108
การประเมินความสําเร็จโครงการการจัดการขยะมูลฝอยโดยชุมชน กรณีศึกษา ชุมชนพรอมใจพัฒนา เขตคลองสามวา กรุงเทพมหานคร ภคพล ประดิษฐบาทุกา วิชาคนควาอิสระนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการสิ่งแวดลอม) คณะพัฒนาสังคมและสิ่งแวดลอม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร 2555

หน้าปก[1]library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19773.pdf · บทที่5 สรุปผลการศ ึกษาและข อเสนอแนะ 74 5.1 สรุปผลการศ

  • Upload
    others

  • View
    3

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: หน้าปก[1]library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19773.pdf · บทที่5 สรุปผลการศ ึกษาและข อเสนอแนะ 74 5.1 สรุปผลการศ

การประเมินความสําเร็จโครงการการจัดการขยะมูลฝอยโดยชุมชน

กรณีศึกษา ชุมชนพรอมใจพัฒนา เขตคลองสามวา กรุงเทพมหานคร

ภคพล ประดิษฐบาทุกา

วิชาคนควาอิสระนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสตูร วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการสิ่งแวดลอม)

คณะพัฒนาสังคมและสิ่งแวดลอม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร

2555

Page 2: หน้าปก[1]library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19773.pdf · บทที่5 สรุปผลการศ ึกษาและข อเสนอแนะ 74 5.1 สรุปผลการศ
Page 3: หน้าปก[1]library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19773.pdf · บทที่5 สรุปผลการศ ึกษาและข อเสนอแนะ 74 5.1 สรุปผลการศ

กิตติกรรมประกาศ

วิชาการคนควาอิสระ เร่ืองการประเมินความสําเร็จโครงการการจัดการขยะมูลฝอยโดยชุมชน กรณีศึกษา ชุมชนพรอมใจพัฒนา เขตคลองสามวา กรุงเทพมหานคร สามารถสําเร็จลงไดดวยความอนุเคราะหจากบุคคลหลายทาน ดังนั้น ผูศึกษาจึงขอกราบขอบพระคุณอยางสูงมา ณ โอกาสนี้ คือ

ดร. จุฑารัตน ชมพันธุ อาจารยที่ปรึกษา ที่กรุณาสละเวลาใหความชวยเหลือในการวางแผนตลอดจนการใหคําปรึกษา ช้ีแนะ และตรวจทานวิชาการคนควาอิสระฉบับนี้

คณาจารยทุกทานประจําภาควิชาการจัดการสิ่งแวดลอมคณะพัฒนาสังคมและสิ่งแวดลอมสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตรที่ไดถายทอดความรูในวิชาตางๆซึ่งผูศึกษาไดนํามาใชในการจัดทําวิชาการคนควาอิสระในครั้งนี้

เจาหนาที่สํานักงานเขตคลองสามวา ผูนําชุมชนพรอมใจพัฒนา สมาชิกภายในชุมชนพรอมใจพัฒนาที่สละเวลาในการใหเขาสัมภาษณและตอบแบบสอบถามเกี่ยวกับโครงการการจัดการขยะมูลฝอยโดยชุมชนของชุมชนพรอมใจพัฒนา เขตคลองสามวา กรุงเทพมหานคร

สุดทายนี้ขอกราบขอบพระคุณคุณพอคุณแมและพี่นองของผูศึกษา รวมถึงเพื่อน ๆ ทุกคนที่ใหการสนับสนุนและรวมเปนกําลังใจในการจัดทําวิชาการคนควาอิสระฉบับนี้โดยตลอดจนสําเร็จลุลวงดวยดี

ภคพล ประดษิฐบาทุกา กันยายน 2555

Page 4: หน้าปก[1]library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19773.pdf · บทที่5 สรุปผลการศ ึกษาและข อเสนอแนะ 74 5.1 สรุปผลการศ

  

บทคัดยอ

ชื่อวิชาคนควาอิสระ การประเมินความสําเร็จโครงการการจัดการขยะมูลฝอยโดยชุมชน

กรณีศึกษา ชุมชนพรอมใจพฒันา เขตคลองสามวา กรุงเทพมหานคร

ชื่อผูเขียน นายภคพล ประดิษฐบาทกุา

ชื่อปริญญา หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการสิ่งแวดลอม) ปการศึกษา 2554 ปจจุบันปริมาณขยะมูลฝอยของประเทศมีปริมาณสูงขึ้นเรื่อยๆและกอใหเกิดผลกระทบตอ

หลายๆพื้นที่ทําใหหนวยงานตางๆไดมีการจัดตั้งโครงการเพื่อเปนการบริหารจัดการกับขยะมูลฝอย

เพื่อลดผลกระทบที่เกิดขึ้นจากปริมาณขยะที่เพิ่มขึ้น

กรุงเทพมหานครนับไดวาเปนอีกพื้นที่หนึ่งที่ประสบปญหาดานขยะโดยในป 2551 มี

ปริมาณขยะมูลฝอยมากถึงรอยละ 21 ของปริมาณขยะมูลฝอยของประเทศไทยและมีปริมาณขยะที่

ตองทําการเก็บขนถึง 8,780 ตันตอวัน ซ่ึงนับวาเปนปริมาณที่คอนขางสูง ดังนั้นผูศึกษาจึงสนใจที่

จะศึกษาถึงวิธีการและโครงการที่เกี่ยวของกับการจัดการขยะมูลฝอยของกรุงเทพมหานคร

ชุมชนพรอมใจพัฒนา เขตคลองสามวา เปนพื้นที่เปาหมายที่ผูศึกษาเลือก เพื่อประเมิน

ความสําเร็จของโครงการจัดการขยะมูลฝอยโดยชุมชน เนื่องจากเปนชุมชนที่ไดดําเนินโครงการการ

จัดการขยะมูลฝอยมาเปนเวลานานแลว เหมาะสมที่จะใชวัดความสําเร็จของโครงการได โดยวิธีการ

ศึกษาโครงการจะใชวิธีการประเมินความสําเร็จของโครงการใน 4 ดาน คือ ดานประสิทธิผล ดาน

ผลกระทบ ดานความสอดคลองกับความตองการและดานความยั่งยืน โดยดานประสิทธิผลและ

ความยั่งยืนจะใหคะแนนเต็มดานละ 30% ดานผลกระทบและดานความสอดคลองกับความตองการ

ใหคะแนนเต็มดานละ 20% โดยวัตถุประสงคของการศึกษาในครั้งนี้เพื่อประเมินโครงการการ

จัดการขยะมูลฝอยโดยชุมชนวาประสบความสําเร็จหรือไม

ผลการศึกษาโครงการการจัดการขยะมูลฝอยโดยชุมชนของชุมชนพรอมใจพัฒนา เขต

คลองสามวาพบวาการประเมินความสําเร็จดานประสิทธิผลอยูในระดับปานกลาง คือประชาชน

สามารถจัดการขยะไดไมมากนัก การประเมินความสําเร็จดานผลกระทบอยูในระดับต่ํา ซ่ึงถือวา

Page 5: หน้าปก[1]library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19773.pdf · บทที่5 สรุปผลการศ ึกษาและข อเสนอแนะ 74 5.1 สรุปผลการศ

(2)  

ผลกระทบดานเศรษฐกิจและสังคมไมประสบความสําเร็จ การประเมินความสําเร็จดานความ

สอดคลองกับความตองการอยูในระดับปานกลาง คือโครงการตอบสนองความตองการของชุมชน

ไดไมมากนัก การประเมินความสําเร็จดานความยั่งยืนอยูในระดับสูง คือความยั่งยืนของโครงการ

เปนที่นาพอใจสวนการประเมินความสําเร็จรวมถือวาประสบความสําเร็จปานกลาง คือโครงการยัง

ไมเปนที่นาพอใจที่จะเปนตนแบบของโครงการจัดการขยะมูลฝอยโดยชุมชน ดังนั้นผูที่เกี่ยวของกับ

การดําเนินงานโครงการดังกลาวควรจะมีการทบทวน สรุปบทเรียนการดําเนินงาน และปรับปรุง

แกไขเพื่อใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

Page 6: หน้าปก[1]library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19773.pdf · บทที่5 สรุปผลการศ ึกษาและข อเสนอแนะ 74 5.1 สรุปผลการศ

(3)  

ABSTRACT

Title of Research Paper Success of waste managing by community project assessment, case study: Phromjai Phatthana Community Khlong Samwa District, Bangkok, Thailand.

Author Mr. Pakapoln Pradisbatooka Degree Master of Science (Environmental Management) Year 2011

Nowaday, quantity of waste in Thailand has increasing and affect toward many area. However, many departments established project for waste management and try hard to reduce the impact from this issued. Since 2008, Bangkok is one of the main area which suffering from waste, increasing up to 21% of waste quantity of Thailand and it’s required to move to landfill for 8,780 tons per day. This reason turned to be main interesting objective to study on method in relating project of waste management by community. Promchaipattana Community, Klongsamwa District is target area for this researched to assessing the success of disposal waste management project by community. The main reason for chose this area because community has operate this project for long enough to assessing project successful. There are 4 parts to assessing project successful; effectiveness, impact, consistency with demand, and stability. For effectiveness and stability have weight 30% while impact and consistency weight 20%. Result of study on waste managing by Promchaipattana Community, Klongsamwa District, found that effectiveness of this project is moderate because the people in this community are less able to waste management, achievement of impact is low level deemed impact of economic and society is fail. Consistency is moderate because project less responding to people demand but stability is higher and satisfied. Total successful is regard as moderate, e.g. project is unsatisfied as model of waste management project by community. Therefore, person is related with this project should be review, conclude and improve for more efficiency.

Page 7: หน้าปก[1]library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19773.pdf · บทที่5 สรุปผลการศ ึกษาและข อเสนอแนะ 74 5.1 สรุปผลการศ

(4)  

สารบัญ

หนา

บทคัดยอ (2) ABSTRACT (4) กิตติกรรมประกาศ (5)

สารบัญ (6)

สารบัญตาราง ( )

สารบัญภาพ ( ) บทท่ี 1 บทนํา 1

1.1 ที่มาและแนวคิดในการศกึษา 1

1.2 วัตถุประสงค 3

1.3 ผลที่คาดวาจะไดรับ 3

1.4 ขอบเขตการศึกษา 3 บทท่ี 2 ทบทวนวรรณกรรม 4

2.1 แนวคดิและทฤษฎีเกีย่วกับความสําเรจ็ 4

2.2 แนวคดิการมีสวนรวมของประชาชน 9

2.3 แนวคดิและทฤษฏีเกี่ยวกบัขยะมูลฝอยชุมชน 11

2.4 แนวคดิการจัดการขยะมลูฝอยโดยชุมชน 15

2.5 กฎหมายทีเ่กี่ยวของ 22

2.6 แนวคดิการประเมินโครงการ 34

2.7 งานวิจยัที่เกี่ยวของ 36

บทท่ี 3 ระเบียบวิธีวิจัย 43

3.1 กรอบแนวคิดในการศกึษา 43

3.2 หลักการและกรอบแนวคิดในการประเมินโครงการ 43

3.3 ประเด็นการประเมินตัวช้ีวัด 44

Page 8: หน้าปก[1]library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19773.pdf · บทที่5 สรุปผลการศ ึกษาและข อเสนอแนะ 74 5.1 สรุปผลการศ

(5)  

3.4 เกณฑการประเมิน 49

3.5 วิธีการรวบรวมขอมูล 50

บทท่ี 4 ผลการศึกษา 53

4.1 ขอมูลทั่วไปเกี่ยวกับผูตอบแบบสอบถาม 53

4.2 การประเมินดานประสทิธิผล 54

4.3 การประเมินดานผลกระทบ 56

4.4 การประเมินดานความสอดคลองกับความตองการ 61

4.5 การประเมินดานความยัง่ยืน 63

4.6 สรุปผล 65

4.7 ทัศนคติและความคิดเหน็ของสํานักงานเขตคลองสามวา 67

4.8 การเก็บขอมูลภาคสนาม 70 บทท่ี 5 สรุปผลการศึกษาและขอเสนอแนะ 74

5.1 สรุปผลการศึกษา 74

5.2 สรุปภาพรวมของโครงการ 78

5.3 ขอเสนอแนะ 79

5.4 ขอเสนอแนะสําหรับการศึกษาครั้งตอไป 82

5.5 สรุป 83

บรรณานุกรม 84

ภาคผนวก

ประวัติผูเขียน

Page 9: หน้าปก[1]library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19773.pdf · บทที่5 สรุปผลการศ ึกษาและข อเสนอแนะ 74 5.1 สรุปผลการศ

(6)  

สารบัญตาราง

ตารางที่ หนา

3-1 รายละเอยีดการประเมนิโครงการ 46

3-2 ระดับในการประเมิน 50

4-1 ผลการวิเคราะหแบบสอบถาม เกี่ยวกบัผลกระทบดานสิ่งแวดลอม 57

4-2 ระดับคะแนนการประเมินโครงการ 68

5-1 สรุปการประเมินความสําเร็จ 75

5-2 ระดับคะแนนการประเมินโครงการ 79

Page 10: หน้าปก[1]library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19773.pdf · บทที่5 สรุปผลการศ ึกษาและข อเสนอแนะ 74 5.1 สรุปผลการศ

(7)  

สารบัญภาพ

ภาพที ่ หนา 2-1 กระบวนการจัดการมูลฝอยและจดัการสิ่งแวดลอมชุมชน 17

2-2 ภาชนะทีร่องรับขยะ 4 ประเภท 21

3-1 กรอบแนวคิดในการศึกษา 43

3-2 กรอบแนวคิดในการประเมินโครงการ 44

4-1 กิจกรรมการลงสํารวจพื้นที่และสัมภาษณผูนําชุมชน และสมาชิกในชุมชน 71

4-2 กิจกรรมการลงสํารวจพื้นที่และสัมภาษณผูนําชุมชน และสมาชิกในชุมชน (ตอ) 72

Page 11: หน้าปก[1]library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19773.pdf · บทที่5 สรุปผลการศ ึกษาและข อเสนอแนะ 74 5.1 สรุปผลการศ

1

บทที่ 1

บทนํา 1.1 ท่ีมาและแนวคิดในการศึกษา

ปริมาณขยะมูลฝอยของประเทศไทยมีแนวโนมเพิ่มสูงขึ้นเรื่อยๆ โดยในป 2551 มีขยะมูล

ฝอยท่ัวประเทศประมาณ 15.03 ลานตัน หรือ 41,064 ตันตอวัน (ยังไมรวมปริมาณขยะมูลฝอยกอนนํามาทิ้งในถัง) เมื่อเทียบกับป 2550 พบวาขยะมูลฝอยมีปริมาณเพิ่มขึ้น ประมาณ 0.27 ลานตัน หรือรอยละ 1.81 ตามการขยายตัวของชุมชนและจํานวนประชากร (กรมควบคุมมลพิษ, 2553 : 57) และคาดวาในป 2554 จะมีปริมาณขยะเพิ่มขึ้นถึง 47,000 ตัน หนวยงานที่รับผิดชอบพยายามแกปญหาดังกลาวดวยการดําเนินกิจกรรมตางๆ ตั้งแตการลด คัดแยก และการใชประโยชนจากขยะมูลฝอย รวมถึงการกําจัดอยางถูกหลักสุขาภิบาล ซ่ึง “การจัดการขยะมูลฝอยโดยชุมชน หรือ CBM

(Community Based Waste Management)” เปนอีกเครื่องมือที่สําคัญ ไดรับการสงเสริม และยอมรับจากหนวยงานตางๆ ทั่วประเทศ เพราะเปนแนวทางการจัดการขยะโดยเนนการมีสวนรวมจากคนสวนใหญในชุมชน ทําใหชุมชนมีสภาพแวดลอมที่ดี รายไดเพิ่มขึ้น รายจายลดลง สุขภาพอนามัยดี โดย CBM ไดถูกนํามาทดลองใชในประเทศไทยเปนครั้งแรกที่เทศบาลพิษณุโลก โดยสํานักความรวมมือทางวิชาการของประเทศเยอรมัน หรือ GTZ (German Technical

Cooperation) (สํานักงานสิ่งแวดลอมภาคที่ 1, 2550) ซ่ึงหลักการหรือกระบวนการ CBM ไดผานการนําไปทดลองใช ประยุกตใช และลองผิดลองถูกมานานเกือบ 10 ป กวาจะมาเปนกระบวนการที่สําเร็จผล ทั้งนี้ดวยกระบวนการของ CBM เปนการรวมเอาเทคนิควิชาการของการมีหนาที่ในการลดปริมาณขยะของแตละครัวเรือน และในแงของการจัดการนําแผนสูการปฏิบัติภายใตความรวมมือของผูมีบทบาทหลักในทุกภาคสวน โดยหลักการของ CBM ประกอบดวย 2 สวน 5 ขั้นตอน ประกอบดวย สวนที่ 1 เปนการคัดแยกมูลฝอยกลับไปใชประโยชนชุมชน เพื่อลดปริมาณขยะของชุมชน โดยการคัดแยกวัสดุรีไซเคิล และคัดแยกขยะอินทรียทําปุยหมัก สวนที่ 2 คือการจัดการถังขยะเพื่อปรับปรุงสภาพแวดลอมใหสะอาด โดยการจัดการถังขยะในบานตนเอง ถนนปลอดถังขยะ และนํามาซึ่งการลดความถี่ในการเขาจัดเก็บมูลฝอย ซ่ึงกระบวนการเหลานี้ดําเนินการ

Page 12: หน้าปก[1]library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19773.pdf · บทที่5 สรุปผลการศ ึกษาและข อเสนอแนะ 74 5.1 สรุปผลการศ

2

เปนลําดับขั้นตอน ดวยความรวมมือทั้งชุมชน และหนวยงานรับผิดชอบ ซ่ึงทางกรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอมไดเผยแพรแนวคิด CBM ใหองคการปกครองสวนทองถ่ิน ดําเนินการตั้งแต ป 2549 เปนตนมา (สํานักสิ่งแวดลอม, 2553 : 4) ซ่ึงกรุงเทพมหานคร เปนอีกพื้นที่หนึ่งที่ประสบปญหาขยะเชนกัน โดยในป 2551 มีปริมาณขยะมูลฝอยมากถึงรอยละ 21 ของปริมาณขยะมูลฝอยของประเทศไทย มีปริมาณขยะมูลฝอยไดรับการเก็บขน 8,780 ตันตอวัน (กรมสงเสริมคุณภาพส่ิงแวดลอม, 2552: 13) ธนาคารเพื่อความรวมมือระหวางประเทศญี่ปุน (JBIC) ศึกษาพบวาปริมาณมูลฝอยของกรุงเทพมหานคร มีแนวโนมจะเพิ่มขึ้นเปน 13,025 ตัน/วัน ในป 2556 และจะเพิ่มขึ้นอีก หากทาง กทม.ไมเรงดําเนินการบริหารจัดการมูลฝอยใหดีกอนทิ้ง ทางสํานักสิ่งแวดลอม กรุงเทพมหานคร จึงไดนําแนวคิด CBM ดังกลาวมาดําเนินการภายใตโครงการ “การจัดการขยะมูลฝอยโดยชุมชน (CBM)” ซ่ึงเปนสวนหนึ่งของยุทธศาสตรพัฒนากรุงเทพมหานครใหเปนมหานครแหงสิ่งแวดลอม กลยุทธควบคุมปริมาณมูลฝอยไมใหเพิ่มขึ้น ในแผนบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2552 –

2555 และเปนนโยบายหลักของผูบริหารกรุงเทพมหานคร โดยดําเนินการกับชุมชนนํารอง 12 ชุมชน ในพื้นที่ 6 กลุมเขต เขตละ 2 ชุมชน ซ่ึงประกอบไปดวย สมาชิกในชุมชน ผูนําชุมชน และสํานักงานเขตรับผิดชอบนั้นๆ โดยเริ่มดําเนินการตั้งแตเดือนมิถุนายน พ.ศ.2552 และสิ้นสุดการดําเนินโครงการในเดือนมีนาคม พ.ศ.2553 ภายใตงบประมาณ 445,200 บาท ภายใตความรับผิดชอบของสํานักสิ่งแวดลอม ซ่ึงผลของการดําเนินการจากการติดตามผลในชวงเดือนธันวาคม 2553 – กุมภาพันธ 2553 ถือวาประสบความสําเร็จในระดับหนึ่ง โดยบางชุมชนสามารถลดปริมาณขยะไดถึง รอยละ 60 แตบางชุมชนสามารถลดไดเพียงรอยละ 4.35 ซ่ึงปจจัยที่มีลดตอความสําเร็จมากนอยของแตละชุมชนเปนสวนหนึ่งที่ทางกลุมมีความสนใจเปนอยางยิ่ง ประกอบกับทางสํานักงานสิ่งแวดลอม ไดกําหนดแผนที่จะดําเนินกิจกรรมในลักษณะเดียวกับชุมชนตนแบบ 12 ชุมชน ในพื้นที่เขตละ 5 ชุมชน รวมเปน 250 ชุมชน จึงมีความจําเปนอยางยิ่งในการประเมินโครงการที่ดําเนินการแลวเสร็จ กับชุมชนตนแบบ เพื่อนําผลการประเมินมาปรับแนวทางการดําเนินโครงการใหมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และมีความยั่งยืน รวมทั้งสอดคลองกับความตองการของชุมชน และทราบผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการดําเนินโครงการทั้งดานบวก และดานลบ

การจัดการขยะในปริมาณมากนั้น ตองเสียคาใชจายในการกําจัดมาก อีกทั้งการกําจัดขยะไมวาจะเปนการเผาหรือฝงดิน ยังกอใหเกิดมลพิษตอส่ิงแวดลอมอีกดวย ฉะนั้นการจัดการขยะในปริมาณมากที่ไดผลนั้น ควรมีสวนรวมของประชาชน โดยเฉพาะประชากรในชุมชนท่ีกอขยะเอง ซ่ึงนอกจากจะลดคากําจัดขยะไดแลว ยังสามารถเพิ่มรายไดจากการนําขยะรีไซเคิลไปขาย และยังสามารถนําขยะสดไปหมักทําปุยชวยลดคาใชจายในการซื้อปุยเคมี แลวยังทําใหพืชที่เพาะปลูกปลอดสารพิษ ไมมีสารพิษสะสมในดินและแหลงน้ํา สภาพแวดลอมในชุมชนเองก็สะอาดดวย

Page 13: หน้าปก[1]library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19773.pdf · บทที่5 สรุปผลการศ ึกษาและข อเสนอแนะ 74 5.1 สรุปผลการศ

3

1.2 วัตถุประสงค 1) เพื่อศึกษาแนวทางจัดการขยะมูลฝอยโดยชุมชน (CBM) ของชุมชนพรอมใจพัฒนาใน เขตคองสามวา ภายใตความรับผิดชอบของสํานักสิ่งแวดลอม กรุงเทพมหานคร

2) เพื่อประเมินผลความสําเร็จในดาน ประสิทธิผล ผลกระทบ ความสอดคลองกับความตองการและความยั่งยืน ของโครงการการจัดการขยะมูลฝอยโดยชุมชน (CBM) ของชุมชนพรอมใจพัฒนาในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ภายใตความรับผิดชอบของสํานักสิ่งแวดลอม กรุงเทพมหานคร

1.3 ผลท่ีคาดวาจะไดรับ 1) ไดทราบความสํา เร็จและปจจัยที่มีผลตอความสํา เร็จของโครงการฯ ในดานประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ผลกระทบ ความสอดคลองกับความตองการและความยั่งยืน 2) ผลการศึกษาและประเมินโครงการฯ สามารถนําไปปรับปรุงและพัฒนาโครงการฯ ในลักษณะเดียวกัน ใหมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และมีผลกระทบดานลบนอยที่สุด รวมทั้งสอดคลองกับความตองการ และมีความยั่นยืน

1.4 ขอบเขตการศึกษา 1) เนื้อหาที่จะประเมิน มีทั้งหมด 4 ดาน ดังนี้

- ประสิทธิผล

- ผลกระทบ

- ความสอดคลองกับความตองการ

- ความยั่งยืน

2) ประชากรและพื้นที ่ ดําเนินการประเมินโครงการการจัดการขยะมูลฝอยโดยชุมชน (CBM) ของชุมชนพรอมใจพัฒนา เขตคลองสามวาในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ประกอบดวย เจาหนาที่สํานักงานเขต ผูนําชุมชน และสมาชิกในชุมชน

3) เวลา ดําเนินการประเมินจํานวน 45 วัน ระหวางวันที่ 12 มีนาคม 2555 – 25 พฤษภาคม 2555

Page 14: หน้าปก[1]library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19773.pdf · บทที่5 สรุปผลการศ ึกษาและข อเสนอแนะ 74 5.1 สรุปผลการศ

4

บทที่ 2

แนวคิด ทฤษฎีและวรรณกรรมที่เกี่ยวของ

การประเมินโครงการจัดการขยะมูลฝอยโดยชุมชน ของสํานักงานสิ่งแวดลอม . มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาและประเมินผลความสําเร็จของโครงการฯ ทางคณะผูประเมินเลือกใชใชดัชนีวัดการประเมินความสําเร็จ 4 ดานไดแก ประสิทธิผล ผลกระทบ ความสอดคลองกับความตองการ และความยั่งยืน ซ่ึงในการประเมินครั้งนี้ ทางคณะผูประเมินไดทําการศึกษาแนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวของ คือ

- แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับความสําเร็จ

- แนวคิดการมีสวนรวมของประชาชน

- แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับขยะมูลฝอยชุมชน

- แนวคิดการจัดการขยะมูลฝอยชุมชน

- แนวคิดการประเมินโครงการ

- งานวิจัยที่เกี่ยวของ โดยมีรายละเอียดการศกึษา ดังนี ้

2.1 แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับความสําเร็จ

ปจจัยความสําเร็จของโครงการนั้นสามารถแบงออกเปน 4 ดานไดแก ดานประสิทธิผล ดานผลกระทบ ดานความสอดคลองกับความตองการ ดานความยั่งยืน โดยมีรายละเอียดดังตอไปนี้

2.1.1 ดานประสิทธิผล การวัดผลผลิตของความชวยเหลือที่ไดวาตรงตามเปาหมายและขอบเขตการดําเนินการที่

กําหนดไว คาดหวังไวหรือไม อยางไร การวัดประสิทธิผลนั้นเปาหมายหรือขอบเขตการดําเนินการที่กําหนดตองมีความชัดเจนและสามารถวัดและปฏิบัติไดจริง ตัวอยางตัวช้ีวัดที่ไมคอยชัดเจนและวัดไดยาก เชน สุขภาพและความเปนอยูที่ดีขึ้นหลังจากไดรับความชวยเหลือ ซ่ึงผูประเมินจําเปนตองอาศัยขอมูลที่มีอยูและมีความนาเชื่อถือ สําหรับตัวอยางลักษณะคําถามที่สามารถใชใน

Page 15: หน้าปก[1]library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19773.pdf · บทที่5 สรุปผลการศ ึกษาและข อเสนอแนะ 74 5.1 สรุปผลการศ

5

การวัดประสิทธิผล เชน กิจกรรมที่ใหความชวยเหลือหรือผลผลิตที่ไดตรงตามเปาหมายที่กําหนดไวหรือไม ในระดับโครงการผลผลิตที่ไดเทียบกับเปาหมายกําหนดไดไมยากนัก แตในระดับภาคสวนหรือประเทศซึ่งมีกิจกรรมความชวยเหลือหลายกิจกรรมเกี่ยวของ ฉะนั้นจึงตองเทียบกับหลายเปาหมายหรือวัตถุประสงคที่กําหนดไวและคอนขางซับซอน ผูประเมินควรตองพิจารณาองคประกอบทุกอยางที่ทําใหผลผลิตที่ไดบรรลุเปาหมายที่ไดตั้งไว บริบทภายนอกอาจทําใหมีอิทธิพลตอการบรรลุผลสําเร็จ ซ่ึงอาจจําเปนตองเปลี่ยนเปาหมายก็ได

- การประเมินประสิทธิผล

มีผูใหความหมายการประเมินประสิทธิผลโครงการ ไวจํานวนมาก ซ่ึงขอนําเสนอเฉพาะผูที่ใหคําจํากัดความที่สําคัญ และสอดคลองกับการประเมินโครงการฯ ดังนี้ ดันน (Dunn. 1994: 329, 405) กลาววาประสิทธิผลเปนเกณฑสําหรับการประเมินนโยบายสาธารณะที่มีประสิทธิผลก็คือ นโยบายที่สามารถบรรลุผลลัพธซ่ึงเปนเปาหมายที่กําหนดไวในระดับสูง ดังนั้น ประสิทธิผล จึงหมายถึง ระดับการบรรลุผลลัพธของนโยบายที่คาดหวังไวนั้นเอง ปุระชัย เปยมสมบูรณ (2529: 51) กลาววา ประสิทธิผล หมายถึง การเปรียบเทียบผลลัพธและผลกระทบของนโยบายกับเปาหมายที่กําหนดไว ซ่ึงสอดคลองกับทิพาวดี เมฆสวรรค (2539:

15) ที่ใหความหมายวา ประสิทธิผล หมายถึงการเปรียบเทียบระหวางวัตถุประสงคและผลลัพธของโครงการ สวน ธงชัย สันติวงษ (2541: 29) ใหความหมายของประสิทธิผลไววา หมายถึง ความสําเร็จในการบรรลุเปาหมายที่ตั้งไว และศุภชัย ยาวะประภาษ (2544: 80 – 81) ที่กลาววา ประสิทธิผล หมายถึง ความสามารถในการบรรลุวัตถุประสงคหรือเปาหมายของนโยบาย

ฉะนั้น การประเมินประสิทธิผลในโครงการนี้จึงหมายถึงวา ชุมชนสามารถจัดการขยะไดตามเปาหมายที่โครงการไดตั้งไวหรือไม และมีผลลัพธและผลกระทบอยางไร เมื่อเทียบกับนโยบายที่ตั้งไว

2.1.2 ดานผลกระทบ การวัดผลกระทบเปนการประเมินที่กวางกวาการวัดประสิทธิผลซ่ึงพิจารณาเพียงดานบวก

และใหสอดคลองกับเปาหมายที่กําหนดไว แตการประเมินผลกระทบจะทําการประเมินทั้งทางดานบวกและดานลบที่เกิดขึ้นซึ่งอาจจะคาดไวหรือไมไดคาดไวก็ได อาจกลาวไดวาการประเมินผลกระทบเปนสวนที่ยากที่สุดก็ได ในการประเมินผลกระทบตองพิจารณาผลกระทบที่เกิดขึ้นกับผูที่ไดรับมากกวาความชวยเหลือที่ไดรับ สําหรับคําถามที่มักจะถาม คือผลกระทบที่เกิดขึ้นไมวาจะเปนทางบวกหรือทางลบเกิดจากผลหรือกิจกรรมของความชวยเหลือ ซ่ึงอาจเปนผลกระทบทางดาน

Page 16: หน้าปก[1]library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19773.pdf · บทที่5 สรุปผลการศ ึกษาและข อเสนอแนะ 74 5.1 สรุปผลการศ

6

เศรษฐกิจ สังคม การเมือง เทคนิค และสิ่งแวดลอม ที่กระทบตอทองถ่ิน ภูมิภาคหรือระดับชาติ โดยตองพิจารณาผลกระทบที่เกิดกับบุคคลอื่นๆ มากกวาผูที่ไดรับความชวยเหลือและควรประเมินทั้งทางตรงและทางออม บางครั้งผลกระทบที่เกิดขึ้นเกิดจากหลายสวนประกอบกันซึ่งยากตอการประเมิน ผูประเมินอาจตองใชเทคนิคการสังเกตการณแบบมีสวนรวมมาประกอบการประเมิน สําหรับตัวอยางลักษณะคําถาม เชน ผลกระทบทางดานบวกและลบที่เกิดจากการใหความชวยเหลือมีอะไรบาง ผลกระทบทางดานบวกมีน้ําหนักมากกวาทางดานลบหรือไมอยางไร ผลกระทบที่เกิดขึ้นอาจจะมีความแตกตางตามระยะเวลาซึ่งควรกําหนดเปนผลกระทบระยะสั้นและผลกระทบระยะยาว ส่ิงที่ยาก คือเราจะทราบไดอยางไรวาเมื่อไหรผลกระทบจะเกิดขึ้น ตัวอยางเชน ผลกระทบของการเกษตรอาจเห็นได ภายใน 2 – 3 เดือน ในขณะที่ผลกระทบทางดานการศึกษาอาจใชเวลาเปนปจึงจะสามารถประเมินได สวนใหญการประเมินผลกระทบมักทํากอนความชวยเหลือจะเสร็จ ซ่ึงกรณีนี้จะยากที่จะคาดการณผลกระทบระยะยาว อยางไรก็ดี การประเมินผลกระทบเปนสิ่งที่จําเปนเพื่อชวยในการตัดสินใจในการใหความชวยเหลือตอไป

- การประเมินผลกระทบ

การประเมินผลกระทบ (Impact Assessment) เปนการคาดการณถึงผลกระทบจากนโยบาย แผน โครงการ หรือกิจกรรม ภายใตเงื่อนไขตางๆ เพื่อสนับสนุนการตัดสินใจของสาธารณะ ซ่ึงมีการประเมินผลกระทบในหลากหลายมิติ เชน ส่ิงแวดลอม สังคม สุขภาพ สิทธิมนุษยชน เปนตน

ผลกระทบ (Impact)

- การเปลี่ยนแปลงทางขนาดและทิศทางจากสภาพเดิม (เกษม, 2540)

- การเปลี่ยนแปลง (change) ของอะไรก็ได ทั้งที่สัมผัสไดและไมได - ขนาด ปริมาณที่สามารถวัดได - ทิศทาง ทางบวก (เพิ่มขึ้น ดีขึ้น มากขึ้น) ทางลบ (เลวลง ลดลง)

ผลกระทบดานบวก

- ขยะบนทางเทา ถนน และที่สาธารณะลดลง - มีปุยอินทรียและวัสดุปลูกเพิ่มขึ้น

- ลดการนําเขาพลังงานและจัดซื้อฟน

- ชุมชนมีรายไดเพิ่มขึ้น

- ประชาชนมีงานทําเกี่ยวเนื่องจากขยะมากขึ้น

Page 17: หน้าปก[1]library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19773.pdf · บทที่5 สรุปผลการศ ึกษาและข อเสนอแนะ 74 5.1 สรุปผลการศ

7

ผลกระทบดานลบ

- เสียคาใชจายในการนําเขาเครื่องจักรและอุปกรณสําหรับกําจัดขยะอินทรีย 2.1.3 ดานความสอดคลองกับความตองการ การวัดความสอดคลองกับความตองการ เปนการพิจารณาวาความชวยเหลือที่ใหเปนไป

ตามนโยบายของผูที่ตองการใหความชวยเหลือ ตามความตองการของผูไดรับความชวยเหลือ และตามลําดับความสําคัญ การเปลี่ยนแปลงของสังคมจะเปนตัวแปรที่สําคัญที่อาจทําใหความสอดคลองกับความตองการของผูรับเปล่ียนไป ตัวอยางเชน เมื่อเราสามารถจัดการกับโรคติดตอที่เกิดขึ้นไดแลว เมื่อนั้นโปรแกรมเพื่อปองกันโรคก็ไมมีความจําเปน อาจกลาวไดวาการประเมินความสอดคลองกับความตองการตองพิจารณาวา ความชวยเหลือที่ไดรับนั้นเปนประโยชนไหม ชวยในการตัดสินใจวาควรจะใหความชวยเหลือตอไปหรือไม และถาจําเปนตองไดรับความชวยเหลือตอทิศทางของความชวยเหลือควรเปนอยางไร วัตถุประสงคหรือเปาหมายที่กําหนดไวจะใชไดตอไปหรือไม และสามารถที่จะดําเนินกิจกรรมตามเปาหมายที่กําหนดไวตอไปไดหรือไม สําหรับลักษณะคําถามที่ใชในการประเมิน เชน เปาหมายที่กําหนดเปนไปตามความตองการและมีความสําคัญหรือไม ทิศทางการชวยเหลือจะตองเปลี่ยนไปหรือไม กิจกรรมการชวยเหลือควรดําเนินการตอไปหรือจําเปนตองหยุด

- การประเมินความสอดคลองกับความตองการ

เปนการประเมินวาโครงการการจัดการขยะมูลฝอยโดยชุมชน ตอบสนองความตองการหรือไม มีความเหมือนกับความตองการหรือไม เชน สามารถลดขยะไดอยางที่ตั้งใจไวหรือไม สามารถลดการนําเขาพลังงานเชื้อเพลิงไดอยางตั้งใจหรือไม

การวัดความสอดคลองกับความตองการเปนการพิจารณาวาความชวยเหลือที่ใหเปนไปตามนโยบายของผูที่ตองการใหความชวยเหลือ ตามความตองการของผูไดรับความชวยเหลือ และตามลําดับความสําคัญ การเปลี่ยนแปลงของสังคมจะเปนตัวแปรที่สําคัญที่อาจทําใหความสอดคลองกับความตองการของผูรับเปล่ียนไป ตัวอยางเชน เมื่อเราสามารถจัดการกับโรคติดตอที่เกิดขึ้นไดแลว เมื่อนั้นโปรแกรมเพื่อปองกันโรคก็ไมมีความจําเปน อาจกลาวไดวาการประเมินความสอดคลองกับความตองการตองพิจารณาวา ความชวยเหลือที่ไดรับนั้นเปนประโยชนไหม ชวยในการตัดสินใจวาควรจะใหความชวยเหลือตอไปหรือไม และถาจําเปนตองไดรับความชวยเหลือตอ ทิศทางของความชวยเหลือควรเปนอยางไร วัตถุประสงคหรือเปาหมายที่กําหนดไวจะใชไดตอไปไหมและสามารถที่จะดําเนินกิจกรรมตามเปาหมายที่กําหนดไวตอไปไดไหม สําหรับลักษณะคําถามที่ใชในการประเมิน เชน เปาหมายที่กําหนดเปนไปตามความตองการและมีความสําคัญไหม

Page 18: หน้าปก[1]library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19773.pdf · บทที่5 สรุปผลการศ ึกษาและข อเสนอแนะ 74 5.1 สรุปผลการศ

8

ทิศทางการชวยเหลือจะตองเปลี่ยนไปไหม กิจกรรมการชวยเหลือควรดําเนินการตอไปหรือจําเปนตองหยุด

2.1.4 ดานความยั่งยืน การวัดความยั่งยืนนั้นพิจารณาจากผลทางดานบวกที่ เกิดขึ้นและการที่ผูไดรับความ

ชวยเหลือจะสามารถดําเนินกิจกรรมตอไปได เมื่อการชวยเหลือไดส้ินสุดลง ดัชนีช้ีวัดทั้ง 4 ตัวขางตนจะประเมินจากความชวยเหลือที่ไดรับในขณะที่ความยั่งยืนจะพิจารณากระบวนการพัฒนาในอนาคตหรือการพึ่งตนเองในอนาคตนั่นเอง ซ่ึงขึ้นอยูกับทรัพยากรที่มี อาจกลาวไดวาการประเมินความยั่งยืนเปนการทดสอบในระดับสูงวาความชวยเหลือที่ใหประสบความสําเร็จหรือไม ปญหาที่เกิดขึ้นคือ กลุมเปาหมายที่ไดรับความชวยเหลือหรือผูรับผิดชอบในการใหความชวยเหลือจะมีวิธีที่จะจัดหาทรัพยากรเพื่อใหกิจกรรมดําเนินตอไปได การวัดความยั่งยืนไดรับความนิยมอยางมากในหลายๆ องคกรหรือหนวยงานเพื่อจะดูผลในระยะยาว สําหรับลักษณะของคําถามการประเมินความยั่งยืน เชน ผูไดรับความชวยเหลือสามารถที่จะดําเนินกิจกรรมนั้นๆ ตอไปดวยตนเองไดหรือไม อาจกลาวไดวาการวัดความยั่งยืนตองพิจารณาวาจะเกิดอะไรขึ้นเมื่อความชวยเหลือจบลง การประเมินความยั่งยืนจะทําไดยากเมื่อกิจกรรมความชวยเหลือยังดําเนินอยูหรือเพิ่งจะจบลง ซ่ึงถาเปนกรณีนั้นจําเปนตองอาศัยการคาดการณ ซ่ึงใชองคประกอบดานความรูของผูไดรับความชวยเหลือ ความสามารถ ทรัพยากรที่มี และขอจํากัดในการพิจารณา

- การประเมินความยั่งยืน

การประเมินความยั่งยืน เปนการประเมินวาโครงการสามารถดําเนินการตอไปไดหรือไม สามารถเจริญกาวหนา และดําเนินโครงการดวยตัวเองหรือไม การประเมินความยั่งยืนถือวาเปนขั้นตอนที่จําเปนมาก โดยเปนการคาดคะเนถึงอนาคตของโครงการ

การประเมินความยั่งยืนไดรับความนิยมมาก มีการใชในองคกร ทั้งองคกรเล็ก และองคกรใหญ และมีใชในหลายๆ โครงการ

การประเมินความยั่งยืนโครงการการจัดการขยะมูลฝอยโดยชุมชน คือ ดูวาชุมชนจะสามารถจัดการขยะไดเองหรือไมหลังการชวยเหลือระยะแรกสิ้นสุดลง สามารถมีรายไดจากการจัดการขยะและจากการใชขยะผลิตเชื้อเพลิงพลังงานไดตอไปหรือไม ชุมชนจะเปนอยางไรหลังจากส้ินสุดการชวยเหลือ ประชาชนในชุมชนจะมีจิตสํานึกในการจัดการขยะของชุมชนมากนอยเพียงใด

Page 19: หน้าปก[1]library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19773.pdf · บทที่5 สรุปผลการศ ึกษาและข อเสนอแนะ 74 5.1 สรุปผลการศ

9

2.2 แนวคิดการมีสวนรวมของประชาชน

2.2.1 ความเปนมา กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม (2554, หนา 6-10) กลาววา การมีสวนรวมของ

ประชาชนถือเปนหลักการสากลที่อารยประเทศใหความสําคัญและเปนประเด็นหลักที่สังคมไทย ใหความสนใจ เพื่อพัฒนาการเมืองเขาสูระบอบประชาธิปไตยแบบมีสวนรวมตามหลักการธรรมาภิบาล ที่ภาครัฐจะตองเปดโอกาสใหประชาชนและผูที่เกี่ยวของทุกภาคสวนในสังคมไดเขามามีสวนรวม ในการรวมรับรู รวมคิด รวมตัดสินใจ เพื่อสรางความโปรงใสและเพิ่มคุณภาพการตัดสินใจของภาครัฐใหดีขึ้น และเปนที่ยอมรับรวมกันของทุกฝาย

ในการบริหารจัดการโครงการดานสิ่งแวดลอมใหเกิดประสิทธิผลอยางยั่งยืนนั้น จําเปนตองมีสวนรวมจากประชาชนและทุกฝายที่เกี่ยวของตามหลักธรรมาภิบาล ซ่ึงเปนพื้นฐานที่จะชวยพัฒนาสังคมทั้งระบบใหมีคุณภาพและมีประสิทธิภาพโดยยึดถือหลัก 6 ประการ คือ

1.) หลักนิติธรรม หมายถึง การอํานวยใหเกิดขอตกลงที่ดีในสังคม

2.) หลักการมีสวนรวม หมายถึง การสรางกลไกที่ทําใหทุกคนมีสวนรวมในการกําหนดวิถีชีวิตของสังคม

3.) หลักความโปรงใส หมายถึง การสรางระบบบริหารจัดการที่เปดเผย

4.) หลักประสิทธิภาพ หรือความคุมคา หมายถึง การสนันสนุนการดําเนินการที่ดีกวาเดิม เร็วกวาเดิม ไดผลกวาเดิม

5.) หลักความรับผิดชอบ ตรวจสอบได หมายถึง การสรางกระบวนการบริหารจัดการที่ผูรวมงานภาคภูมิใจในเนื้องานและยินดีใหทุกคนไดรวมรับรู ความเปนไปในงาน ไมวางานนั้นจะประสบผลสําเร็จมากนอยเพียงใดก็ตาม และ

6.) หลักคุณธรรม หมายถึง ความมีคุณธรรมจริยธรรม

ทั้งนี้ การมีสวนรวมของประชาชนเปนสิ่งที่สําคัญที่สุด ถือเปนรากฐานของธรรมาภิบาลเลยทีเดียว โดยคําจํากัดความของคําวา “การมีสวนรวมของประชาชน” นี้ไดแก ความโปรงใสหรือการเขาถึงขอมูลขาวสาร การมีสวนรวมของประชาชน และความยุติธรรมซึ่งรวมถึงการเยียวยาความเสียหายที่เกิดขึ้น

นอกจากนี้การมีสวนรวมของประชาชนในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมนั้น ยังหมายถึง การที่ประชาชนในสังคมมีความรวมมือรวมใจกันพัฒนาความสามารถของตนในการควบคุม การใช การอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและรักษาสิ่งแวดลอมเพื่อประโยชนทั้งทางดานเศรษฐกิจและสังคมของชุมชน โดยมีสวนรวมตั้งแตการกําหนดประเด็นปญหา หาสาเหตุของปญหา รวมทั้งการดําเนินการแกไขปญหาสิ่งแวดลอมดวย

Page 20: หน้าปก[1]library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19773.pdf · บทที่5 สรุปผลการศ ึกษาและข อเสนอแนะ 74 5.1 สรุปผลการศ

10

2.2.2 หลักการสรางการมีสวนรวมของประชาชน กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม (2554, หนา 6-14) ไดใหความหมายวา หมายถึง การเปด

โอกาสใหประชาชนและผูที่เกี่ยวของทุกภาคสวนของสังคมไดเขามามีสวนรวมกับภาคราชการ ระดับของการสรางการมีสวนรวมของประชาชนมี 5 ระดับ ดังนี้ 1) การใหขอมูลขาวสาร ถือเปนการมีสวนรวมของประชาชนในระดับต่ําที่สุด แตเปนระดับที่

สําคัญที่สุด เพราะเปนกาวแรกของการที่ภาคราชการจะเปดโอกาสใหประชาชนเขาสูกระบวนการมีสวนรวมในเรื่องตางๆ วิธีการใหขอมูลสามารถใชชองทางตางๆ

2) การรับฟงความคิดเห็น เปนกระบวนการที่เปดใหประชาชนมีสวนรวมในการใหขอมูลขอเท็จจริงและความคิดเห็นเพื่อประกอบการตัดสินใจของหนวยงานภาครัฐดวยวิธีตางๆ

3) การเกี่ยวของ เปนการเปดโอกาสใหประชาชนมีสวนรวมในการปฏิบัติงาน หรือรวมเสนอแนะทางที่นําไปสูการตัดสินใจ เพื่อสรางความมั่นใจใหประชาชนวาขอมูลความคิดเห็นและความตองการของประชาชนจะถูกนําไปพิจารณาเปนทางเลือกในการบริหารงานของภาครัฐ

4) ความรวมมือ เปนการใหกลุมประชาชนผูแทนภาคสาธารณะมีสวนรวม โดยเปนหุนสวนกับภาครัฐในทุกขั้นตอนของการตัดสินใจ และมีการดําเนินกิจกรรมรวมกันอยางตอเนื่อง

5) การเสริมอํานาจแกประชาชน เปนขั้นที่ใหบทบาทประชาชนในระดับสูงที่สุด โดยใหประชาชนเปนผูตัดสินใจ 2.2.3 ผูท่ีมีสวนเกี่ยวของกับการมีสวนรวมของประชาชน

1) บุคคลากรองคกรปกครองสวนทองถ่ิน

ความรวมมือประสานงานระหวางองคกรปกครองสวนทองถ่ินและองคกรชุมชนอยางตอเนื่องเปนประจํา จะทําใหการดําเนินงานดานสิ่งแวดลอมเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ แตหากองคกรปกครองสวนทองถ่ินมีบุคลากรไมเพียงพอจะสงผลใหการปฏิบัติงานมีประสิทธิภาพนอยลง 2) ภาคธุรกิจเอกชนทอยูในเขตองคกรปกครองสวนทองถ่ิน

องคกรปกครองสวนทองถ่ินและชุมชนตางเล็งเห็นความสําคัญของความรวมมือในเรื่องการจัดการปญหาสิ่งแวดลอมตางๆ ของภาคธุรกิจและชุมชน ฉะนั้นเมื่อมีการมีการประชุมในชุมชนเกี่ยวกับสิ่งแวดลอม ควรเชิญผูแทนภาคธุรกิจเอกชนเขารวมประชุม เพื่อปรึกษาหารือรวมกัน

3) องคกรชุมชน

ในปจจุบันประชาชนไดมีการรวมตัวกันจัดตั้งองคกรชุมชนในหลายๆ รูปแบบ ดังนั้นการใหชุมชนเขามามีสวนรวมในการวางแผนสิ่งแวดลอมจึงเปนเรื่องที่สําคัญ และเพื่อใหการทํางาน

Page 21: หน้าปก[1]library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19773.pdf · บทที่5 สรุปผลการศ ึกษาและข อเสนอแนะ 74 5.1 สรุปผลการศ

11

เปนไปอยางมีประสิทธิภาพ ควรใหผูแทนองคกรชุมชนที่มีศักยภาพเขามารวมวางแผนและดําเนินการดานสิ่งแวดลอมกับบุคคลากรขององคกรปกครองสวนทองถ่ินตั้งแตตน 4) อาสาสมัครพิทักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมหมูบาน

อาสาสมัครพิทักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมหมูบาน ซ่ึงในปจจุบันมีบทบาทสําคัญในการสงเสริมจิตสํานึกและการมีสวนรวมของประชาชนในทองถ่ินอยูแลว เครือขาย ทสม. สามารถดําเนินการใหขอมูลเร่ืองปญหาสิ่งแวดลอมประชาสัมพันธโครงการดานสิ่งแวดลอมของรัฐ หรือองคกรปกครองสวนทองถ่ิน ตลอดจนการเปนตัวแทนผูนํา และเปนผูประสานงานระหวางประชาชน และทุกฝายที่เกี่ยวของ เพื่อสนับสนุนการมีสวนรวมของประชาชนในทองถ่ิน

5) องคกรพัฒนาเอกชน

องคกรพัฒนาเอกชนในทองถ่ินอีกหนวยหนึ่งที่ควรไดรับการคัดเลือกเพื่อเขามามีสวนรวมในการดําเนินงานดานสิ่งแวดลอม เพราะวาองคกรพัฒนาเอกชนมีความรูเกี่ยวกับปญหาทองถ่ินในหลายๆ ดานเปนอยางดี ซ่ึงจะเปนประโยชนตอการวางแผนดานสิ่งแวดลอม นอกจากนี้ในองคกรพัฒนาเอกชนแตละแหงยังมีบุคลากรที่มีความสนใจและเคยปฏิบัติงานในเรื่องการพัฒนา ปรับปรุงส่ิงแวดลอมมาแลว

6) หนวยงานเอกชนหรือสมาคม

นอกจากตัวแทนองคกรชุมชนและองคกรพัฒนาเอกชนที่ควรเขามามีสวนรวมในการวางแผนสิ่งแวดลอมแลว ควรคัดเลือกตัวแทนสมาคมและชมรมตางๆ ที่เปนกลุมสําคัญภายในทองถ่ินเขามามีสวนรวมดวยเชนกัน เชน ชมรม/สมาคม กลุม สถาบัน เปนตน

2.3 แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับขยะมูลฝอยชุมชน 2.3.1 สถานการณและสภาพปญหาขยะมูลฝอยในปจจุบัน

ในรอบ 10 ปที่ผานมามีปริมาณขยะเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องโดยเฉลี่ยเพิ่มขึ้นปละ 560 ตัน/วัน หรือเพิ่มขึ้นรอยละ 1.53 ในแตละป และในป 2551 มีปริมาณขยะทั่วประเทศประมาณวันละ 41,064 ตัน (กรมควบคุมมลพิษ, 2552ข: น. 18) ป 2552 มีปริมาณขยะทั่วประเทศประมาณวันละ 41,410 ตัน (กรมควบคุมมลพิษ, 2552ก) สถานการณดานปริมาณขยะมูลฝอยในป 2553 นี้ มีขยะที่รวบรวมไดทั่วประเทศวันละ 41,452 ตัน (กรมควบคุมมลพิษ, 2554ก) ซ่ึงมีปริมาณเพิ่มขึ้นเล็กนอยจากปที่ผานมา เมื่อเปรียบเทียบกับป 2538 – 2539 ตามตารางที่ 2.1 อยางไรก็ตามปริมาณขยะที่เกิดขึ้นไดรับการกําจัดอยางถูกตองตามหลักสุขาภิบาลเพียงรอยละ 38 หรือ 15,819 ตันตอวันทั่วประเทศ และในเขตองคการบริหารสวนตําบลสามารถกําจัดขยะมูลฝอยอยางถูกหลักสุขาภิบาลไดเพียง 1,410 ตันตอวัน คิดเปนรอยละ 9 ของปริมาณขยะมูลฝอยในเขตองคการบริหารสวนตําบล

Page 22: หน้าปก[1]library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19773.pdf · บทที่5 สรุปผลการศ ึกษาและข อเสนอแนะ 74 5.1 สรุปผลการศ

12

(กรมควบคุมมลพิษ, 2554ก) ทําใหเกิดการตกคางของขยะมูลฝอยตามสถานที่ตางๆ ซ่ึงขยะเหลานั้นจะถูกกองอยูบนพื้นโดยไมไดรับการจัดการอยางถูกตองตามหลักสุขาภิบาล (อรุณีย วงษศรีปาน, 2551)

2.3.2 ความหมายของขยะมูลฝอยชุมชน พระราชบัญญัติสาธารณสุข พ.ศ. 2535 ไดใหความหมายของคําวา ขยะมูลฝอยหมายถึง

เศษกระดาษ เศษผา เศษอาหาร เศษสินคา ถุงพลาสติก ภาชนะที่ใสอาหาร เถา มูลสัตวหรือซากสัตว รวมตลอดถึงสิ่งอื่นใดที่เก็บกวาดจากถนน ตลาด ที่เล้ียงสัตว หรือที่อ่ืน

สํานักงานคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ (2524, หนา 136 - 137) ไดใหความหมายของขยะมูลฝอย คือ บรรดาสิ่งตาง ๆ ซ่ึงในขณะนั้นคนไมตองการและทิ้งไป ทั้งนี้รวมถึงเศษผา เศษอาหาร มูลสัตว ซากสัตว เถา ฝุนละอองและเศษวัสดุ ส่ิงของที่เก็บกวาดจากเคหะสถาน อาคาร ถนน ตลาด ที่เล้ียงสัตว โรงงานอุตสาหกรรมและที่อ่ืน ๆ

2.3.3 ประเภทของขยะมูลฝอยชุมชน ขยะมูลฝอยสามารถจําแนกประเภทไดหลายรูปแบบ ไดแก 1) จําแนกตามลักษณะของสวนประกอบของขยะมูลฝอย ดังนี้

- กระดาษ ถุงกระดาษ กลอง ลัง เศษกระดาษจากสํานักงาน - - พลาสติก มีความทนทานตอการทําลายไดสูง วัสดุ หรือผลิตภัณฑที่ทําจาก พลาสติก

เชน ถุงภาชนะ ของเด็กเลน ของใช - แกว วัสดุหรือผลิตภัณฑที่ทําจากแกว เชน ขวด หลอดไฟ เศษกระจก ฯลฯ - เศษอาหาร ผัก ผลไม ซ่ึงเปนสารประกอบอินทรีย ยอยสลายไดงาย เปนสวนประกอบ

สําคัญที่ทําใหขยะเกิดกลิ่นเหม็น สงกลิ่นรบกวนหากไมมีการเก็บขนออกจากแหลงทิ้งทุกวัน

- ผาสิ่งทอตางๆ ที่ทํามาจากเสนใยธรรมชาติ และใยสังเคราะห เชน ผาไนลอน ขนสัตว ลินิน ฝาย

- ยางและหนัง เชน รองเทา กระเปา ลูกบอล

- ไม เศษเฟอรนิเจอร โตะ เกาอี้ ฯลฯ - หิน กระเบื้อง กระดูก และเปลือกหอย พวกนี้ไมเนาเปอย พบมากในแหลงกอสรางตึกที่ทุบ

ทิ้ง - โลหะตาง ๆ เชน กระปอง ลวด สายไฟ ตะปู - อ่ืนๆ ที่ไมอาจจัดกลุมได

Page 23: หน้าปก[1]library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19773.pdf · บทที่5 สรุปผลการศ ึกษาและข อเสนอแนะ 74 5.1 สรุปผลการศ

13

2) จําแนกตามตามแหลงที่มาของขยะ ดังนี้ - ขยะมูลฝอยจากถนน ( Street Refuse ) ไดแก เศษสิ่งของตาง ๆ ที่ปรากฏและกวาดจาก

ถนน ตรอก ซอย เชน เศษกระดาษ ผง ฝุน ใบไม พลาสติก อิฐ หิน ทราย กรวด - ขยะมูลฝอยที่เกิดจากสิ่งที่เหลือจากการเผาไหมที่เรียกวา ขี้เถา ( Ashes ) เชน เถาที่เกิดจาก

เตาไฟ, การเผาถาน ฯลฯ - ขยะมูลฝอยจากการกอสราง ( Construction Refuse ) ไดแก เศษวัสดุกอสราง เชน เศษ

ไม เศษกระเบื้อง เศษปูน อิฐหัก ฯลฯ - ขยะมูลฝอยจากการรื้อถอนสิ่งกอสราง ( Demolition Refuse ) ไดแก เศษสิ่งที่ไมตองการ

ที่เกิดจากการรื้อถอนอาคาร บานเรือนเกา ฯลฯ - ซากสัตว ( Dead Animal ) จากสัตวตาย เนาเปอย เหม็น - ซากยานพาหนะ ( Abandoned Vehicles ) ทุกชนิดที่หมดสภาพ ใชงานไมได รวมทั้ง

ช้ินสวนประกอบ เชน แบตเตอรี่ ยาง ฯลฯ - ขยะมูลฝอยจากโรงงานอุตสาหกรรม ( Industrial Refuse ) ไดแก เศษวัตถุที่เกิดจากการ

ผลิต หรือขั้นตอนการผลิต - ขยะมูลฝอยประเภททําลายยาก ( Hazardous Refuse ) ไดแก ขยะมูลฝอยที่ตองการใช

กรรมวิธีทําลายเปนพิเศษ เชน พลาสติก ฟลมถายรูป - ขยะสด ( Garbage )

- ขยะแหง ( Rubbish )

- ขยะพิเศษ ( Special Wastes )

- ของใชชํารุด ( Bulgy Wastes )

- ขยะจากการกสิกรรม ( Agricultural Wastes )

- กากตะกอนของน้ําโสโครก ( Sewage treatment residues )

สําหรับการศึกษาครั้งนี้ คณะผูศึกษาไดจําแนกประเภทของขยะมูลฝอยออกเปน 3 ประเภทใหญๆ ตามที่กําหนดไวโดยสํานักรักษาความสะอาดของกรุงเทพมหานคร ดังนี้

(1) ขยะมูลฝอยเปยก ไดแก พวกเศษอาหาร เศษพืชผัก เปลือกผลไม อินทรียวัตถุ ที่สามารถยอยสลายเนาเปอยงายมีความชื้นสูง

(2) ขยะมูลฝอยแหง ไดแก พวกเศษกระดาษ เศษหญา แกว โลหะ ไม ยาง พลาสติกฯลฯ

ขยะมูลฝอยชนิดนี้จะมีทั้งที่เผาไหมไมได ขยะแหงเปนมูลฝอยที่สามารถเลือกวัสดุที่ยังมีประโยชนกลับมาใชไดอีก โดยทําการคัดแยกมูลฝอยกอนนําทิ้ง ซ่ึงจะชวยใหสามารถลดปริมาณมูลฝอยที่จะตองนําไปทําลายลงได และถานําสวนที่ใชประโยชนไดนี้ไปขายก็จะทําใหมีรายไดกลับมา

Page 24: หน้าปก[1]library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19773.pdf · บทที่5 สรุปผลการศ ึกษาและข อเสนอแนะ 74 5.1 สรุปผลการศ

14

(3) ขยะมูลฝอยอันตราย ไดแก ของเสียที่เปนพิษมีฤทธิ์กัดกรอนและระเบิดไดงายตองใหกรรมวิธีในการทําลายเปนพิเศษ เนื่องจาก เปนวัสดุที่เปนอันตราย เชน สารฆาแมลง ถานไฟฉาย

แบตเตอรี่รถยนต หลอดไฟหลอดฟลูออเรสเซนต สเปรยฉีดผมฯลฯ 2.3.4 ขั้นตอนการกําจัดขยะมูลฝอยชุมชน การที่ประชาชนทิ้งขยะมูลฝอยทุกอยางรวมอยูในถังขยะเดียวกัน และทางกรุงเทพมหานคร

นําไปกําจัดโดยการทําปุยหมักนั้น ขั้นตอนแรกจําตองแยกมูลฝอยประเภทอื่น ๆ ไดแก กระดาษ พลาสติก หนัง ยาง ผัก โลหะตาง ๆ อิฐ หิน กรวด ทราย หรือเซรามิค เปนตน ออกจากประเภทสารอินทรียกอนโดยใชเครื่องจักรตาง ๆ ไดแก

- เครื่องบดมูลฝอยใหเปนชิ้นเล็กๆ

- เครื่องแยกโลหะโดยใชแมเหล็กแยกเหล็ก

- เครื่องคัดแยกมูลฝอยชนิดหยาบแยกกระดาษ พลาสติก หนัง ยาง และผัก

- เครื่องคัดแยกมูลฝอยน้ําหนักมากโดยแยกพวกแกว หิน ดิน ทราย มูลฝอยประเภทกระดาษ พลาสติกและโลหะ เชน เหล็ก อลูมิเนียม ทองแดง สามารถนําไปจําหนายเพื่อหมุนเวียนกลับมาใชใหมได การลดปริมาณขยะมูลฝอยดวยการแยกขยะมูลฝอย

กรมควบคุมมลพิษ (2553, หนา 84) ไดมีการรณรงคเพื่อประชาสัมพันธใหลดปริมาณ

ดวยการแยกขยะมูลฝอยมีมากมายหลายวิธี โดยอาจใชส่ือประชาสัมพันธชนิดตางๆ เชน วิทย ุ

โทรทัศน วีดีโอเทป แผนพับ โปสเตอร สติ๊กเกอร หนังสือเสริมสรางความรูดานสิ่งแวดลอม ปายประชาสัมพันธแบบตางๆ การสัมมนา การอภิปราย การจัดนิทรรศการ หรือการสอดแทรกในรายการบันเทิงตางๆ ฝายรณรงคของกรุงเทพมหานครตองทําใหประชาชนเขาใจไดชัดเจน โดยการจัดรถเก็บขยะมูลฝอยแยกใหประชาชนเห็นกันชัดๆ เลยวา คือ รถเก็บขยะเปยก หรือรถเก็บขยะแหง โดยไดจัดรถเก็บขยะดังนี้ คือ

1. จัดรถเก็บขยะเปยกทุกวันหรืออยางนอยวันเวนวัน โดยที่ขางรถเขียนปายใหเห็นชัดๆ วารถเก็บขยะเปยก

2. จัดรถเก็บขยะแหงทุก 5 วัน โดยที่ขางรถเขียนไวใหเห็นชัด ๆ วารถเก็บขยะแหงโดยสรุป ปญหาการลดปริมาณขยะมูลฝอยโดยการแยกกอนนําไปทิ้งโดยเริ่มที่บาน โดยแยกออกเปนขยะเปยก ขยะแหง และขยะอันตราย ไดใหคําอธิบายไวดังนี ้- ขยะแหง หรือขยะรีไซเคิล (ขยะไมเนาเสีย) ใสถังสีเหลือง ไดแก ถุงพลาสติก กลอง โฟม

พลาสติก กระดาษ แกว โลหะ ผา หนัง ยาง ฯลฯ

Page 25: หน้าปก[1]library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19773.pdf · บทที่5 สรุปผลการศ ึกษาและข อเสนอแนะ 74 5.1 สรุปผลการศ

15

- ขยะเปยก หรือขยะเศษอาหาร (ขยะเนาเสียได) ใสถังสีเขียว ไดแก เศษ อาหาร พืชผัก ผลไม ฯลฯ

- ขยะอันตรายจากบานเรือน ใสถังสีเทา ไดแก ถานไฟฉาย แบตเตอรี่แหง ยาเสื่อมสภาพ กระปองสเปรย ภาชนะน้ํายาทําความสะอาด ภาชนะบรรจุยาฆาแมลง หลอดไฟฟลูออเรสเซนต หลอดไฟฟาชนิดตางๆ ฯลฯ

ประชาชนมักมองวา เมื่อแยกขยะมูลฝอยแลว ทางกรุงเทพมหานครมักจะมาเปนรวบรวม หากประชาชนยอมเสียสละเวลาเพียง เล็กนอย ในการแยกขยะมูลฝอยยอมจะชวยใหกรุงเทพมหานครลดงบประมาณ ถือวาเปนการชวยชาติประหยัดงบประมาณในการทําลายขยะมูลฝอยทําใหปริมาณขยะมูลฝอยลดนอยลงในการเก็บขยะมูลฝอยจากอาคารบานเรือน ที่อยูอาศัย งานรักษาความสะอาด

2.4 แนวคิดการจัดการขยะมูลฝอยโดยชุมชน (Community Based Solid Waste Management: CBM)

หลักการและแนวคิดเกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอยโดยชุมชน ไดถูกนํามาทดลองใชคร้ังแรกในป 2540 โดยกรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอมรวมกับสํานักงานความรวมมือทางวิชาการประเทศเยอรมัน หรือ GTZ (German Technical Cooperation) ซ่ึงกวาจะเปนหลักการและกระบวนการที่ไดรับการเผยแพร ผานการลองผิดลองถูกมานานเกือบ 10 ป โดยกรมสงเสริมไดนําแนวคิดและหลักการดําเนินงาน CBM เผยแพรแกองคกรปกครองสวนทองถ่ิน ทั่วประเทศ ตั้งแตป 2549 เปนตนมา (สํานักสิ่งแวดลอมภาคที่ 1, 2550) ซ่ึงหลักการดําเนินงานของ CBM เปนหลักการในการแกปญหาขยะอยางยั่งยืน มีการดําเนินการอยางเปนขั้นตอน โดยเริ่มจากการสรางความเขาใจ สรางความรวมมือจากประชาชนจากสวนนอยแลวคอยๆ ขยายออกไป มีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกัน มีการดําเนินกิจกรรมเพื่อการจัดการขยะมูลฝอยอยางตอเนื่อง สรางความคุนเคยในการแยกวัสดุเหลือใชใหกับประชาชนในชุมชนจนกลายเปนความเคยชิน พรอมกับการปรับปรุงรูปแบบการดําเนินกิจกรรมตามความเหมาะสมกับสภาพชุมชนและความตองการของแตละชุมชน

หากคนในชุมชนมีการพูดคุยกันและไดรับการสื่อสารจากหนวยงานที่เกี่ยวของถึงวธีิการนาํขยะไปใชประโยชน และทุกคนรวมมือรวมแรงใจกัน คือ แยกขยะไปใชประโยชน ลดปริมาณขยะชุมชน ปญหาทัศนะอุจาด กล่ิน และแหลงสะสมโรคลดลง และปรับปรุงสภาพแวดลอมในชุมชนใหสะอาด สวยงาม จะทําใหชุมชนนั้นนาอยูอยางยั่งยืนและเปนแนวทางที่นํามาใชเพื่อการแกไขปญหาอยางยั่งยืน

Page 26: หน้าปก[1]library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19773.pdf · บทที่5 สรุปผลการศ ึกษาและข อเสนอแนะ 74 5.1 สรุปผลการศ

16

กองนโยบายและแผนงานสํานักสิ่งแวดลอม กรุงเทพมหานคร (2550: 4-7) กลาววา การจัดการขยะมูลฝอยโดยชุมชน (Community Based Solid Waste Management: CBM)

นับเปนเครื่องมือสําคัญที่จะสามารถสนองตอบแนวคิดชุมชนนาอยูได เพราะใชแนวทางการจัดการขยะโดยเนนการมีสวนรวมจากคนสวนใหญในชุมชน ทําใหชุมชนมีสภาพแวดลอมที่ดี รายไดเพิ่มขึ้น รายจายลดลง สุขภาพอนามัยดี ประชาชนในชุมชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี การรวมคิดและจัดการขยะรวมกันอยางตอเนื่อง สงผลตอความเขมแข็งของชุมชน ทําใหสามารถใชพลังของชุมชนในการจัดการกับปญหาตางๆ ที่เกิดขึ้นในชุมชนไดอยางงายดาย ทําใหชุมชนเปนชุมชนสะอาด เปนชุมชนไรขยะ มีความสวยงาม ปลอดภัย และเปนชุมชนที่นาอยูอยางยั่งยืนได และเมื่อชุมชนหลายชุมชนนาอยูจะสงผลใหเมืองนาอยูดวย

หลักการและขั้นตอนการจัดการขยะมูลฝอยและจัดการสภาพแวดลอมในชุมชน โดยความรวมมือของชาวชุมชนเพื่อชาวชุมชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น โดยปรับรูปแบบขั้นตอนการดําเนินการเหลือ 5 ขั้นตอน ดวยกัน (ภาพที่ 2-1) คือ

Page 27: หน้าปก[1]library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19773.pdf · บทที่5 สรุปผลการศ ึกษาและข อเสนอแนะ 74 5.1 สรุปผลการศ

17

ภาพที่ 2-1 กระบวนการจัดการมูลฝอยและจัดการสิ่งแวดลอมชุมชน

(ท่ีมา: กองนโยบายและแผนสํานักสิ่งแวดลอม กรุงเทพมหานคร, 2553)

การจัดการขยะมูลฝอยโดยชุมชน (Community Based Solid Waste Management:

CBM) มีขั้นตอนสําคัญของการจัดการขยะมูลฝอยโดยชุมชนเปน 2 สวน 5 ขั้นตอน ประกอบดวย

สวนที่ 1 เปนการคัดแยกมูลฝอยกลับไปใชประโยชนในชุมชน เพื่อลดปริมาณขยะของชุมชน ประกอบดวย 2 ขั้นตอน

1) คัดแยกวัสดุรีไซเคิล โดยคัดแยกวัสดุรีไซเคิลทั้งแกว กระดาษ โลหะ พลาสติกและอื่นๆ ใสกลองกระดาษหรือถุงไวขาย โดยนัดรานเขามารับซื้อในพื้นที่เปนรูปแบบตลาดนัดรีไซเคิล หรือประชาชนจะรวมกลุมกันลงหุนเปนธนาคารรีไซเคิลและรับซื้อวัสดุรีไซเคิลจากประชาชนในชุมชน ธนาคารจะมีสวนตางใชเปนสวัสดิการชุมชนและพัฒนาชุมชน

Page 28: หน้าปก[1]library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19773.pdf · บทที่5 สรุปผลการศ ึกษาและข อเสนอแนะ 74 5.1 สรุปผลการศ

18

2) คัดแยกขยะอินทรียทําปุยหมัก ทําอาหารสัตว แนะนําการนําขยะอินทรียกลับมาใชประโยชนโดยนําไปหมักทําปุยน้ําชีวภาพ การหมักปุยใบไมแหงกับเศษอาหาร การหมักปุยทาคาคูระและการนําเศษอาหารไปทําอาหารสัตว เชน ปลา สุกร โค เปด ไก เปนตน สวนที่ 2 การจัดการถังขยะเพื่อปรับปรุงสภาพแวดลอมในชุมชนใหสะอาด ปลอดถังขยะ ลดปญหาการรื้อคนขยะมูลฝอย ลดปญหาน้ําชะขยะสงกลิ่นรบกวน และลดแหลงอาหารของเชื้อโรคและพาหะนําโรค ทําใหถนนปลอดถังขยะ และสามารถลดความถี่ในการจัดเก็บมูลฝอยได ประกอบดวย

3) การจัดการถังขยะในบานตนเอง โดยแนะนําใหประชาชนแยกถังรองรับมูลฝอยในบานเปน 2 ถัง ประกอบดวย 1) ถังรองรับขยะเศษอาหาร นําไปหมักปุย หรืออาหารสัตว 2) ถังขยะทั่วไปประกอบดวย ถุงเปอนแกง ซองขนม กระดาษทิชชู หนังและยาง หินและเซรามิก สงใหเขตนําไปกําจัด สวนรีไซเคิลใสกลองหรือถุงนําไปขายใหรานรับซื้อวัสดุรีไซเคิล และขยะอันตรายแยกไวอีกถุงหนึ่ง สงใหเขตกรุงเทพมหานครนําไปกําจัด

4) ถนนปลอดถังขยะ ชาวบานสวนใหญมีถังขยะในบานแลว จึงขอมติจากประชาชนใหเก็บถังริมถนนออก แลวสงเสริมใหปรับปรุงภูมิทัศนดวยตนไมดอกไมประดับ พืชสมุนไพรและใชปุยที่ไดจากการหมักเศษอาหารเปนปุยบํารุงดิน ไมตองซื้อปุยวิทยาศาสตร หมักสารสะเดาไลแมลง โดยสํานักงานเขตจัดรถเขาเก็บตามเวลานัดหมายเก็บขยะแตละประเภทอยางเครงครัด เพราะประชาชนจะนําถังขยะมาตั้งรอไวที่หนาบานในวัน เวลาที่นัดหมาย และเก็บเขาบาน เมื่อสํานักงานเขตเก็บขยะไปแลว

5) การลดความถี่ในการเขาจัดเก็บมูลฝอย ภายใตความเห็นชอบจากประชาชน ทั้งนี้ประชาชนในชุมชนสวนใหญตองมีการคัดแยกขยะไปขายและหมักทําปุย เพราะเมื่อแยกขยะเศษอาหารออกจากถังขยะทั่วไปที่จะทิ้งใหกรุงเทพมหานคร เก็บขนมูลฝอยแลว จะไมมีกล่ินเหม็นรบกวนและเต็มถังชา จึงสามารถลดความถี่ในการเขาจัดเก็บมูลฝอยได

2.4.1 หลักการจัดการขยะมูลฝอยชุมชน

การผลิตขยะมูลฝอยของชุมชน จะมีลักษณะของขยะมูลฝอยมากมายหลากหลายปะปนกันตามพฤติกรรมการบริโภค กิจกรรมที่เกิดขึ้นในแตละวัน การจัดการขยะมูลฝอยของประชาชน ดังนั้น ขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นจะมีทั้ง เศษอาหาร ถุงพลาสติกใสเศษอาหาร กลองโฟม ใบไม กิ่งไม เศษผา กระดาษพลาสติก โลหะ เศษวัสดุกอสราง หลอดไฟ แบตเตอรี่ อ่ืน ๆ ซ่ึงอาจปะปนกันในถังขยะ ถุงบรรจุขยะ หรือบางแหงอาจมีการจัดการโดยมีการคัดแยกขยะมูลฝอย ซ่ึงจะประสบ

Page 29: หน้าปก[1]library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19773.pdf · บทที่5 สรุปผลการศ ึกษาและข อเสนอแนะ 74 5.1 สรุปผลการศ

19

ความสําเร็จไดตองมีวัตถุประสงคที่ชัดเจน มีกิจกรรม วัสดุอุปกรณสนับสนุนการคัดแยก มีความตอเนื่อง สอดคลองกับวิถีชีวิตของประชาชน หรือ สถานที่นั้น ๆ

การจัดการขยะมูลฝอย เกี่ยวของกับการเกิด การสะสม การขนสง การเก็บขน การขนถาย การดําเนินการและการกําจัดขยะมูลฝอย ประสิทธิภาพในการจัดการขยะมูลฝอยในแตละชุมชน ขึ้นอยูกับการดําเนินงานในการจัดเก็บ การรวบรวม การขนสง และวิธีการกําจัดขยะมูลฝอยที่ใชในชุมชนนั้น ๆ การรูจักชนิดของขยะมูลฝอย จะเปนสิ่งจําเปนพื้นฐานในกิจกรรมตาง ๆ ที่จะมีประโยชนตอการจัดการขยะมูลฝอย

ปญหาการจัดการขยะมูลฝอย หลายหนวยงานกําลังประสบความยุงยากในการจัดการ ทั้งการปฏิบัติและการกําหนดนโยบาย บางพื้นที่ประชาชน ชุมชนจํานวนมาก ไดรับความเดือดรอนจากผลกระทบที่เกิดขึ้นจากขยะมูลฝอย หรือการชุมนุมของกลุมคนที่ไดรับความเดือดรอน ทั้งนี้เพราะการจัดการปญหาขยะมูลฝอยจะตองกระทําอยางเปนระบบ ทั้งจากแหลงผลิต การรวบรวม จัดเก็บ และการกําจัด และตองเชื่อมโยงทุกสวนรวมถึงความรวมมือกับชุมชนพื้นที่ที่อยูใกลเคียงกัน เพราะขยะมูลฝอยเกิดขึ้นไดจากกิจกรรมในชีวิตประจําวันของคนเรา และการจัดการขยะมูลฝอยที่มีประสิทธิภาพก็ขึ้นกับคนเราเชนกัน การกําจัดขยะมูลฝอยที่ มีประสิทธิภาพประกอบดวย ระบบการบริหารที่ดี มีเทคโนโลยีที่เหมาะสมและอยูบนพื้นฐานของการมีสวนรวมของประชาชน

การวางแผนจัดการขยะมูลฝอยชุมชน จึงมีความสําคัญและจําเปนอยางยิ่ง เพราะทําใหประหยัดคาใชจาย และเปนขอมูลพื้นฐานสําหรับการตัดสินใจของกลุมผูบริหารขององคกรปกครองสวนทองถ่ินไดตลอดจนเปนเครื่องมือที่จะสื่อตอประชาชน ชุมชนใหเกิดการตัดสินใจ มีสวนรวมในการจัดการขยะมูลฝอยใหสอดคลองเหมาะสมกับบริบทของพื้นที

2.4.2 หลักการจัดการขยะทั่วไป

การจัดการขยะทั่วไปในชุมชน จะประสบความสําเร็จตองเกิดความรวมมือจากทุกหนวยที่อยูในสังคม ชุมชนนั้น ๆ เร่ิมจาก ประชาชน ครัวเรือน บานพักอาศัย สถานประกอบการ หนวยงานราชการ วัด ศาสนสถาน พื้นที่การเกษตร ตลาดสด อ่ืน ๆ เปนตน เนื่องจากหนวยเหลานี้มีประชาชนอยูและมีกิจกรรมที่สามารถผลิตขยะมูลฝอย และยังตองทําหนาที่เก็บ รวบรวม คัดแยก ขนสง จัดการและกําจัดขยะมูลฝอยชุมชน ดังนี้ 2.4.2.1 การลดอัตราการเกิดขยะ คัดแยกขยะ ณ แหลงกําเนิด (Waste Reduction and Separation) 1) การลดปริมาณการเกิดขยะ ณ แหลงกําเนิดตาง ๆ นับเปนวิธีการที่ดีที่สุดของการจัดการ เพราะเมื่อมีขยะนอยลงก็จะชวยใหภาระในการเก็บรวบรวม การขนสง รวมทั้งการนําไปกําจัด

Page 30: หน้าปก[1]library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19773.pdf · บทที่5 สรุปผลการศ ึกษาและข อเสนอแนะ 74 5.1 สรุปผลการศ

20

ทําลายลดลงตามไปดวย ซ่ึงกรมควบคุมมลพิษไดสรุปแนวทางในการลดปริมาณขยะ ไว 3 แนวทางดังตอไปนี้ (2) การลดปริมาณขยะที่แหลงกําเนิด (Reduce) เพื่อใหคงเหลือขยะที่นอยที่สุด ดวยการใชผลิตภัณฑที่เหลือเปนขยะนอย ทําไดโดย ใชสินคาชนิดเติม เชน ผงซักฟอก น้ํายาลางจาน น้ํายาทําความสะอาด และถานไฟฉายชนิดชารจใหม เลือกใชสินคาที่มีคุณภาพ มีหอบรรจุภัณฑนอย อายุการใชงานยาวนานและตัวสินคาไมเปนพิษ การใชภาชนะแทนบรรจุภัณฑ เชน ปนโต จานและกลองใสอาหารแทนการใชถุงพลาสติก ลดการใชวัสดุยอยสลายยาก เชน โฟมบรรจุอาหาร และถุงพลาสติก รวมถึงลดการใชสินคาฟุมเฟอย เชน การใชผาเช็ดหนาแทนการใชกระดาษทิชชู

(3) การใชซํ้า (Reuse) การนําสินคา ผลิตภัณฑ ที่มีการใชงานแลว หรือขยะ กลับไปใชซํ้าอีก โดยไมตองผานกระบวนการแปรรูปหรือเปลี่ยนแปลงใดๆ เชน เลือกซื้อผลิตภัณฑที่มีการออกแบบมาใหใชไดมากกวาหนึ่งครั้ง เชน แบตเตอรี่ชนิดเติมประจุไฟฟาใหมได การใชกระดาษที่ใชเพียงหนาเดียว กลับมาใชอีกหนาที่เหลือ การนําบรรจุภัณฑมาใชซํ้า เชน การนํากลอง ถุง มาใชประโยชนใสของซ้ําอีก การนําขวดแกวมาทําเปนแจกันดอกไม และการซอมแซมเพื่อใชใหม (Repair) ซอมแซมเครื่องใชและอุปกรณตางๆใหสามารถใชงานไดตอไปอีก หรือบํารุงรักษาใหมีอายุการใชงานนานขึ้น

(4) การแปรรูปนํากลับมาใชใหม (Recycle) มูลฝอยหลายประเภทสามารถเขากระบวนการเพื่อแปรรูปเปนสินคาใหมได เชน กระดาษ พลาสติก โลหะ แกว เปนตน ควรมีการรณรงคใหประชานคัดแยกขยะกอนนํามาทิ้ง ทั้งนี้การจัดเก็บขยะมูลฝอยจากแหลงกําเนิดตองมีการแยกจัดเก็บดวย การแปรรูปเพื่อนํากลับมาใชใหมนี้ ทําใหเกิดการใชทรัพยากรอยางมีคุณคาอีกดวย การลดปริมาณขยะมูลฝอยจากครัวเรือน สามารถดําเนินการไดในรูปแบบของการสงเสริมใหครัวเรือนจัดทํากลองคอนกรีต (ครัวเรือนที่มีพื้นที่วางเพียงพอ) หรืออาจใชเปนถังหมักขยะมูลฝอย ขนาดบรรจุ 20 ลิตรแทนก็ได โดยใหนํามูลฝอยอินทรีย ประเภทเศษผัก ผลไม เศษอาหารมาหมักรวมกันในภาชนะนี้ เพื่อใหเกิดการยอยสลายเปนปุยหมัก องคกรปกครองสวนทองถ่ินอาจสงเสริมและสนับสนุนโดยการแจกสารเรงการยอยสลาย (EM) เพื่อใหเกิดแรงจูงใจแกครัวเรือนที่เขารวมโครงการ สําหรับขยะมูลฝอยที่หมักแลวก็จะเปนปุยสําหรับการบํารุงตนไม องคกรปกครองสวนทองถ่ินอาจมารับซื้อเพื่อจําหนายตอไปก็ได แนวคิดนี้หากไดดําเนินการอยางจริงจังและมีผูรับผิดชอบโดยตรงแลว จะชวยใหครัวเรือนเห็นความสําคัญของการลดปริมาณขยะมูลฝอย และยังชวยเพิ่มมูลคาทางเศรษฐกิจอีกประการหนึ่งดวย การคัดแยก เปนขั้นตอนการดําเนินงานภายหลังจากที่มีขยะมูลฝอยเกิดขึ้นแลว เปนขั้นตอนเร่ิมตนที่มีความสําคัญตอกระบวนการจัดการขยะ เนื่องจากเปนการชวยลดปริมาณขยะมูลฝอยที่

Page 31: หน้าปก[1]library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19773.pdf · บทที่5 สรุปผลการศ ึกษาและข อเสนอแนะ 74 5.1 สรุปผลการศ

21

จะตอง เก็บรวบรวม ขนสง และนําไปกําจัดขั้นสุดทายยังสถานที่ฝงกลบขยะใหเหลือนอยลง การคัดแยกสามารถดําเนินการได ณ จุดที่มีขยะเกิดขึ้นในแหลงตางๆ เชน ขยะจําพวกเศษอาหาร เศษหญา เศษใบไม แกว กระดาษ โลหะ และพลาสติก ฯลฯ ที่เกิดขึ้นภายในบานเรือน อาคารสํานักงาน สถาบันการศึกษา โรงแรม อาคารพาณิชย ตลาดสด หางสรรพสินคา และสถานที่อ่ืนๆ สําหรับภาชนะที่จะรองรับขยะที่จะทําการคัดแยกนั้น เปนหนาที่ความรับผิดชอบของเจาของอาคารสถานที่ทั้งหลาย ที่จะตองจัดหามาวางไวตามจุดที่เหมาะสม สวนในบริเวณพื้นที่สาธารณะทั่วไป ก็เปนหนาที่ของหนวยงานรับผิดชอบ คือ องคกรปกครองสวนทองถ่ินที่จะตองจัดเตรียม พรอมทั้งหามาตรการตางๆ เพื่อสงเสริมและสนับสนุนใหการคัดแยกขยะภายในชุมชนเกิดเปนรูปธรรม โดยทั่วไปภาชนะที่รองรับขยะออกเปน 4 ประเภท เพื่อใหสามารถรองรับขยะไดครบทุกชนิดดังนี้ คือ

(1) ถังสีเขียว ใชสําหรับรองรับขยะที่ยอยสลายได (อินทรียวัตถุ) หรือขยะที่เนาเสียงาย ซ่ึงไดแก เศษอาหาร เศษพืชผัก เปลือกผลไม และใบไม เปนตน ขยะพวกนี้สามารถนําไปหมักทําปุยได

(2) ถังสีเหลือง ใชสําหรับรองรับขยะที่นํากลับมาใชใหมไดหรือขยะรีไซเคิล อันไดแก แกว กระดาษ โลหะ อะลูมิเนียม พลาสติก เปนตน

(3) ถังสีเทาฝาสีสม ใชสําหรับรองรับขยะอันตรายหรือขยะที่เปนพิษตอส่ิงมีชีวิตและส่ิงแวดลอม เชน หลอดฟลูออเรสเซนต ถานไฟฉาย กระปองสีสเปรย กระปองยาฆาแมลง เปนตน ขยะเหลานี้จําเปนตองคัดแยกไวตางหากเพื่อนําไปกําจัดตามวิธีการที่เหมาะสมตอไป

(4) ถังสีฟา ใชสําหรับรองรับขยะทั่วไปที่ยอยสลายยากแตไมเปนพิษและไมสามารถนําไปรีไซเคิลไดหรือไมคุมคาตอการนําไปรีไซเคิล เชน ถุงพลาสติกเปอนอาหาร โฟม ซองบะหมี่สําเร็จรูป เปนตน

ภาพที่ 2-2 ภาชนะที่รองรับขยะ 4 ประเภท

(ท่ีมา: กรมควบคุมมลพิษ, 2555)

2.4.2.2 การพักขยะเพื่อรอการเก็บรวบรวม หมายถึง การเก็บขนขยะมูลฝอยที่ถูกทิ้งไวในภาชนะรองรับ ซ่ึงวางไวตามสถานที่ตางๆ เพื่อนํามารวบรวมไวในถังขยะ หรือจุดพักขยะ ทั้งนี้จะตองมีความเหมาะสมที่จะพักมูลฝอยโดยไมเกิดเหตุรําคาญ รบกวนประชาชนที่อาศัยใน

Page 32: หน้าปก[1]library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19773.pdf · บทที่5 สรุปผลการศ ึกษาและข อเสนอแนะ 74 5.1 สรุปผลการศ

22

พื้นที่ใกลเคียง ไมเปนแหลงอาศัยของสัตวพาหะนําโรคตางๆ เพื่อรอทําการขนถายใสรถเก็บขยะเพื่อสงไปกําจัด หรือแปรรูปตอไป สําหรับที่พักมูลฝอยรวมของอาคารจะตองทําตาบรูปแบบของกฎกระทรวงฉบับที่ 33 (พ.ศ.2535) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 ในหมวดที่ 5 วาดวยเรื่องระบบกําจัดขยะมูลฝอยซ่ึงกลาวถึงจุดพักขยะในอาคาร (ธเรศ ศรีสถิตย, 2553)

2.5 กฎหมายที่เกี่ยวของ ในสวนนี้จะนําเสนอกฎหมายและระเบียบบังคับที่เกี่ยวของกับการจัดการขยะและการจัดการสิ่งแวดลอมที่เกี่ยวของกับความสะอาดของบานเมืองไดดังตอไปนี ้

2.5.1 พระราชบัญญัติรักษาความสะอาดและความเปนระเบียบเรียบรอยของบานเมือง พ.ศ. 2535

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกลา ฯ ใหประกาศวา โดยที่เปนการสมควรปรับปรุงกฎหมาย วาดวยการรักษาความสะอาดและความเปนระเบียบเรียบรอยของบานเมือง จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ ใหตราพระราชบัญญัติขึ้นไวโดยคําแนะนําและยินยอมของสภานิติบัญญัติแหงชาติ ทําหนาที่รัฐสภา ดังตอไปนี้

มาตรา 1 พระราชบัญญัตินี้เรียกวา “พระราชบัญญัติรักษาความสะอาดและความเปนระเบียบเรียบรอยของบานเมือง พ.ศ. 2535”

มาตรา 2 พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับในเขตเทศบาล สุขาภิบาล กรุงเทพมหานคร และ เมืองพัทยา เมื่อพนกําหนดสามสิบวันนับแตวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป สําหรับองคการบริหารสวนจังหวัดจะใหใชพระราชบัญญัตินี้บังคับในเขตองคการบริหารสวนจังหวัดใด

ในทองที่ใด มีบริเวณเพียงใด และจะใหใชบังคับทั้งหมดทุกมาตราหรือยกเวนมาตราใด ใหกระทรวงมหาดไทยประกาศในราชกิจจานุเบกษา สําหรับองคการปกครองทองถ่ินอื่น นอกจากที่ระบุไวในวรรคหนึ่งและวรรคสอง การใชบังคับตามพระราชบัญญัตินี้ใหเปนไปตามที่รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทยประกาศ

มาตรา 3 ใหยกเลิก พระราชบัญญัติรักษาความสะอาดและความเปนระเบียบเรียบรอยของบานเมือง พ.ศ. 2503

มาตรา 4 ในพระราชบัญญัตินี ้

“ที่สาธารณะ" หมายความวา สาธารณสมบัติของแผนดิน นอกจากที่รกรางวางเปลา และหมายความรวมถึงถนนและทางน้ําดวย

Page 33: หน้าปก[1]library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19773.pdf · บทที่5 สรุปผลการศ ึกษาและข อเสนอแนะ 74 5.1 สรุปผลการศ

23

“สถานสาธารณะ” หมายความวา สถานที่ที่จัดไวเปนสาธารณะสําหรับประชาชน ใชเพื่อการบันเทิง การพักผอนหยอนใจ หรือการชุมนุม

“ถนน” หมายความรวมถึง ทางเดินรถ ทางเทา ขอบทาง ไหลทาง ทางขาม ตามกฎหมายวาดวยการจราจรทางบก ตรอก ซอย สะพาน หรือถนนสวนบุคคล ซ่ึงเจาของยินยอมใหประชาชนใชเปนทางสัญจรได

“ทางน้ํา” หมายความวา ทะเล ทะเลสาบ หาดทรายชายทะเล อางเก็บน้ํา แมน้ํา หวย หนอง คลอง คันคลอง บึง คู ลําราง และหมายความรวมถึงทอระบายน้ําดวย

“อาคาร” หมายความวา ตึก บาน เรือนโรง ราน เรือ แพ ตลาด คลังสินคา สํานักงาน หรือส่ิงปลูกสรางอยางอื่น ซ่ึงบุคคลอาจเขาอยูหรือเขาใชสอยไดและหมายความรวมถึง อัฒจันทร เขื่อน ประตูน้ํา อุโมงค หรือปายตามกฎหมายวาดวยการควบคุมอาคารดวย

“ส่ิงปฏิกูล” หมายความวา อุจจาระ หรือปสสาวะ รวมตลอดถึงวัตถุอ่ืนใดซึ่งเปนของโสโครก หรือมีกล่ินเหม็น

“มูลฝอย” หมายความวา เศษกระดาษ เศษผา เศษอาหาร เศษสินคา ถุงพลาสติก ภาชนะที่ใสอาหาร เถา มูลสัตว หรือซากสัตว รวมตลอดถึงสิ่งอื่นใดที่เก็บกวาดจากถนน ตลาด ที่เล้ียงสัตวหรือที่อ่ืน

“ซากยานยนต” หมายความวา รถยนต รถจักรยานยนต เครื่องจักรกล เรือ ลอเล่ือน ยานพาหนะอื่นๆ ที่เสื่อมสภาพจนไมอาจใชการได และหมายความรวมถึงชิ้นสวนของรถ

เครื่องจักรกลหรือยานพาหนะ

“เจาพนักงานทองถ่ิน” หมายความวา

(1) นายกเทศมนตรี สําหรับในเขตเทศบาล

(2) ประธานกรรมการสุขาภิบาล สําหรับในเขตสุขาภิบาล

(3) ผูวาราชการจังหวัด สําหรับในเขตองคการบริหารสวนจังหวัด

(4) ผูวาราชการกรุงเทพมหานคร สําหรับในเขตกรุงเทพมหานคร

(5) ปลัดเมืองพัทยา สําหรับในเขตเมืองพัทยา

(6) หัวหนาผูบริหารทองถ่ินขององคการปกครองทองถ่ินอื่นที่กฎหมายกําหนดใหเปนราชการสวนทองถ่ิน สําหรับในเขตราชการสวนทองถ่ินนั้น

“พนักงานเจาหนาที”่ หมายความวา

(1) ปลัดเทศบาล และรองปลัดเทศบาล สําหรับในเขตเทศบาล

(2) ปลัดสุขาภิบาล สําหรับในเขตสุขาภิบาล

(3) ปลัดองคการบริหารสวนจังหวัดและนายอําเภอ สําหรับในเขตองคการบริหารสวน

Page 34: หน้าปก[1]library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19773.pdf · บทที่5 สรุปผลการศ ึกษาและข อเสนอแนะ 74 5.1 สรุปผลการศ

24

จังหวัด

(4) ปลัดกรุงเทพมหานคร ผูอํานวยการเขตและผูชวยผูอํานวยการเขต สําหรับในเขตกรุงเทพมหานคร

(5) รองปลัดเมืองพัทยา สําหรับในเขตเมืองพัทยา

(6) ผูซ่ึงเจาพนักงานทองถ่ินแตงตั้งใหเปนพนักงานเจาหนาที่ตามพระราชบัญญัตินี้ “ราชการสวนทองถ่ิน” หมายความวา เทศบาล สุขาภิบาล องคการบริหารสวนจังหวัด กรุงเทพมหานคร เมืองพัทยา และองคการปกครองทองถ่ินอื่นที่กฎหมายกําหนดใหเปนราชการสวนทองถ่ิน

“ขอกําหนดของทองถ่ิน” หมายความวา ขอบัญญัติ เทศบัญญัติ หรือขอบังคับ ซ่ึงตราขึ้นโดยราชการสวนทองถ่ิน

มาตรา 5 ใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทยและรัฐมนตรีวาการกระทรวงสาธารณสุขรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และใหมีอํานาจออกกฎกระทรวงกําหนดอัตราคาธรรมเนียมไมเกินอัตราทายพระราชบัญญัตินี้ และกําหนดกิจการอื่นเพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ ทั้งนี้ ในสวนที่เกี่ยวกับอํานาจหนาที่ของแตละกระทรวง กฎกระทรวงนั้น เมื่อไดประกาศในราชกิจจานุเบกษาแลว ใหใชบังคับได

หมวด 1

การรักษาความสะอาดในทีส่าธารณะและสถานสาธารณะ

มาตรา 6 เจาของหรือผูครอบครองอาคาร หรือบริเวณของอาคารที่อยูติดกับทางเทามีหนาที่ดูแลรักษาความสะอาดทางเทาที่อยูติดกับอาคารหรือบริเวณของอาคาร ในกรณีที่เปนตลาดไมวาจะเปนตลาดที่ขายอาหารหรือสินคาประจําทุกวันหรือเฉพาะคราว ใหเจาของตลาดมีหนาที่ดูแลรักษาความสะอาดทางเทาที่อยูติดกับตลาดและใหผูครอบครองสวนหนึ่งสวนใดของตลาด มีหนาที่รักษาความสะอาดบริเวณตลาดที่ตนครอบครอง ในการรักษาความสะอาดตามมาตรานี้เจาของหรือผูครอบครองอาคารหรือบริเวณของอาคาร เจาของตลาดหรือผูครอบครองสวนหนึ่งสวนใดของตลาดจะมอบหมายใหคนหนึ่งคนใด หรือหลายคนเปนผูมีหนาที่ดูแลรักษาความสะอาดแทนตนก็ได และใหผูไดรับมอบหมายมีหนาที่และความรับผิดแทนผูมอบหมาย ในกรณีที่มีการฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามมาตรานี้ และพนักงานเจาหนาที่ไมอาจหาตัวผูรับมอบหมายได ใหถือวาไมมีการมอบหมาย

และใหเจาของหรือผูครอบครองอาคารหรือบริเวณของอาคารเจาของตลาดหรือผูครอบครองสวนหนึ่งสวนใดของตลาด เปนผูรับผิดในการฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามมาตรานี ้ มาตรา 7 ในการปฏิบัติหนาที่ตามมาตรา 6 ใหบุคคลในมาตรา 6 มีอํานาจแจงผูกระทําการฝาฝนพระราชบัญญัตินี้มิใหกระทําการหรือใหแกไขการกระทําอันเปนความผิดตามพระราชบัญญัติ

Page 35: หน้าปก[1]library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19773.pdf · บทที่5 สรุปผลการศ ึกษาและข อเสนอแนะ 74 5.1 สรุปผลการศ

25

นี้ ถาผูถูกแจงหรือผูถูกหามไมปฏิบัติตาม ใหรีบแจงความตอพนักงานเจาหนาที่ตามมาตรา 51 เพื่อใชเปนหลักฐานวาตนมิไดกระทําความผิดตามมาตรานี้

มาตรา 8 เจาของหรือผูครอบครองอาคารหรือที่ดินผูใด

(1) วางกระถางตนไมบนทางเทาหรือปลูกตนไมที่บริเวณภายนอกอาคารที่ตนเปนเจาของหรือผูครอบครองและปลอยปละละเลยใหตนไมเหีย่วแหงหรือมีสภาพรกรุงรัง หรือปลอยปละ

ละเลยใหมีส่ิงปฏิกูลหรือมูลฝอยในกระถางตนไมหรือทีบ่ริเวณภายนอกของอาคาร

(2) ปลอยปละละเลยใหตนไมหรือธัญพืชที่ตนปลูกไวหรือที่ขึ้นเองในที่ดินของตนใหเหีย่วแหงหรือมีสภาพรกรุงรัง หรือปลอยปละละเลยใหมีการทิ้งสิ่งปฏิกูลหรือมูลฝอยในบริเวณ

ที่ดินของตน ถาการปลอยปละละเลยตาม (2) มีสภาพที่ประชาชนอาจเห็นไดจากที่สาธารณะ

เจาของหรือผูครอบครองอาคารมีความผิดตามพระราชบญัญัตินี ้ มาตรา 9 หามมิใหผูใดอาบน้ําหรือซักลางสิ่งใด ๆ บนถนน หรือในสถานสาธารณะซึ่งมิไดจัดไวเพื่อการนั้น หรือในบริเวณทางน้ําที่เจาพนักงานทองถ่ินไดประกาศหามไว มาตรา 10 การโฆษณาดวยการปด ทิ้ง หรือโปรยแผนประกาศหรือใบปลิวในที่สาธารณะ

จะกระทําไดตอเมื่อไดรับหนังสืออนุญาตจากเจาพนักงานทองถ่ิน หรือพนักงานเจาหนาที่ และตองปฏิบัติ ใหเปนไปตามหลักเกณฑหรือเงื่อนไขที่กําหนดในหนังสืออนุญาตดวย การขออนุญาต การอนุญาต การกําหนดอัตราคาธรรมเนียมและการงดเวนคาธรรมเนียมในการขออนุญาต ใหเปนไปตามหลักเกณฑที่กําหนดในกฎกระทรวง และในกฎกระทรวงดังกลาวตองกําหนดใหชัดเจนวากรณีใดพึงอนุญาตไดหรืออนุญาตไมได และกําหนดระยะเวลาในการพิจารณาอนุญาตไวดวย ความในวรรคหนึ่งมิใหใชบังคับแกการกระทําของราชการสวนทองถ่ิน ราชการสวนอื่นหรือรัฐวิสาหกิจหรือของหนวยงานที่มีอํานาจกระทําได หรือเปนการโฆษณาดวยการปดแผนประกาศ ณ สถานที่ซ่ึงราชการสวนทองถ่ินจัดไวเพื่อการนั้น หรือเปนการโฆษณาในการเลือกตั้งตามกฎหมายวาดวยการเลือกตั้งสมาชิกสภานิติบัญญัติแหงรัฐ สมาชิกสภาทองถ่ินหรือผูวาราชการกรุงเทพมหานคร และการโฆษณาดวยการปดประกาศของเจาของหรือผูครอบครองอาคารหรือตนไม เพียงเพื่อใหทราบช่ือเจาของ หรือผูครอบครองอาคาร ช่ืออาคาร เลขที่อาคาร หรือขอความอื่นอันเกี่ยวแกการเขาไปและออกจากอาคารนั้น

มาตรา 11 การโฆษณาตามมาตรา 10 โดยมิไดรับอนุญาตจากเจาพนักงานทองถ่ินหรือ พนักงานเจาหนาที่ หรือไดรับอนุญาตแตมิไดปฏิบัติใหเปนไปตามหลักเณฑที่กําหนดในการอนุญาต ให เจาพนักงานทองถ่ินหรือพนักงานเจาหนาที่มีอํานาจสั่งเปนหนังสือใหผูโฆษณา ปลด

ร้ือ ถอน ขูด ลบหรือ ลางขอความหรือภาพนั้นภายในเวลาที่กําหนด ถาการโฆษณาดังกลาวตามวรรคหนึ่งมีขอความหรือภาพที่มีผลกระทบตอความสงบเรียบรอย หรือศีลธรรมอันดีของประชาชน

Page 36: หน้าปก[1]library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19773.pdf · บทที่5 สรุปผลการศ ึกษาและข อเสนอแนะ 74 5.1 สรุปผลการศ

26

หรือลามกอนาจาร พนักงานเจาหนาที่มีอํานาจปลด ร้ือ ถอน ขูด ลบ หรือลางขอความหรือภาพนั้นไดเองโดยคิดคาใชจายจากผูโฆษณาตามที่ไดใชจายไปจริง มาตรา 12 หามมิใหผูใดขูด กระเทาะ ขีด เขียน พนสี หรือทําใหปรากฎดวยประการใดๆ ซ่ึงขอความ ภาพ หรือรูปรอยใด ๆ ที่กําแพงที่ติดกับถนน บนถนนที่ตนไมหรือสวนหนึ่งสวนใดของอาคารที่อยูติดกับถนนหรืออยูในที่สาธารณะ เวนแตเปนการกระทําของราชการสวนทองถ่ิน

ราชการสวนอื่นหรือรัฐวิสาหกิจหรือของหนวยงานที่มีอํานาจกระทําได มาตรา 13 เจาของรถซึ่งใชบรรทุกสัตว กรวด หิน ดิน เลน ทราย ส่ิงปฏิกูล มูลฝอยหรือส่ิงอ่ืนใด ตองจัดใหรถนั้นอยูในสภาพที่ปองกันมิใหมูลสัตวหรือส่ิงดังกลาวตกหลน ร่ัวไหล ปลิว ฟุง กระจายลงบนถนนในระหวางที่ใชรถนั้น รวมทั้งตองปองกันมิใหน้ํามันจากรถรั่วไหลลงบนถนน

ถามีกรณีดังกลาวตามวรรคหนึ่งเกิดขึ้น ใหพนักงานเจาหนาที่ เจาพนักงานจราจรหรือตํารวจที่ปฏิบัติหนาที่ควบคุมการจราจรมีอํานาจสั่งใหผูขับขี่นํารถไปที่สถานีตํารวจ ที่ทําการขนสง หรือสํานักงานขององคการปกครองทองถ่ินและยึดรถนั้นไวจนกวาเจาของหรือผูครอบครองจะชําระคาปรับ

มาตรา 14 หามมิใหผูใด

(1) ปลอยสัตว นําสัตว หรือจูงสัตวไปตามถนนหรือเขาไปในบริเวณที่เจาพนกังานทองถ่ินไดประกาศหามไว (2) ปลอยใหสัตวถายมูลบนถนนและมไิดขจัดมูลดังกลาวใหหมดไป ความในวรรคหนึ่งมิใหใชบังคับแกผูไดรับหนังสืออนญุาตจากเจาพนักงานทองถ่ินใหนําขบวนสัตวหรือฝูงสัตว หรือจูงสัตวไปตามถนนและไดเสียคาธรรมเนียมรักษาความสะอาดตามขอกําหนด ของทองถ่ิน

มาตรา 15 หามมิใหผูใดลางรถยนต รถจักรยานยนต หรือลอเล่ือนบนถนน หรือสถานสาธารณะและทําใหถนนหรือสถานสาธารณะสกปรกเลอะเทอะ

มาตรา 16 หามมิใหผูใดใชสวนหนึ่งสวนใดของถนนเปนสถานที่ซอม เปลี่ยนแปลง ตอเติมหรือตั้งอุปกรณรถยนต รถจักรยานยนต หรือลอเล่ือน ความในวรรคหนึ่งมิใหใชบังคับแกการแกไขรถยนต รถจักรยานยนต หรือลอเล่ือนที่เครื่องยนตขัดของหรืออุปกรณชํารุดในขณะใชถนนเพื่อใหรถหรือลอเล่ือนดังกลาวใชการไดตอไป

มาตรา 17 หามมิใหผูใด

(1) กระทําดวยประการใด ๆ ใหทางเทาชํารุดเสียหาย

(2) จอดหรือขบัขี่รถยนต รถจักรยานยนต หรือลอเล่ือนบนทางเทา เวนแตเปนการจอดหรือขับขี่เพื่อเขาไปในอาคารหรือมีประกาศของเจาพนักงานจราจรผอนผันใหจอดหรือขับขี่ได มาตรา 18 หามมิใหผูใดทิ้ง วาง หรือกองซากยานยนตบนถนนหรือสถานสาธารณะ

Page 37: หน้าปก[1]library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19773.pdf · บทที่5 สรุปผลการศ ึกษาและข อเสนอแนะ 74 5.1 สรุปผลการศ

27

มาตรา 19 หามมิใหผูใดตั้ง วาง หรือกองวัตถุใด ๆ บนถนน เวนแตเปนการกระทําในบริเวณที่เจาพนักงานทองถ่ินหรือพนักงานเจาหนาที่ประกาศกําหนดดวยความเห็นชอบของเจาพนักงานจราจร

มาตรา 20 หามมิใหผูใด

(1) ปรุงอาหาร ขายหรือจําหนายสินคาบนถนน หรือในสถานสาธารณะ

(2) ใชรถยนตหรือลอเล่ือนเปนที่ปรุงอาหารเพื่อขายหรอืจําหนายใหแกประชาชนบนถนนหรือในสถานสาธารณะ

(3) ขายหรือจาํหนายสินคาซึ่งบรรทุกบนรถยนต รถจักรยานยนต หรือลอเล่ือน บนถนนหรือในสถานสาธารณะ ความในวรรคหนึ่งมิใหใชบังคับแกการปรุงอาหารหรือการขายสินคาตาม (1) หรือ (2) ในถนนสวนบุคคลหรือในบริเวณที่เจาพนักงานทองถ่ินหรือพนักงานเจาหนาที่ประกาศผอนผันใหกระทําได ในระหวางวัน เวลาที่กําหนด ดวยความเห็นชอบของเจาพนักงานจราจร

มาตรา 21 หามมิใหผูอยูในรถยนตหรือผูขับขี่หรือผูนั่งซอนทายรถจักรยานยนต ซ้ือสินคาที่ขายหรือจําหนายในสถานสาธารณะหรือบนถนนยกเวนถนนสวนบคุคล

มาตรา 22 หามมิใหผูใดจูง ไล หรือตอนสัตวลงไปในทางน้ํา ซ่ึงเจาพนักงานทองถ่ินหรือ

พนักงานเจาหนาที่ไดปดประกาศหามไว ณ บริเวณดังกลาว

มาตรา 23 หามมิใหผูใดเทหรือทิ้งกรวด หิน ดิน เลน ทราย หรือเศษวัตถุกอสรางลงใน ทางน้ํา หรือกองไว หรือกระทําดวยประการใด ๆ ใหวัตถุดังกลาวไหลหรือตกลงในทางน้ํา ใหเจาพนักงานทองถ่ินหรือพนักงานเจาหนาที่มีอํานาจสั่งใหผูกระทําการตามวรรคหนึ่ง จัดการขนยายวัตถุดังกลาวออกไปใหหางจากทางน้ําภายในระยะเวลาที่เจาพนักงานทองถ่ินหรือพนักงานเจาหนาที่กําหนดและถาการกระทําผิดดังกลาวเปนอุปสรรคตอการระบายน้ําหรือทําใหทอระบายน้าํ คู คลอง ตื้นเขิน ใหมีอํานาจสั่งใหผูกระทําการตามวรรคหนึ่งแกไขใหทางน้ําดังกลาวคืนสูสภาพเดิม

ถาละเลยเพิกเฉย นอกจากมีความผิดฐานขัดคําสั่งเจาพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญาแลว ใหเจาพนักงานทองถ่ินหรือพนักงานเจาหนาที่ดําเนินคดีสําหรับความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ตอไป

มาตรา 24 เจาของรานจําหนายอาหารและหรือเครื่องดื่ม ซ่ึงจัดสถานที่ไวสําหรับบริการลูกคาไดในขณะเดียวกันไมต่ํากวายี่สิบคน ตองจัดใหมีสวมที่ถูกตองดวยสุขลักษณะตามที่กําหนดในกฎกระทรวง เพื่อใหลูกคาใชในระหวางเปดทําการคา ความในวรรคหนึ่งมิใหใชบังคับแกเจาของรานจําหนายอาหารและหรือเครื่องดื่มซึ่งจัดใหมีขึ้นในบริเวณงานเทศกาลหรืองานใดเปนการเฉพาะคราว

มาตรา 25 เจาของสถานีบริการจําหนายน้ํามันเชื้อเพลิงหรือกาซสําหรับยานพาหนะ ตองจัดใหมีสวมที่ถูกตองดวยสุขลักษณะตามที่กําหนดในกฎกระทรวง

Page 38: หน้าปก[1]library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19773.pdf · บทที่5 สรุปผลการศ ึกษาและข อเสนอแนะ 74 5.1 สรุปผลการศ

28

หมวด 2

การดูแลรักษาสนามหญาและตนไมในถนนและสถานสาธารณะ

มาตรา 26 หามมิใหผูใดทิง้สิ่งปฏิกูล มูลฝอย หรือเท หรือกองกรวด หิน ดิน เลน ทราย

หรือส่ิงอื่นใดในบริเวณที่ไดปลูกหญาหรือตนไม ซ่ึงราชการสวนทองถ่ิน ราชการสวนอื่นหรือรัฐวิสาหกจิเปนเจาของ มาตรา 27 หามมิใหผูใดโคนตนไม ตัด เด็ด หรือกระทําดวยประการใด ๆ ใหเกดิความเสียหายหรือนาจะเปนอันตรายแกตนไม หรือใบ ดอก ผล หรือสวนใดสวนหนึ่งของตนไมที่ปลูกไวหรือขึ้นเองตามธรรมชาติในที่สาธารณะหรือสถานสาธารณะ ความในวรรคหนึ่งมิใหใชบังคับแกการกระทําของผูไดรับมอบหมายจากพนกังานเจาหนาที่ หรือผูไดรับอนุญาตเปนหนังสือใหโคนหรือตัดตนไมจากเจาพนักงานทองถ่ิน

มาตรา 28 หามมิใหผูใดปลอยหรือจูงสัตวเขาไปในบริเวณที่ราชการสวนทองถ่ิน ราชการสวนอื่นหรือรัฐวิสาหกจิไดปลูกหรืออนุญาตใหผูอ่ืนปลกูหญาหรือตนไมไว และไดปดประกาศหรือปกปายหามไว

หมวด 3

การหามทิ้งสิ่งปฏิกูลมูลฝอยในที่สาธารณะและสถานสาธารณะ

มาตรา 29 หามมิใหผูใดถายอุจจาระหรือปสสาวะลงในที่สาธารณะหรือสถานสาธารณะ

ซ่ึงมิใชสถานที่ที่ราชการสวนทองถ่ินไดจัดไวเพื่อการนั้น

มาตรา 30 หามมิใหผูใด เท ปลอยหรือระบายอุจจาระหรือปสสาวะจากอาคารหรือยานพาหนะลงในทางน้ํา มาตรา 31 หามมิใหผูใด

(1) บวนหรือถมน้ําลาย เสมหะ บวนน้ําหมาก ส่ังน้ํามูก เทหรือทิ้งสิ่งใด ๆ ลงบนถนนหรือบนพื้นรถหรือพื้นเรือโดยสาร

(2) ทิ้งสิ่งปฏิกูลหรือมูลฝอยในสถานสาธารณะ นอกภาชนะหรือที่ที่ราชการสวนทองถ่ินไดจัดไว มาตรา 32 หามมิใหผูใด

(1) ทิ้งสิ่งปฏิกูลหรือมูลฝอยลงบนที่สาธารณะ

(2) ปลอยปละละเลยใหมีส่ิงปฏิกูลหรือมูลฝอยในที่ดินของตนในสภาพที่ประชาชนอาจมองเห็นไดจากที่สาธารณะ

มาตรา 33 หามมิใหผูใด เท หรือทิ้งสิ่งปฏิกูล มูลฝอย น้ําโสโครกหรือส่ิงอื่นใดลงบนถนนหรือในทางน้ํา ความในวรรคหนึ่งมิใหใชบังคับแกเจาของ หรือผูครอบครองเรือหรืออาคารประเภท

Page 39: หน้าปก[1]library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19773.pdf · บทที่5 สรุปผลการศ ึกษาและข อเสนอแนะ 74 5.1 สรุปผลการศ

29

เรือนแพ ซ่ึงจอดหรืออยูในทองที่ที่เจาพนกังานทองถ่ินยงัไมไดจดัสวมสาธารณะ หรือภาชนะสําหรับทิ้งสิ่งปฏิกูล หรือมูลฝอย

มาตรา 34 หามมิใหผูใด เท หรือระบายอุจจาระ หรือปสสาวะจากอาคาร หรือยานพาหนะ

ลงในที่สาธารณะหรือในสถานสาธารณะ

หมวด 4

การรักษาความเปนระเบยีบเรียบรอย

มาตรา 35 หามมิใหผูใดกระทําดวยประการใด ๆ ใหโคมไฟ ปาย ศาลาที่พัก มานั่ง สวม หรือส่ิงอื่นใด ที่ราชการสวนทองถ่ิน ราชการสวนอื่นหรือรัฐวิสาหกิจไดจัดทําไวเพื่อสาธารณชนเกิดความเสียหายหรือใชประโยชนไมได มาตรา 36 หามมิใหผูใดปนปาย นั่ง หรือข้ึนไปบนรั้ว กําแพง ตนไมหรือส่ิงค้ํายันตนไมในที่สาธารณะ

มาตรา 37 หามมิใหผูใดยืน นั่ง หรือนอนบนราวสะพานสาธารณะ หรือนอนในที่สาธารณะ

มาตรา 38 หามมิใหผูใดเลนวาว ฟุตบอล ตะกรอ หรือกีฬาใด ๆ บนถนน หรือในสถานสาธารณะหรือสวนหนึ่งสวนใดของสถานสาธารณะที่มีประกาศของเจาพนักงานทองถ่ินหามไว มาตรา 39 หามมิใหผูใดติดตั้ง ตาก วาง หรือแขวนสิ่งใด ๆ ในที่สาธารณะ เวนแตไดรับหนังสืออนุญาตจากเจาพนักงานทองถ่ินหรือพนักงานเจาหนาที่หรือเปนการกระทําของราชการสวนทองถ่ิน ราชการสวนอื่นหรือรัฐวิสาหกิจหรือของหนวยงานที่มีอํานาจกระทําได หรือเปนการวางไวเพียงชั่วคราว การติดตั้ง ตาก วาง หรือแขวนสิ่งใด ๆ ในที่สาธารณะโดยมิไดมีหนังสืออนุญาตจากเจาพนักงานทองถ่ินหรือพนักงานเจาหนาที่ หรือไดรับอนุญาตแตมิไดปฏิบัติใหเปนไปตามหลักเกณฑที่กําหนดในการอนุญาต ใหเจาพนักงานทองถ่ินหรือพนักงานเจาหนาที่มีอํานาจสั่งใหผูกระทําการตามวรรคหนึ่งปลด หรือร้ือถอนภายในเวลาที่กําหนด ถาผูนั้นละเลยเพิกเฉย นอกจากมีความผิดฐานขัดคําสั่ง เจาพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญาแลว ใหเจาพนักงานทองถ่ินหรือพนักงานเจาหนาที่ดําเนินคดีตามพระราชบัญญัตินี้ตอไป

มาตรา 40 หามมิใหผูใดติดตั้ง ตาก วาง หรือแขวนสิ่งใด ๆ ที่อาคารในลักษณะที่สกปรกรกรุงรังหรือไมเปนระเบียบเรียบรอยและมีสภาพที่ประชาชนอาจเห็นไดจากที่สาธารณะ ถามีกรณีดังกลาวเกิดขึ้นใหเจาพนักงานทองถ่ินหรือพนักงานเจาหนาที่มีหนังสือเตือนให เก็บหรือจัดทําใหเปนที่เรียบรอย ถาผูติดตั้ง เจาของหรือผูครอบครองอาคารละเลยเพิกเฉย นอกจากมีความผิดฐานขัดคําสั่งเจาพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญาแลว ใหเจาพนักงานทองถ่ินหรือพนักงานเจาหนาที่ดําเนินคดีตามพระราชบัญญัตินี้ตอไป

Page 40: หน้าปก[1]library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19773.pdf · บทที่5 สรุปผลการศ ึกษาและข อเสนอแนะ 74 5.1 สรุปผลการศ

30

มาตรา 41 เจาของอาคารซึ่งตั้งอยูในระยะไมเกินยี่สิบเมตรจากทางเดินรถที่มีผิวจราจรกวางไมต่ํากวาแปดเมตร และที่ผูสัญจรไปมาอาจเห็นอาคารหรือบริเวณของอาคารไดจากถนนนั้น ตองดูแลรักษาอาคารนั้นมิใหสกปรกรกรุงรัง

หมวด 5

อํานาจหนาทีข่องเจาพนักงานทองถ่ินหรือพนักงานเจาหนาที ่ มาตรา 42 ในเขตกรุงเทพมหานครใหเปนอํานาจของรัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทยที่ใหคําแนะนําผูวาราชการกรุงเทพมหานครเพื่อพิจารณาแกไขขอบกพรองในการดูแลรักษาความสะอาด และความเปนระเบียบเรียบรอยตามที่บัญญัติไวในพระราชบัญญัตินี้ ในเขตเทศบาล

สุขาภิบาล เมืองพัทยา และองคการปกครองทองถ่ินอื่นใหเปนอํานาจของผูวาราชการจังหวัด และของปลัดกระทรวงมหาดไทยสําหรับในเขตองคการบริหารสวนจังหวัด

มาตรา 43 ผูวาราชการกรุงเทพมหานคร ผูวาราชการจังหวัดในเขตองคการบริหารสวนจังหวดั นายกเทศมนตรี ประธานกรรมการสุขาภิบาล ปลัดเมืองพัทยามหีนาที่รับผิดชอบการปฏิบัติตามพระราชบญัญัตินี้ของพนักงานเจาหนาที่ซ่ึงอยูในการปกครองบังคับบัญชาของตน ในกรณีที่ไดมีการมอบหมายใหรองผูวาราชการกรุงเทพมหานคร หรือปลัดกรุงเทพมหานคร รองผูวาราชการจังหวดั นายอําเภอ เทศมนตรหีรือปลัดเทศบาล กรรมการสุขาภิบาล ปลัดสุขาภิบาล หรือผูบริหารองคการปกครองสวนทองถ่ินอื่น ชวยปฏิบัติหนาที่ใหผูไดรับมอบหมายมีหนาที่รับผิดชอบ

เชนเดยีวกับผูมอบหมาย

มาตรา 44 นอกจากอํานาจหนาที่ที่ไดบัญญัติไวในพระราชบัญญัตินี้ ใหเจาพนักงานทองถ่ินและพนักงานเจาหนาที่มีอํานาจหนาที่ ดังตอไปนี ้ (1) โฆษณาใหประชาชนไดทราบถึงหนาที่ที่จะตองปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้ (2) สอดสองและกวดขันไมใหมีการฝาฝนพระราชบัญญัตินี้โดยเครงครัด

(3) ตักเตือนผูกระทําความผดิหรือส่ังใหผูกระทําความผดิแกไขหรือขจัดความสกปรก หรือความไมเปนระเบียบหรือความไมเรียบรอยใหหมดไป

(4) จับกุมผูกระทําความผิดซึง่ไมเชื่อฟงคําตักเตือนและดาํเนินคดีตามพระราชบัญญัตินี ้ มาตรา 45 เมื่อมีการกระทําความผิดตามพระราชบัญญัตินี้เกิดขึ้นในทองที่ใดและพนักงานเจาหนาที่ไมอาจทราบตัวผูกระทําผิด ใหพนักงานเจาหนาที่ของทองถ่ินนั้นทุกคนรวมกันขจัดหรือแกไขไมใหส่ิงที่ผิดกฎหมายปรากฏอยูในที่สาธารณะหรือสถานสาธารณะอีกตอไป ใหเจาพนักงานทองถ่ินจัดหาอุปกรณและอํานวยความสะดวกใหแกพนักงานเจาหนาที่ในการปฏิบัติการ และใหวางระเบียบการปฏิบัติการของพนักงานเจาหนาที่ตามวรรคหนึ่ง

Page 41: หน้าปก[1]library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19773.pdf · บทที่5 สรุปผลการศ ึกษาและข อเสนอแนะ 74 5.1 สรุปผลการศ

31

มาตรา 46 ในกรณีที่ไดจับกุมผูกระทําความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ ใหพนักงานเจาหนาที่แจงใหผูกระทําความผิดจัดการลบ ลาง กวาด เก็บ ตกแตง ปรับปรุงสิ่งที่เปนความผิดมิใหปรากฏอีกตอไปภายในระยะเวลาที่กําหนด ถาผูกระทําความผิดยินยอมปฏิบัติตาม ใหคดีเปนอันเลิกกัน ถาผูกระทําความผิดไมปฏิบัติตาม พนักงานเจาหนาที่มีอํานาจจัดทําหรือมอบหมายใหผูอ่ืนจัดทําใหเกิดความสะอาดและความเปนระเบียบเรียบรอย และใหผูกระทําความผิดชดใชคาใชจายในการเขาจัดทําความสะอาดหรือความเปนระเบียบเรียบรอยตามที่ไดใชจายไปจริงใหแกเจาพนักงานทองถ่ิน

แตการชดใชคาใชจายไมลบลางการกระทําความผิดหรือระงับการดําเนินคดีแกผูกระทําความผิด

มาตรา 47 ใหเจาพนักงานทองถ่ินมีอํานาจประกาศกําหนดเวลาหามเขาหรืออยูในสถานสาธารณะ ประกาศนั้นใหติดตั้งหรือแขวนไวในบริเวณสถานสาธารณะที่หามนั้นซึ่งเห็นไดงาย

มาตรา 48 บรรดาความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ ใหเจาพนักงานทองถ่ินหรือผูซ่ึงเจาพนักงานทองถ่ินแตงตั้งและพนักงานสอบสวนมีอํานาจเปรียบเทียบได เมื่อผูตองหาชําระคาปรับตามที่เปรียบเทียบภายในสิบหาวันแลว ใหถือวาคดีเลิกกันตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ถาผูตองหาไมยินยอมตามที่เปรียบเทียบหรือเมื่อยินยอมแลวไมชําระคาปรับภายในกําหนดเวลาดังกลาว ใหดําเนินคดีเพื่อฟองรองตอไป คาปรับที่ไดจากการเปรียบเทียบตามวรรคหนึ่ง ใหแบงแกผูแจงตามมาตรา 51 กึ่งหนึ่ง และพนักงานเจาหนาที่ เจาพนักงานจราจร หรือตํารวจที่ปฏิบัติหนาที่ควบคุมการจราจร ผูจับกุมอีกกึ่งหนึ่ง มาตรา 49 ภายใตบังคับมาตรา 48 วรรคสาม คาธรรมเนียมและคาปรับที่เปรียบเทียบตามพระราชบัญญัตินี้ใหเปนรายไดของราชการสวนทองถ่ิน

มาตรา 50 ในกรณีที่มกีารกระทําความผดิหรือเหตุอันควรสงสัยวา มีการกระทําความผิดตามพระราชบญัญัตินี้ใหเจาพนักงานทองถ่ินและพนกังานเจาหนาที่มอํีานาจจับกุมผูกระทําความผดิหรือผูที่ตองสงสัยวากระทําความผิดนั้น พรอมดวยยานพาหนะ เครื่องมือ และสิ่งของที่ใชในการกระทําความผดิเพื่อดําเนินการตามกฎหมายได ในการปฏิบัติหนาที่ใหเจาพนกังานทองถ่ินและพนักงานเจาหนาที่แสดงบัตรประจําตัวเมือ่บุคคลที่เกี่ยวของรองขอบัตรประจําตัวพนกังานเจาหนาทีใ่หเปนไปตามแบบที่รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทยกําหนด

มาตรา 51 ในกรณีที่มีผูกระทําความผิดตามพระราชบัญญัตินี ้ ประชาชนผูพบเห็นอาจแจงความตอพนกังานสอบสวน เจาพนกังานทองถ่ิน หรือพนักงานเจาหนาที่เพื่อใหพนักงานสอบสวน

เจาพนกังานทองถ่ินหรือพนกังานเจาหนาที่ดําเนินการตามอํานาจหนาที ่ โดยไมชักชาและใหถือวาประชาชนผูพบเห็นการกระทําความผิดดังกลาวเปนผูเสยีหายตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา

Page 42: หน้าปก[1]library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19773.pdf · บทที่5 สรุปผลการศ ึกษาและข อเสนอแนะ 74 5.1 สรุปผลการศ

32

2.5.2 พระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. 2535 เปนกฎหมายที่เกี่ยวกับการคุมครองสิ่งแวดลอม และการควบคุมมลพิษ ซ่ึงมาตรา 39

แผนปฏิบัติเพื่อการจัดการคุณภาพสิ่งแวดลอมในระดับจังหวัดที่จะไดรับการพิจารณาจากคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติในลําดับแรก จะตองเสนอประมาณการเงินงบประมาณแผนดินและเงินกองทุน สําหรับการกอสรางหรือดําเนินการเพื่อใหมีระบบบําบัดน้ําเสียรวมหรือระบบกําจัดของเสียรวมตามมาตร 38(2) ดวย ในกรณีที่จังหวัดใดยังไมพรอมที่จะดําเนินการเพื่อใหมีระบบบําบัดน้ําเสียรวมหรือระบบกําจัดของเสียรวม อาจเสนอแผนการสงเสริมใหเอกชนลงทุนกอสรางและดําเนินการแทน โดยแผนจะตองมีรายละเอียดและประมาณคาใชจายทั้งหมด รวมทั้งกระบวนการและระบบกําจัดของเสียรวม มาตรา 78 การเก็บรวบรวม การขนสง และการจัดการดวยประการใดๆ เพื่อบําบัดและกําจัดขยะมูลฝอยและของเสียที่เปนของแข็ง ใหเปนไปตามกฎหมายวาดวยการนั้น

มาตรา 79 ในกรณีที่ไมมีกฎหมายใดบัญญัติไวโดยเฉพาะ ใหรัฐมนตรีโดยคําแนะนําของคณะกรรมการควบคุมมลพิษ มีอํานาจออกกฎกระทรวงกําหนดชนิดและประเภทของเสียอันตรายที่เกิดจากการผลิต การใชสารเคมี หรือวัตถุอันตรายในกระบวนการผลิตทางอุตสาหกรรม เกษตรกรรม การสาธารณสุข และกิจการอยางอื่นใหอยูในการควบคุมในการนี้ ใหกําหนดหลักเกณฑ มาตรการ และวิธีการเพื่อควบคุมการเก็บ รวบรวม การรักษาความปลอดภัย การขนสงเคลื่อนยาย การนําเขามาในราชอาณาจักร การสงออกไปนอกราชอาณาจักร และการจัดการบําบัดและกําจัดของเสียอันตรายดังกลาวดวยวิธีการที่เหมาะสมและถูกตองตามหลักวิชาที่เกี่ยวของดวย และยังมีบทกําหนดโทษตามมาตรา 91 ผูใดลักลอบปลอยของเสียลงสูระบบกําจัดของเสียรวมของทางราชการจะตองเสียคาปรับ และหากทําใหเกิดความเสียหายจะตองชดใชคาเสียหาย นอกจากนี้ในมาตราที่ 22 – 31 เปนการกําหนดรายละเอียดของกองทุนสิ่งแวดลอมที่รวมการลงทุนและดําเนินการเกี่ยวกับระบบกําจัดของเสียรวม ที่ดิน วัสดุ อุปกรณ เครื่องมือในการดําเนินการดวย

2.5.3 พรราชบัญญัต ิการสาธารณะสุข พ.ศ. 2535

หมวด 3

การกําจัดสิ่งปฏิกูลและมูลฝอย

มาตรา 18 การกําจัดสิ่งปฏิกูลและมูลฝอยในเขตราชการสวนทองถ่ินใดใหเปนอํานาจหนาที่ของราชการสวนทองถ่ินนั้น

Page 43: หน้าปก[1]library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19773.pdf · บทที่5 สรุปผลการศ ึกษาและข อเสนอแนะ 74 5.1 สรุปผลการศ

33

ในกรณีที่มีเหตุอันสมควร ราชการสวนทองถ่ินอาจมอบใหบุคคลใดดําเนินการตามวรรคหนึ่งแทนภายใตการควบคุมดูแลของราชการสวนทองถ่ินหรืออาจอนุญาตใหบุคคลใดเปนผูดําเนินการกําจัดส่ิงปฏิกูลหรือมูลฝอยตามมาตรา 19 ก็ได มาตรา 19 หามมิใหผูใดดําเนินกิจการรับทําการเก็บ ขน หรือกําจัดสิ่งปฏิกูล หรือมูลฝอย โดยทําเปนธุรกิจหรือโดยไดรับประโยชนตอบแทนดวยการคิดคาบริการ เวนแตจะไดรับใบอนุญาตจากเจาพนักงานทองถ่ิน

มาตรา 20 เพื่อประโยชนในการรักษาความสะอาดและการจัดระเบียบในการเก็บ ขน และกําจัดสิ่งปฏิกูลหรือมูลฝอย ใหราชการสวนทองถ่ินมีอํานาจออกขอกําหนดของทองถ่ินดังตอไปนี้ (1) หามการถาย เท ทิ้ง หรือทําใหมีขึ้นในที่หรือทางสาธารณะซึ่งสิ่งปฏิกูล หรือมูลฝอย นอกจากในที่ที่ราชการสวนทองถ่ินจัดไวให (2) กําหนดใหมีที่รองรับสิ่งปฏิกูลหรือมูลฝอยตามที่หรือทางสาธารณะและสถานที่เอกชน

(3) กําหนดวิธีการเก็บ ขน และกําจัดสิ่งปฏิกูลหรือมูลฝอยหรือใหเจาของหรือผูครอบครองอาคารหรือสถานที่ใดๆ ปฏิบัติใหถูกตองดวยสุขลักษณะตามสภาพหรือลักษณะการใชอาคารหรือสถานที่นั้นๆ

(4) กําหนดอัตราคาธรรมเนียมการใหบริการของราชการสวนทองถ่ินในการเก็บและขนสิ่งปฏิกูลหรือมูลฝอยไมเกินอัตราตามที่กําหนดในกฎกระทรวง (5) กําหนดหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขในการเก็บ ขน และกําจัดสิ่งปฏิกูลหรือมูลฝอย เพื่อใหผูรับใบอนุญาตตามมาตรา 19 ปฏิบัติ ตลอดจนกําหนดอัตราคาบริการขั้นสูงตามลักษณะการใหบริการผูรับใบอนุญาตตามมาตรา 19 จะพึงเรียกเก็บได (6) กําหนดอื่นใดที่จําเปนเพื่อใหถูกตองดวยสุขลักษณะ

2.5.4 ประกาศเทศบัญญัติเทศบาลเรื่องการกําจัดสิ่งปฏกูิลและมูลฝอย พ.ศ. 2537

1. ผูครอบครองสถานที่ อาคารหรือเคหสถาน ตองจัดใหมีที่รองรับมูลฝอยในสถานที่อาคาร หรือเคหะสถานในที่ครอบครองของตน

2. ที่รองรับมูลฝอยตองไมร่ัว และมีฝาปดมิดชิดกันแมลงวัน สัตวนําโรค

3. ผูครอบครองสถานที่ อาคาร หรือเคหะสถาน ตองรักษาบริเวณสถานที่อาคารหรือเคหะสถานในครอบครองของตน ไมใหมีมูลฝอย ส่ิงปฏิกูลหรือมีการถายเท ทิ้งมูลฝอยส่ิงปฏิกูลในประการที่ขัดตอสุขลักษณะ

4. หามผูใด ถายเท ทิ้งหรือทําใหมีมูลฝอยส่ิงปฏิกูลหรือส่ิงเปรอะเปอนในทางสาธารณะหรือที่สาธารณะอื่นใด เปนตนวา ถนน ซอย ตรอก แมน้ํา คลอง คู สระน้ํา บอน้ํา เวนแตในที่ซ่ึงเจา

Page 44: หน้าปก[1]library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19773.pdf · บทที่5 สรุปผลการศ ึกษาและข อเสนอแนะ 74 5.1 สรุปผลการศ

34

พนักงานสาธารณสุขหรือพนักงานทองถ่ินใหจัดตั้งโดยเฉพาะ

5. หามผูซ่ึงมิไดเปนพนักงานเจาหนาที่ของเทศบาลเมืองสระบุรี ทําการคุยเขี่ยหรือขุดมูลฝอยในที่รองรับ รถขน เรือขน หรือสถานที่เทมูลฝอยใด ๆ ของเทศบาลเมืองสระบุรี เวนแตไดรับอนุญาตจากเจาพนักงานทองถ่ิน ตามเงื่อนไขและวิ ธีการที่กําหนดไวในสัญญา 6. หามผูซ่ึงมิไดเปนพนักงานเจาหนาที่เทศบาลเมืองสระบุรี ทําการถายเท ขน หรือเคลื่อนที่ส่ิงปฏิกูลในถังรองรับ รถขน เรือขน สถานที่ถายเท เก็บหรือพักสิ่งปฏิกูลของเทศบาลเมืองสระบุรี เวนแตไดรับอนุญาตจากเจาพนักงานทองถ่ิน ตามเงื่อนไขและวิธีการที่กําหนด ไวในสัญญา

2.6 แนวคิดการประเมินโครงการ

โดยทั่วไปการประเมินโครงการมักจะมีวัตถุประสงคหลักคือ การแสวงหาแนวทางตัดสินใจตอการดําเนินงานโครงการหรือจะดําเนินโครงการวา ควรจะดําเนินการหรือไมตามวัตถุประสงคที่ตั้งไว และศึกษาวา ระหวางดําเนินการมีปญหาอะไรที่ควรปรับปรุงแกไข หรือเมื่อส้ินสุดโครงการแลว ผูเกี่ยวของกับโครงการไดเรียนรูอะไรบาง เกิดผลกระทบตอผูเกี่ยวของหรือส่ิงแวดลอมอยางไร และทั้งนี้การประเมินโครงการจําเปนตองมีขั้นตอน และวิธีการที่คอนขางเปนวิทยาศาสตร อาศัยเกณฑการตัดสินทั้งดานปริมาณ คุณภาพ กลุมเปาหมาย หวงเวลา สถานที่ และบริบทที่เกี่ยวของ มิใชเปนการตัดสินกันที่ “ใจ” (Subjective) แตควรเปนการตัดสินตามเกณฑที่สามารถวัดได และสอดคลองกับวัตถุประสงคที่วางไว (Objective)

ประเภทการประเมินโครงการ การแบงประเภทการประเมินโครงการคงมิใชเปนการกําหนดเกณฑเด็ดขาด แต จําเปนตองอาศัยเกณฑหลายชนิดมาจําแนกประเภท เชน ใชเวลา วัตถุประสงค วิธีการ และ รูปแบบการประเมินมาบงบอกถึงประเภทของการประเมิน ซ่ึงในที่นี้อาจจําแนกการประเมินโครงการออกเปน 4 ประเภทคือ

2.6.1 การประเมินโครงการกอนดําเนินการ (Preliminary Evaluation) เปนการศึกษา

ความเปนไปได (Feasibility Study) กอนที่เร่ิมดําเนินโครงการใด ๆ โดยอาจทําการศึกษาถึงประสิทธิภาพของปจจัยปอน ความเหมาะสมของกระบวนการที่คาดวาจะนํามาใชในการบริหารจัดการโครงการ ปญหา อุปสรรค ความเสี่ยงของโครงการ ตลอดจนผลลัพธ หรือประสิทธิผลที่คาดวาจะไดรับ ในขณะเดียวกันก็อาจจะศึกษาผลกระทบที่คาดวานาจะเกิดขึ้นในดานตาง ๆ เชน

- การประเมินผลกระทบดานสังคม (Social Impact Assessment –SIA)

- การประเมินผลกระทบดานนิเวศ (Ecological Impact Assessment – EIA)

- การประเมินผลกระทบดานการเมือง (Political Impact Assessment – PIA)

Page 45: หน้าปก[1]library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19773.pdf · บทที่5 สรุปผลการศ ึกษาและข อเสนอแนะ 74 5.1 สรุปผลการศ

35

- การประเมินผลกระทบดานเทคโนโลยี (Technological Impact Assessment - TIA)

- การประเมินผลกระทบดานประชากร (Population Impact Assessment – PIA)

- การประเมินผลกระทบดานนโยบาย (Policy Impact Assessment – POIA)

- การประเมินผลกระทบทางดานเศรษฐกิจ (Economic Impact Assessment)

การประเมินโครงการกอนดําเนินการนี้มีประโยชนสําหรับนักลงทุน เพื่อศึกษาดูวากอนลงมือโครงการใด ๆ นั้น จะเกิดความคุมคาแกการลงทุน (Cost effectiveness) หรือจะเกิดผลกระทบตอระบบสิ่งแวดลอมทั้งดานสังคม เศรษฐกิจ การเมือง ประชากร เทคโนโลยี และระดับนโยบายหรือไม หากไดทําการศึกษารอบคอบแลว อาจจะไดผลคาดการณลวงหนาวา จะไดเกิดประโยชนหรือโทษอยางไร ปญหา อุปสรรค เปนอยางไร เพื่อผูเปนเจาของโครงการจะได ตัดสินลวงหนาวาจะเลิกลมโครงการหรือปรับปรุงองคประกอบ และกระบวนการบริหารจัดการโครงการเพียงใด

เพื่อใหเกิดผลดี 2.6.2 การประเมินผลระหวางดําเนินโครงการ

อาจจะจําแนกเปนในหวงเวลาเริ่มตนโครงการ (Inception Study) และระหวางดําเนินโครงการที่ผานพนชวงแรกไปแลว (Formative Evaluation) ผลที่ไดจากการประเมินดังกลาวนี้จะชวยปรับปรุงทั้งปจจัยปอน กระบวนการบริหารจัดการ และแมแตวัตถุประสงคและเปาหมายของโครงการใหเปนไปตามความเหมาะสมใหเกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล มีช่ือเรียกการประเมินแบบนี้อีก เชน การประเมินความกาวหนา (Progress Evaluation) และการประเมินการดําเนินการ (Implementation Evaluation) เปนตน ในการดําเนินโครงการดานการทองเที่ยวและการศึกษาอาจใชวิธีการประเมินระหวางดําเนินโครงการเพื่อทบทวนแผนและปรับแผนของโครงการ ปรับตารางการดําเนินงานดานตาง ๆ ทั้งการประชาสัมพันธ การตลาด การสงเสริมการขาย และปรับปรุงกระบวนการบริหารจัดการเพื่อลดความเสี่ยงของ โครงการ เปนตน

2.6.3 การประเมินผลรวมสรุป (Summative Evaluation)

มักใชหลังสิ้นสุดโครงการใหม ๆ เพื่อคนหาประสิทธิผลของการดําเนินโครงการวาบรรลุเปาหมายตามที่กําหนดไวหรือไม อยางไร หรือทบทวนกระบวนการบริหารจัดการวา ประสบความสําเร็จหรือลมเหลวประการใด

การประเมินผลประเภทรวมสรุปนี้ อาจมองในมิติของโครงการระยะยาว ออกเปน ชวงโครงการ (Phase) ซ่ึงการประเมินลักษณะนี้ก็มองไดเปน 2 ประเภท คือ เปนทั้งการประเมินรวมสรุปของแตละชวงโครงการ (Summative evaluation of each phase) หรืออาจจะมองการ

Page 46: หน้าปก[1]library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19773.pdf · บทที่5 สรุปผลการศ ึกษาและข อเสนอแนะ 74 5.1 สรุปผลการศ

36

ประเมินของแตละชวงโครงการเปนการประเมินระหวางดําเนินการ (Formative) ของโครงการระยะยาวทั้งหมดก็ได ซ่ึงขึ้นอยูกับมุมมองของผูอานหรือเจาของโครงการ

2.6.4 การประเมินผลกระทบของโครงการ

เปนการตรวจสอบผลกระทบที่ เกิดขึ้นจากการดําเนินงานในแตละโครงการ และภาพรวมของผลกระทบทั้งหลาย ๆ ชนิด เชน ผลกระทบดานสังคม เศรษฐกิจ การเมือง ระบบนิเวศ หรือส่ิงแวดลอม เทคโนโลยี ประชากร และดานนโยบาย ทั้งนี้ขึ้นอยูกับเปาหมายของการประเมินผลกระทบนั้นวา ตองการเนนดานใดเปนสําคัญ แตอยางไรก็ตาม ผูรับผิดชอบโครงการจําเปนตองศึกษาดูวา ในเชิงนิติศาสตรแลว จะตองมีการประเมินผลกระทบดานใดบาง

อยางไรก็ตาม หากคํานึงถึงการใชเวลามาเปนเกณฑการประเมินรวมกับการจําแนกการประเมินแลว การประเมินผลกระทบของโครงการอาจจะพิจารณาไดเปน 2 นัย คือ การประเมินผลกระทบในบริบทของการศึกษาความเปนไปไดเพื่อตัดสินใจเกี่ยวกับโครงการ และการประเมินผลกระทบในบริบทของหลังชวงระยะสิ้นสุดโครงการไปแลว แตนักประเมินผลบางทาน ก็อาจโตแยงไดวา สามารถทําการประเมินผลกระทบของโครงการไดทุกระยะ ไมวาจะเปนกอนเริ่มโครงการ

ระหวางดําเนินโครงการ เมื่อส้ินสุดโครงการ หรือมองภาพรวมของโครงการทั้งหมด

2.7 งานวิจัยท่ีเกี่ยวของ

จากการรวบรวมรายงานผลการศึกษาวิจัยที่เกี่ยวของกับการจัดการขยะมูลฝอยในชุมชน ผูศึกษาขอนําเสนองานวิจัยที่เกี่ยวของ ดังตอไปนี้

ชัชกูล รัตนวิบูลย (2543) ไดศึกษาพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยของประชาชนในชุมชนเขตสายไหม กรุงเทพมหานคร ผลการศึกษาพบวา ประชาชนที่มี อายุ ระดับการศึกษาอาชีพ ระยะเวลาที่อยูอาศัยในชุมชนและรายไดเฉลี่ยในครัวเรือนแตกตางกันมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยแตกตางกัน ยกเวนปจจัยดานเพศ จํานวนสมาชิกในครัวเรือนของแตละครอบครัว ส่ือตาง ๆ และประเภทชุมชนที่อยูอาศัยไมมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอย นอกจากนี้ พบวา ประชาชนที่มีความรู ความเขาใจเกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอยแตกตางกันมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยแตกตางกัน

วิโรจน ตันติธรรม (2543) ศึกษาเรื่องการมีสวนรวมในการกําจัดขยะศึกษากรณีองคการบริหารสวนตําบลเสม็ด อําเภอเมือง จังหวัดชลบุรี พบวา การมีสวนรวมของประชาชนอยูในระดับกลาง ทั้งนี้เพราะชุมชนสวนใหญเปนชุมชนที่พักอาศัยเปนเขตเจริญ ขาดความสนใจมีอายุนอยขาดการศึกษาและมาอาศัยอยูไมนาน และพบวา การมีสวนรวมสนับสนุนกิจกรรมจะมีมากกวา

Page 47: หน้าปก[1]library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19773.pdf · บทที่5 สรุปผลการศ ึกษาและข อเสนอแนะ 74 5.1 สรุปผลการศ

37

การมีสวนรวมในการติดตามประเมินผล และมีแนวโนมวาผูที่มีรายไดสูงจะมีสวนรวมมากกวา มีความรับผิดชอบตอสังคมมากกวาผูมีรายไดนอยและผูที่อาศัยในพื้นที่นานกวาจะมีสวนรวมมากกวาผูที่อยูอาศัยไมนาน

ศักดิ์สิทธิ์ แยมศรี (2543) ศึกษาเรื่องการมีสวนรวมในการกําจัดขยะในเขตองคการบริหารสวนตําบลหนองปรือ อําเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี พบวา ประชาชนมีสวนรวมในการกําจัดขยะต่ําเพราะผูที่เขามาอยูอาศัยสวนใหญเปนผูเขามาพักอาศัยเทานั้นและเปนกลุมที่มีการศึกษาต่ํารายไดนอย มีสถานภาพเปนผูเชาหรือผูอาศัย การมีรายไดสูง มีความรู อายุมากมีแนวโนมวาจะมีสวนรวมมากและการเปนเจาของบานจะมีระดับการมีสวนรวมมากกวาผูเชาหรือผูอยูอาศัย

สุภาพร เนียมหอม (2543) ไดศึกษาเรื่อง ประชาคมเมืองกับการจัดการขยะมูลฝอยศึกษาเฉพาะกรณี เขตทวีวัฒนา กรุงเทพมหานคร พบวา ประชาคมเมืองที่อาศัยอยูในหมูบานสกุลทิพย มีอายุระหวาง 31 - 50 ป อาชีพรับราชการ และพนักงานบริษัท มีการศึกษาระดับปริญญาตรี ทั้งเพศชาย เพศหญิง มีจิตสํานึกและมีสวนรวมในการจัดการขยะมูลฝอยอยูในระดับพอใจที่ตองการใหชุมชนและสังคมเมืองมีความสะอาดขึ้น

สุวัฒน ฤทธิ์สําเร็จ (2544) ไดศึกษาเรื่อง การมีสวนรวมของประชาชนในการจัดการขยะมูลฝอย : ศึกษากรณีของชุมชนในเขตเทศบาลตําบลบางเสาธง กิ่งอําเภอบางเสาธง จังหวัดสมุทรปราการ โดยมีวัตถุประสงคเพื่อ ศึกษาระดับความรูความเขาใจเกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอยระดับการมีสวนรวมในการจัดการขยะมูลฝอย ปจจัยที่มีความสัมพันธกับความรูความเขาใจเกี่ยวกับการจัดการขยะ มูลฝอย และปจจัยที่มีความสัมพันธกับการมีสวนรวมในการจัดการขยะมูลฝอย ผลการศึกษาพบวา ระดับความรู ความเขาใจเกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอยและการมีสวนรวมของชุมชน โดยรวมอยูในระดับมาก ระดับการมีสวนรวมในการจัดการขยะมูลฝอยโดยรวมอยูในระดับปานกลาง และพบวา เพศ สถานภาพในที่อยูอาศัย มีความสัมพันธกับความรูความเขาใจเกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอยอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และพบวา เพศสถานภาพในที่อยูอาศัย รายไดมีความสัมพันธกับการมีสวนรวมในการ จัดการขยะมูลฝอยอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

อัศวินทร แกวมาลาฤทธิ์ (2544: บทคัดยอ) ไดศึกษาเฉพาะกรณีการแยกมูลฝอยสํานักงานวังทองหลาง โดยใชวิธีการวิจัยเชิงสํารวจ (Survey research) พบวา

1. ระดับเงินเดือนที่มีความสัมพันธกับการบรรลุวัตถุประสงคของโครงการ สวน เพศ อายุ ระดับการศึกษา และอาชีพ ไมมีความสัมพันธกับการบรรลุวัตถุประสงคของโครงการ

Page 48: หน้าปก[1]library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19773.pdf · บทที่5 สรุปผลการศ ึกษาและข อเสนอแนะ 74 5.1 สรุปผลการศ

38

2. การประชาสัมพันธและทัศนคติตอโครงการ มีความสัมพันธกับการบรรลุวัตถุประสงคของโครงการ ในดานความเพียงพอดานปริมาณและคุณภาพของเจาหนาที่ความเพียงพอดานวัสดุ อุปกรณ เครื่องมือ เครื่องใช ไมมีความสัมพันธกับการบรรลุวัตถุประสงคของโครงการ

จารุวรรณ ทองไพบูลย (2545: บทคัดยอ) ไดศึกษาการบริหารและการจัดการขยะมูลฝอยขององคการบริหารสวนตําบล ในอําเภอเมือง จังหวัดขอนแกน พบวา

1. ดานการวางแผน มีการจัดทําแผนการจัดการขยะมูลฝอยอยางเปนระบบ ครอบคลุมและเหมาะสม มีความสอดคลองกับแผนพัฒนาจังหวัด และแผนพัฒนาสิ่งแวดลอม ขอมูลที่นํามาวางแผนไดมาจากการประชุมรวมกับประชาชนในพื้นที่และผูที่เกี่ยวของ ทําใหสอดคลองกับปญหา มีการประเมินที่เหมาะสม

2. ดานการจัดองคกร การจัดโครงสรางขององคการมีความเหมาะสม มีการประสานงาน กําหนดอํานาจหนาที่ความรับผิดชอบและแบงหนาที่ในการควบคุมบังคับบัญชาอยาง เหมาะสม มีการมอบหมายงานตามความถนัดของบุคลากร

3. ดานบุคลากร บุคลากรในหนวยงานสวนหนึ่งมีความรูความสามารถเพียงพอแตบางสวนเห็นวาบุคลากรไมไดรับการฝกอบรมและพัฒนาทักษะอยางเพียงพอ บุคลากรไดรับคาตอบแทนที่เพียงพอเหมาะสม บุคลากรมีความเขาใจและมีความรับผิดชอบในบทบาทหนาที่แตปญหาบุคลากรมีจํานวนไมเพียงพอ และจัดอัตรากําลังไมเหมาะสม

4. ดานงบประมาณ งบประมาณไมเพียงพอ การจัดเก็บคาธรรมเนียมมีอัตราต่ําและการจัดเก็บคาธรรมเนียมไดไมทั่วถึง

5. ดานการจัดเก็บขยะมูลฝอย สวนใหญพอใจสภาพรวมของการเก็บและวิธีการเก็บ

6. ดานการขนยายขยะมูลฝอย วิธีการและเสนทางในการขนยายมีความเหมาะสมปลอดภัย

7. ดานการแปรสภาพขยะมูลฝอย ไมมีการแยกประเภทขยะมูลฝอยเพื่อนํามาแปรสภาพกอนนําไปกําจัด ประกอบกับบุคลากรที่ทําการแปรสภาพ ไมมีความรูความสามารถเพียงพอ

8. ดานการกําจัดขยะมูลฝอย สถานที่และวิธีการกําจัดมูลฝอย ไมมีความเหมาะสม พื้นที่กําจัดไมเพียงพอกับปริมาณขยะมูลฝอย บางพื้นที่ตองเสียคาธรรมเนียมใหแกเทศบาลเพื่อเปนการเชาที่ทิ้งขยะ สวนในบางพื้นที่ประชาชนไดทําการกําจัดดวยวิธีการที่ไมถูกตองกอใหเกิดอันตราย

ศรีศักดิ์ จงศิริ (2545: บทคัดยอ) ไดศึกษาการประเมินโครงการสงเสริมการลดและแยกขยะมูลฝอยของสํานักงานเขตคลองสามวา กรุงเทพมหานคร พบวา

1. ความสําเร็จในดานพฤติกรรมการลดและแยกมูลฝอยอยูในระดับสูง สวนพฤติกรรมการแยกมูลฝอยอยูในระดับกลาง

Page 49: หน้าปก[1]library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19773.pdf · บทที่5 สรุปผลการศ ึกษาและข อเสนอแนะ 74 5.1 สรุปผลการศ

39

2. ประเภทกลุมเปาหมายที่แตกตางกัน จะมีพฤติกรรมการลดและพฤติกรรมการแยกมูลฝอยแตกตางกัน

3. การเขารวมกิจกรรมของโครงการฯ ที่แตกตางกัน มีผลพฤติกรรมการแยกมูลฝอยแตกตางกัน แตไมทําใหพฤติกรรมการลดมูลฝอยแตกตางกัน

4. การรับรูขาวสารของโครงการฯ ในตัวแปรยอยสวนใหญมีความสัมพันธในทิศทางตรงกันขามกับพฤติกรรมการลดและแยกมูลฝอย

5. ความรูเร่ืองการลดและแยกมูลฝอย ในตัวแปรยอยบางสวนมีความสัมพันธในทิศทางตรงกันขามกับพฤติกรรมการลดมูลฝอย แตในตัวแปรบางสวนมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการแยกมูลฝอยในทิศทางเดียวกัน

ณัฐรดี คงดั่น (2546: บทคัดยอ) ไดศึกษาถึงพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยของประชาชนใน 3 ลักษณะ คือ การลดการเกิดของขยะมูลฝอย การนํากลับมาใชใหมและการคัดแยกขยะมูลฝอย พบวา

1. กลุมตัวอยางสวนใหญมีความรูเกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอย การรับรูขาวสารเกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอย และการมีสวนรวมในการจัดการขยะมูลฝอย อยูในระดับดี

2. พฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยของประชาชนโดยรวมอยูระดับดี เมื่อพิจารณาในแตละดาน พบวา ประชาชนสวนใหญมีพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยดานการนํากลับมาใชใหมและการคัดแยกประเภทขยะอยูในระดับดี

3. ปจจัยสวนบุคคลที่มีผลตอพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยโดยรวมไดแก ระดับการศึกษา โดยพบวา ประชาชนที่จบการศึกษาระดับปริญญาตรีมีพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอย โดยรวมดีวากลุมตัวอยางที่จบการศึกษามัธยมศึกษาปที่ 6 หรือเทียบเทา

เมื่อพิจารณาในแตละดาน พบวา ปจจัยสวนบุคคลที่มีผลตอพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยดานการลดขยะ คือ ระดับการศึกษา และจํานวนสมาชิกในครัวเรือน ปจจัยสวนบุคคลที่มีผลตอพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยดานการคัดแยกประเภทขยะ คือ ระดับการศึกษา รายไดในครัวเรือนตอเดือน และการมีสวนรวมในการจัดการขยะมูลฝอย สวนดานการนํากลับมาใชใหม พบวา ไมมีปจจัยสวนบุคคลปจจัยใดที่มีอิทธิพลตอพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยดานการนํากลับมาใชใหม

4. ปจจัยกระตุนที่มีผลตอพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยดานการคัดแยกขยะมูลฝอย คือ การมีสวนรวมในการจัดการขยะมูลฝอย สวนปจจัยกระตุนอื่นๆ ไมมีผลตอพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยโดยรวมและดานอื่นๆและไดทําการศึกษาวิจัยเร่ือง ปจจัยที่มีผลตอพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยของประชาชนในเขตมีนบุรี กรุงเทพมหานคร พบวา ประชาชนสวนใหญมีพฤติกรรม

Page 50: หน้าปก[1]library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19773.pdf · บทที่5 สรุปผลการศ ึกษาและข อเสนอแนะ 74 5.1 สรุปผลการศ

40

การจัดการขยะมูลฝอยดานการลดการเกิดขยะอยูในระดับปานกลาง ดานการนํากลับมาใชใหมและการคัดแยกประเภทขยะอยูในระดับดีและปจจัยสวนบุคคลที่มีผลตอพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยโดยรวม ไดแก ระดับการศึกษา โดยพบวา ประชาชนที่จบการศึกษาระดับปริญญาตรีมีพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยโดยรวมดีกวากลุมตัวอยางที่จบการศึกษามัธยมศึกษาปที่ 6 หรือเทียบเทา เมื่อพิจารณาในแตละดาน พบวา ปจจัยสวนบุคคลที่มีผลตอพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยดานการลดการเกิดขยะ คือ ระดับการศึกษาและจํานวนสมาชิกในครัวเรือน ปจจัยสวนบุคคลที่มีผลตอพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยดานการคัดแยกประเภทขยะ คือระดับการศึกษา รายไดในครัวเรือนตอเดือน และการมีสวนรวมในการจัดการขยะมูลฝอยสวนดานการนํากลับมาใชใหม พบวา ไมมีปจจัยสวนบุคคลปจจัยใดที่มีอิทธิพลตอพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอย

สุพจน ทรัพยผดุงชนม (2546) ไดศึกษาพฤติกรรมการมีสวนรวมของประชาชนในการกําจัดขยะมูลฝอย ศึกษากรณี เทศบาลตําบลบานฉาง อําเภอบานฉาง จังหวัดระยองมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาพฤติกรรมในการจัดการขยะ ระดับการมีสวนรวม และเปรียบเทียบพฤติกรรมการมีสวนรวมของประชาชนในการ จัดการขยะในเขตเทศบาลตําบลบานฉางอําเภอบานฉาง จังหวัดระยอง โดยจําแนกตาม เพศ อายุ สถานภาพ ระดับการศึกษา การประกอบอาชีพ รายไดตอเดือน ระยะเวลาที่พักอาศัย แหลงขาว และความถี่ในการรับขาวสาร พบวา ขอมูลพฤติกรรมการมีสวนรวมของประชาชนในการจัดการขยะมูลฝอย ในภาพรวมมีสวนรวมอยูในระดับปานกลาง โดยการดําเนินกิจกรรมมีสวนรวมอยูในระดับมาก รองลงมาการใชประโยชนการวางแผนและการติดตามประเมินผล ตามลําดับ เปรียบเทียบ พฤติกรรมการมีสวนรวมของประชาชนจําแนกตาม เพศ อายุ สถานภาพ ระดับการศึกษา การประกอบอาชีพ รายไดตอเดือน ระยะเวลาที่พักอาศัย แหลงขาว และความถี่ในการรับขาวสาร พบวา ระดับการศึกษา ระยะเวลาที่พักอาศัยแหลงที่ไดรับขาวสาร และความถี่ในการรับขาวสาร มีผลตอพฤติกรรมการมีสวนรวมของประชาชนในการจัดการขยะมูลฝอยในเขตเทศบาลตําบล บานฉาง จังหวัดระยอง สําหรับ เพศ อายุสถานภาพ การประกอบอาชีพและรายไดตอเดือน ไมมีผลตอพฤติกรรมการมีสวนรวมของประชาชนในการจัดการขยะมูลฝอยในเขตเทศบาลตําบลบานฉาง

วิไลวรรณ นาหัวนิล (2547: บทคัดยอ) ไดศึกษา การจัดการมูลฝอยขององคการบริหารสวนตําบล พบวา การจัดการมูลฝอยของชุมชนขององคการบริหารสวนตําบลสวนใหญอยูในระดับต่ํา ทั้งในดานการเก็บรวบรวม การขนลําเลียงและการกําจัด จากการศึกษาปจจัยที่มีอิทธิพลตอการจัดการมูลฝอยชุมชนขององคการบริหารสวนตําบล ไดแกความหนาแนนของประชากร รายไดขององคการบริหารสวนตําบล และทรัพยากรในการจัดการ

Page 51: หน้าปก[1]library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19773.pdf · บทที่5 สรุปผลการศ ึกษาและข อเสนอแนะ 74 5.1 สรุปผลการศ

41

อุทัย ขันโอฬาร (2547: บทคัดยอ) ไดศึกษา ประสิทธิผลในการจัดการขยะมูลฝอยขององคการบริหารสวนตําบล: ศึกษากรณี องคการบริหารสวนตําบล อําเภอสามพราน จังหวัด พบวา ประสิทธิผลการจัดการขยะมูลฝอย อยูในระดับปานกลาง ปจจัยที่มีความสัมพันธตอประสิทธิผลในการจัดการขยะมูลฝอยไดแกความเพียงพอของงบประมาณ คุณภาพของบุคลากรที่ปฏิบัติงาน ความเพียงพอของอุปกรณและยานพาหนะในการเก็บรวบรวมและขนสงขยะมูลฝอย ความสามารถในการจัดการขยะมูลฝอยความรวมมือของประชาชนในพื้นที่ ความสะดวกของเสนทางคมนาคมในพื้นที่ อบต. สวนปจจัยที่ไมมีความสัมพันธ ไดแก ความเพียงพอของบุคลากรที่ปฏิบัติงานดานการจัดการขยะมูลฝอย ในการเปรียบเทียบประสิทธิผลในการจัดการขยะมูลฝอย พบวา อบต. บานใหมมีประสิทธิผลในการจัดการขยะมูลฝอยมากกวา อบต. อ่ืน

สมสมาน อาษารัฐ (2548: บทคัดยอ) ไดศึกษาการมีสวนรวมของประชาชนตอการจัดการขยะมูลฝอย : กรณีศึกษาองคกรบริหารสวนตําบลธาตุทอง อําเภอบอทอง จังหวัดชลบุรี ผลการศึกษาพบวา ประชาชนที่มีอาชีพแตกตางกันมีสวนรวมตอการจัดการขยะมูลฝอยแตกตางกัน และประชาชนที่รับรูขอมูลขาวสารมากมีสวนรวมในการจัดการขยะมูลฝอยมากกวาประชาชนที่มีการรับรูขอมูลขาวสารนอย สําหรับสภาพปญหาขยะของชุมชน ไดแก ชุมชนไมมีการคัดแยกขยะ ชุมชนขาดความรูในการกําจัดขยะอยางถูกวิธี และขาดการรับทราบขอมูลขาวสารดานการใหบริการจัดการดานขยะมูลฝอยขององคการบริหารสวนตําบลธาตุทอง สําหรับโครงการนํารองเพื่อแกไขปญหาขยะมูลฝอยของชุมชนที่จัดทําขึ้น มีผลทําใหประชาชนมีความรูเกี่ยวกับระบบการจัดการขยะมูลฝอย และการคัดแยกขยะมูลฝอยเพิ่มขึ้น ตลอดจนประชาชนเขามามีสวนรวมและมีการับรูขอมูลขาวสารความรูในเรื่องการทิ้งขยะมูลฝอยเพิ่มมากขึ้น อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

ปรเมษฐ หวงมิตร (บทคัดยอ: 2550) ไดศึกษาพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยของประชาชนในเขตลาดพราวกรุงเทพมหานคร พบวา พฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยของประชาชนในเขตลาดพราวกรุงเทพมหานคร โดยรวมมีพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยอยูในระดับมาก เมื่อพิจารณาเปนรายดานพบวา ดานที่มีพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอย มากที่สุดคือ ดานการนํากลับมาใชใหม รองลงมาคือ ดานการลดการเกิดขยะมูลฝอย และดานการคัดแยกขยะมูลฝอย โดยในดานการนํากลับมาใชใหม ประชาชนเลือกขยะประเภทกลองกระดาษ หรือหนังสือพิมพเก็บไวขาย หรือนํากลับมาใชไดอีก ในดานการลดการเกิดขยะมูลฝอย ประชาชนเลือกใชถุงพลาสติกใสส่ิงของใบใหญเพียงใบเดียวมากกวาใบเล็กหลายๆ ใบ และในดานการคัดแยกขยะมูลฝอย ประชาชนมีพฤติกรรม การทิ้งขยะเปยก จะตองมีถังขยะรองรับเสมอ ผลเปรียบเทียบความแตกตางของพฤติกรรมการกําจัดขยะมูลฝอยของประชาชนในเขตลาดพราว กรุงเทพมหานคร พบวา เพศ อายุระยะเวลาที่อยูอาศัยในชุมชน รายไดในครอบครัวตอเดือน จํานวนสมาชิกในครอบครัว และ

Page 52: หน้าปก[1]library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19773.pdf · บทที่5 สรุปผลการศ ึกษาและข อเสนอแนะ 74 5.1 สรุปผลการศ

42

ลักษณะที่อยูอาศัย ตางกัน มีพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยของประชาชนในเขตลาดพราว

กรุงเทพมหานคร แตกตางกัน ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05

ปยภัทร สายนรา (2552: บทคัดยอ) ไดศึกษาการจัดการขยะมูลฝอยแบบมีสวนรวมของประชาชน: กรณีศึกษาชุมชนวัดพระธาตุหนองบัว 1 เทศบาลนครอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี พบวา

1. การจัดการขยะมูลฝอยของประชาชนโดยรวมอยูในระดับปานกลาง ยกเวน การคัดแยกขยะมูลฝอย เชน กลองกระดาษ ถุงพลาสติกที่มีการดําเนินการนอย

2. การมีสวนรวมของประชาชนในการจัดการขยะมูลฝอยโดยรวมอยูในระดับปานกลาง ยกเวนการติดตามขอมูลขาวสารเกี่ยวกับปญหาขยะมูลฝอยวิธีการจัดการขยะมูลฝอยและการนําขยะที่ใชแลวนํากลับมาใชซํ้าซึ่งอยูในระดับนอย

3. การเปรียบเทียบวิธีการจัดการขยะมูลฝอยและมีสวนรวมในการจัดการขยะมูลฝอยจาก คุณลักษณะสวนบุคคลที่แตกตางกัน ไดแก เพศ อายุ การศึกษา อาชีพ และรายไดที่สงผลตอวิธีการจัดการขยะมูลฝอยและการมีสวนรวมในการจัดการขยะมูลฝอยของประชาชน ดานการจัดการขยะมูลฝอยพบวา คุณลักษณะสวนบุคคลที่แตกตางกัน มีวิธีการจัดการขยะมูลฝอยไมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ยกเวนคุณลักษณะดานอายุ อาชีพ และรายได ที่มีวิธีการจัดการขยะมูลฝอยที่แตกตางกัน ดานการมีสวนรวมในการจัดการขยะมูลฝอยพบวา คุณลักษณะสวนบุคคลที่แตกตางกันมีสวนรวมในการจัดการขยะมูลฝอยไมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

Page 53: หน้าปก[1]library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19773.pdf · บทที่5 สรุปผลการศ ึกษาและข อเสนอแนะ 74 5.1 สรุปผลการศ

43

บทที่ 3

วิธีการศึกษาและประเมินโครงการ

3.1 กรอบแนวคิดในการศึกษา

ภาพที่ 3-1 กรอบแนวคดิในการศึกษา

3.2 หลักการและกรอบแนวคิดในการประเมินโครงการ การศึกษาและประเมินคงามสําเร็จของโครงการจัดการขยะมูลฝอยโดยชุมชน ของ

สํานักงานสิ่งแวดลอม กรุงเทพมหานคร เปนการตรวจสอบความสําเร็จของโครงการ ฯ วาผลจากการดําเนินการประสบความสําเร็จหรือไม สามารถลดปริมาณขยะมูลฝอยจากการมีสวนรวมของประชาชนในการลดและคัดแยกมูลฝอยไดหลังจากการดําเนินโครงการนี้แลวเสร็จ โดยใชดัชนีความสําเร็จ แลวทําการใหคะแนนแบบแบงชวง โดยใชทั้งหมด 4 ดัชนี ในการประเมินความสําเร็จ ไดแก ประสิทธิผล ผลกระทบ ความสอดคลองกับความตองการ และความยั่งยืน

โดยมีกรอบแนวคิดในการประเมินผลโครงการดังนี ้

โครงการการจัดการขยะมูลฝอยโดยชุมชน

-ประสิทธิผล -ผลกระทบ

-ความสอดคลองกับความ ตองการ

-ความยั่งยืน

ความสํา เร็จของโครงการจัดการขยะมูลฝอยโดยชุมชน CBM

Page 54: หน้าปก[1]library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19773.pdf · บทที่5 สรุปผลการศ ึกษาและข อเสนอแนะ 74 5.1 สรุปผลการศ

44

ภาพที่ 3-2 กรอบแนวคดิในการประเมินโครงการ

3.3 ประเด็นการประเมินและตัวชี้วัด

เกณฑการประเมินโครงการ เกณฑการพิจารณา และการรวบรวมขอมูลในแตละประเด็นหลัก 4 ดัชนี คือ ประสิทธิผล ประสิทธิภาพ ผลกระทบจากการดําเนินโครงการ ความสอดคลองกับความตองการและความยั่งยืน กําหนดใหคะแนนรวมของทั้ง 4 ประเด็น เทากับ 100 คะแนน โดยมีรายละเอียดตัวช้ีวัดยอยของแตละประเด็น ดังนี้ 1. ประสิทธิผล

- ปริมาณขยะมูลฝอยที่ตองจัดเก็บ - การมีสวนรวมของชุมชน - ปริมาณขยะรีไซเคิลที่พบจากขยะที่ตองจัดเก็บ - จํานวนครัวเรือนที่นําเศษอาหารไปหมักปุย

ระดับคะแนน ผลการประเมินโครงการ > 85 ดีมาก

> 75-85 ดี > 60-75 ปานกลาง > 50-60 พอใช / ควรปรับปรุง <= 50 นอย / ไมควรดําเนินโครงการลักษณะนี ้

ความยั่งยืนของโครงการ 30 %

ประเมินความสําเร็จโครงการ 100 %

ความสอดคลองกับความตองการ 20 %

ผลกระทบจากการดําเนิน 20 %

ประสิทธิผลโครงการ 30%

Page 55: หน้าปก[1]library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19773.pdf · บทที่5 สรุปผลการศ ึกษาและข อเสนอแนะ 74 5.1 สรุปผลการศ

45

2. ผลกระทบ (ดานบวก ดานลบ) - ดานสิ่งแวดลอม

- สภาพแวดลอมชุมชน - ปริมาณขยะตกคาง - กล่ินเหม็นขยะ - ปญหาการรื้อคนขยะ - แหลงสะสมเชื้อโรค

- ดานสังคม

- ความสัมพันธภายในชุมชน - ความสัมพันธระหวางสํานักเขตและชุมชน

- ดานเศรษฐกิจ

- รายได / ผลพลอยไดจากการคัดแยกขยะ - รายจายที่ลดลงจากการผลิตปุยใชเอง

3. ความสอดคลองกับความตองการ

- ลงทุนนอย - ขั้นตอนไมยุงยาก - เห็นผลชัดเจน และเร็ว

- มีสวนรวมในทุกขั้นตอน

- การยอมรับโครงการ 4. ความยั่งยืน - ความตอเนื่องของการซื้อขายขยะรีไซเคิล - ความตอเนื่องของการผลิตปุยหมักอินทรีย - ชุมชนมีความรู ความเขาใจในการคัดแยก - นโยบายของหนวยงาน/สํานักงานเขตสนับสนุนตอเนื่อง

แสดงความสัมพันธของตัวแปร ไปสูการวัดผลความสําเร็จทั้ง 4 ดาน

Page 56: หน้าปก[1]library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19773.pdf · บทที่5 สรุปผลการศ ึกษาและข อเสนอแนะ 74 5.1 สรุปผลการศ

46

ตารางที่ 3-1 รายละเอียดการประเมินโครงการ

ประเด็นการประเมิน

เกณฑการพิจารณา คะแนน วิธีการรวบรวมขอมูล แหลงขอมูล

1. ประสิทธิผล 1 ปริมาณขยะมลูฝอยที่ตองจัดเก็บ

ลดลง > 30%

ลดลง > 15 - 30%

ลดลง > 1 - 15%

ไมลดลง

3 2 1 0

ปริมาณขยะมลูฝอยที่ตองจัดเก็บในแตละวนัหลังดําเนินโครงการเทียบกับกอนดําเนินโครงการ

สัมภาษณผูนําชุมชน

2 การมีสวนรวมของชุมชน

ผูเขารวม > 50%

ผูเขารวม > 35 – 50 %

ผูเขารวม > 20 – 35 %

ผูเขารวม ≤ 20 %

3 2 1 0

จํานวนครัวเรือนที่เขารวมกิจกรรมตอจํานวนครัวเรือนทั้งหมดในชุมชนนั้น ๆ

สัมภาษณผูนําชุมชน

3 ปริมาณขยะรไีซเคิลที่พบจากขยะที่ตองจัดเก็บ

ขยะรีไซเคิลทีพ่บ < 10 % ขยะรีไซเคิลทีพ่บ > 10 -15% ขยะรีไซเคิลทีพ่บ > 15-20% ขยะรีไซเคิลทีพ่บ ≥ 20%

3 2 1 0

สํ ารวจปริมาณขยะรีไซเคิลที่ปะปนมากับข ย ะ ทั่ ว ไ ป ที่ ท า งสํานักงานเขตจัดเก็บในแตวัน

แบบสํารวจ

2. ผลกระทบ (ดานบวก ดานลบ) ปญหาดานส่ิงแวดลอม

1) สภาพแวดลอมโดยรวม

สภาพแวดลอมดีขึ้นมาก

สภาพแวดลอมดีขึ้นปานกลาง สภาพแวดลอมเหมือนเดิม

สภาพแวดลอมแยลง

2 1 0 -1

จํานวนผูที่คิดวาปญหาดานสิ่งแวดลอมลดลงต อ จํ า น ว น ผู ต อ บแบบสอบถามทั้งหมด

แบบสอบถามชุมชน

2) ปริมาณขยะตกคาง

ไมมีเลย

น อ ย ก ว า ก อ น ดํ า เ นิ นโครงการ

เหมื อนกับก อนดํ า เนิน

2 1 0 -1

แบบสอบถามชุมชน

Page 57: หน้าปก[1]library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19773.pdf · บทที่5 สรุปผลการศ ึกษาและข อเสนอแนะ 74 5.1 สรุปผลการศ

47

ปญหาดานสังคม

1) ความสัมพันธภายในชุมชน

ความสัมพันธดีขึ้นมาก

ความสัมพันธดีขึ้นเล็กนอยความสัมพันธเหมือนเดิม

ความสัมพันธแยลง

2 1 0 -1

คํานวณจากขอมูลที่ไดจากแบบสอบถาม

แบบสอบถามชุมชน/

สัมภาษณผูนําชุมชน

โครงการ

ม า ก ก ว า ก อ น ดํ า เ นิ นโครงการ

3) กล่ินเหม็นขยะ ไมมีเลย

น อ ย ก ว า ก อ น ดํ า เ นิ นโครงการ

เหมื อนกับก อนดํ า เนินโครงการ

ม า ก ก ว า ก อ น ดํ า เ นิ นโครงการ

2 1 0 -1

แบบสอบถามชุมชน

4) ปญหาเกี่ยวกับการรื้อคนขยะ

ไมมีเลย

น อ ย ก ว า ก อ น ดํ า เ นิ นโครงการ

เหมื อนกับก อนดํ า เนินโครงการ

ม า ก ก ว า ก อ น ดํ า เ นิ นโครงการ

2 1 0 -1

แบบสอบถามชุมชน

5) ปญหาเกี่ยวกับแหลงสะสมเชื้อโรค

ไมมีเลย

น อ ย ก ว า ก อ น ดํ า เ นิ นโครงการ

เหมื อนกับก อนดํ า เนินโครงการ

ม า ก ก ว า ก อ น ดํ า เ นิ นโครงการ

2 1 0 -1

แบบสอบถามชุมชน

Page 58: หน้าปก[1]library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19773.pdf · บทที่5 สรุปผลการศ ึกษาและข อเสนอแนะ 74 5.1 สรุปผลการศ

48

2) ความสัมพนัธระหวางชุมชนตอเจาหนาทีเ่ขตฯ

ความสัมพันธดีขึ้นมาก

ความสัมพันธดีขึ้นเล็กนอยความสัมพันธเหมือนเดิม

ความสัมพันธแยลง

2 1 0 -1

คํานวณจากขอมูลที่ไดจากแบบสอบถาม

สัมภาษณผูนําชุมชน

ปญหาดาน เศรษฐกิจ

1) รายไดเพิ่มขึ้นจากการคัดแยกขยะ

> 200 บาท / เดือน

> 100 – 200 บาท /เดือน

≤ 100 บาท/ เดือน ไมมีเลย

3 2 1 0

รายไดที่ เพิ่มขึ้น / ผลพลอยไดจากการคัดแยกข ย ะ ห ลั ง ดํ า เ นิ นโครงการ

แบบสอบถามชุมชน

2) รายจายลดลงจากการผลิตปุย

ล ด ก า ร ซื้ อ ปุ ย ไ ด 80-100% ลดการซื้อปุยได 50-80%

ลดการซื้อปุยไดนอยกวา 50% ไมลดเลย

3 2 1 0

รายจายที่ลดลงจากการซ้ือปุยกอนมีโครงการ

แบบสอบถามชุมชน

ความสอดคลองกับความตองการ ลักษณะโครงการ เปนที่ตองการ

เห็นดวย > 70 % เห็นดวย > 50-70 % เห็นดวย > 30-50 %

เห็นดวย ≤ 30 %

3 2 1 0

จํานวนรอยละของผูตอบแบบสอบถามเห็นดวยกับลักษณะโครงการ

แบบสอบถามชุมชน

การยอมรับ โครงการ

1)ความคิดเหน็ตอโครงการ CBM

เห็นดวยมาก

เห็นดวยปานกลาง เห็นดวยนอย

เฉยๆ

3 2 1 0

รอยละของผูตอบแบบสอบถามยอมรับโครงการ

แบบสอบถามชุมชน

2) ความวิตกกงัวลเกี่ยวกับการดําเนินงานโครงการ CBM

ไมวิตกกังวลเลย

วิตกกังวล

ไมแสดงความคิดเห็น

1 -1 0

รอยละของผูตอบแบบสอบถามยอมรับโครงการ

แบบสอบถามชุมชน

ความยั่งยืนของโครงการ

Page 59: หน้าปก[1]library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19773.pdf · บทที่5 สรุปผลการศ ึกษาและข อเสนอแนะ 74 5.1 สรุปผลการศ

49

ความตอเนื่องของการซื้อ-ขาย ขยะรีไซเคิล

ร ว มกิ จ ก ร รมคั ด แ ยกตอไป

รวมกิจกรรมคัดแยก

ไมแนใจ ไมรวมกิจกรรม

3 2 1 0

รอยละของผูตอบแบบสอบถาม

แบบสอบถามชุมชน

นโยบายของหนวยงานสนับสนุน ตอเนื่อง

มีแผนสนับสนุน > 10

ป มีแผนสนับสนุน > 5-10 ป มีแผนสนับสนุน > 3-5

ป ไมมีแผนพัฒนาสนับสนุน

3 2 1 0

รอยละของผูตอบแบบสอบถาม

เอกสารแผนพัฒนา ชุมชน

3.4 เกณฑการประเมิน

กําหนดคะแนนในแตละประเด็น โดยมีแนวคิดที่สําคัญคือ โครงการจัดการขยะมูลฝอยโดยชุมชน ของสํานักงานสิ่งแวดลอม กรุงเทพมหานคร เปนโครงการเพื่อสาธารณะ ที่ดําเนินการโดยรัฐ มิไดหวังผลกําไรแตอยางไร จึงกําหนดใหประเด็นดานประสิทธิผล และประเด็นดานความยั่งยืน มีคะแนนประเด็นละ 30 คะแนน สวนประเด็นดานผลกระทบจากการดําเนินโครงการ และดานความสอดคลองกับความตองการ มีคะแนนประเด็นละ 20 คะแนน ซ่ึงการกําหนดคะแนนดังกลาวสามารถแสดงถึงผลสําเร็จโดยรวม ของโครงการไดดีที่สุด

รวมคะแนนที่ไดในแตละดาน จากนั้นหารดวยจํานวนดัชนีช้ีวัด และปรับชวงคะแนนใหเปน 100% ทําการแบงระดับในการประเมินดัง ตารางที่ 3-2

ความรู ความเขาใจ ในการคัดแยกขยะ

มีความรู /เขาใจ > 70 %

มีความรู /เขาใจ > 50-70 % มีความรู /เขาใจ > 30-50 % มีความรู /เขาใจ ≤ 30 %

3 2 1 0

รอยละของผูตอบแบบสอบถาม มีความรู ความเขาใจ ในการคัดแยกขยะ

แบบสอบถามชุมชน

Page 60: หน้าปก[1]library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19773.pdf · บทที่5 สรุปผลการศ ึกษาและข อเสนอแนะ 74 5.1 สรุปผลการศ

50

ตารางที่ 3-2 ระดับในการประเมิน

ระดับคะแนน ผลการประเมินโครงการ > 85 ดีมาก ควรสนบัสนุนดําเนนิการ และสนับสนุนเปนตนแบบใน

การเรียนรูตอพื้นที่ และชุมชนอ่ืนๆ > 75-85 ดี ควรดําเนินการ แตควรปรับปรุงบางประเด็น เพื่อใหสามารถ

ขยายผลไปสูพื้นที่และชุมชนอ่ืนๆ ได > 60-75 ปานกลาง ควรทบทวน และสรุปบทเรียนการดําเนนิงาน และ

ปรับปรุงแกไขเพื่อใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น > 50-60 พอใช ผลการดําเนินงานยังไมเหมาะสม <= 50 นอย / ไมควรดําเนินการใดๆ ทั้งสิ้น

3.5 วิธีการรวบรวมขอมูล

การประเมินโครงการการจัดการขยะมูลฝอยโดยชุมชน (CBM) ของสํานักสิ่งแวดลอม กรุงเทพมหานคร เปนการประเมินผลเชิงคุณภาพ ควบคูกับเชิงปริมาณ คณะผูประเมินทําการรวบรวบขอมูลทุติยภูมิ ซ่ึงประกอบไปดวยรายงานผลการดําเนินงาน จากสํานักงานสิ่งแวดลอม (เจาของโครงการ) และทําการสํารวจขอมูลปฐมภูมิเกี่ยวกับขอมูลทั่วไปและความคิดเห็นตอโครงการของผูนําชุมชน เจาหนาที่สํานักงานเขตรับผิดชอบ และสมาชิกชุมชน ดวยแบบสอบถาม และแบบสัมภาษณ ประกอบกับทําการสํารวจปริมาณขยะรีไซเคิลดวยแบบสํารวจ รายละเอียดดังนี้

3.5.1 ประชากรและกลุมตัวอยาง (1) คุณสมบัติและลักษณะประชากร ประกอบไปดวย 3 สวน คือ

- ผูนําชุมชนพรอมใจพัฒนา หมายรวมถึงประธานชุมชน รองประธาน และคณะกรรมการชุมชน จํานวน 1 คน

- เจาหนาที่เขตรับผิดชอบ หมายรวมเฉพาะเจาหนาที่เขตสวนที่รับผิดชอบดูแลชุมชนพรอมใจพัฒนา จํานวน 1 คน

- สมาชิกภายในชุมชนพรอมใจพัฒนา ซ่ึงมีอายุชวง 20-60 ป ขอมูลจากสํานักสิ่งแวดลอมกรุงเทพมหานคร พบวามีครัวเรือนทั้งหมด 270 ครัวเรือน (ขอมูล ณ วันที่ 30 ธันวาคม 2554)

Page 61: หน้าปก[1]library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19773.pdf · บทที่5 สรุปผลการศ ึกษาและข อเสนอแนะ 74 5.1 สรุปผลการศ

51

(2) ขนาดกลุมตัวอยาง เนื่องดวยระยะเวลาการศึกษาประเมินจํากัด จึงกําหนดการเก็บขอมูลของกลุมตัวอยาง

ซ่ึงเปนตัวแทนของประชากรทั้งหมด โดยใชสูตร Yamane, 1967 คํานวณที่ระดับความเชื่อมั่นรอยละ 95 หรือที่ความคลาดเคลื่อนจากการประมาณคา 0.05 แทนคาในสูตร ดังนี้

n = N 1 + Ne2

= 161.19 ประมาณ 162 ชุด (3) การสุมตัวอยาง

จํานวนตัวอยางที่ตองดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูล 162 ชุด เปนตัวแทนของประชากรครัวเรือนทั้งหมด 270 ครัวเรือน โดยใชแบบสอบถามชุมชนจํานวน 162 ชุด ทําการสุมตัวอยางแบบบังเอิญ

และเก็บขอมูลดวยแบบสัมภาษณผูนําชุมชน 1 คน แบบสัมภาษณสํานักงานเขตรับผิดชอบ 1 คน 3.5.2 เคร่ืองมือการเก็บรวบรวมขอมูล

การศึกษาประเมินฯ กําหนดการเก็บรวบรวมขอมูลทั้งเชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพผสมรวมกัน ซ่ึงเครื่องมือใชเก็บขอมูลใหครบตามตัวช้ีวัด ดังตารางที่ 3-1 ประกอบไปดวย 4 สวน คือ แบบสอบถามชุมชน แบบสัมภาษณผูนําชุมชน แบบสัมภาษณสํานักงานเขตรับผิดชอบ และแบบสํารวจ ดังภาคผนวก ก สามารถสรุปในแตละสวนดังนี ้

- แบบสอบถามชุมชน แบงเปน 4 ตอน คือ

o ตอนที่ 1 ขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถาม

o ตอนที่ 2 ผลกระทบจากการดําเนินโครงการ (ดานบวก และดานลบ) o ตอนที่ 3 ความยั่งยืนของโครงการ

o ตอนที่ 4 ความสอดคลองกับความตองการของชุมชน

- แบบสัมภาษณผูนําชุมชน แบงเปน 3 ตอน คือ

o ตอนที่ 1 ขอมูลทั่วไปของผูตอบ

o ตอนที่ 2 ขอมูลทั่วไปของชุมชน ตอโครงการ CBM

o ตอนที่ 3 ทัศนคติ และความคิดเห็นตอการดําเนินโครงการ

- แบบสัมภาษณสํานักงานเขตรับผิดชอบ มี 1 ตอน คือ

โดย

n จํานวนกลุมตัวอยาง N จํานวนประชากร (270 ครัวเรือน) e ความคลาดเคลื่อนจากการประมาณ (0.05)

Page 62: หน้าปก[1]library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19773.pdf · บทที่5 สรุปผลการศ ึกษาและข อเสนอแนะ 74 5.1 สรุปผลการศ

52

o ตอนที่ 1 ทัศนคติ และความคิดเห็นตอการดําเนินโครงการ

- แบบสํารวจ

3.5.3 ขั้นตอนการสรางเครื่องมือ

- สรางแบบสอบถามฉบับราง แลวนําเสนอผู เชี่ยวชาญเพื่อตรวจสอบความตรงของแบบสอบถาม

- ปรับปรุงแบบสอบถามตามที่ผูเชี่ยวชาญแนะนํา - นําแบบสอบถามไปทดลองใช (Try Out) กับชุมชนนํารอง ที่ไมใชกลุมตัวอยางเพื่อความเที่ยง โดยใชคาสัมประสิทธิ์อัลฟา - ปรับปรุงแบบสอบถามใหสมบูรณแลวนําไปเก็บรวบรวมขอมูลกับกลุมตัวอยาง

3.5.4 การเก็บรวบรวมขอมูล

ในการเก็บรวบรวมขอมูลคณะผูประเมินไดดําเนินรวบรวมขอมูลทั้งทุติยภูมิ และปฐมภูมิ สรุปไดดังนี้

(1) ลงพื้นที่เพื่อเก็บขอมูลกับประชาชน ชวงวันที่ 11 - 12 พฤษภาคม 2555 ดวยแบบสอบถามชุมชน ที่ชุมชนพรอมใจพัฒนา

(2) ลงพื้นที่สัมภาษณผูนําชุมชน วันที่ 10 พฤษภาคม 2555 ดวยแบบสัมภาษณผูนําชุมชน ที่

ชุมชนพรอมใจพัฒนา

(3) ลงพื้นที่สัมภาษเจาหนาที่สํานักงานเขต วันที่ 15 พฤษภาคม 2555 ดวยแบบสัมภาษณ

เจาหนาที่สํานักงานเขต ที่สํานักงานเขตคลองสามวา

(4) รวบรวมเอกสาร รายงานสถิติขอมูล จากสํานักงานสิ่งแวดลอม กรุงเทพมหานคร

3.5.5 การวิเคราะหขอมูลและสถิติท่ีใช (1) ขอมูลเกี่ยวกับสภาพทั่วไปของผูตอบแบบสอบถาม (แบบ Check list) วิเคราะหขอมูลโดย

หาคารอยละ

(2) ขอมูลเกี่ยวกับสภาพทั่วไปของผูตอบแบบสอบถาม วิเคราะหดวยการหาคาเฉลี่ยเลขคณิต )(x

(3) ขอมูลเกี่ยวกับขอเสนอแนะเพิ่มเติม (แบบ Open-Ended) วิเคราะหขอมูลดวยการจัดลําดับความถี่และหาคารอยละ

Page 63: หน้าปก[1]library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19773.pdf · บทที่5 สรุปผลการศ ึกษาและข อเสนอแนะ 74 5.1 สรุปผลการศ

53

บทที่ 4

ผลการศึกษา

รายละเอียดการดําเนินงานของโครงการจัดการขยะมูลฝอยโดยชุมชน (CBM) ของสํานักงานสิ่งแวดลอม กรุงเทพมหานคร ดังที่ไดแสดงรายละเอียดที่ไดกลาวไวในบทที่ 2 เกี่ยวกับขอมูลพื้นฐานของโครงการ พื้นที่ศึกษา และวิธีการประเมินโครงการ โดยใชการประเมินความสําเร็จ 4 ดัชนี ไดแก ประสิทธิผล ผลกระทบ ความสอดคลองกับความตองการ และความยั่งยืน และไดกําหนดคาคะแนนดัชนีตามรายละเอียดที่ไดกลาวไวแลวในบทที่ 3 ผูศึกษาไดลงพื้นที่สํารวจความคิดเห็นของผูนําชุมชน และสมาชิกในชุมชน และทําการสัมภาษณกับเจาหนาที่สํานักงานเขตรับผิดชอบ ของกลุมเปาหมาย สรุปผลการศึกษาในแตละดัชนี สามารถสรุปผลการดําเนินโครงการการจัดการขยะมูลฝอยโดยชุมชน กรณีศึกษา ชุมชนพรอมใจพัฒนาไดดังนี ้

4.1 ขอมูลท่ัวไปเกี่ยวกับผูตอบแบสอบถาม

กลุมตัวอยางชุมชนที่จัดสงแบบสอบถามไปทั้งหมด 162 ชุด แตไดรับขอมูลตอบกลับจากการสํารวจจํานวน 156 ชุด เนื่องจากประชาชนในชุมชนบางคนไมไดตอบแบบสอบถาม และเนื่องจากขอจํากัดดานเวลาจึงทําใหการศึกษาครั้งนี้ไมสามารถเก็บตัวอยางเพิ่มได กลุมตัวอยาง 156

ชุด

4.1.1 แบงเปนเพศ ชาย 52 คน หญิง 104 คน

4.1.2 แบงเปนชวงอายุ อายุนอยกวา 24 ป 16 คน อาย ุ25-30 ป 52 คน อายุ 31-40 ป 50 คน อายุ 41-50 ป 33 คน อายุ 51-60 ป 5 คน 4.1.3 แบงเปนระดับการศึกษาสูงสดุ ประถมศึกษา 31 คน มัธยมศึกษาตอนตน 52 คน มัธยมศึกษาตอนปลาย 30 คน อาชีวศึกษา/อนุปริญญา 8 คน ปริญญาตรี 30 คน สูงกวาปริญญาตรี 5 คน

Page 64: หน้าปก[1]library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19773.pdf · บทที่5 สรุปผลการศ ึกษาและข อเสนอแนะ 74 5.1 สรุปผลการศ

54

4.2 การประเมินดานประสิทธิผล 4.2.1 ปริมาณขยะมูลฝอยท่ีตองจัดเก็บ

จากการรวบรวมขอมูลปริมาณขยะมูลฝอยที่ตองจัดเก็บในแตละวันชวงกอนดําเนินโครงการการจัดการขยะมูลฝอยโดยชุมชน (พฤษภาคม 2554) และหลังดําเนินโครงการฯ (มกราคม 2555) จากรายงานสรุปผลการดําเนินโครงการฯ (พฤษภาคม, 2555) ของสํานักงานสิ่งแวดลอม กรุงเทพมหานคร สามารถสรุปผลไดดังนี้

ชุมชน

น้ําหนักขยะเฉล่ีย ตัน/วัน

กอนดําเนินการ

หลังดําเนินการ

ปริมาณลดลง

คิดเปนรอยละ

พรอมใจพัฒนา คลองสามวา 1.5 1.2 0.3 20 สรุป ไดวาปริมาณขยะมูลฝอยที่ตองจัดเก็บของชุมชนพรอมใจพัฒนา มีคาน้ําหนักขยะหลัง

ดําเนินโครงการ เทียบกับกอนดําเนินโครงการ ลดลงรอยละ 20 ซ่ึงมีคาคะแนน = 2

4.2.2 การมีสวนรวมของชมุชน

จากการสัมภาษณผูนําชุมชนพรอมใจพัฒนารวมกับขอมูลจากรายงานสรุปผลการดําเนินโครงการการจัดการขยะมูลฝอยโดยชุมชน (เมษายน, 2553) ของสํานักงานสิ่งแวดลอม กรุงเทพมหานคร เกี่ยวกับจํานวนครัวเรือนที่เขารวมกิจกรรมของโครงการตอจํานวนครัวเรือนทั้งหมดในชุมชนนั้น ๆ คิดเปนสัดสวนดังนี ้

ชุมชน จํานวนครัวเรือน

คิดเปนรอยละ ท้ังหมด เขารวมโครงการ

พรอมใจพัฒนา คลองสามวา 156 41 26.28 สรุป ไดวาสัดสวนของผูเขารวมโครงการคิดเปนรอยละเฉลี่ย 26.28 ซ่ึงมีคาคะแนน = 1

กลาวไดวาการมีสวนรวมของชุมชนพรอมใจพัฒนาในโครงการการจัดการขยะชุมชนเกณฑการประเมินอยูในระดับต่ํา ซ่ึงสอดคลองกับผลการศึกษาของศักดิ์สิทธิ์ แยมศรี (2543) ศึกษาเรื่องการมีสวนรวมในการกําจัดขยะในเขตองคการบริหารสวนตําบลหนองปรือ อําเภอบางละมุง จังหวัด

Page 65: หน้าปก[1]library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19773.pdf · บทที่5 สรุปผลการศ ึกษาและข อเสนอแนะ 74 5.1 สรุปผลการศ

55

ชลบุรี ที่พบวาประชาชนไมคอยมีสวนรวมในการกําจัดขยะในชุมชน แตขัดแยงกับผลการวิจัยของวิโรจน ตันติธรรม (2543) ที่ไดศึกษาเรื่องการมีสวนรวมในการกําจัดขยะศึกษากรณีองคการบริหารสวนตําบลเสม็ด อําเภอเมือง จังหวัดชลบุรี พบวาการมีสวนรวมของประชาชนในการจัดการขยะมูลฝอยอยูในระดับปานกลางเชนเดียวกับการศึกษาของสุวัฒน ฤทธิ์สําเร็จ (2544) เร่ืองการมีสวนรวมของประชาชนในการจัดการขยะมูลฝอย : ศึกษากรณีของชุมชนในเขตเทศบาลตําบลบางเสาธง กิ่งอําเภอบางเสาธง จังหวัดสมุทรปราการ ที่พบวาระดับการมีสวนรวมในการจัดการขยะมูลฝอยโดยรวมอยูในระดับปานกลางเชนกัน คือประชาชนพอจะมีสวนรวมในการจัดการขยะชุมชน แตไมมากนัก 4.2.3 ปริมาณขยะไซเคิลท่ีพบจากขยะที่ตองจัดเก็บ

จากขอมูลการสํารวจองคประกอบของขยะมูลฝอยชุมชน (ภาคผนวก ก) ที่สํานักงานเขตตองจัดเก็บในแตละวัน พบขยะมูลฝอยเปนวัสดุที่สามารถรีไซเคิลไดปะปนมากับขยะมูลฝอยทั่วไปที่ทางสํานักงานเขตตองจัดเก็บในแตละวันเปรียบเทียบกับชุมชนอื่นที่ไมไดเขารวมโครงการพบขอมูล ดังนี้

ชุมชน รอยละ

พรอมใจพัฒนา คลองสามวา = รอยละ 15

สรุป ไดวาสัดสวนปริมาณขยะรีไซเคิลที่ปะปนมากับขยะที่ทางสํานักงานเขตจัดเก็บคิดเปน

รอยละ 15 ซ่ึงมีคาคะแนน = 2 อยูในเกณฑระดับปานกลาง คือมีการนําขยะรีไซเคิลกลับมาใชใหมไมมากนัก ซ่ึงพบวาไมสอดคลองกับผลการศึกษาของณัฐรดี คงดั่น (2546) ซ่ึงไดทําการศึกษาวิจัยเร่ือง ปจจัยที่มีผลตอพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยของประชาชนในเขตมีนบุรี กรุงเทพมหานคร พบวาประชาชนสวนใหญมีพฤติกรรมการนําขยะรีไซเคิลกลับมาใชใหมอยูในระดับดี คือประชาชนสวนใหญใหความรวมมือในการนําขยะกลับมาใชใหม เหลือขยะรีไซเคิลที่ทิ้งในปริมาณนอย

4.2.4 สรุปคะแนนรวมการประเมินดานประสิทธิผล

นําคาของคะแนนที่ไดจากจากประเมินในแตละดัชนียอยของการประเมินดานประสิทธิผลรวมกัน จากนั้นคิดเปนสัดสวนคะแนนเต็มเทากับ รอยละ 30 สรุปดังนี ้

Page 66: หน้าปก[1]library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19773.pdf · บทที่5 สรุปผลการศ ึกษาและข อเสนอแนะ 74 5.1 สรุปผลการศ

56

ดัชนดีานประสิทธิผล คะแนนเต็ม คะแนนจากการประเมิน

ปริมาณขยะมลูฝอยที่ตองจัดเก็บ 3 2

การมีสวนรวมของชุมชน 3 1

ปริมาณขยะรไีซเคิลที่พบจากขยะที่ตองจดัเก็บ 3 2

คะแนนรวม 9 5

รอยละของคะแนนการประเมิน 30 % 16.67%

คะแนนรวมของประสิทธิผลได 5 คะแนน คิดเปนรอยละ 16.67 สรุปวาประสิทธิผลของ

โครงการอยูในระดับปานกลาง ซ่ึงสอดคลองกับผลการวิจัยของอุทัย ขันโอฬาร (2547: บทคัดยอ) ซ่ึงไดศึกษาประสิทธิผลในการจัดการขยะมูลฝอยขององคการบริหารสวนตําบล: ศึกษากรณี องคการบริหารสวนตําบล อําเภอสามพราน พบวาประสิทธิผลของโครงการการจัดการขยะมูลฝอยชุมชนอยูในระดับปานกลางเชนเดียวกัน คือประชาชนสามารถจัดการขยะไดไมมากนัก อาจตองไดรับการสนับสนุนจากภาครัฐ

4.3 การประเมินดานผลกระทบ จากการสัมภาษณผูเกี่ยวของเพื่อศึกษาขอมูลดานผลระทบจากการดําเนินโครงการ ซ่ึง

ประกอบดวยผลกระทบดานบวก และดานลบ โดยแบงดัชนียอยในการประเมินผลดานผลกระทบใน 3ดาน คือดานสิ่งแวดลอม ดานสังคม และดานเศรษฐกิจ ดังนี้ 4.3.1 ดานสิง่แวดลอม

จากการสัมภาษณขอมูลเกี่ยวกับผลกระทบจากการดําเนินโครงการและขอมูลจากกลุมตัวอยาง(ผูตอบแบบสอบถามจํานวน 156 ชุด) สามารถสรุปผลไดดังตารางที่ 4-3 ซ่ึงแสดงผลกระทบจากการดําเนินโครงการตอสภาพแวดลอมทั้งดานบวก และดานลบ โดยจําแนกออกเปน 5

ดัชนียอยดังนี้ - สภาพแวดลอมชุมชน - ปริมาณขยะตกคาง - กล่ินเหม็นขยะ - ปญหาการรื้อคนขยะ - แหลงสะสมเชื้อโรค

Page 67: หน้าปก[1]library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19773.pdf · บทที่5 สรุปผลการศ ึกษาและข อเสนอแนะ 74 5.1 สรุปผลการศ

57

ตารางที่ 4-1 ผลการวิเคราะหแบบสอบถาม เกี่ยวกับผลกระทบดานสิ่งแวดลอม

ประเด็นคําถาม จํานวน รอยละ ระดับคะแนน

ภายหลังการดาํเนินโครงการ CBM ทานคดิวาสภาพแวดลอมโดยรวมของชุมชนเปนอยางไร

2 สภาพแวดลอมดีขึ้น มาก 24 15.6 คะแนน = 1

1 สภาพแวดลอมดีขึ้น ปานกลาง 88 57.1

0 สภาพแวดลอมเหมือนเดิม 42 27.3

-1 สภาพแวดลอมแยลง 0 0.0

ภายหลังการดําเนินโครงการ CBM ประชาชนสวนใหญคิดวาสภาพแวดลอมโดยรวมของชุมชนดีขึ้นปานกลาง คิดเปนรอยละ 57.1 ภายหลังการดาํเนินโครงการ CBM ทานมคีวามคิดเหน็ตอปริมาณขยะตกคางในชุมชน เปนอยางไร

2 ไมมีเลย 5 3.2 คะแนน = 1

1 นอยกวากอนดําเนินโครงการ 113 72.4

0 เชนเดยีวกับกอนดําเนนิโครงการ 37 23.7

-1 มากกวากอนดาํเนินโครงการ 1 0.64

ภายหลังการดําเนินโครงการ CBM ประชาชนสวนใหญมีความคิดเห็นตอปริมาณขยะตกคางในชุมชน วานอยกวากอนดําเนินโครงการ คิดเปนรอยละ 72.4 ภายหลังการดาํเนินโครงการ CBM ทานคดิวากลิ่นเหม็นขยะในชุมชน เปนอยางไร

2 ไมมีเลย 13 8.3 คะแนน = 1

1 นอยกวากอนดําเนินโครงการ 114 73.0

0 เชนเดยีวกับกอนดําเนนิโครงการ 29 18.6

-1 มากกวากอนดาํเนินโครงการ 0 0.0

Page 68: หน้าปก[1]library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19773.pdf · บทที่5 สรุปผลการศ ึกษาและข อเสนอแนะ 74 5.1 สรุปผลการศ

58

ภายหลังการดําเนินโครงการ CBM ประชาชนสวนใหญคิดวากลิ่นเหม็นขยะในชุมชน นอยกวากอนดําเนินโครงการ คิดเปนรอยละ 73

ภายหลังการดาํเนินโครงการ CBM ทานคดิวาปญหาเกี่ยวกับการรื้อคนขยะในชุมชน เปนอยางไร

2 ไมมีเลย 5 3.2 คะแนน = 1

1 นอยกวากอนดําเนินโครงการ 95 61.7

0 เชนเดยีวกับกอนดําเนนิโครงการ 50 32.5

-1 มากกวากอนดาํเนินโครงการ 4 2.6

ภายหลังการดําเนินโครงการ CBM ประชาชนสวนใหญคิดวาปญหาเกี่ยวกับการรื้อคนขยะในชุมชนนอยกวากอนดําเนินโครงการ คิดเปนรอยละ 61.7 ภายหลังการดาํเนินโครงการ CBM ทานคดิวาปญหาเกี่ยวกับแหลงสะสมเชื้อโรค เปนอยางไร

2 ไมมีเลย 6 3.8 คะแนน = 1 1 นอยกวากอนดําเนินโครงการ 109 70.0

0 เชนเดยีวกับกอนดําเนนิโครงการ 40 25.6

-1 มากกวากอนดาํเนินโครงการ 1 0.6

ภายหลังการดําเนินโครงการ CBM ประชาชนสวนใหญคิดวาปญหาเกี่ยวกับแหลงสะสมเชื้อโรคนอยกวากอนดําเนินโครงการ คิดเปนรอยละ 70

จากการสัมภาษณประชาชนที่เขารวมโครงการกําจัดขยะมูลฝอยชุมชน พบวาประชาชน

จํานวน 88 คน คิดเปนรอยละ 57.1 เห็นวาสภาพแวดลอมดีขึ้นปานกลาง ประชาชนจํานวน 113

คน คิดเปนรอยละ 72.4 เห็นวาภายหลังการดําเนินโครงการ CBM มีปริมาณขยะตกคางในชุมชนนอยกวากอนดําเนินโครงการ ในขณะที่ประชาชนจํานวน 114 คน คิดเปนรอยละ 73 เห็นวาภายหลังการดําเนินโครงการ CBM ชุมชนมีปญหากลิ่นเหม็นจากขยะนอยกวากอนดําเนินโครงการ ประชาชนรอยละ 61.7 เห็นวาชุมชนมีปญหาการรื้อคนขยะนอยกวากอนดําเนินโครงการ และประชาชนรอยละ 70 มีความเห็นวาชุมชนมีปญหาเกี่ยวกับแหลงสะสมเชื้อโรคนอยกวากอนดําเนินโครงการ ซ่ึงจะเห็นไดวาโครงการดังกลาวนอกจากจะไมมีผลกระทบดานลบตอส่ิงแวดลอมแลว ยังสงผลดีตอส่ิงแวดลอมภายในชุมชนอีกดวย

Page 69: หน้าปก[1]library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19773.pdf · บทที่5 สรุปผลการศ ึกษาและข อเสนอแนะ 74 5.1 สรุปผลการศ

59

4.3.2 ดานสังคม

จากการสัมภาษณขอมูลเกี่ยวกับผลกระทบจากการดําเนินโครงการฯ ดานสังคม ที่มีกลุม

ตัวอยางผูตอบแบบสอบถามจํานวน 156 ชุด ซ่ึงผลกระทบจากการดําเนินโครงการมีจํานวน 2 สวน

คือ ความสัมพันธภายในชุมชน และความสัมพันธระหวางสํานักเขตและชุมชน สรุปผลดังนี้

ประเด็นคําถาม จํานวน รอยละ ระดับคะแนน

ภายหลังการดาํเนินโครงการ CBM ทานคดิวาความสัมพันธภายในชุมชน มีลักษณะเปนอยางไร

2 ความสัมพันธ ดีขึ้นมาก 14 9.0 คะแนน = 0 1 ความสัมพันธ ดีขึ้นเล็กนอย 65 42.0

0 ความสัมพันธ เหมือนเดิม 76 49.0

-1 ความสัมพันธ แยลง 0 0.0

ภายหลังการดําเนินโครงการ CBM ประชาชนสวนใหญคิดวาความสัมพันธภายในชุมชนเหมือนเดิม คิดเปนรอยละ 49 ภายหลังการดาํเนินโครงการ CBM ทานคดิวาความสัมพันธระหวางสํานักงานเขตกับชุมชน เปนอยางไร

2 ความสัมพันธ ดีขึ้นมาก 17 11.0 คะแนน = 0

1 ความสัมพันธ ดีขึ้นเล็กนอย 59 38.1

0 ความสัมพันธ เหมือนเดิม 79 51.0

-1 ความสัมพันธ แยลง 0 0.0

ภายหลังการดําเนินโครงการ CBM ประชาชนคิดวาความสัมพันธระหวางสํานักงานเขตกับชุมชน เหมือนเดิม คิดเปนรอยละ 51

ผลการศึกษาพบวาประชาชนจํานวน 76 คน คิดเปนรอยละ 49 มีความเห็นวาความสัมพันธ

ภายในชุมชนยังคงเหมือนเดิม ในขณะที่ประชาชนจํานวน 79 คน คิดเปนรอยละ 51 มีความเห็นวาความสัมพันธระหวางสํานักงานเขตกับชุมชนเหมือนเดิม เนื่องจากชุมชนที่เขารวมโครงการเปนชุมชนดั้งเดิม ความสัมพันธระหวางประชาชนในชุมชนกอนที่จะดําเนินโครงการ ตางก็มีมิตรไมตรี

Page 70: หน้าปก[1]library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19773.pdf · บทที่5 สรุปผลการศ ึกษาและข อเสนอแนะ 74 5.1 สรุปผลการศ

60

และ มีปฏิสัมพันธตอกันดีอยูแลว แตกตางจากความสัมพันธระหวางสํานักงานเขตกับชุมชน ที่กอนดําเนินโครงการ สํานักงานเขตมีบทบาทตอชุมชนคอนขางนอย แตเมื่อมีโครงการนี้เกิดขึ้น ทําใหเจาหนาที่สํานักงานเขตมีความใกลชิดกับชุมชนมากขึ้น เนื่องจากจะตองเปนแกนนํา และ ตองลงพื้นที่เพื่อจัดกิจกรรมตาง ๆ ใหกับชุมชน

4.3.3 ดานเศรษฐกิจ

ผลกระทบจากการดําเนินโครงการสามารถจําแนกไดเปน 2 ประเภทคือ รายได / ผลพลอยไดจากการคัดแยกขยะ และรายจายที่ลดลงจากการผลิตปุยใชเอง จากการสัมภาษณประชาชนที่เขารวมโครงการกําจัดขยะมูลฝอยชุมชน พบวาประชาชนจํานวน 16 คน คิดเปนรอยละ 57.1 มีรายได/ผลพลอยไดจากการคัดแยกขยะ อยูในชวงระหวาง 100-200 บาท / เดือนขึ้นไป และประชาชนจํานวน 16 คน คิดเปนรอยละ 51.6 สามารถลดรายจายจากการซื้อปุยได ซ่ึงเปนสิ่งสําคัญที่ทําใหประชาชนในชุมชนเห็นคุณประโยชนของการคัดแยกขยะกอนทิ้ง สรุปผลจากแบบสอบถาม ดังนี้

ประเด็นคําถาม จํานวน รอยละ ระดับคะแนน

กรณีเขารวมกจิกรรมการคัดแยกของขายได ทานมีรายได/ผลพลอยไดจากการคัดแยกขยะ เปนอยางไร

1 นอยกวา 100 บาท/เดือน 7 25 คะแนน = 2

2 อยูในชวง 100-200 บาท/เดือน 16 57.1

3 มากกวา 200 บาท/เดือน 5 17.9

ประชาชนสวนใหญที่เขารวมโครงการมีรายได/ผลพลอยไดจากการคัดแยกขยะอยูในชวง 100-

200 บาท/เดือน คิดเปนรอยละ 57.1 กรณีเขารวมกจิกรรม ทานมสีามารถลดรายจายจากการซื้อปุยหมักเทียบกับกอนมีโครงการ เปนอยางไร

1 ลดรายจายจากการซื้อปุย ได นอยกวา 50% 16 51.6 คะแนน = 1

2 ลดรายจายจากการซื้อปุย ได 50-80% 14 45.2

3 ลดรายจายจากการซื้อปุย ได 80-100% 1 3.2

ประชาชนสวนใหญสามารถลดรายจายจากการซื้อปุยหมักเทียบกับกอนมีโครงการไดนอยกวา 50% คิดเปนรอยละ 51.6

4.3.4 สรุปคะแนนรวมการประเมินดานผลกระทบ

Page 71: หน้าปก[1]library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19773.pdf · บทที่5 สรุปผลการศ ึกษาและข อเสนอแนะ 74 5.1 สรุปผลการศ

61

นําคาของคะแนนที่ไดจากจากประเมินในแตละดัชนียอยของการประประเมินดานผลกระทบรวมกัน จากนั้นคิดเปนสัดสวนคะแนนเต็มเทากับ รอยละ 20 สรุปดังนี้

ดัชนดีานผลกระทบ คะแนนเต็ม คะแนนจากการประเมิน

ผลกระทบดานสิ่งแวดลอม 10 5

ผลกระทบดานสังคม 4 0

ผลกระทบดานเศรษฐกจิ 6 3

คะแนนรวม 20 8

รอยละของคะแนนการประเมิน 20 % 8%

4.4 การประเมินดานความสอดคลองกับความตองการ

4.4.1 ลักษณะโครงการสอดคลองกับความตองการ

ผลจากการสอบถามชุมชนพรอมใจพัฒนา ในเบื้องตน กอนเก็บขอมูลพบวา โครงการดานการจัดการขยะมูลฝอย ที่ชุมชนตองการควรมีลักษณะที่สําคัญ คือ มีขั้นตอนการดําเนินการที่ไมยุงยาก เห็นผลสําเร็จเปนรูปธรรมเร็ว ชัดเจน เปดโอกาสใหชุมชนเขามีสวนรวมในการดําเนินงานทุกๆ ขั้นตอน และที่สําคัญ โครงการนั้น ควรสอดคลองกับวิถีชีวิตของชุมชนดวย ดําเนินการรวบรวมขอมูลจากการสอบถามความคิดเห็นของผูนําชุมชน และสมาชิกชุมชน แสดงผลดังนี ้

ประเด็นคําถาม จํานวน รอยละ ระดับคะแนน

ขั้นตอนการดําเนินงานไมยุงยาก 3 มาก 46 29.5 คะแนน = 2 2 ปานกลาง 101 64.7

1 นอย 9 5.8

0 ไมระบ ุ 0 0.0

ประชาชนสวนใหญคิดวาขั้นตอนการดําเนินโครงการไมยุงยาก ในระดับปานกลาง คิดเปนรอยละ 64.7 เห็นผลสําเร็จชัดเจน และรวดเร็ว

3 มาก 18 11.5 คะแนน = 2

Page 72: หน้าปก[1]library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19773.pdf · บทที่5 สรุปผลการศ ึกษาและข อเสนอแนะ 74 5.1 สรุปผลการศ

62

2 ปานกลาง 100 64.1

1 นอย 38 24.4

0 ไมระบ ุ 0 0.0

ประชาชนสวนใหญคิดวาโครงการเห็นผลสําเร็จชัดเจน และรวดเร็ว ในระดับปานกลาง คิดเปนรอยละ 64.1 เปดโอกาสใหชุมชนมีสวนรวมทุกขั้นตอน

3 มาก 25 16.0 คะแนน = 2 2 ปานกลาง 88 56.4

1 นอย 43 27.6

0 ไมระบ ุ 0 0.0

ประชาชนสวนใหญคิดวาโครงการเปดโอกาสใหชุมชนมีสวนรวมทุกขั้นตอน ในระดับปานกลาง คิดเปนรอยละ56.4 สอดคลองกับวิถีชีวิตของชมุชน

3 มาก 15 9.7 คะแนน = 2 2 ปานกลาง 74 47.7

1 นอย 66 42.6

0 ไมระบ ุ 0 0.0

ประชาชนสวนใหญคิดวาโครงการสอดคลองกับวิถีชีวิตของชุมชน ในระดับปานกลาง คิดเปนรอยละ 47.7

จากการสัมภาษณประชาชนที่เขารวมโครงการกําจัดขยะมูลฝอยชุมชน พบวาประชาชน

จํานวน 101 คน คิดเปนรอยละ 64.7 เห็นวาขั้นตอนการดําเนินงานไมยุงยาก รอยละ 64.1 เห็นวาเห็นผลไดชัดเจนและรวดเร็ว รอยละ 56.4 เห็นวาโครงการเปดโอกาสใหชุมชนมีสวนรวมทุกขั้นตอน และรอยละ 47.7 เห็นวาโครงการมีความสอดคลองกับวิถีชีวิตชุมชน เนื่องจากการทิ้งขยะเปนกิจวัตรประจําวันที่ประชาชนตองดําเนินการอยูแลว การคัดแยกขยะ การนําขยะที่ยอยสลายไดไปทําปุยหมัก ชวยใหประชาชนมีรายไดและไดรับประโยชนจากขยะเพิ่มขึ้น

Page 73: หน้าปก[1]library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19773.pdf · บทที่5 สรุปผลการศ ึกษาและข อเสนอแนะ 74 5.1 สรุปผลการศ

63

4.4.2 การยอมรับโครงการ

จากการสัมภาษณประชาชนที่เขารวมโครงการกําจัดขยะมูลฝอยชุมชน พบวาประชาชนมากกวารอยละ 50 มีความคิดเห็นในเชิงบวก คือเห็นดวยตอการดําเนินโครงการกําจัดมูลฝอยโดยชุมชน (CBM) ของสํานักสิ่งแวดลอม เขตคลองสามวา กรุงเทพมหานคร และไมมีความวิตกกังวลใดใดเกี่ยวกับการดําเนินงานโครงการดังกลาว สรุปไดดังนี้

ประเด็นคําถาม จํานวน รอยละ ระดับคะแนน

ในภาพรวม ทานมีความคิดเห็นตอโครงการ CBM ของ สํานักสิ่งแวดลอม กทม. อยางไร

3 เห็นดวยมาก 41 26.3 คะแนน = 2

2 เห็นดวย ปานกลาง 101 64.7

1 เห็นดวย นอย 13 8.3

0 เฉยๆ 1 0.6

ในภาพรวม ประชาชนสวนใหญมีความคิดเห็นดวยปานกลางตอโครงการ CBM ของ สํานักส่ิงแวดลอมกรุงเทพมหานคร คิดเปนรอยละ 64.7 ในภาพรวม ทานมีความวิตกกังวลเกีย่วกับการดําเนนิงาน โครงการ CMB หรือไมอยางไร

1 ไมวิตกกังวลเลย 104 66.7 คะแนน = 1 -1 วิตกกังวล ระบุ........................................ 3 1.9

0 ไมแสดงความคิดเห็น 49 31.4

ในภาพรวม ประชาชนสวนใหญไมมีความวิตกกังวลเลยเกี่ยวกับการดําเนินงาน โครงการ CMB

คิดเปนรอยละ 66.7 4.4.3 สรุปคะแนนรวมการประเมินดานความสอดคลองกับความตองการ

เมื่อนําคาของคะแนนที่ไดจากจากประเมินในแตละดัชนียอยของการประประเมินดานความสอดคลองกับความตองการรวมกัน จากนั้นคิดเปนสัดสวนคะแนนเต็มเทากับ รอยละ 20 สรุปดังนี้

ดัชนดีานความสอดคลองกับความตองการ คะแนนเต็ม คะแนนจากการประเมิน

ลักษณะโครงการสอดคลองกับความตองการ 12 8

Page 74: หน้าปก[1]library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19773.pdf · บทที่5 สรุปผลการศ ึกษาและข อเสนอแนะ 74 5.1 สรุปผลการศ

64

การยอมรับโครงการ 4 3

คะแนนรวม 16 11

รอยละของคะแนนการประเมิน 20 % 13.75 %

4.5 การประเมินดานความยั่งยนื

4.5.1 ความตอเนื่องของการซื้อขายขยะรีไซเคิล

จากการสัมภาษณประชาชนที่เขารวมโครงการกําจัดขยะมูลฝอยชุมชน พบวาประชาชนจํานวน 92 คน คิดเปนรอยละ 59.4 ยังคงตองการที่จะดําเนินการคัดแยกขยะตอไปในอนาคต เนื่องจากสามารถแยกขยะรีไซเคิลไปขายเปนรายไดเสริม สรุปดังนี ้

ประเด็นคําถาม จํานวน รอยละ ระดับคะแนน

ทานคิดวาในอนาคต ทานจะคัดแยกขยะกอนทิ้ง หรือ ไม

3 คัดแยกแนนอน 44 28.4

คะแนน = 2 2 คัดแยกในบางครั้ง 92 59.4

1 ไมแนใจ / ไมแนนอน 18 11.6

0 ไมคัดแยก ระบุเหตุผล…………………… 1 0.6

ประชาชนสวนใหญคิดวาในอนาคต จะคัดแยกขยะกอนทิ้งในบางครั้ง คิดเปนรอยละ 59.4 4.5.2 นโยบายของหนวยงาน/สํานกังานเขตสนับสนุนตอเนื่อง จากการสัมภาษณขอมูลจากสํานักงานเขตที่มีชุมชนกลุมตัวอยางอยูในพื้นที พบวาปญหา

เกี่ยวกับขยะมูลฝอยยังมีแนวโนมเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ขณะที่พื้นที่สําหรับกําจัดขยะมูลฝอยชุมชนใหถูก

สุขลักษณะมีขอจํากัด ซ่ึงในความคิดเห็นของเจาหนาที่สํานักงานเขตพรอมใจพัฒนา มีความเห็นวา

หนวยงานที่เกี่ยวของจะมีนโยบายสนับสนุนการแกปญหาขยะในทุกรูปแบบ และปจจุบันปญหา

ขยะถูกบรรจุอยูในแผนพัฒนา 10 ป ใหคะแนนดานนโยบายสนับสนุนตอเนื่อง เทากับ 3 คะแนน 4.5.3 ชุมชนมคีวามรู ความเขาใจในการคดัแยก

ประเด็นคําถาม จํานวน รอยละ ระดับคะแนน

Page 75: หน้าปก[1]library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19773.pdf · บทที่5 สรุปผลการศ ึกษาและข อเสนอแนะ 74 5.1 สรุปผลการศ

65

เลือกทิ้งขยะตามประเภทถังขยะ ไดถูกตอง

1 กระปองเครื่องดื่ม 152 97.5

คะแนน = 3

2 เศษโลหะ 137 87.5

3 เศษหญา ใบไม 144 92.5

4 หอพลาสติกใสขนม 129 82.5

5 เศษผัก ผลไม 152 97.5

6 แบตเตอรี่โทรศัพทเคลื่อนที ่ 140 90.0

7 เศษอาหาร 144 92.5

8 กระดาษ 152 97.5

9 หลอดฟลูออเรสเซนต 152 97.5

10 ถานไฟฉาย 152 97.5

11 ภาชนะที่ใชบรรจุสารกําจัดแมลงหรือ วัชพืช 144 92.5

12 ภาชนะพลาสติกบรรจุ ยาสระผม / ครีมอาบน้ํา 133 85.0

13 ซองบะหมี่สําเร็จรูป 129 82.5

14 กลองโฟมเปอนอาหาร 140 90.0

15 กลองนม UHT 98 62.5

เฉลี่ย 89.67

คะแนนจากการประเมิน คะแนน = 3 จากการสัมภาษณประชาชนที่เขารวมโครงการกําจัดขยะมูลฝอยชุมชน พบวาประชาชนมี

ความรูความเขาใจในการคัดแยกขยะ คิดเฉลี่ยเปนรอยละ 89.67 ซ่ึงประชนชนสวนใหญเขาใจวิธีการคัดแยกขยะเปนอยางดี เนื่องจากมีการปฏิบัติอยางถูกตองอยูเปนประจํา ซ่ึงสอดคลองกับการวิจัยของสุวัฒน ฤทธิ์สําเร็จ (2544) เร่ืองการมีสวนรวมของประชาชนในการจัดการขยะมูลฝอย : ศึกษากรณีของชุมชนในเขตเทศบาลตําบลบางเสาธง กิ่งอําเภอบางเสาธง จังหวัดสมุทรปราการ ซ่ึงพบวาประชาชนมีระดับความรูความเขาใจในการคัดแยกขยะเปนอยางดี คือประชาชนสามารถแยกและทิ้งขยะลงถังไดถูกประเภทเปนสวนใหญ

4.5.4 สรุปคะแนนรวมการประเมินดานความยั่งยนื

Page 76: หน้าปก[1]library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19773.pdf · บทที่5 สรุปผลการศ ึกษาและข อเสนอแนะ 74 5.1 สรุปผลการศ

66

นําคาของคะแนนที่ไดจากจากประเมินในแตละดัชนียอยของการประประเมินดานความสอดคลองกับความตองการรวมกัน จากนั้นคิดเปนสัดสวนคะแนนเต็มเทากับ รอยละ 30 สรุปดังนี ้

ดัชนดีานความยั่งยนื คะแนนเต็ม คะแนนจากการประเมิน

ความตอเนื่องของการซื้อขายขยะรีไซเคิล 3 2

ชุมชนมีความรู ความเขาใจในการคัดแยก 3 3

นโยบายของหนวยงาน/สํานกังานเขตสนับสนุนตอเนื่อง

3 3

คะแนนรวม 9 8

รอยละของคะแนนการประเมิน 30 % 26.67 % 4.6 สรุปผล

4.6.1 การประเมินดานประสิทธิผล

ปริมาณขยะมูลฝอยที่ตองจัดเก็บของชุมชนพรอมใจพัฒนา มีคาน้ําหนักขยะหลังดําเนินโครงการ เทียบกับกอนดําเนินโครงการ ลดลงรอยละ 20 ซ่ึงมีคาคะแนน = 2

สัดสวนของผูเขารวมโครงการคิดเปนรอยละเฉลี่ย 26.28 ซ่ึงมีคาคะแนน = 1

สัดสวนปริมาณขยะรีไซเคิลที่ปะปนมากับขยะที่ทางสํานักงานเขตจัดเก็บคิดเปนรอยละ 15

ซ่ึงมีคาคะแนน = 2 คะแนนรวม = 5 รอยละของคะแนนการประเมิน = 16.67% สรุปไดวาการประเมินดานประสิทธิผลอยูในระดับปานกลาง

4.6.2 การประเมินดานผลกระทบ

1) ดานสิ่งแวดลอม

ภายหลังการดําเนินโครงการ CBM ประชาชนสวนใหญคิดวาสภาพแวดลอมโดยรวมของชุมชนดีขึ้นปานกลาง คิดเปนรอยละ 57.1 ซ่ึงมีคาคะแนน = 1

ภายหลังการดําเนินโครงการ CBM ประชาชนสวนใหญมีความคิดเห็นตอปริมาณขยะตกคางในชุมชน วานอยกวากอนดําเนินโครงการ คิดเปนรอยละ 72.4 ซ่ึงมีคาคะแนน = 1

ภายหลังการดําเนินโครงการ CBM ประชาชนสวนใหญคิดวากลิ่นเหม็นขยะในชุมชน

นอยกวากอนดําเนินโครงการ คิดเปนรอยละ 73 ซ่ึงมีคาคะแนน = 1

Page 77: หน้าปก[1]library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19773.pdf · บทที่5 สรุปผลการศ ึกษาและข อเสนอแนะ 74 5.1 สรุปผลการศ

67

ภายหลังการดําเนินโครงการ CBM ประชาชนสวนใหญคิดวาปญหาเกี่ยวกับการรื้อคนขยะในชุมชนนอยกวากอนดําเนินโครงการ คิดเปนรอยละ 61.7 ซ่ึงมีคาคะแนน = 1

ภายหลังการดําเนินโครงการ CBM ประชาชนสวนใหญคิดวาปญหาเกี่ยวกับแหลงสะสมเชื้อโรคนอยกวากอนดําเนินโครงการ คิดเปนรอยละ 70 ซ่ึงมีคาคะแนน = 1

2) ดานสังคม

ภายหลังการดําเนินโครงการ CBM ประชาชนสวนใหญคิดวาความสัมพันธภายในชุมชนเหมือนเดิม คิดเปนรอยละ 49 ซ่ึงมีคาคะแนน = 0

ภายหลังการดําเนินโครงการ CBM ประชาชนคิดวาความสัมพันธระหวางสํานักงานเขตกับชุมชน เหมือนเดิม คิดเปนรอยละ 51 ซ่ึงมีคาคะแนน = 0

3) ดานเศรษฐกิจ

ประชาชนสวนใหญที่เขารวมโครงการมีรายได/ผลพลอยไดจากการคัดแยกขยะอยูในชวง 100-200 บาท/เดือน คิดเปนรอยละ 57.1 ซ่ึงมีคาคะแนน = 2

ประชาชนสวนใหญสามารถลดรายจายจากการซื้อปุยหมักเทียบกับกอนมีโครงการไดนอยกวา 50% คิดเปนรอยละ 51.6 ซ่ึงมีคาคะแนน = 1

คะแนนรวม = 8

รอยละของคะแนนการประเมิน = 8%

สรุปไดวา การประเมินดานผลกระทบอยูในระดับต่ํา 4.6.3 การประเมินดานความสอดคลองกับความตองการ

1) ลักษณะโครงการสอดคลองกับความตองการ ประชาชนสวนใหญคิดวาขั้นตอนการดําเนินโครงการไมยุงยาก ในระดับปานกลาง คิดเปน

รอยละ 64.7 ซ่ึงมีคาคะแนน = 2

ประชาชนสวนใหญคิดวาโครงการเห็นผลสําเร็จชัดเจน และรวดเร็ว ในระดับปานกลาง คิดเปนรอยละ 64.1 ซ่ึงมีคาคะแนน = 2

ประชาชนสวนใหญคิดวาโครงการเปดโอกาสใหชุมชนมีสวนรวมทุกขั้นตอน ในระดับปานกลาง คิดเปนรอยละ56.4 ซ่ึงมีคาคะแนน = 2

ประชาชนสวนใหญคิดวาโครงการสอดคลองกับวิถีชีวิตของชุมชน ในระดับปานกลาง คิดเปนรอยละ 47.7 ซ่ึงมีคาคะแนน = 2

Page 78: หน้าปก[1]library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19773.pdf · บทที่5 สรุปผลการศ ึกษาและข อเสนอแนะ 74 5.1 สรุปผลการศ

68

2) การยอมรับโครงการ

ในภาพรวม ประชาชนสวนใหญมีความคิดเห็นดวยปานกลางตอโครงการ CBM ของ สํานักสิ่งแวดลอมกรุงเทพมหานคร คิดเปนรอยละ 64.7 ซ่ึงมีคาคะแนน = 2

ในภาพรวม ประชาชนสวนใหญไมมีความวิตกกังวลเลยเกี่ยวกับการดําเนินงาน โครงการ CMB คิดเปนรอยละ 66.7 ซ่ึงมีคาคะแนน = 1

คะแนนรวม = 11

รอยละของคะแนนการประเมิน = 13.75%

สรุปไดวา การประเมินดานความสอดคลองกับความตองการอยูในระดับปานกลาง 4.6.4 การประเมินดานความยั่งยืน

1) ความตอเนื่องของการซื้อขายขยะรีไซเคิล

ประชาชนสวนใหญคิดวาในอนาคต จะคัดแยกขยะกอนทิ้งในบางครั้ง คิดเปนรอยละ 59.4

ซ่ึงมีคาคะแนน = 2

2) นโยบายของหนวยงาน/สํานักงานเขตสนับสนุนตอเนื่อง ความคิดเห็นของเจาหนาที่สํานักงานเขตพรอมใจพัฒนา มีความเห็นวา หนวยงานที่

เกี่ยวของจะมีนโยบายสนับสนุนการแกปญหาขยะในทุกรูปแบบ และปจจุบันปญหาขยะถูกบรรจุอยูในแผนพัฒนา 10 ป ใหคะแนนดานนโยบายสนับสนุนตอเนื่อง เทากับ 3 คะแนน

3) ชุมชนมีความรู ความเขาใจในการคัดแยก

จากการสัมภาษณประชาชนที่เขารวมโครงการกําจัดขยะมูลฝอยชุมชน พบวาประชาชนมีความรูความเขาใจในการคัดแยกขยะ คิดเปนเปอรเซ็นตเฉลี่ย 89.67 % ซ่ึงมีคาคะแนน = 3

คะแนนรวม = 8

Page 79: หน้าปก[1]library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19773.pdf · บทที่5 สรุปผลการศ ึกษาและข อเสนอแนะ 74 5.1 สรุปผลการศ

69

รอยละของคะแนนการประเมิน = 26.67%

สรุปไดวา การประเมินดานความยั่งยืนอยูในระดับสูง

สรุปภาพรวมโครงการ

ตารางที่ 4-2 ระดับคะแนนการประเมินโครงการ

จากการประเมินโครงการการจัดการขยะมูลฝอยโดยชุมชน (CBM) ของสํานักสิ่งแวดลอม

กรุงเทพมหานคร ตามดัชนีช้ีวัดการประเมินความสําเร็จที่จัดทําขึ้น มีคาคะแนนรวมเทา 100 คะแนน พบวาโครงการการจัดการขยะมูลฝอยโดยชุมชนกรณีศึกษา ชุมชนพรอมใจพัฒนา เขตคลองสามวา มีคะแนนรวมเทากับ 65.09 ซ่ึงเมื่อเปรียบเทียบคาคะแนนดังกลาว กับ ตารางที่ 5-1

พบวาผลการดําเนินงานที่ผานมา มีระดับคะแนนรวมอยูในระดับปานกลาง ซ่ึงที่ระดับคะแนน

ระดับคะแนน ผลการประเมินโครงการ > 85 ดีมาก ควรสนบัสนุนดําเนนิการ และสนับสนุนเปนตนแบบใน

การเรียนรูตอพื้นที่ และชุมชนอ่ืนๆ > 75-85 ดี ควรดําเนินการ แตควรปรับปรุงบางประเด็น เพื่อใหสามารถ

ขยายผลไปสูพื้นที่และชุมชนอ่ืนๆ ได > 60-75 ปานกลาง ควรทบทวน และสรุปบทเรียนการดําเนนิงาน และ

ปรับปรุงแกไขเพื่อใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น > 50-60 พอใช ผลการดําเนินงานยังไมเหมาะสม <= 50 นอย / ไมควรดําเนินการใดๆ ทั้งสิ้น

ดัชนีการประเมินความสําเรจ็ คะแนนเต็ม คะแนนจากการประเมิน

ดานประสิทธผิล 30 16.67

ดานผลกระทบ 20 8

ดานความสอดคลองกับความตองการ 20 13.75

ดานความยั่งยนื 30 26.67

รวม 100 65.09

Page 80: หน้าปก[1]library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19773.pdf · บทที่5 สรุปผลการศ ึกษาและข อเสนอแนะ 74 5.1 สรุปผลการศ

70

ดังกลาวโครงการควรมีการทบทวน และสรุปบทเรียนการดําเนินงาน และปรับปรุงแกไขเพื่อใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

4.7 ทัศนคติ และความคดิเห็นของสํานักงานเขตคลองสามวา จากการสัมภาษณผูเกี่ยวของกับการบริหารโครงการการจัดการขยะมูลฝอยโดยชุมชนของ

สํานักงานเขตคลองสามวา เพื่อศึกษาขอมูลที่เกี่ยวของกับความสําเร็จของโครงการ พบวา นโยบายการดําเนินงานโครงการการจัดการขยะมูลฝอยโดยชุมชนของสํานักงานเขตคลองสามวามีดังนี้ ขั้นตอนแรกมีการประสานกับสํานักสิ่งแวดลอม โดยสํานักสิ่งแวดลอมเปนแมงาน จุดนี้เขาตองการใหสํานักงานเขตทุกสํานักงานเขตในกรุงเทพมหานครเจาะลึกไปยังชุมชน เพื่อใหชุมชนมีสวนรวมลด และคัดแยกมูลฝอย เพราะในปจจุบันขยะมูลฝอยมีปริมาณมาก มูลฝอยที่เกิดจากการทิ้งของชุมชนมีปริมาณมากขึ้นทุกป กรุงเทพมหานครตองเสียคาใชจายในอัตราที่สูง ทําอยางไรจะเปนการที่ชวยใหทางกรุงเทพมหานครไดประหยัดในสวนหนึ่งในงบประมาณ จึงมีโครงการนี้เกิดขึ้น เพื่อใหปริมาณขยะลดนอยลง โดยการใหสมาชิกภายในชุมชนคัดแยกขยะ โดยการใหทุกสํานักงานเขตคัดเลือกชุมชนที่มีศักยภาพ เชนชุมชนอาจมีศาลาประชาคมเปนที่รวมพลของชุมชน มีหอกระจายขาวสามารถแจงให แลวแตละชุมชนจะกําหนดขึ้นมา เชน สัปดาหที่หนึ่ง สัปดาหที่สองของแตละเดือน ก็ขึ้นอยูกับชุมชนที่จะดําเนินการตรงนี้ สวนเจาหนาที่ก็จะเขาไปประสานวาจะทําอยางไร ขั้นตอนแรกตองมีการนัดหมายกับทางชุมชนที่เปนชุมชนเปาหมายที่เราคิดวามีศักยภาพพรอม โดยประสานกับคณะกรรมการชุมชน โดยอาศัยที่เคามีการประชุมอยูแลว เขาไปมีสวนรวมกับชุมชนเพื่อพูดถึงโครงการตรงนี้

ภายหลังการดําเนินโครงการการจัดการขยะมูลฝอยโดยชุมชน ทางสํานักงานเขตคลองสามวามีความเห็นวาความสัมพันธระหวางสํานักงานเขตกับชุมชนดีขึ้นมากเลยเพราะมีการคัดแยกนําเศษอาหารมาทําปุยเพื่อลดปริมาณสารเคมีที่ใชกับไรนา เมื่ออดีตจะเห็นวาสิ่งมีชีวิตในน้ําจะเปนโรค เหตุเพราะเราใชสารเคมี ฉะนั้นโครงการนี้ทําปุยจากเศษอาหารทําใหประชาชนประหยัดคาใชจาย และผลผลิตที่ไดไมแตกตางจากที่ใชสารเคมี และสัตวน้ําก็ไมเกิดโรคและทําใหระบบนิเวศดีขึ้น

ในการดําเนินโครงการการจัดการขยะมูลฝอยโดยชุมชนทางสํานักงานเขตคลองสามวามีความเห็นวาปญหาและอุปสรรคการดําเนินงานคือ ในชวงแรกๆ การทําความเขาใจกับชุมชนอาจมีปญหาเล็กนอย เนื่องจากชุมชนยังไมเขาใจวาการคัดแยกขยะมูลฝอยจะเปนสวนหนึ่งที่สรางรายไดและชุมชนสะอาดขึ้น เพราะสมาชิกมีความหลากหลายทางความคิด วิธีแกไขก็คือการใหความรูวาโครงการเกิดประโยชนอยางไร และทางรัฐบาลไมไดมีผลประโยชนอยางใดเลยจากการคัดแยกขยะ

Page 81: หน้าปก[1]library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19773.pdf · บทที่5 สรุปผลการศ ึกษาและข อเสนอแนะ 74 5.1 สรุปผลการศ

71

มูลฝอยของชุมชน แตผลประโยชนจะเกิดกับชุมชนเอง ทางเจาหนาที่รัฐบาลเพียงเขาไปประสานเทานั้น วาทําอยางไรจะทําใหชุมชนเขมแข็งขึ้น สะอาดขึ้น มีรายไดเพิ่มขึ้น และลดสารเคมีที่จะตกคางในสิ่งแวดลอม โดยจะเขาไปใหความรูในการประชุมของชุมชน

ในอนาคต ทางสํานักงานเขตคลองสามวามีความเห็นวาจะดําเนินโครงการการจัดการขยะมูลฝอยโดยชุมชนตอไปอยางแนนอน โดยจะดําเนินการอยางตอเนื่องและจะเพิ่มชุมชนเปาหมายอีก โดยเลือกชุมชนที่มีความพรอม สามารถดําเนินโครงการนี้ไดอยางมีประสิทธิภาพ

ในโครงการการจัดการขยะมูลฝอยโดยชุมชน ทางสํานักงานเขตคลองสามวามีบทบาทหนาที่ ไดรับมอบหมายจากสํานักงานเขตใหเปนตัวประสาน ไปทําความเขาใจ ไปดําเนินการ ไปแนะนําชุมชน เชน การหมักปุย ใหชุมชนไดใชปุยที่เกิดจากธรรมชาติ

ทางสํานักงานเขตคลองสามวามีขอคิดเห็นและขอเสนอแนะตอการดําเนินโครงการการจัดการขยะมูลฝอยโดยชุมชน คือ ตองการใหหนวยงานราชการสนับสนุนโครงการการจัดการขยะมูลฝอยโดยชุมชนตอไปเรื่อยๆ เพราะเปนโครงการที่ดีมาก ทําใหสภาพแวดลอมของชุมชนดีขึ้น ลดภาวะโลกรอนได และตองการใหทางราชการขยายเครือขายโครงการการจัดการขยะมูลฝอยโดยชุมชน จากระดับชุมชนเปนระดับตําบล เปนระดับอําเภอจนขยายเปนระดับจังหวัดตอไปเรื่อยๆ เพื่อใหการจัดการสิ่งแวดลอมของประเทศมีความยั่งยืนตอไปในอนาคต

4.8 การเก็บขอมูลภาคสนาม ในการศึกษาครั้งนี้ ผูวิจัยไดทําการสํารวจพื้นที่ในชุมชน และสัมภาษณเชิงลึกกับประชาชน

ในชุมชน ซ่ึงเปนผูใหขอมูลหลักของงานวจิัยช้ินนี้ โดยนาํเสนอในภาพที่ 4-1 ดานลางนี ้

Page 82: หน้าปก[1]library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19773.pdf · บทที่5 สรุปผลการศ ึกษาและข อเสนอแนะ 74 5.1 สรุปผลการศ

72

สภาพชุมชน ถังขยะสําหรับคัดแยกของขายได

กิจกรรมการทาํปุยหมักจากเศษอาหาร ถนนปลอดถังขยะ

สัมภาษณประธานชุมชน สัมภาษณประธานชุมชน

ภาพที่ 4-1 กิจกรรมการลงสํารวจพื้นทีแ่ละสัมภาษณผูนาํชุมชน และสมาชิกในชุมชน

Page 83: หน้าปก[1]library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19773.pdf · บทที่5 สรุปผลการศ ึกษาและข อเสนอแนะ 74 5.1 สรุปผลการศ

73

สอบถามสมาชิกในชุมชน สอบถามสมาชิกในชุมชน

ชุมชนธันยกานต สภาพชุมชน

แปลงปุยหมกัชุมชน แปลงปุยหมกัชุมชน

ภาพที่ 4-2 กจิกรรมการลงสํารวจพื้นทีแ่ละสัมภาษณผูนําชุมชน และสมาชิกในชุมชน (ตอ)

Page 84: หน้าปก[1]library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19773.pdf · บทที่5 สรุปผลการศ ึกษาและข อเสนอแนะ 74 5.1 สรุปผลการศ

74

บทที่ 5

สรุป อภิปรายผล และขอเสนอแนะ

5.1 สรุปผลการศึกษา จากการประเมินโครงการดานความสําเร็จ 4 ดัชนี คือ การประเมินดานประสิทธิผล การ

ประเมินดาน การประเมินดานผลกระทบ การประเมินดานความสอดคลองกับความตองการ และการประเมินดานความยั่งยืน ที่ไดนําเสนอวิธีการและการประเมินโครงการไปแลวในบทที่ 4 นั้นสามารถนํามาสรุปผลการศึกษาในแตละดัชนี ดังตารางที่ 5-1 ดังนี้

5.1.1 การประเมินดานประสิทธิผล

(1) ปริมาณขยะที่ตองจัดเก็บ ปริมาณขยะที่ตองจัดเก็บของชุมชนตัวอยาง มีน้ําหนักหลังดําเนินโครงการเทียบกับกอนดําเนินโครงการ ลดลงรอยละ 20 ซ่ึงถือวาเปนปริมาณปานกลาง ซ่ึงถือวาเปนความสําเร็จของโครงการในระดับหนึ่ง

(2) การมีสวนรวมของชุมชน การสัมภาษณชุมชนรวมกับขอมูลจากรายงานสรุปผลการดําเนินงานตอจํานวนครัวเรือนทั้งหมดในชุมชนนั้น ๆ คิดสัดสวนสรุปไดวาสัดสวนผูเขารวมโครงการคิดเปนรอยละเฉลี่ย 26.28 ซ่ึงถือไดวาโครงการไมคอยประสบความสําเร็จดานการมีสวนรวมเทาที่ควร คือประชาชนใหความสนใจในโครงการนอย

(3) ปริมาณขยะรีไซเคิลที่พบจากขยะที่ตองจัดเก็บ โดยพบวาปริมาณขยะรีไซเคิลที่ปนไปกับขยะที่ตองทําการจัดเก็บนั้นมีปริมาณที่ลดลงจากปริมาณที่พบกอนทําโครงการและเมื่อเทียบปริมาณขยะรีไซเคิลที่ปนมากับขยะที่ตองจัดเก็บนั้นพบวามีปริมาณนอยกวากับชุมชนที่ไมไดเขารวมโครงการ

สรุปการประเมินดัชนีดานประสิทธิผลโดยการประเมินนั้นใหรอยละการประเมินอยูที่รอย

ละ 30 ปรากฏวาผลจากการประเมินนั้นโครงการไดคะแนนประเมินอยูที่รอยละ 16.67

Page 85: หน้าปก[1]library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19773.pdf · บทที่5 สรุปผลการศ ึกษาและข อเสนอแนะ 74 5.1 สรุปผลการศ

75

ตารางที่ 5-1 สรุปการประเมนิความสําเร็จ

ดัชนีช้ีวดั ประเมินความสําเรจ็ของโครงการ คะแนนเต็ม คะแนนจากการ

ประเมิน

ดัชนีดานประสิทธิผล ปริมาณขยะมลูฝอยที่ตองจัดเก็บ 3 2

การมีสวนรวมของชุมชน 3 1

ปริมาณขยะรไีซเคิลที่พบจากขยะที่ตองจดัเก็บ 3 2

คะแนนรวม 9 5

รอยละของคะแนนการประเมิน 30 % 16.67

ดัชนีดานผลกระทบ (ดานบวก ดานลบ) ผลกระทบดานสิ่งแวดลอม 10 5

ผลกระทบดานสังคม 4 0

ผลกระทบดานเศรษฐกจิ 6 3

คะแนนรวม 20 8

รอยละของคะแนนการประเมิน 20 % 8 %

ดัชนีดานความสอดคลองกับความตองการ

ลักษณะโครงการสอดคลองกับความตองการ 12 8

การยอมรับโครงการ 4 3

คะแนนรวม 16 11

รอยละของคะแนนการประเมิน 20 % 13.75

ดัชนีดานความยั่งยืน

ความตอเนื่องของการซื้อขายขยะรีไซเคิล 3 2

ชุมชนมีความรู ความเขาใจในการคัดแยก 3 3

นโยบายของหนวยงาน/สํานกังานเขตสนับสนุนตอเนื่อง

3 3

คะแนนรวม 9 8

รอยละของคะแนนการประเมิน 30 % 26.67 %

Page 86: หน้าปก[1]library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19773.pdf · บทที่5 สรุปผลการศ ึกษาและข อเสนอแนะ 74 5.1 สรุปผลการศ

76

5.1.2 การประเมินดานผลกระทบ

จากการศึกษาสามารถแบงการประเมินออกเปน 3 ดาน และสรุปผลการประเมินดานตางๆ

ไดดังนี้

(1) ดานสิ่งแวดลอม ซ่ึงแบงการประเมินตามผลกระทบดานสิ่งแวดลอมไวทั้งสิ้น 5 ปจจัยและผลของการประเมินมีดังนี้

- สภาพแวดลอมชุมชนจากการสํารวจความคิดเห็นของประชาชนในชุมชนโดยใชแบบสอบถามจํานวน 156 ชุดพบวารอยละ 57.1 มองวาโครงการนี้ทําใหสภาพแวดลอมดีขึ้นปานกลาง

- ปริมาณขยะตกคางจากการสํารวจความคิดเห็นของประชาชนในชุมชนโดยใชแบบสอบถามจํานวน 156 ชุดพบวารอยละ 72.4 มองวาปริมาณขยะตกคางลดนอยลงกวากอนดําเนินโครงการ

- กล่ินเหม็นขยะจากการสํารวจความคิดเห็นของประชาชนในชุมชนโดยใชแบบสอบถามจํานวน 156 ชุดพบวารอยละ 73 มองวากลิ่นเหม็นจากขยะนอยกวากอนดําเนินโครงการ

- ปญหาการรื้อคนขยะจากการสํารวจความคิดเห็นของประชาชนในชุมชนโดยใชแบบสอบถามจํานวน 156 ชุดพบวารอยละ 61.7 มองวาปญหาการรื้อคนขยะนอยกวากอนดําเนินโครงการ

- แหลงสะสมเชื้อโรคจากการสํารวจความคิดเห็นของประชาชนในชุมชนโดยใชแบบสอบถามจํานวน 156 ชุดพบวารอยละ 70 มองวามีแหลงสะสมของเชื้อโรคนอยกวากอนดําเนินโครงการ

(2) ดานสังคม ซ่ึงจะพิจารณาในแงของความสัมพันธทางสังคมใน 2 สวนคือ ความสัมพันธภายในชุมชน และความสัมพันธระหวางสํานักเขตและชุมชน ซ่ึงผลของการประเมินมีดังนี้

- ความสัมพันธภายในชุมชน จากการสํารวจความคิดเห็นของประชาชนในชุมชนโดยใชแบบสอบถามจํานวน 156 ชุดพบวามีจํานวน 76 คน คิดเปนรอยละ 49 มองวาความสัมพันธภายในชุมชนนั้นเหมือนเดิมกลาวคือโครงการนี้ไมไดมีผลกระทบตอความสัมพันธของคนในชุมชนทั้งนี้อาจเปนเพราะชุมชนนั้นมีความสัมพันธที่ดีอยูแลวจึงมองวาไมไดเปนผลมาจากการเขารวมดําเนินโครงการ

- ความสัมพันธระหวางสํานักงานเขตและชุมชนจากการสํารวจความคิดเห็นของประชาชนในชุมชนโดยใชแบบสอบถามจํานวน 156 ชุดพบวามีจํานวน 79 คน คิดเปนรอยละ 51

Page 87: หน้าปก[1]library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19773.pdf · บทที่5 สรุปผลการศ ึกษาและข อเสนอแนะ 74 5.1 สรุปผลการศ

77

มองวาความสัมพันธระหวางสํานักงานเขตและชุมชนนั้นมีความสัมพันธเหมือนเดิมทั้งนี้อาจเนื่องมาจากที่เจาหนาที่ของสํานักงานเขตเขาไปใหความรูและไดใกลชิดกับชุมชนนอยไป

(3) ดานเศรษฐกิจ ซ่ึงในที่นี้พิจารณาใน 2 สวนดังนี้ - รายไดโดยพิจารณาจากรายไดที่เกิดจากการคัดแยกขยะซึ่งจากการสํารวจพบวาสามารถ

เพิ่มรายไดไดประมาณ 100-200 บาท/เดือน

- การลดคาใชจาย โดยพิจารณาจากคาใชจายที่สามารถลดลงไดจากการซื้อปุยหมักซึ่งจากการสํารวจพบวารอยละ 51.6 มองวาสามารถลดคาใชจายไดนอยกวารอยละ 50 ซ่ึงหมายความวาโครงการนี้สามารถลดคาใชจายใหกับผูที่เขารวมโครงการไดเพียงเล็กนอยเทานั้น

สรุปผลการประเมินดานผลกระทบทั้ง 3 ดานที่ระดับคะแนนความสําคัญรอยละ 20 นั้น

ปรากฏวาโครงการไดคะแนนรอยละ 8 ซ่ึงถือวาอยูในระดับที่ต่ําเมื่อเทียบกับปจจัยดานอื่นๆ ทั้งนี้

อาจเปนเพราะโครงการนั้นเนนในเรื่องของการจัดการปญหาดานสิ่งแวดลอมดานการจัดการขยะ

และของเสียมากกวาดังนั้นผลที่ไดจากดานสังคมและเศรษฐกิจนั้นถือเปนผลพลอยไดจากโครงการ

ซ่ึงหากจะเนนดานสังคมและเศรษฐกิจอาจตองมีการปรับเปลี่ยนหรือหาแนวทางใหมเขามาเสริมอีก

ทางหนึ่ง

5.1.3 การประเมินดานความสอดคลองของโครงการ

(1) ลักษณะโครงการเปนที่ตองการ ผลจากการประเมินโครงการพบวาประชาชนในชุมชนนั้นเห็นวาโครงการดังกลาวนั้นเปนโครงการที่เหมาะสมและสอดคลองกับความตองการปานกลางโดยจะเห็นไดจากคะแนนที่ไดนั้นไดคะแนนปานกลางทุกขอ

(2) การยอมรับโครงการ ผลการประเมินโครงการพบวาประชาชนในชุมชนนั้นเห็นดวยปานกลางในการดําเนินโครงการและประชาชนไมมีความวิตกกังวลเกี่ยวกับการดําเนินโครางการเลย

สรุปการประเมินดานความสอดคลองกับความตองการและการยอมรับโครงการนั้นผล

ปรากฏวาไดระดับคะแนนรอยละของการประเมินอยูที่รอยละ 13.75 จากรอยละ 20 ซ่ึงแสดงให

เห็นวาโครงการนี้ประสบความสําเร็จเปนปานกลางในดานการประเมินความสอดคลอง

5.1.4 การประเมินดานความยั่งยืน

(1) ความตอเนื่องของการซื้อขายขยะรีไซเคิลจากผลสํารวจพบวาประชาชนรอยละ 59.4

คิดวาจะคัดแยกขยะเปนบางครั้ง

Page 88: หน้าปก[1]library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19773.pdf · บทที่5 สรุปผลการศ ึกษาและข อเสนอแนะ 74 5.1 สรุปผลการศ

78

(2) ชุมชนมีความรู ความเขาใจในการคัดแยกจากการสํารวจพบวาประชาชนรอยละ 89.67 มีความรูความเขาใจเรื่องการคัดแยกขยะซึ่งนับไดวาเปนอัตราที่คอนขางสูงแสดงใหเห็นวาโครงการนี้สามารถสรางความรูและความเขาใจเรื่องการคัดแยกขยะใหแกประชาชนเปนอยางดี

(3) นโยบายของหนวยงาน/สํานักงานเขตสนับสนุนตอเนื่องจากการสัมภาษณพบวาสํานักงานเขตนั้นไดมีการวางแผนการพัฒนาและแกไขปญหาเรื่องการจัดการขยะอยางตอเนื่องซึ่งนับไดวาเปนแนวทางการดําเนินการที่ดี

สรุปผลการประเมินดานความยั่งยืนของโครงการจะเห็นไดวาหากมองในดานความยั่งยืนและตอเนื่องแลวโครงการนี้นับวาเปนโครงการที่ประสบความสําเร็จมากทีเดียวจะเห็นไดจากรอยละของคะแนนการประเมินที่ไดคือรอยละ 26.67

5.2 สรุปภาพรวมของโครงการ

จากการประเมินโครงการการจัดการขยะโดยชุมชน ตามดัชนีช้ีวัดการประเมินความสําเร็จ

ทั้ง 4 ดัชนี การประเมินดานประสิทธิผล การประเมินดานผลกระทบ การประเมินดานความสอดคลองกับความตองการ และการประเมินดานความยั่งยืน ที่ไดนําเสนอวิธีการและการประเมินโครงการไปแลวในบทที่ 4 นั้นสามารถนํามาสรุปผลการศึกษาไดดังนี ้

ดัชนีการประเมินความสําเรจ็ คะแนนเต็ม คะแนนจากการประเมิน

ดานประสิทธผิล 30 16.67

ดานผลกระทบ 20 8

ดานความสอดคลองกับความตองการ 20 13.75

ดานความยั่งยนื 30 26.67

รวม 100 65.09

จากการประเมินโครงการการจัดการขยะมูลฝอยโดยชุมชน (CBM) ของสํานักสิ่งแวดลอม

กรุงเทพมหานคร ตามดัชนีช้ีวัดการประเมินความสําเร็จที่จัดทําขึ้น มีคาคะแนนรวมเทา 100 คะแนน พบวาโครงการการจัดการขยะมูลฝอยโดยชุมชนกรณีศึกษา ชุมชนพรอมใจพัฒนา เขตคลองสามวา มีคะแนนรวมเทากับ 65.09 ซ่ึงเมื่อเปรียบเทียบคาคะแนนดังกลาว กับ ตารางที่ 5-1

พบวาผลการดําเนินงานที่ผานมา มีระดับคะแนนรวมอยูในระดับปานกลาง ซ่ึงที่ระดับคะแนนดังกลาวโครงการควรมีการทบทวน และสรุปบทเรียนการดําเนินงาน และปรับปรุงแกไขเพื่อใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

Page 89: หน้าปก[1]library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19773.pdf · บทที่5 สรุปผลการศ ึกษาและข อเสนอแนะ 74 5.1 สรุปผลการศ

79

ตารางที่ 5-2 ระดับคะแนนการประเมินโครงการ

ระดับคะแนน ผลการประเมินโครงการ > 85 ดีมาก ควรสนบัสนุนดําเนนิการ และสนับสนุนเปนตนแบบใน

การเรียนรูตอพื้นที่ และชุมชนอ่ืนๆ > 75-85 ดี ควรดําเนินการ แตควรปรับปรุงบางประเด็น เพื่อใหสามารถ

ขยายผลไปสูพื้นที่และชุมชนอ่ืนๆ ได > 60-75 ปานกลาง ควรทบทวน และสรุปบทเรียนการดําเนนิงาน และ

ปรับปรุงแกไขเพื่อใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น > 50-60 พอใช ผลการดําเนินงานยังไมเหมาะสม <= 50 นอย / ไมควรดําเนินการใดๆ ทั้งสิ้น

5.3 ขอเสนอแนะ 5.3.1 ขอเสนอแนะดานประสิทธิผล

ผลการประเมินดานประสิทธิผลนั้นถือวาประสบความสําเร็จพอสมควรในเรื่องของปริมาณขยะที่ตองจัดเก็บ สวนในเรื่องของการมีสวนรวมของประชาชนนั้นมีจํานวนของครัวเรือนที่เขารวมนอยและยังมีปริมาณขยะรีไซเคิลปนไปกับขยะที่ตองกําจัดนั่นแสดงใหเห็นวายังมีประชาชนบางสวนในชุมชนที่ไมใหความสําคัญหรือไมสนใจในการปฏิบัติตามโครงการดังนั้นหนวยงานที่เกี่ยวของจะตองเขาไปใหความรูและทําใหประชาชนมีความตระหนักมากวานี้โดยอาจตองเขาไปพบปะพูดคุยทําใหประชาชนเห็นความสําคัญเล็งเห็นถึงผลไดและผลเสียของโครงการอยางชัดเจนและตองเขาไปอยางตอเนื่องมิใชปลอยใหผูนําชุมชนดําเนินการเองเพราะอาจจะไมมีประสิทธิภาพเพียงพอ 5.3.2 ขอเสนอแนะดานผลกระทบ

โครงการนี้เปนโครงการที่มีจุดดอยในเรื่องของการประเมินดานผลกระทบ โดยเฉพาะผลกระทบดานสังคม ซ่ึงไมมีคะแนนเลย ตองใหความสนใจดานนี้เปนพิเศษ โดยตองมีการเพิ่มในเร่ืองของการใหประชาชนในชุมชนเพิ่มระดับความสัมพันธโดยอาจจะมีการจัดตั้งศูนยสอนอาชีพจากวัสดุเหลือใชเพื่อใหประชาชนไดมีกิจกรรมรวมกันมีการรวมตัวกันเพื่อใชเวลาวางใหเปนประโยชน สวนในดานของผลกระทบทางดานสิ่งแวดลอม และเศรษฐกิจนั้นไมคอยประสบผลสําเร็จดังนั้นจึงตองมีการพัฒนาทั้ง 2 ดานนี้ดวย

Page 90: หน้าปก[1]library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19773.pdf · บทที่5 สรุปผลการศ ึกษาและข อเสนอแนะ 74 5.1 สรุปผลการศ

80

โดยสามารถเปรียบเทียบกับการศึกษาของนายธนกฤต บวกขุนทด (2553) ซ่ึงศึกษาเรื่องการศึกษารูปแบบการจัดการการจัดเก็บขยะชุมชน กรณีศึกษา : องคการบริหารสวนตําบลโนนเมืองพัฒนา อําเภอดานขุนทด ซ่ึงเสนอแนะใหเนนการใหความรูแกประชาชนทุกระดับ รวมทั้งผูนําชุมชน โดยใหมีความรูความเขาใจในเรื่องของความสําคัญที่ตองมีการจัดการขยะมูลฝอย ปญหาและผลกระทบที่เกิดขึ้นตอส่ิงแวดลอม สุขภาพอนามัยและคุณภาพชีวิตของประชาชน เพื่อลดผลกระทบที่จะเกิดแก ส่ิงแวดลอม รวมทั้งใหการประชาสัมพันธ และรณรงคดานการจัดการขยะมูลฝอยท้ังการคัดแยกขยะและลดขยะมูลฝอยจากแหลงกําเนิด โครงการทําปุยหมักชีวภาพ โครงการทําปุยนาชีวภาพ เพื่อช้ีใหเห็นวาขยะมูลฝอยอินทรียสามารถนํามาใชประโยชนได เพื่อเพิ่มผลประโยชนทางดานเศรษฐกิจ

จะเห็นไดวาขอเสนอแนะของผูศึกษากับของผูศึกษาอื่นก็เนนผลกระทบ 3 ดาน เชนกัน คือ ดานสิ่งแวดลอม ดานสังคมและดานเศรษฐกิจ โดยเนนการทํากิจกรรมรวมกัน เพื่อใหเกิดความสัมพันธที่ดีตอกันทั้งความสัมพันธภายในชุมชน และความสัมพันธระหวางสํานักงานเขตกับชุมชน อันเปนผลกระทบทางดานสังคม ซ่ึงขอเสนอแนะของผูศึกษากับขอเสนอแนะของผูอ่ืนที่ยกตัวอยางมาก็มีความสอดคลองกัน ที่เนนผลกระทบทั้ง 3 ดานดังที่กลาวไป

5.3.3 ขอเสนอแนะดานความสอดคลองของโครงการ

จากผลการศึกษาจะเห็นไดวารอยละของคะแนนการประเมินดานความสอดคลองนั้นไดระดับคะแนนปานกลาง ซ่ึงสะทอนใหเห็นวาโครงการนี้ประสบความสําเร็จพอสมควรในดานความสอดคลองเพราะฉะนั้นหนวยงานที่เกี่ยวของควรที่จะมีการพัฒนาดานความสอดคลองของโครงการใหดีขึ้นสอดคลองกับสถานการณและความตองการที่เปลี่ยนแปลงไปของแตละชุมชนเพราะการเปลี่ยนแปลงที่ไมเหยุดนิ่งของวิวัฒนาการดานตางๆดังนั้นเราตองมีการปรับกลยุทธเพื่อใหสอดคลองกับความตองการปจจุบันตลอดเวลา

5.3.4 ขอเสนอแนะดานความยั่งยืน

จากการประเมินจะพบวาโครงการนี้เปนโครงการที่มีความยั่งยืนทั้งในเรื่องของแผนการดําเนินการและความรูของประชาชนในชุมชนหากแตในเรื่องการพัฒนาความยั่งยืนนั้นการตรวจติดตามและประเมินผลอยางสม่ําเสมอเพื่อใหเราไดทราบถึงความเปลี่ยนแปลงที่อาจเกิดขึ้น เชน อาจจะมีการเปลี่ยนแปลงดานประชากรหรือนโยบายของชุมชนในอนาคต ดังนั้นจึงตองมีการติดตามและประเมินผลอยางตอเนื่อง

Page 91: หน้าปก[1]library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19773.pdf · บทที่5 สรุปผลการศ ึกษาและข อเสนอแนะ 74 5.1 สรุปผลการศ

81

จากการศึกษาของนางชนิดา เพชรทองคํา (2553) ศึกษาเรื่องการบริหารจัดการขยะและเทคโนโลยีที่เหมาะสม โดยการมีสวนรวมของชุมชน ไดเสนอแนะดังนี้

1) ควรมีการทําวิจัยเกี่ยวกับการสรางลักษณะนิสัยในการจัดการขยะมูลฝอยกับกลุมตัวอยางเดิมและหรือกลุมตัวอยางองคการบริหารสวนตําบลอื่นในจังหวัดเดียวกัน เพื่อใหเกิดความตอเนื่องและยั่งยืน

2) ควรมีการทําวิจัยในทํานองเดียวกันกับกลุมตัวอยางจังหวัดอื่นๆ

3) ควรมีการทําการวิจัยในแนวการติดตามและประเมินผลการจัดการขยะมูลฝอย ซ่ึงเปนการกระตุนใหชุมชนมีการจัดการขยะมูลฝอยอยางตอเนื่องและยั่งยืน

4) ควรมีการกําหนดเวลาที่ชัดเจนในการจัดเก็บและขนขยะของแตละหมูบาน

5) ควรมีการประชาสัมพันธในการจัดกลุมเครือขายทุกรูปแบบ

6) ควรมีการแขงขันการคัดแยกขยะของแตละครัวเรือนในแตละหมูบาน และระหวางหมูบานแลวนําเสนอตอสาธารณะชนทุกเดือน

จะเห็นไดวาขอเสนอแนะของผูศึกษาเนนการติดตามและประเมินผล สวนของผูศึกษาอื่นนั้นเนนการทําการวิจัย การประชาสัมพันธและการจัดการดานขยะ ซ่ึงถึงแมขอเสนอแนะจะไมสอดคลองกัน แตขอเสนอแนะของผูศึกษาและขอเสนอแนะของผูอ่ืนที่ยกตัวอยางมาก็แนะนําเพื่อใหโครงการขยะเกิดความยั่งยืนเชนเดียวกัน

5.3.5 ขอเสนอแนะอื่นๆเพิ่มเติม 5.3.5.1 สําหรับหนายงานภาครัฐ

ทุกหนวยงานของรัฐ ตองรวมกันสรางความรูและความเขาใจใหแกประชาชนในหลักการ”

ผูกอมลพิษเปนผูจาย” (Polluter Pays Principle หรือ PPP) เพื่อใหประชาชนตระหนักในหนาที่ที่เปนผูกอใหเกิดขยะวาจะตองเปนผูรับภาระในการจายคาธรรมเนียมการจัดการขยะ

5.3.5.2 สําหรับหนวยงานทองถ่ิน (1) องคกรปกครองสวนทองถ่ินทุกแหง ตองพัฒนาระบบการจัดการขยะในพื้นที่ของ

ตนเองใหสอดคลองกับนโยบายการจัดการขยะของประเทศ

(2) เนื่องจากการบริหารจัดการระบบกําจัดขยะชุมชน เปนระบบการบริหารที่องคกรปกครองสวนทองถ่ินหลายแหงและหลายระดับตองรวมกันจัดการ ดังนั้น ในระยะแรกของการดําเนินงานโครงการ ทุกองคกรที่เขารวมตองทําความเขาใจรวมกันใหเกิดความชัดเจนและตรงกันเกี่ยวกับนโยบายการดําเนินงาน ตามวัตถุประสงคและเปาหมายของโครงการ

Page 92: หน้าปก[1]library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19773.pdf · บทที่5 สรุปผลการศ ึกษาและข อเสนอแนะ 74 5.1 สรุปผลการศ

82

(3) องคกรปกครองสวนทองถ่ินที่เปนแกนนํา ตองเปดโอกาสใหองคกรปกครองสวนทองถ่ินที่รวมโครงการมีสวนรวมพิจารณาและตัดสินใจเกี่ยวกับแนวทางและวิธีการดําเนินงานทุกขั้นตอน โดยเฉพาะอยางยิ่งในสวนที่เกี่ยวกับผลประโยชนตางๆ ในการดําเนินโครงการ

(4) องคกรปกครองสวนทองถ่ินทุกแหงที่รวมโครงการตองพัฒนาระบบการจัดการขยะในพื้นที่ตัวเองใหสอดคลองกับแนวทางการบริหารการจัดการขยะของโครงการ

(5) องคกรปกครองสวนทองถ่ินทุกแหงควรมีการรวบรวมขอมูลจัดการขยะในพื้นที่ เพื่อประโยชนในการวางแผนการจัดการขยะ การขอรับการสนับสนุนงบประมาณ

(6) องคกรปกครองสวนทองถ่ินทุกแหงควรมีการวางแผนและการวางระบบควบคุมงาน

เพื่อที่จะสามารถติดตามและประเมินผลการดําเนินงานไดอยางมีประสิทธิภาพ

(7) เนื่องจากกระบวนการจัดการขยะมีขั้นตอนในการทํางานหลายขั้นตอน เร่ิมตั้งแตเก็บรวบรวมขยะ การขนสงไปยังจุดพักขยะ แปรสภาพ และการกําจัดหรือทําลาย ซ่ึงแตละขั้นตอนตองใชอุปกรณ เครื่องมือ ความเชี่ยวชาญเปนพิเศษ จึงเปนภาระหนักยิ่งขององคกรปกครองสวนทองถ่ินที่ตองรับผิดชอบทั้งการจัดหางบประมาณ บุคลากร การบํารุงรักษา และการบริหารจัดการ จึงพบวา รูปแบบและวิธีการขององคกรปกครองสวนทองถ่ินสวนใหญยังไมมีประสิทธิภาพเทาที่ควร ดังนั้น จึงมีการใหเอกชนเขามามีสวนรวมในการจัดการขยะบางขั้นตอน

(8) สําหรับรูปแบบการบริหารจัดการโครงการกําจัดขยะชุมชน ที่มีหลายองคกรปกครองสวนทองถ่ินมารวมกันดําเนินงานนั้น รูปแบบการบริหารการจัดการที่เหมาะสมและมีความเสี่ยงนอยที่สุด คือ ระบบสหกรณ เพราะการจัดตั้งเปนสหกรณจะไดรับความชวยเหลือทั้งดานการใหคําปรึกษาในการบริหารจัดการและความชวยเหลือตางๆ จากรัฐบาลและหนวยงานที่เกี่ยวของ

(9) รูปแบบการลงทุนและการบริหารการจัดการขยะ เปนเรื่องสําคัญที่องคกรปกครองสวนทองถ่ินตองพิจารณาและตัดสินใจ มีปจจัยสําคัญหลายประการที่ทุกองคกรตองพิจารณา อาทิ ฐานะทางการเงินของทองถ่ิน กฎหมาย ระเบียบ ใหเปนไปตามเงื่อนไขของทองถ่ินในการรวมลงทุนและรวมบริหารจัดการ

5.4 ขอเสนอแนะสําหรับการศึกษาครั้งตอไป

1) สําหรับการศึกษาครั้งตอไป ควรเพิ่มกรณีศึกษาในเขตพื้นที่อ่ืน โดยเพิ่มจํานวนพื้นที่ศึกษา และมีการศึกษาในเขตพื้นที่ตางๆ ใหหลากหลาย เพื่อใหไดขอมูลหลากหลาย และครอบคลุมขึ้น เพื่อจะไดขอสรุปเกี่ยวกับโครงการการจัดการขยะโดยชุมชนที่เปนจริงมากยิ่งขึ้น

2) การศึกษาครั้งตอไปอาจเพิ่มเกณฑประเมินความสําเร็จของโครงการการจัดการขยะโดยชุมชนเขาไป เชน อาจเปนเกณฑประเมินดานประสิทธิภาพ เกณฑประเมินดานความพรอม เกณฑ

Page 93: หน้าปก[1]library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19773.pdf · บทที่5 สรุปผลการศ ึกษาและข อเสนอแนะ 74 5.1 สรุปผลการศ

83

ประเมินดานสถานการณ ซ่ึงจะทําใหเรารูระดับความสําเร็จของโครงการการจัดเการขยะโดยชุมชนมากยิ่งขึ้น วาจริงๆ แลวโครงการสบความสําเร็จในระดับใด เพราะการใชเกณฑประเมินที่รอบดานมากขึ้น ก็จะทําใหเรามองเห็นความสําเร็จของโครงการไดรอบดานมากขึ้นเชนกัน

5.5 สรุป

โดยรวมแลวโครงการนี้เปนโครงการที่ดีและมีประสิทธิภาพอีกโครงการหนึ่งหากแตทางหนวยงานที่เกี่ยวของนั้นตองหากลยุทธหรือวิธีการใหมๆเขามาดําเนินการและทําใหประชาชนเห็นคุณคาของโครงการโดยอาจจะพัฒนาควบคูไปกับการพัฒนาดานเศรษฐกิจในชุมชนโดยอาจมีการสอนหรือฝกอาชีพโดยการนําขยะรีไซเคิลมาใชเปนวัตถุดิบเพื่อเพิ่มมูลคานอกเหนือจากการคัดแยกเพื่อนําไปขายซึ่งจะเปนการเพิ่มรายไดใหแกประชาชนและยังเปนการสงเสริมใหประชาชนใชเวลาวางใหเปนประโยชน สรางเปนศูนยเรียนรูในชุมชนทําใหคนในชุมชนมีกิจกรรมรวมกันและจะไดพัฒนาดานความสัมพันธในชุมชนและเมื่อชุมชนเขมแข็งแลวการพัฒนาดานอื่นๆก็จะงายขึ้น ทั้งนี้หนวยงานที่เกี่ยวของจะตองเขามาดําเนินการอยางตอเนื่องและมีการประเมินติดตามผลเพื่อหากลยุทธที่เหมาะสมมาปรับใชหากเกิดปญหาดานตางๆขึ้นมา เพื่อใหโครงการนั้นๆมีประสิทธิภาพและเปนไปอยางยั่งยืน

สุดทายนี้ผูศึกษาขอนําเสนอขอเสนอขอเสนอแนะจากการเก็บรวบรวมขอมูลภาคสนามจากพนักงานสํานักสิ่งแวดลอม ซ่ึงตองการใหหนวยงานราชการสนับสนุนโครงการการจัดการขยะมูลฝอยโดยชุมชนตอไปเรื่อยๆ เพราะเปนโครงการที่ดีมาก ทําใหสภาพแวดลอมของชุมชนดีขึ้น ลดภาวะโลกรอนได และตองการใหทางราชการขยายเครือขายโครงการการจัดการขยะมูลฝอยโดยชุมชน จากระดับชุมชนเปนระดับตําบล เปนระดับอําเภอจนขยายเปนระดับจังหวัดตอไปเรื่อยๆ เพื่อใหการจัดการสิ่งแวดลอมของประเทศมีความยั่งยืนตอไปในอนาคต

Page 94: หน้าปก[1]library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19773.pdf · บทที่5 สรุปผลการศ ึกษาและข อเสนอแนะ 74 5.1 สรุปผลการศ

84

บรรณานุกรม กรมควบคุมมลพิษ, กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม. 2553. รายงานสถานการณ

มลพิษของ ประเทศไทย ป 2551. มปท.

กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม. 2552. การอนุรักษสิ่งแวดลอม. กรุงเทพฯ: ชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย.

กองนโยบายและแผนงาน สํานักสิ่งแวดลอม กรุงเทพมหานคร. 2552. โครงการลดและคัดแยกมูลฝอยโดยการมีสวนรวมของประชาชน. มปท.

กองนโยบายและแผนงาน, สํานักสิ่งแวดลอม กรุงเทพมหานคร. 2553. ชุมชนตนแบบการบริหารจัดการขยะในชุมชนเมือง. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย จํากัด.

จารุวรรณ ทองไพทูลย. 2545. การบริหารและการจัดการขยะมูลฝอยขององคการบนริหารสวนตําบลในอําเภอเมืองขอนแกน จังหวัดขอนแกน. รายงานการศึกษาอิสระปริญญามหาบัณฑิตทิต สาขาการบริหารการพัฒนา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแกน.

ณัฐรดี คงดั่น. 2546. ปจจัยท่ีมีผลตอพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยของประชาชนในเขตมีนบุรี กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธปริญญารัฐศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคําแหง.

ธงชัย สันติวงษ. 2541. ทฤษฎีองคการและการออกแบบ. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพไทยวัฒนาพานิช.

ปรเมษฐ หวงมิตร. 2550. พฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยของประชาชนในเขตลาดพราว กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธปริญญาการบริหารทั่วไป มหาวิทยาลัยบูรพา.

ปยภัทร สายนรา. 2552. การจัดการขยะมูลฝอยแบบมีสวนรวมของประชาชน : กรณีศึกษาชุมชนวัดพระธาตุหนองบัว 1 เทศบาลนครอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี.

ปุระชัย เปยมสมบูรณ. 2529. หลักการและกระบวนการ. กรุงเทพมหานคร: สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร. พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535.

วิไลวรรณ มาหัวนิล. 2547. การจัดการมูลฝอยชุมชนขององคการบริหารสวนตําบล. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาอนามัยส่ิงแวดลอม บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแกน.

วิโรจน ตันติธรรม. 2543. การมีสวนรวมของประชาชนในการกําจัดขยะ : ศึกษากรณีองคการบริหารสวนตําบลเสม็ด อําเภอเมือง จังหวัดชลบุรี. วิทยานิพนธปริญญารัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยบูรพา.

Page 95: หน้าปก[1]library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19773.pdf · บทที่5 สรุปผลการศ ึกษาและข อเสนอแนะ 74 5.1 สรุปผลการศ

85

ศรีศักดิ์ จงศิริ. 2545. การประเมิลผลโครงการการสงเสริมการลดและแยกมูลฝอยอยางมีประสิทธิภาพ : ศึกษาเฉพาะกรณีเขตคลองสามวา กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคําแหง.

ศักดิ์สิทธิ์ แยมศรี. 2543. การมีสวนรวมในการกําจัดขยะในเขตองคการบริหารสวนตําบลหนองปรือ อําเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี. วิทยานิพนธปริญญารัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยบูรพา.

สมสมาน อาษารัฐ. 2548. การมีสวนรวมของประชาชนตอการจัดการขยะมูลฝอย: กรณีศึกษาองคการบริหารสวนตําบลธาตุทอง อําเภอบอทอง จังหวัดชลบุรี. วิทยานิพนธปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฎราชนครินทร.

สมหวัง พิริยานุวัฒน. 2544. รวมบทความทางการประเมินโครงการ . กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

สุพจน ทรัพยผดุงชนม. 2546. พฤติกรรมการมีสวนรวมของประชาชนในการกําจัดขยะมูลฝอย ศึกษากรณี เทศบาลตําบลบานฉาง อําเภอบานฉาง จังหวัดระยอง. วิทยานิพนธปริญญารัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยบูรพา.

สุภาพร เนียมหอม. 2543. ประชาคมเมืองกับการจัดการขยะมูลฝอย ศึกษาเฉพาะกรณีเขตทวีวัฒนา กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขารัฐศาสตร, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยรามคําแหง.

สุวัฒน ฤทธิ์สําเร็จ. 2544. การมีสวนรวมของประชาชนในการจัดการขยะมูลฝอย : ศึกษากรณีของ ชุมชนในเขตเทศบาลตําบลบางเสาธง จังหวัดสมุทรปราการ. วิทยานิพนธปริญญารัฐ

ประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยบูรพา. สํานักงานคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ. 2524. เอกสารวิชาการดานเทคโนโลยีการจัดการ ขยะ

มูลฝอย. มปท. สํานักงานสิ่งแวดลอมภาคที่ 1. 2550. การจัดการขยะมูลฝอยโดยชุมชน. คนวันที่ 10 มกราคม 2554

จากเว็บไซต http://www.reo01.mnre.go.th/knowledge.php?idknowledge=13

สํานักรักษาความสะอาด กรุงเทพมหานคร. 2543. การจัดการขยะมูลฝอยของ กทม. มปท. อนุรักษ ปญญานุวัฒน. มปป. เอกสารประกอบการสอนระดับบัณฑิตศึกษา เร่ืองแนวคิดการ

ประเมินโครงการ. มปท. อัศวิน แกวมาลาฤทธิ์. 2544. การประเมินผลโครงการ : ศึกษาเฉพาะกรณีการแยกมูลฝอย

สํานักงานเขตวังทองหลาง. วิทยานิพนธปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัย

Page 96: หน้าปก[1]library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19773.pdf · บทที่5 สรุปผลการศ ึกษาและข อเสนอแนะ 74 5.1 สรุปผลการศ

86

รามคําแหง กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยรามคําแหง.สํานกัหอสมุดกลาง.

อุทัย ขันโอฬาร. 2547. ประสิทธิผลในการจัดการขยะมูลฝอยขององคการบริหารสวนตําบล : ศึกษากรณี องคการบริหารสวนตําบล อําเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม. วิทยานิพนธปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคําแหง.

Dunn, William N. (1994). Public Policy Analysis: An Introduction. 2 nd. ed. Englewood Cliffs , New Jersey : Prentice – Hall.

Page 97: หน้าปก[1]library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19773.pdf · บทที่5 สรุปผลการศ ึกษาและข อเสนอแนะ 74 5.1 สรุปผลการศ

ภาคผนวก

Page 98: หน้าปก[1]library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19773.pdf · บทที่5 สรุปผลการศ ึกษาและข อเสนอแนะ 74 5.1 สรุปผลการศ

การศึกษาและประเมิน “โครงการการจัดการขยะมูลฝอยโดยชุมชน (CBM)”

ของสํานักสิ่งแวดลอม กรุงเทพมหานคร

AAA World Energy 1

แบบสอบถามทัศนคติและความคิดเหน็ (สําหรับชมุชน)

เพื่อประกอบการศึกษาและประเมิน “โครงการการจัดการขยะมลูฝอยโดยชุมชน (CBM)” ของสํานักสิ่งแวดลอม กรงุเทพมหานคร

ชื่อ-นามสกุล............................................................................... เบอรโทร...............................................................

ที่อยูเลขที่.................. หมูบาน....................................แขวง…......................... เขต................................ จังหวัด กทม. คําชี้แจง แบบสํารวจฉบับนี้มจีุดประสงคเพื่อทราบขอมูลการจดัการมูลฝอยของชุมชน ภายใต “โครงการการจัดการขยะ

มูลฝอยโดยชมุชน” ของสํานักส่ิงแวดลอม กรุงเทพมหานคร หรือ โครงการ CBM

เรียนผูตอบแบบสอบถาม ขอขอบพระคณุทุกทานที่ไดสละเวลาในการตอบแบบสอบถามทัศนคติและความคิดเห็นเกี่ยวกับโครงการ

สวนที่ 1: ขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถาม

1.1 เพศ

(1) ชาย (2) หญิง

1.2 อายุ

(1) นอยกวา 24 ป (2) 25-30 ป (3) 31-40 ป

(4) 41-50 ป (4) 51-60 ป (5) 61 ปขึ้นไป

1.3 ศาสนา

(1) พุทธ (2) อิสลาม (3) คริสต

1.4 ระดับการศึกษาสูงสุดของทาน

(1) ประถมศึกษา (2) มัธยมศึกษาตอนตน (3) มัธยมศึกษาตอนปลาย

(4) อาชีวศกึษา / อนปุริญญา (5) ปริญญาตรี (6) สูงกวาปริญญาตรี

1.5 อาชพีหลักของผูตอบแบบสอบถาม

(1) คาขาย (2) รับราชการ/รัฐวิสาหกจิ (3) รับจางทั่วไป

(4) ประกอบธุรกิจสวนตัว (5) พนักงาน/ลูกจางบริษทั (6) ทําการเกษตร

(7) แมบาน (8) อื่นๆ (ระบุ)............................

1.6 ภูมิลําเนา

(1) อยูที่นี่/บริเวณนี้มาตั้งแตเกิด (2) ยายมาจากที่อื่น สถานที่ .....................จํานวนปที่ยายมา……..

Page 99: หน้าปก[1]library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19773.pdf · บทที่5 สรุปผลการศ ึกษาและข อเสนอแนะ 74 5.1 สรุปผลการศ

การศึกษาและประเมิน “โครงการการจัดการขยะมูลฝอยโดยชุมชน (CBM)”

ของสํานักสิ่งแวดลอม กรุงเทพมหานคร

AAA World Energy 2

1.7 ครัวเรือนของทาน มีปริมาณขยะที่ตองสงกําจัดตอวัน จาํนวนเทาไหร

1) กอนดําเนินโครงการ CBM จํานวน .....................................กโิลกรัม/วัน

2) ภายหลังดําเนินโครงการ CBM จํานวน .....................................กิโลกรมั/วัน

1.8 จงเรียงลําดับประเภทของขยะมูลฝอยในครัวเรือนของทาน จากมากไปหานอย (1 หมายถึง มาก)

ขยะอันตราย ขยะรีไซเคลิ / มูลฝอยที่ยังใชได

ขยะทั่วไป / ขยะแหงที่ไมสามารถรีไซเคิลได ขยะยอยสลาย / ขยะเปยก

1.9 ปกติครัวเรือนของทานมีการคัดแยกขยะมูลฝอยหรือไม และระบุเหตุผล

(1) ทุกครั้ง เหตุผล …………………………………… (2) บางครั้ง เหตุผล………………………

(3) ไมเลย เหตุผล…………………………………..…

สวนที่ 2: ผลกระทบจากการดําเนินงานของโครงการ (ดานบวก และดานลบ)

2.1 ทานทราบ และเขารวมกิจกรรมภายใต โครงการการจัดการขยะมูลฝอยโดยชุมชน (CBM) หรือไม

(0) ไมทราบโครงการ (จบคําถาม และสุมตัวอยางใหม)

(1) ทราบโครงการ แตไมเคยเขารวมกิจกรรมใดๆ

(2) ทราบโครงการ และเขารวมกิจกรรม ในบางครั้ง

(3) ทราบโครงการ และเขารวมกิจกรรม ในทุกครั้ง

2.2 ภายหลังการดําเนินโครงการ CBM ทานคิดวาสภาพแวดลอมโดยรวมของชุมชนเปนอยางไร

( 2) สภาพแวดลอมดีขึ้น มาก ( 1) สภาพแวดลอมดีขึ้น ปานกลาง

( 0) สภาพแวดลอมเหมือนเดิม (-1) สภาพแวดลอมแยลง

2.3 ภายหลังการดําเนินโครงการ CBM ทานมีความคิดเห็นตอปริมาณขยะตกคางในชุมชน เปนอยางไร

( 2) ไมมีปริมาณขยะตกคางในชมุชนเลย

( 1) มีปริมาณขยะตกคาง นอยกวากอนดําเนินโครงการ

( 0) มีปริมาณขยะตกคาง เชนเดยีวกับกอนดําเนินโครงการ

(-1) มีปริมาณขยะตกคาง มากกวากอนดําเนินโครงการ

2.4 ภายหลังการดําเนินโครงการ CBM ทานคิดวากลิ่นเหม็นขยะในชุมชน เปนอยางไร

( 2) ไมมีกล่ินเหม็นขยะในชมุชนเลย

( 1) มีกล่ินเหม็นขยะ นอยกวากอนดําเนินโครงการ

( 0) มีกล่ินเหม็นขยะ เชนเดียวกับกอนดําเนินโครงการ

(-1) มีกล่ินเหม็นขยะ มากกวากอนดําเนินโครงการ

Page 100: หน้าปก[1]library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19773.pdf · บทที่5 สรุปผลการศ ึกษาและข อเสนอแนะ 74 5.1 สรุปผลการศ

การศึกษาและประเมิน “โครงการการจัดการขยะมูลฝอยโดยชุมชน (CBM)”

ของสํานักสิ่งแวดลอม กรุงเทพมหานคร

AAA World Energy 3

2.5 ภายหลังการดําเนินโครงการ CBM ทานคิดวาปญหาเกี่ยวกับการรื้อคนขยะในชุมชน เปนอยางไร

( 2) ไมมีปญหาเกี่ยวกับการรื้อคนขยะในชมุชนอกีเลย

( 1) มีปญหาเกี่ยวกบัการรื้อคนขยะ นอยกวากอนดําเนินโครงการ

( 0) มีปญหาเกี่ยวกบัการรื้อคนขยะ เชนเดียวกบักอนดําเนินโครงการ

(-1) มีปญหาเกี่ยวกบัการรื้อคนขยะ มากกวากอนดําเนินโครงการ

2.6 ภายหลังการดําเนินโครงการ CBM ทานคิดวาปญหาเกี่ยวกับการแหลงสะสมเชื้อโรคในชุมชน เปนอยางไร

( 2) ไมมีปญหาเกี่ยวกับการแหลงสะสมเชื้อโรคในชุมชนอกีเลย

( 1) มีปญหาเกี่ยวกบัการแหลงสะสมเชื้อโรค นอยกวากอนดําเนินโครงการ

( 0) มีปญหาเกี่ยวกบัการแหลงสะสมเชื้อโรค เชนเดียวกับกอนดําเนินโครงการ

(-1) มีปญหาเกี่ยวกบัการแหลงสะสมเชื้อโรค มากกวากอนดําเนินโครงการ

2.7 ภายหลังการดําเนินโครงการ CBM ทานคิดวาความสัมพันธภายในชุมชน มีลักษณะเปนอยางไร

( 2) ความสัมพันธ ดีขึ้นมาก ( 1) ความสัมพันธ ดีขึ้นเล็กนอย

( 0) ความสัมพันธ เหมือนเดิม (-1) ความสัมพันธ แยลง

2.8 ภายหลังการดําเนินโครงการ CBM ทานคิดวาความสัมพันธระหวางสํานักงานเขตกับชุมชน มีลักษณะเปนอยางไร

( 2) ความสัมพันธ ดีขึ้นมาก ( 1) ความสัมพันธ ดีขึ้นเล็กนอย

( 0) ความสัมพันธ เหมือนเดิม (-1) ความสัมพันธ แยลง

2.9 ทานไดเขารวมกิจกรรมการคัดแยกของขายได ภายใตโครงการ CBM หรือไม

( 0) ไมเขารวมกิจกรรม (ขามไป 2.10) เขารวมกิจกรรม

กรณีเขารวมกิจกรรมการคัดแยกของขายได ทานมีรายได/ผลผลอยไดจากการคัดแยกขยะ เปนอยางไร

( 1) นอยกวา 100 บาท/เดือน

( 2) อยูในชวง 100-200 บาท/เดือน

( 3) มากกวา 200 บาท/เดือน

2.10 ทานไดเขารวมกิจกรรมการทําปุยหมัก หรือ น้ํา EM ภายใตโครงการ CBM หรือไม

( 0) ไมเขารวมกิจกรรม (ขามไป 2.10) เขารวมกิจกรรม

กรณีเขารวมกิจกรรม ทานมีสามารถลดรายจายจากการซื้อปุยหมักเทียบกับกอนมีโครงการ เปนอยางไร

( 1) สามารถลดรายจายจากการซือ้ปุย ได นอยกวา 50%

( 2) สามารถลดรายจายจากการซือ้ปุย ได 50-80%

( 3) สามารถลดรายจายจากการซือ้ปุย ได 80-100%

Page 101: หน้าปก[1]library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19773.pdf · บทที่5 สรุปผลการศ ึกษาและข อเสนอแนะ 74 5.1 สรุปผลการศ

การศึกษาและประเมิน “โครงการการจัดการขยะมูลฝอยโดยชุมชน (CBM)”

ของสํานักสิ่งแวดลอม กรุงเทพมหานคร

AAA World Energy 4

สวนที่ 3: ความยั่งยืนของโครงการ

3.1 จงเลือกทิ้งขยะตามประเภทถังขยะที่ถูกตอง โดยการกาเครื่องหมาย (เลือกกาเพียงชองเดียว)

3.2 ทานคิดวาในอนาคต ทานจะคัดแยกขยะกอนทิ้ง หรือ ไม

(3) คัดแยกแนนอน (2) คัดแยกในบางครั้ง

(1) ไมแนใจ / ไมแนนอน (0) ไมคัดแยก ระบุเหตุผล………………………………..

ขยะมูลฝอยชุมชน

ขยะยอยสลาย ของขายได ขยะทิ้งลงถังของสํานักงานเขต

ขยะอันตราย

1. กระปองเครื่องดื่ม

2. เศษโลหะ

3. เศษหญา ใบไม

4. หอพลาสติกใสขนม

5. เศษผัก ผลไม

6. แบตเตอรี่โทรศัพทเคลื่อนที่

7. เศษอาหาร

8. กระดาษ

9. หลอดฟลูออเรสเซนต

10. ถานไฟฉาย

11. ภาชนะที่ใชบรรจุสารกําจัดแมลงหรือ วัชพชื

12. ภาชนะพลาสตกิบรรจุ ยาสระผม / ครีมอาบน้ํา

13. ซองบะหมี่สําเร็จรูป

14. กลองโฟมเ ปอนอาหาร

15. กลองนม UHT

Page 102: หน้าปก[1]library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19773.pdf · บทที่5 สรุปผลการศ ึกษาและข อเสนอแนะ 74 5.1 สรุปผลการศ

การศึกษาและประเมิน “โครงการการจัดการขยะมูลฝอยโดยชุมชน (CBM)”

ของสํานักสิ่งแวดลอม กรุงเทพมหานคร

AAA World Energy 5

สวนที่ 4: ความสอดคลองกับความตองการของชุมชน

4.1 ทานคิดวาโครงการ CMB มีลักษณะที่สอดคลองในประเด็นตางที่ทานตองการหรือไม อยางไร

ประเดน็พิจารณา ระดับความสอดคลอง

มาก ปานกลาง นอย ไมระบ ุ

1. ขั้นตอนการดําเนินงานไมยุงยาก

2. เห็นผลสําเร็จชัดเจน และรวดเร็ว

3. เปดโอกาสใหชมุชนมีสวนรวมทุกขั้นตอน

4. สอดคลองกับวถิีชีวิตของชมุชน

5. อื่นๆ ระบ ุ(1)................................................

6. อื่นๆ ระบ ุ(2)................................................

7. อื่นๆ ระบ ุ(3)................................................

4.2 ในภาพรวม ทานมีความคิดเห็นตอโครงการ CBM ของ สํานักส่ิงแวดลอม กทม. อยางไร

( 3) เห็นดวยมาก ( 2) เห็นดวย ปานกลาง

( 1) เห็นดวย นอย ( 0) เฉยๆ

(-1) ไมเห็นดวย ระบ…ุ………………………………

4.3 ทานมีความวิตกกังวลเกี่ยวกับการดําเนินงาน โครงการ CMB หรือไมอยางไร

ไมวิตกกังวลเลย วิตกกังวล ระบุ........................................

ไมแสดงความคิดเห็น

4.4 ขอคิดเห็นและขอเสนอแนะตอการดําเนินการ โครงการ CMB

..............................................................................................................................................................................

..............................................................................................................................................................................

..............................................................................................................................................................................

..............................................................................................................................................................................

ขอบคุณทุกทานที่สละเวลาในการตอบแบบสอบถาม

Page 103: หน้าปก[1]library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19773.pdf · บทที่5 สรุปผลการศ ึกษาและข อเสนอแนะ 74 5.1 สรุปผลการศ

การศึกษาและประเมิน “โครงการการจัดการขยะมูลฝอยโดยชุมชน (CBM)”

ของสํานักสิ่งแวดลอม กรุงเทพมหานคร

AAA World Energy 1

แบบสัมภาษณทศันคตแิละความคิดเห็น (สาํหรับเจาหนาที่สาํนักงานเขตฯ)

เพื่อประกอบการศึกษาและประเมิน “โครงการการจัดการขยะมลูฝอยโดยชุมชน (CBM)”

ของสํานักสิ่งแวดลอม กรงุเทพมหานคร

ชื่อ-นามสกุล.......................................................................................ตําแหนง…………………จํานวนป…………..

เบอรโทร..................................ทีอ่ยูเลขที่.................. หมูบาน............................. เขต.......................... จังหวัด กทม.

คําชี้แจง

แบบสํารวจฉบับนี้มจีุดประสงคเพื่อทราบขอมูลการจดัการมูลฝอยของชุมชน ภายใต “โครงการการจัดการขยะ

มูลฝอยโดยชมุชน” ของสํานักส่ิงแวดลอม กรุงเทพมหานคร หรือ โครงการ CBM

สวนที่ 1: ทัศนคติ และความคิดเห็นตอการดําเนินโครงการ

1.1 สํานักงานเขตมีนโยบายการดําเนินงานดาน CBM อยางไร

......................................................................................................................................................................

......................................................................................................................................................................

......................................................................................................................................................................

1.2 ภายหลังการดําเนินโครงการ CBM ทานคิดวาความสัมพันธระหวางสํานักงานเขตกับชุมชน มีลักษณะเปนอยางไร

( 2) ความสัมพันธ ดีขึ้นมาก ( 1) ความสัมพันธ ดีขึ้นเล็กนอย

( 0) ความสัมพันธ เหมือนเดิม (-1) ความสัมพันธ แยลง

1.3 ทานคิดวาโครงการ CBM มีลักษณะเปนที่เหมาะสมกบัชมุชนในพื้นที่รับผิดชอบของทาน ในระดับใด

ประเดน็พิจารณา มีลักษณะเปนที่ตองการของชุมชนในระดับใด

มาก นอย ปานกลาง ไมระบ ุ

1. โครงการที่ใชงบประมาณ ไมสูงเกินไป

2. ขั้นตอนการดําเนินงานไมยุงยาก

3. เห็นผลสําเร็จชัดเจน และรวดเร็ว

4. เปดโอกาสใหชมุชนมีสวนรวมทุกขั้นตอน

5. สอดคลองกับวถิีชีวิตของชมุชน

6. อื่นๆ ระบ ุ(1)................................................

Page 104: หน้าปก[1]library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19773.pdf · บทที่5 สรุปผลการศ ึกษาและข อเสนอแนะ 74 5.1 สรุปผลการศ

การศึกษาและประเมิน “โครงการการจัดการขยะมูลฝอยโดยชุมชน (CBM)”

ของสํานักสิ่งแวดลอม กรุงเทพมหานคร

AAA World Energy 2

1.4 ในภาพรวม ทานมีความคิดเห็นตอโครงการ CBM ของ สํานักส่ิงแวดลอม กทม. อยางไร

( 3) เห็นดวยมาก ( 2) เห็นดวย ปานกลาง

( 1) เห็นดวย นอย ( 0) เฉยๆ

(-1) ไมเห็นดวย ระบ…ุ………………………………

1.5 ในการดําเนินโครงการ CBM มีปญหาและอปุสรรคอะไรบาง โปรดยกตัวอยางพรอมท้ังอธิบาย

..............................................................................................................................................................................

..............................................................................................................................................................................

..............................................................................................................................................................................

..............................................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................................

1.6 ทานคิดวาในอนาคต ชุมชนของทานยังจะดําเนินกิจกรรมภายใต โครงการ CBM หรือไม อยางไร

(3) ดําเนินกิจกรรมอยางแนนอน (2) คาดวาดําเนินกิจกรรมตอในบางครั้ง

(1) ไมแนใจ / ไมแนนอน (0) ไมคัดแยก ระบุเหตุผล………………………………..

1.7 ในโครงการ CBM ทานมีบทบาทหนาที่อยางไร

..............................................................................................................................................................................

..............................................................................................................................................................................

..............................................................................................................................................................................

1.8 ขอคิดเห็นและขอเสนอแนะตอการดําเนินการ โครงการ CBM

..............................................................................................................................................................................

.............................................................................................................................................................................

..............................................................................................................................................................................

.............................................................................................................................................................................

..............................................................................................................................................................................

ขอบคุณทุกทานที่สละเวลาในการตอบแบบสอบถาม

Page 105: หน้าปก[1]library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19773.pdf · บทที่5 สรุปผลการศ ึกษาและข อเสนอแนะ 74 5.1 สรุปผลการศ

การศึกษาและประเมิน “โครงการการจัดการขยะมูลฝอยโดยชุมชน (CBM)”

ของสํานักสิ่งแวดลอม กรุงเทพมหานคร

AAA World Energy 1

แบบสัมภาษณทศันคตแิละความคิดเห็น (สาํหรับผูนําชุมชน)

เพื่อประกอบการศึกษาและประเมิน “โครงการการจัดการขยะมลูฝอยโดยชุมชน (CBM)”

ของสํานักสิ่งแวดลอม กรงุเทพมหานคร

ชื่อ-นามสกุล.......................................................................................ตําแหนง…………………จํานวนป…………..

เบอรโทร..................................ทีอ่ยูเลขที่.................. หมูบาน............................. เขต.......................... จังหวัด กทม.

คําชี้แจง

แบบสํารวจฉบับนี้มจีุดประสงคเพื่อทราบขอมูลการจดัการมูลฝอยของชุมชน ภายใต “โครงการการจัดการขยะ

มูลฝอยโดยชมุชน” ของสํานักส่ิงแวดลอม กรุงเทพมหานคร หรือ โครงการ CBM

เรียนผูตอบแบบสอบถาม ขอขอบพระคณุทุกทานที่ไดสละเวลาในการตอบแบบสอบถามทัศนคติและความคิดเห็นเกี่ยวกับโครงการ

สวนที่ 1: ขอมูลทั่วไปของผูตอบ

1.1 เพศ

(1) ชาย (2) หญิง

1.2 อายุ

(1) นอยกวา 24 ป (2) 25-30 ป (3) 31-40 ป

(4) 41-50 ป (4) 51-60 ป (5) 61 ปขึ้นไป

1.3 ศาสนา

(1) พุทธ (2) อิสลาม (3) คริสต

1.4 ระดับการศึกษาสูงสุดของทาน

(1) ประถมศึกษา (2) มัธยมศึกษาตอนตน (3) มัธยมศึกษาตอนปลาย

(4) อาชีวศกึษา / อนปุริญญา (5) ปริญญาตรี (6) สูงกวาปริญญาตรี

1.5 อาชพีหลักของผูตอบแบบสอบถาม

(1) คาขาย (2) รับราชการ/รัฐวิสาหกจิ (3) รับจางทั่วไป

(4) ประกอบธุรกิจสวนตัว (5) พนักงาน/ลูกจางบริษทั (6) ทําการเกษตร

(7) แมบาน (8) อื่นๆ (ระบุ)............................

1.6 ภูมิลําเนา

(1) อยูที่นี่/บริเวณนี้มาตั้งแตเกิด (2) ยายมาจากที่อื่น สถานที่ .....................จํานวนปที่ยายมา……..

Page 106: หน้าปก[1]library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19773.pdf · บทที่5 สรุปผลการศ ึกษาและข อเสนอแนะ 74 5.1 สรุปผลการศ

การศึกษาและประเมิน “โครงการการจัดการขยะมูลฝอยโดยชุมชน (CBM)”

ของสํานักสิ่งแวดลอม กรุงเทพมหานคร

AAA World Energy 2

1.7 ในฐานะผูนําชุมชนทานมีบทบาทหนาที่อยางไร

..............................................................................................................................................................................

...............................................................................................................................................................

สวนที่ 2: ขอมูลทั่วไปของชุมชน ตอโครงการ CBM

2.1 เขตพื้นที่ชุมชน...................................................... ตารางกิโลเมตร

2.2 ลักษณะประชากรในพื้นที่ชุมชน

(1) ชุมดั่งเดิม (2) ชุมชนกึง่ดั่งเดิม

(3) ชุมชนเมือง (4) อื่น (ระบุ)..............................

2.3 จํานวนประชากรในชุมชนทั้งหมด................................ คน …………… ครัวเรือน

2.4 จํานวนครัวเรือนที่เขารวมโครงการ CBM.................................ครัวเรือน

2.5 ปริมาณขยะทีจ่ดัเก็บในแตละวันใน ชวงกอนเขารวมโครงการ...............................ตัน/วัน

2.6 ปริมาณขยะทีจ่ดัเก็บในแตละวันใน ชวงหลังเขารวมโครงการ...............................ตัน/วัน (ในปจจบุัน)

2.7 ความถี่ในการเก็บขนของชมุชน กอนเขารวมโครงการ.............................................

2.8 ความถี่ในการเก็บขนของชมุชน ภายหลังเขารวมโครงการ.......................................

2.9 สภาพแวดลอมในชมุชนภายหลังจากการดําเนินโครงการ CBM เปนอยางไร...................................................

2.9 ลักษณะการดําเนินกิจกรรมตางๆ ของชุมชนภายใตโครงการ CBM มีลักษณะกิจกรรมเปนอยางไร อธบิาย

(1) การแยกของขายได ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… (2) การทําปุยหมัก ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… (3) การทําน้ํา EM ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… (4) กิจกรรมอื่นๆ ระบุ............................................ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

สวนที่ 3: ทัศนคติ และความคิดเห็นตอการดําเนินโครงการ

3.1 ภายหลังการดําเนินโครงการ CBM ทานคิดวาความสัมพันธภายในชมุชน มีลักษณะเปนอยางไร

( 2) ความสัมพันธ ดีขึ้นมาก ( 1) ความสัมพันธ ดีขึ้นเล็กนอย

( 0) ความสัมพันธ เหมือนเดิม (-1) ความสัมพันธ แยลง

Page 107: หน้าปก[1]library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19773.pdf · บทที่5 สรุปผลการศ ึกษาและข อเสนอแนะ 74 5.1 สรุปผลการศ

การศึกษาและประเมิน “โครงการการจัดการขยะมูลฝอยโดยชุมชน (CBM)”

ของสํานักสิ่งแวดลอม กรุงเทพมหานคร

AAA World Energy 3

3.2 ภายหลังการดําเนินโครงการ CBM ทานคิดวาความสัมพันธระหวางสํานักงานเขตกับชุมชน มีลักษณะเปนอยางไร

( 2) ความสัมพันธ ดีขึ้นมาก ( 1) ความสัมพันธ ดีขึ้นเล็กนอย

( 0) ความสัมพันธ เหมือนเดิม (-1) ความสัมพันธ แยลง

3.3 ทานคิดวาโครงการ CMB มีลักษณะเปนที่ตองการของชมุชนทาน ในระดับใด

ประเดน็พิจารณา มีลักษณะเปนที่ตองการของชุมชนในระดับใด

มาก นอย ปานกลาง ไมระบ ุ

1. โครงการที่ใชงบประมาณ ไมสูงเกินไป

2. ขั้นตอนการดําเนินงานไมยุงยาก

3. เห็นผลสําเร็จชัดเจน และรวดเร็ว

4. เปดโอกาสใหชมุชนมีสวนรวมทุกขั้นตอน

5. สอดคลองกับวถิีชีวิตของชมุชน

6. อื่นๆ ระบ ุ(1)................................................

3.5 ในภาพรวม ทานมีความคิดเห็นตอโครงการ CBM ของ สํานักส่ิงแวดลอม กทม. อยางไร

( 3) เห็นดวยมาก ( 2) เห็นดวย ปานกลาง

( 1) เห็นดวย นอย ( 0) เฉยๆ

(-1) ไมเห็นดวย ระบ…ุ………………………………

3.6 ในการดําเนินโครงการ CBM ทานคิดวามีปญหาและอุปสรรคอะไรบาง

..............................................................................................................................................................................

..............................................................................................................................................................................

3.7 ทานคิดวาในอนาคต ชุมชนของทานยังจะดําเนินกิจกรรมภายใต โครงการ CBM หรือไม อยางไร

(3) ดําเนินกิจกรรมอยางแนนอน (2) คาดวาดําเนินกิจกรรมตอในบางครั้ง

(1) ไมแนใจ / ไมแนนอน (0) ไมคัดแยก ระบุเหตุผล………………………………..

3.8 ทานมีความคิดเห็นอยางไร ตอการมีสวนรวมของคนในชุมชน ในการเขารวมโครงการ CBM

..............................................................................................................................................................................

3.8 ขอคิดเห็นและขอเสนอแนะตอการดําเนินการ โครงการ CMB

..............................................................................................................................................................................

..............................................................................................................................................................................

Page 108: หน้าปก[1]library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19773.pdf · บทที่5 สรุปผลการศ ึกษาและข อเสนอแนะ 74 5.1 สรุปผลการศ

ประวัติผูเขียน

ชื่อ นามสกุล นายภคพล ประดิษฐบาทกุา ประวัติการศึกษา วิทยาศาสตรบณัฑิต

(วิทยาศาสตรส่ิงแวดลอม)

มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต ปที่สําเร็จการศึกษา พ.ศ. 2550

ประสบการณการทํางาน พ.ศ. 2550 - 2552

พนักงานขาย