update Focus charting และคูมือการประเมินคุณภาพบันทึกทางการพยาบาลเพ่ือใชในการประเมินคุณภาพทางการพยาบาลและไดมีจัดอบรม เรื่อง Focus charting ใหพยาบาลวิชาชีพจบใหมและพยาบาลปฏิบัติการท่ีตองพัฒนาศักยภาพการบันทึกทางการพยาบาล เดือน กรกฎาคม 2559 มีการติดตามและใหคําแนะนําทุกหอผูปวย ในปพ.ศ 2559 พบวา ผลรวมของคะแนนการประเมินคุณภาพการบันทึกทางการพยาบาลท้ังฉบับ ≥ 80% เพ่ิมข้ึนเปนรอยละ 95.1 ซ่ึงถือวาระดับคุณภาพการบันทึกอยูในระดับ ดีมาก ผลการศึกษาครั้งนี้สอดคลองกับการศึกษาของ วิทวดี สุวรรณศรวล (2557)ศึกษาการพัฒนาคุณภาพการบันทึกทางการพยาบาลในหอผูปวยกระดูกหญิง โรงพยาบาลนครพิงค จังหวัดเชียงใหม พบวา หลังมีการพัฒนาแนวปฏิบัติในการเขียนบันทึกทางการพยาบาลและอบรมใหพยาบาลปฏิบัติตามแนวปฏิบัติ หลังจากดําเนินการ 1 เดือน พบวาคุณภาพการบันทึกทางการพยาบาลเพ่ิมข้ึนจากเดิมรอยละ 41.64 เปนรอยละ 83.70เชนเดียวกับธนสฤษฎโชติกอาภา ( 2557) ศึกษาการพัฒนาคุณภาพการบันทึกทางการพยาบาล ในหออภิบาลผูปวยหนัก โรงพยาบาลแมคคอรมิค จังหวัดเชียงใหม ผลการศึกษาพบวา คุณภาพการบันทึกทางการพยาบาลหลังการพัฒนาเพ่ิมข้ึนจากรอยละ 78.63 เปนรอยละ 93.70 แตเม่ือมาดู

Page 11: แบบฟอร มเสนอผลงานโครงการวิจัย164.115.23.147/www/srkhos/www/download/Academic60/... · 1.ชื่อโครงการวิจัย

11

ผลคุณภาพการบันทึกทางการพยาบาลจําแนกตามกระบวนการดูแลผูปวยตั้งแตแรกรับจนจําหนายพบวาการประเมินแรกรับมีคุณภาพการบันทึกทางการพยาบาลมากท่ีสุดเนื่องมาจากการการบันทึกอาการแรกรับของพยาบาลมีแบบฟอรมท่ีฝายการพยาบาลกําหนดทําใหงายตอการประเมินพยาบาล พยาบาลมีความเขาใจในการบันทึกรายละเอียดอาการของผูปวยตามแนวทางท่ีฝายการพยาบาลฯไดใหรายละเอียดสอดคลองกับรัตนา ยวงคามา (2548) และรภิญญา วิเชียรพักตร ( 2551) ปจจัยท่ีสงผลตอการบันทึกคือ การปรับแบบบันทึกใหงาย สะดวกตอการบันทึก และไมซํ้าซอน มีความตอเนื่องและครอบคลุม การปรับเนื้อหาการบันทึกโดยมีขอความใหเลือก สงผลใหคุณภาพของการบันทึกทางการพยาบาลเพ่ิมข้ึน สวน การประเมินปญหา ปพ.ศ 2558 และ ปพ.ศ2559 รอยละ 51.7,56.8 การปฏิบัติการพยาบาลรอยละ 53.9,61.9 การวางแผนจําหนายรอยละ 65.9,71.9 คุณภาพการบันทึกทางการพยาบาลเชิงคุณภาพอยูในระดับควรปรับปรุงแตจะพบวามีการพัฒนามากข้ึน ยังไมเปนไปตามเปาหมาย สําหรับ การวินิจฉัยทางการพยาบาลรอยละ 65.4,55.8 การวางแผน/กําหนดเปาหมายรอยละ 71.9,65.3 และ การประเมินผลการพยาบาลรอยละ 65.7,64.7 คุณภาพการบันทึกทางการพยาบาล เชิงคุณภาพอยูในระดับควรปรับปรุงและมีแนวโนมลดลง อันเนื่องมาจาก กระบวนการพยาบาลในหัวขอเหลานี้มีความยากผูบันทึกตองใชความรู และทักษะ ( competency) ในการบันทึกรวมกับภาระงานท่ีมีจํานวนมากข้ึนจึงทําคุณภาพการบันทึกลดลง สอดคลองกับการศึกษาของ ณภัทรวิธนะพุฒินาท ( 2554) พบวาภาระงานท่ีมากข้ึนสงผลใหคุณภาพการบันทึกการพยาบาลลดลงซ่ึงทางคณะอนุกรรมการงานการบันทึกทางการพยาบาล ฝายการพยาบาลฯจะไดวางแผนพัฒนาในโอกาสตอไป

2.ผลการศึกษาคุณภาพการบันทึกทางการพยาบาลตามกระบวนการดูแลผูปวยตั้งแตแรกรับจนจําหนายจําแนกกลุมงานการพยาบาลประกอบดวย 7 กลุมงานพบวา

2.1 กลุมงานการพยาบาลกุมารเวชกรรมจากผลการศึกษา จะเห็นไดวามีจุดแข็งในเรื่องการวางแผนจําหนายมีคุณภาพการบันทึกทางการพยาบาลท้ังในเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพมากท่ีสุด โดยในปพ.ศ 2558 รอยละ 97.9 ปพ.ศ 2559 รอยละ 98.3 ผลการบันทึกในเชิงคุณภาพ ปพ.ศ 2558 รอยละ 93.7 ปพ.ศ 2559 รอยละ 92.9 ท้ังนี้เนื่องมาจากกลุมผูปวยเด็กเม่ือมีอาการเจ็บปวยพอแมจะมีความวิตกกังวลและประกอบกับผูปวยเด็กจะมีผูดูแลชัดเจน ทําใหมีการสอบถามหรือปรึกษาหารือกับพยาบาลบอยๆทําใหพยาบาลกลุมงานกุมารเวชกรรมมีความสามารถในการการวางแผนจําหนายไดดี สําหรับจุดออนของกลุมงานกุมารเวชกรรม คือ การประเมินปญหา มีคุณภาพการบันทึกต่ําสุด คือ ปพ.ศ 2558 รอยละ 62.5 เชิงคุณภาพปพ.ศ 2558 รอยละ 56.2 ซ่ึงผูวิจัยมองวานาจะเกิดจากความเขาใจไมตรงประเด็น และสวนหนึ่งอาจจะมาจากมีการเปลี่ยนแปลงของบุคคลากรในหอผูปวย เนื่องจากหลังจากมีการพัฒนาจัดอบรมเพ่ิมเติมเรื่อง Focus charting คุณภาพการบันทึกทางการเพ่ิมข้ึนอยูในระดับดีมากท้ังในเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ โดยเชิงปริมาณ ปพ.ศ 2559 เพ่ิมข้ึนเปน รอยละ 95 เชิงคุณภาพเพ่ิมข้ึนเปน รอยละ 90

2.2 กลุมการพยาบาลงานจักษุ – โสต ศอ นาสิกกรมจากผลการวิจัยพบวามีจุดแข็งในเรื่อง การวางแผนจําหนายมีคุณภาพการบันทึกทางการพยาบาลเชิงปริมาณมากท่ีสุดโดยในปพ.ศ 2558 รอยละ 96.6 ป พ.ศ2559 รอยละ 96.6ในสวนของคุณภาพการบันทึกเชิงคุณภาพมากท่ีสุดคือ การประเมินแรกรับ ปพ.ศ 2558 รอยละ 85.7 ปพ.ศ 2559 รอยละ 85.7 สําหรับจุดออนของกลุม งานกลุมงานพยาบาลจักษุ – โสต ศอ นาสิกกรมจะพบปญหาการบันทึกเชิงคุณภาพในเรื่อง การประเมินปญหา ปพ.ศ 2558 รอยละ 50 การวินิจฉัยทางการพยาบาล ปพ.ศ 2558 รอยละ 65 และ การปฏิบัติการพยาบาล ปพ.ศ 2558 รอยละ 50 เนื่องจากพยาบาลกลุมงานพยาบาลจักษุ – โสต ศอ นาสิกกรมจะตองดูแลผูปวยเฉพาะทางการผาตัดเปนสวนใหญแลวยังตองใหความสําคัญกับโรครวมของผูปวยทําใหการประเมินผูปวยในภาพรวมยังไมสมบูรณ แตหลังจากมีการพัฒนาจัดอบรมเพ่ิมเติม พบวาพยาบาลกลุมงานพยาบาลจักษุ – โสต ศอ นาสิกกรมสามารถเขียนปญหาไดครอบคลุมและมี

Page 12: แบบฟอร มเสนอผลงานโครงการวิจัย164.115.23.147/www/srkhos/www/download/Academic60/... · 1.ชื่อโครงการวิจัย

12

คุณภาพการบันทึกดีข้ึน ปพ.ศ 2559 พบวาคุณภาพการบันทึกทางการในเรื่องการประเมินเพ่ิมข้ึนเปนรอยละ 60 การวินิจฉัยการพยาบาล เพ่ิมข้ึนเปน รอยละ 90 การปฏิบัติการพยาบาลเพ่ิมข้ึนเปน รอยละ 70

2.3 กลุมงานการพยาบาล สูติ-นารีเวชกรรมจากผลการวิจัยพบวามีจุดแข็งในเรื่องคุณภาพการบันทึกทางการพยาบาลเชิงปริมาณมากท่ีสุด ในเรื่อง ประเมินแรกรับ ปพ.ศ 2558 รอยละ 96.6 การวินิจฉัยทางการพยาบาลรอยละ 94.4 การวางแผน/กําหนดเปาหมายรอยละ 84.9 และ การวางแผนจําหนาย รอยละ 81.5 สําหรับจุดออนของการพยาบาล กลุมสูติ-นารีเวชกรรม คือ การประเมินปญหาผูปวย และการปฏิบัติการพยาบาลท้ังคุณภาพในเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ พบวาคุณภาพการบันทึกทางการอยูในระดับต่ํากวาเกณฑเฉลี่ยนอยกวารอยละ 50 เนื่องจากผูปวยกลุมสูติจะมีท้ังผูปวยสูติหลังคลอดและผูปวยท่ีมีความผิดปกติทางนารีเวชกรรมแตพบวายังใหความสําคัญกับการประเมินปญหาของผูปวยไดนอย ทําใหไมสามารถเขียนอธิบายสภาพปญหาของผูปวยไดครอบคลุม และจะเห็นไดวาหลังทํากิจกรรมพัฒนาจัดอบรมเพ่ิมเติมเรื่อง Focus chartingคะแนนยังคงมีแนวโนมลดลง สาเหตุอาจเนื่องมาจากหอผูปวย 80/8 ขณะนั้นขาดตัวแทนคณะอนุกรรมการการบันทึกการพยาบาลทําใหขาดการสื่อสารขอมูลตอผูปฏิบัติในบางเรื่อง เชน การเขียนใหถูกตองตรงประเด็นตาม คูมือ และรูปแบบบันทึกทางการพยาบาลท่ีพัฒนาข้ึน (Update focus charting)

2.4 กลุมงานการพยาบาลศัลยกรรมกระดูก จากผลการวิจัยพบวามีจุดแข็งของการบันทึกทางการพยาบาลท้ังในเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ ในเรื่อง การประเมินแรกรับ ในปพ.ศ 2558 รอยละ 89.5 ปพ.ศ2559 รอยละ 89.8 และการประเมินผลการพยาบาลปพ.ศ 2558 รอยละ 84.7 ปพ.ศ 2559 รอยละ 85 สําหรับจุดออนของกลุม งานกลุมงานการพยาบาลศัลยกรรมกระดูก พบปญหาคุณภาพการบันทึกเชิงคุณภาพในเรื่องการปฏิบัติการพยาบาลปพ.ศ 2558 รอยละ 59.7 และ การประเมินปญหา ปพ.ศ 2558 รอยละ 51.3และหลังทํากิจกรรมมีการพัฒนาจัดอบรมเพ่ิมเติมเรื่อง Focuscharting คะแนนมีแนวโนมลดลงการปฏิบัติการพยาบาลปพ.ศ 2559 รอยละ 41.7 การประเมินปญหาปพ.ศ 2559 รอยละ 40.8 ซ่ึงคุณภาพการบันทึกทางการอยูในระดับต่ํากวาเกณฑสาเหตุอาจเนื่องมาจากกลุมงานศัลยกรรมกระดูกประกอบดวย หอผูปวย 100/6 และ หอผูปวย 100/8 โดยหอผูปวย 100/8 ไมมีคณะอนุกรรมการการบันทึกการพยาบาลเนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลงของบุคลากร ทําใหขาดการสื่อสารขอมูลตอผูปฏิบัติในบางเรื่อง เชน การเขียนใหถูกตองตรงประเด็นตาม คูมือ และรูปแบบบันทึกทางการพยาบาลท่ีพัฒนาข้ึน สงผลใหคุณภาพการบันทึกทางการอยูในระดับต่ํากวาเกณฑ

2.5 กลุมงานการพยาบาลศัลยกรรมจากผลการวิจัยพบวามีจุดแข็งท้ังในเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ ในเรื่อง การประเมินแรกรับในปพ.ศ 2558 รอยละ 90 รอยละ86.3ป พ.ศ2559 รอยละ 89.8 รอยละ 83.2ตามลําดับสําหรับจุดออนของกลุม งานกลุมงานศัลยกรรม พบปญหาคุณภาพการพยาบาลเชิงคุณภาพในเรื่องการประเมินปญหาของผูปวย ปพ.ศ 2558 รอยละ 38.3.ป พ.ศ 2559 รอยละ 33.6 พบเขียนสั้นไมละเอียด ขอมูลสนับสนุนการเกิดปญหามีนอยไมตอบสนองปญหาผูปวย สงผลใหการประเมินผลการพยาบาลคุณภาพต่ํากวาเกณฑดวยปพ.ศ 2558 รอยละ 39.1 หลังปพ.ศ 2559 รอยละ 49.3

2.6 กลุมงานการพยาบาลอายุรกรรมจากผลการวิจัยพบวามีจุดแข็งท้ังในเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพในเรื่องการประเมินแรกรับในป พ.ศ 2558 รอยละ 88.9 ป พ.ศ 2559 รอยละ 88.9 สามารถบันทึกไดละเอียดและครบถวน สงผลใหสามารถนํามาวิเคราะหเขียน การวางแผน/กําหนดเปาหมาย การปฏิบัติการพยาบาล การประเมินผลการพยาบาล การวางแผนจําหนายไดครบ โดยคะแนนคุณภาพในเชิงปริมาณเฉลี่ยมากกวารอยละ 80 แตจุดออนของกลุมงานการพยาบาลอายุรกรรม คือ การบันทึกเชิงคุณภาพโดยคะแนนเชิงคุณภาพเฉลี่ยในทุกกระบวนการพยาบาลยกเวนเรื่องประเมินแรกรับ อยูระหวางรอยละ 50-60 อยูระดับคุณภาพการบันทึกควรปรับปรุงท้ังนี้เนื่องมาจากพยาบาลกลุมงานอายุรกรรมมีภาระงานจํานวนมากและพยาบาลสวนใหญอายุงานอยูนะดับ Novice ซ่ึงยังคงตองพัฒนาความรูเก่ียวกับโรคท่ีสําคัญทางอายุรเวชกรรม

2.7 กลุมงานการพยาบาลผูปวยวิกฤติจากผลการวิจัยพบวามีจุดแข็งท้ังในเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ ในเรื่องการประเมินผลการพยาบาลในปพ.ศ 2558 รอยละ 88.3 ปพ.ศ2559 รอยละ 90 และ การประเมินแรกรับปพ.ศ 2558 รอยละ 86.4 ปพ.ศ2559 รอยละ 92.2 จุดดอยของกลุมงานวิกฤติคือการบันทึกในเชิงคุณภาพ โดยเฉพาะการวางแผนจําหนาย ป พ.ศ 2558 รอยละ51.3 และการประเมินปญหาปพ.ศ 2558 รอยละ 60หลังจากมีการพัฒนาจัดอบรมเพ่ิมเติมเรื่อง Focus charting

Page 13: แบบฟอร มเสนอผลงานโครงการวิจัย164.115.23.147/www/srkhos/www/download/Academic60/... · 1.ชื่อโครงการวิจัย

13

คุณภาพการบันทึกทางการเพ่ิม ปพ.ศ 2559 รอยละ 75.5 ปพ.ศ 2559 รอยละ 66.6 แตยังอยูในระดับควรปรับปรุง สาเหตุเนื่องมาจากผูปวยท่ีรับเขาในหอผูปวยวิกฤติสวนใหญจะมีปญหาเรงดวนคุกคามตอชีวิตท่ีตองรีบชวยแกไข รวมกับการปองกันภาวะแทรกซอน หรืออันตรายท่ีเกิดตอชีวิตผูปวยทําใหพยาบาลในหอผูปวยวิกฤติใหความสําคัญกับการดูแลในภาวะเรงดวนเพ่ือชวยเหลือผูปวยใหรอดชีวิต ทําใหการเขียนบันทึกเรื่องการวางแผนจําหนายยังคงใหความสําคัญนอยทําใหการบันทึกการเตรียมการจําหนายยังไมสมบูรณ ขอเสนอแนะ

1. ควรพัฒนารูปแบบการนิเทศโดยนําผูท่ีมีประสบการณเฉพาะทางตามสาขานั้นๆใหความชวยเหลือกํากับดูแลติดตามคุณภาพการบันทึกทางการพยาบาล โดยมีความมุงหมายเพ่ือปรับปรุงประสิทธิภาพและประสิทธิผลคุณภาพทางการบันทึกทางการพยาบาลไว

2. ควรปลูกฝงใหพยาบาลตระหนักและเห็นความสําคัญของการบันทึกทางการพยาบาลท่ีมีคุณภาพและสามารถบันทึกตามหลักการบันทึกการพยาบาลท่ีมีคุณภาพอยางถูกตองครบถวนชัดเจนไดใจความท่ีสะทอนการปฏิบัติการพยาบาลตามกระบวนการพยาบาลอยางตอเนื่องโดยผูบริหารการพยาบาลควรจัดการอบรมวิธีการบันทึกท่ีมีคุณภาพการพยาบาลท่ีเหมาะสมในผูปวยแตละรายและกําหนดโครงสรางของแบบบันทึกท่ีมีเปาหมายครอบคลุมกระบวนการพยาบาล

3. จากผลการวิจัยพบวาคุณภาพของการบันทึกทางการพยาบาลท่ีอยูในระดับตองปรับปรุงหรือไมถึงเกณฑโดยเฉพาะการบันทึกเชิงคุณภาพ ผูบริหารควรพัฒนาระบบบันทึกทางการพยาบาลใหมีประสิทธิภาพมากข้ึนและพัฒนาความรูความสามารถของพยาบาลโดยเฉพาะองคความรูทางคลินิก ทักษะการดูแลผูปวย โรคซับซอนเพ่ือใหมีประสิทธิภาพในการบันทึกและบันทึกไดตอเนื่อง รวมท้ังพัฒนาระบบการบันทึกท่ีเอ้ือตอการบันทึกอยางถูกตองและสอดคลองกับปญหาของผูปวยจะทําใหมีมาตรฐานในการบันทึกทางการพยาบาลมากข้ึน

4. จัดทําแผนพัฒนารายบุคคล โดยใหระบบการบันทึกทางการพยาบาลเปน Common Competency ของพยาบาลทุกคน โดยแบงระดับการประเมินตาม Level ของพยาบาล

5. จากผลการวิจัยไมสามารถบอกไดวากลุมงานท่ีบันทึกไดอยางมีคุณภาพนั้นครอบคลุมผูปวยท่ีมีปญหาซับซอนหรือไม เนื่องจากเปนการสุมโดยใช HN เพราะฉะนั้นเพ่ือใหคุณภาพการบันทึกทางการพยาบาลมีคุณภาพท่ีแทจริงควรมีการสุมตามโรคท่ีมีปญหาซับซอนตามท่ีกลุมงานนั้นๆเจอจะทําใหมองเห็นคุณภาพการบันทึกทางการพยาบาลท่ีแทจริง

12.ผลประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับ : ผลท่ีไดจากการวิจัยใช เปนแนวทางในการพัฒนาการบันทึกทางการพยาบาล

13.รายการอางอิง : ธนสฤษฎ โชติกอาภา.(2557). การพัฒนาคุณภาพการบันทึกทางการพยาบาลหออภิบาลผูปวยหนักโรงพยาบาลแมค

คอรมิคจังหวัดเชียงใหมวิทยานิพนธปริญญาหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการพยาบาล. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม.

นวลจันทร วงศศรีใส. (2555).ศึกษาการพัฒนาบันทึกทางการพยาบาลในหนวยงานอุบัติเหตุและฉุกเฉิน โรงพยาบาลลี้ จังหวัดลําพูน. พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาบริหารการพยาบาล มหาวิทยาลัยเชียงใหม.

พวงเพชร สุริยะพรหม และสุขุมาล ตอยแกว. (2553). การพัฒนารูปแบบการบันทึกทางการพยาบาลของกลุมการพยาบาลโรงพยาบาลนาน. ท่ีมา: www.kmnurse.files.wordpress.com /2011/12/journal37v2.pdf.

มลิวัลย มูลมงคล (2560) ผลการใชการบันทึกทางการพยาบาลแบบ Focus Charting งานผูปวยในโรงพยาบาลลําปาง.วารสารวิชาการสาธารณสุข ; 26(2):409-417.

Page 14: แบบฟอร มเสนอผลงานโครงการวิจัย164.115.23.147/www/srkhos/www/download/Academic60/... · 1.ชื่อโครงการวิจัย

14

ยุวดี เกตสัมพันธ. (2556). Focus charting: แนวการบันทึกท่ีสะทอน Patient-Center เอกสารประชุมวิชาการ. [Online].ท่ีมา: www.si.mahidol.ac.th/.../ns/.../854-docdownload-focuscharting-2556.

วรรณพรธ ปญโญนันท. (2555).ศึกษาการพัฒนาคุณภาพบันทึกทางการพยาบาลในงานผูปวยใน โรงพยาบาลบานโฮง จังหวัดลําพูน. พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาบริหารการพยาบาล มหาวิทยาลัยเชียงใหม.

วิทวดี สุวรรณศรวล. (2557).การพัฒนาคุณภาพการบันทึกทางการพยาบาลในหอผูปวยกระดูกหญิง โรงพยาบาลนครพิงค จังหวัดเชียงใหม. พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาบริหารการพยาบาล มหาวิทยาลัยเชียงใหม.

วินิตย หลงละเลิง.(2557). รายงานผลการดําเนินการโครงการพัฒนาคุณภาพ [อินเทอรเน็ต].ประทุมธานี: กลุมงานการพยาบาลโรงพยาบาลธรรมศาสตรเฉลิมพระเกียรติ; [สืบคนเม่ือ 6 เม.ย.2560]. แหลงขอมูล: http://hospital.tu.ac.th/PlanTUHosWeb/data/.../CQI_2557/57_039.pdf

สุนิศา เคาโคนและมณีรัตน ภาคธูป. (2559).เปรียบเทียบคุณภาพของบันทึกทางการพยาบาลในระบบการบันทึกแบบชี้เฉพาะของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลเอกชนท่ีมีประสบการณปฏิบัติงานท่ีแตกตางกันคณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยอีสเทิรเอเชีย.

อารีย วิรานันทและ กุลรัตนบริรักษวาณิชย (2542).การศึกษาการบันทึกทางการพยาบาลของกลุมการพยาบาลในโรงพยาบาลเพชรบูรณ.วารสารกองการพยาบาล ;26(2):58-65.

Ellis, N. (1994). Nursing: A Human Need Approach. 5th .Ed. Philadelphia: J.B. Lippincott. Taylor CR, Lillis C, LeMone P. Lynn PC. Fundamentals of nursing: the art and science of nursing care. 8th

ed. Philadelphia: Lippincott Williams & Wilkins; 2015. McLughlin, P.C., &Kaluzny, A. D. (1999). Continuous quality improvement in health care: Theory,

implementation, and applications. Gaithersburg, MD: Aspen. 14. การขอพิจารณาจริยธรรมวิจัย ขอรับการพิจารณาโครงการเพ่ือรับรอง โครงการจากคณะกรรมการจริยธรรมการ

วิจัย พร. (ระบุ ไดรับการรับรองแลว เลขท่ี COA-NMD-REC025/60 วันท่ีรับรอง 12 ก.ค.2560 15.ไฟลรูปผูวิจัย