27
การจัดทาแผนการฝึกอาชีพในสถานประกอบการเพื่อฝึกอาชีพนักศึกษาระบบทวิภาคี สุบิน แพทย์รัตน์ ([email protected]) เรียบเรียง การจัดทาแผนการฝึกอาชีพในสถานประกอบการเพื่อฝึกอาชีพนักศึกษาระบบทวิภาคี กรอบแนวคิด กระทรวงศึกษาธิการได้มีประกาศเรื่อง มาตรฐานการจัดอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี ลงวันที17 ตุลาคม 2557 มีใจความสาคัญคือ การฝึกอาชีพในสถานประกอบการมีระยะเวลาไม่น้อยกว่าก่งหนึ่งของการ จัดการศึกษาแต่ละระดับ และได้กาหนดให้สถานประกอบการต้องมีบุคลากรผู้ประสานงาน และครูฝึก และสถานศึกษาต้องมีครูนิเทศก์การฝึกอาชีพในสถานประกอบการ สาหรับครูฝึกในสถานประกอบการ ต้องมีคุณสมบัติตามกฎหมายว่าด้วยการอาชีวศึกษา การฝึกอาชีพระดับ ปวช. และ ปวส. ต้องมีครูฝึก 1 คน ต่อผู้เรียนไม่เกิน 10 คน ระดับปริญญาตรีต้องมีครูฝึก 1 คน ต่อผู้เรียนไม่เกิน 8 คน ทั้งนี้สถาน ประกอบการต้องจัดให้มี ครูฝึก และผู้ควบคุมการฝึก และกาหนดให้สถานศึกษาร่วมกับสถานประกอบการ มีการทาแผนการเรียน แผนการฝึกอาชีพ และแผนการนิเทศร่วมกับสถานประกอบการ ส่วนในด้านการ จัดการเรียนการสอนให้เป็นไปตามจุดประสงค์สาขาวิชา และมาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาแต่ละสาขา แต่ ละระดับ โดยผู้เรียนต้องมีการบันทึกการฝึกอาชีพ แฟ้มสะสมงาน บันทึกคุณธรรม และ จิตอาสาให้ เป็นไปตามแบบที่สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษากาหนด แผนการฝึกอาชีพเป็นแผนการฝึกปฏิบัติในสถานประกอบการที่ทาให้เกิดสมรรถนะอาชีพกับ นักศึกษาทวิภาคี ประกอบด้วยแผนการฝึก (Training Plan) ซึ่งเป็นแผนการฝึกตลอดหลักสูตรของสถาน ประกอบการ และแผนการฝึกปฏิบัติงาน (Work Task Plan) ซึ่งเป็นแผนการฝึกอาชีพของงานที่นักศึกษา ทวิภาคีเข้ารับการฝึก จากมาตรฐานการจัดอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีที่กล่าวข้างต้น ได้กาหนดไว้ว่าลักษณะงานที่ฝึก อาชีพต้องสอดคล้องกับการเรียนรู้ในสาขาวิชาที่ผู้เรียนกาลังศึกษา การวิเคราะห์งานหรืออาชีพในสถาน ประกอบการจึงมีความจาเป็นเพื่อให้นักศึกษาทวิภาคีฝึกอาชีพได้อย่างมีประสิทธิภาพ และนางานทีวิเคราะห์ได้ไปเขียนเป็นแผนการฝึก ซ่งมีขั้นตอน ดังนี1. วิเคราะห์งานในสถานประกอบการโดยใช้กระบวนการ DACUM 2. กาหนดความต้องการในการฝึกอาชีพที่นักศึกษาต้องฝึกปฏิบัติได้ตามระดับ การศึกษา คือ ปวช. ปวส. และปริญญาตรีเทคโนโลยีสายปฏิบัติการ 3. เขียนแผนการฝึกอาชีพตลอดหลักสูตร (Training Plan) 4. วิเคราะห์งานที่จะฝึกอาชีพ (Task Analysis) 5. เขียนแผนการฝึกปฏิบัติงาน (Work Task Plan)

การจัดท าแผนการฝึกอาชีพในสถานประกอบการเพื่อฝึกอาชีพ ...tpc.ac.th/images/Journal/Plan.pdf ·

  • Upload
    others

  • View
    7

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: การจัดท าแผนการฝึกอาชีพในสถานประกอบการเพื่อฝึกอาชีพ ...tpc.ac.th/images/Journal/Plan.pdf ·

การจัดท าแผนการฝึกอาชีพในสถานประกอบการเพื่อฝึกอาชีพนักศึกษาระบบทวิภาคี

สุบิน แพทย์รัตน์ ([email protected]) เรียบเรียง

การจัดท าแผนการฝึกอาชีพในสถานประกอบการเพื่อฝึกอาชีพนักศึกษาระบบทวิภาคี กรอบแนวคิด

กระทรวงศึกษาธิการได้มีประกาศเรื่อง “มาตรฐานการจัดอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี” ลงวันที่ 17 ตุลาคม 2557 มีใจความส าคัญคือ การฝึกอาชีพในสถานประกอบการมีระยะเวลาไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของการจัดการศึกษาแต่ละระดับ และได้ก าหนดให้สถานประกอบการต้องมีบุคลากรผู้ประสานงาน และครูฝึก และสถานศึกษาต้องมีครูนิเทศก์การฝึกอาชีพในสถานประกอบการ ส าหรับครูฝึกในสถานประกอบการต้องมีคุณสมบัติตามกฎหมายว่าด้วยการอาชีวศึกษา การฝึกอาชีพระดับ ปวช. และ ปวส. ต้องมีครูฝึก 1 คน ต่อผู้เรียนไม่เกิน 10 คน ระดับปริญญาตรีต้องมีครูฝึก 1 คน ต่อผู้เรียนไม่เกิน 8 คน ทั้งนี้สถานประกอบการต้องจัดให้มี ครูฝึก และผู้ควบคุมการฝึก และก าหนดให้สถานศึกษาร่วมกับสถานประกอบการมีการท าแผนการเรียน แผนการฝึกอาชีพ และแผนการนิเทศร่วมกับสถานประกอบการ ส่วนในด้านการจัดการเรียนการสอนให้เป็นไปตามจุดประสงค์สาขาวิชา และมาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาแต่ละสาขา แต่ละระดับ โดยผู้เรียนต้องมีการบันทึกการฝึกอาชีพ แฟ้มสะสมงาน บันทึกคุณธรรม และ จิตอาสาให้เป็นไปตามแบบที่ส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาก าหนด แผนการฝึกอาชีพเป็นแผนการฝึกปฏิบัติในสถานประกอบการที่ท าให้เกิดสมรรถนะอาชีพกับนักศึกษาทวิภาคี ประกอบด้วยแผนการฝึก (Training Plan) ซึ่งเป็นแผนการฝึกตลอดหลักสูตรของสถานประกอบการ และแผนการฝึกปฏิบัติงาน (Work Task Plan) ซึ่งเป็นแผนการฝึกอาชีพของงานที่นักศึกษาทวิภาคเีขา้รับการฝึก

จากมาตรฐานการจัดอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีที่กล่าวข้างต้น ได้ก าหนดไว้ว่าลักษณะงานที่ฝึกอาชีพต้องสอดคล้องกับการเรียนรู้ในสาขาวิชาที่ผู้เรียนก าลังศึกษา การวิเคราะห์งานหรืออาชีพในสถานประกอบการจึงมีความจ าเป็นเพ่ือให้นักศึกษาทวิภาคีฝึกอาชีพได้อย่างมีประสิทธิภาพ และน างานที่วิเคราะห์ได้ไปเขียนเป็นแผนการฝึก ซึ่งมีข้ันตอน ดังนี้

1. วิเคราะห์งานในสถานประกอบการโดยใช้กระบวนการ DACUM 2. ก าหนดความต้องการในการฝึกอาชีพที่นักศึกษาต้องฝึกปฏิบัติได้ตามระดับ

การศึกษา คือ ปวช. ปวส. และปริญญาตรีเทคโนโลยีสายปฏิบัติการ 3. เขียนแผนการฝึกอาชีพตลอดหลักสูตร (Training Plan) 4. วิเคราะห์งานที่จะฝึกอาชีพ (Task Analysis) 5. เขียนแผนการฝึกปฏิบัติงาน (Work Task Plan)

Page 2: การจัดท าแผนการฝึกอาชีพในสถานประกอบการเพื่อฝึกอาชีพ ...tpc.ac.th/images/Journal/Plan.pdf ·

2

การจัดท าแผนการฝึกอาชีพในสถานประกอบการเพื่อฝึกอาชีพนักศึกษาระบบทวิภาคี

สุบิน แพทย์รัตน์ ([email protected]) เรียบเรียง

แผนการฝึกที่ได้ สถานประกอบการกับสถานศึกษาต้องร่วมกันวางแผนการสอนงาน และจัดการสอนงานอย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งตามมาตรฐานระบบบริหารงานคุณภาพ (ISO9001) ได้ก าหนดระเบียบ การอบรมในงาน (on the job training:OJT) ไว้ให้สถานประกอบการที่ได้คุณภาพด าเนินการ

การจัดฝึกอาชีพนักศึกษาทวิภาคีในสถานประกอบการ สถานศึกษากับสถานประกอบการต้องมีการจัดท าแผนการฝึก เพ่ือเป็นก าหนดการและแนวทางในการฝึกอาชีพ ปัจจัยที่ท าให้การฝึกอาชีพประสบผลส าเร็จ คือ

1. มีแผนการฝึกมีความชัดเจนสามารถน าไปใช้ได้จริง

2. มีสถานที่ฝึก 3. มีครูฝึก 4. มีรูปแบบ

วิธีการฝึกอาชีพ 5. มีการประเมินผลการฝึกอาชีพ

ความส าคัญของแผนการฝึกอาชีพ แผนการฝึกอาชีพ หมายถึง แผนงานของครูฝึก เพ่ือเตรียมงานการฝึกอาชีพให้นักเรียน นักศึกษา

ระบบทวิภาคี มีความรู้ ความสามารถในอาชีพ ตรงตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่สถานประกอบการก าหนดไว้ โดยสอดคล้องกับสมรรถนะวิชาชีพ และรายวิชาในหลักสูตร

การจัดฝึกอาชีพหากไม่มีแผนการฝึกอาชีพ หรือมีแต่ไม่ได้จัดท าอย่างมีประสิทธิภาพ จะส่งผลให้การฝึกอาชีพของนักศึกษาขาดประสิทธิภาพ และส่งผลให้คุณภาพของผู้ส าเร็จการศึกษาระบบทวิภาคีลดลง ซึ่งแผนการฝึกอาชีพจะระบุถึง

ใบเนื้อหาที่ 1 การจัดฝึกอาชีพ (Training Management)

Page 3: การจัดท าแผนการฝึกอาชีพในสถานประกอบการเพื่อฝึกอาชีพ ...tpc.ac.th/images/Journal/Plan.pdf ·

3

การจัดท าแผนการฝึกอาชีพในสถานประกอบการเพื่อฝึกอาชีพนักศึกษาระบบทวิภาคี

สุบิน แพทย์รัตน์ ([email protected]) เรียบเรียง

จะฝึกอะไรบ้าง ? ฝึกที่ไหน ? จะฝึกกับใคร ? ใช้เวลาฝึกเท่าไร ? ฝึกแล้วได้อะไร ? ฝึกอย่างไร ?

ภารกิจของสถานประกอบการ สถานศึกษา และครูฝึก ในการจัดฝึกอาชีพของการศึกษาระบบทวิภาคี การจัดฝึกอาชีพในสถานประกอบการของนักศึกษาทวิภาคี เป็นความร่วมมือระหว่างสถานประกอบการกับสถานศึกษา ซึ่งมีกิจกรรมที่ด าเนินการร่วมกัน คือ

1. ก าหนดหน่วยกิตท่ีจะฝึกอาชีพในสถานประกอบการ 2. วิเคราะห์งานในสถานประกอบการ เพ่ือก าหนดหลักสูตรการฝึก

ซึ่งควรตั้งคณะกรรมการร่วมพัฒนาหลักสูตร 2 ฝ่าย คือ 1) คณะกรรมการพัฒนาหลักสูตรฝ่ายสถานประกอบการ (DACUM Committee) 2) คณะกรรมการพัฒนาหลักสูตรฝ่ายสถานศึกษา (DACUM Facilitator)

3. ก าหนดงานในสถานประกอบการเป็นรายวิชาปฏิบัติตามหลักสูตร โดยมี 1) สมรรถนะที่ฝึกในสถานประกอบการ 2) เรื่องท่ีต้องเรียนเพ่ิมในสถานศึกษา 3) เรื่องท่ีต้องให้ครูหรือผู้เชี่ยวชาญมาสอนในสถานประกอบการ

3. ก าหนดระยะเวลา รูปแบบ และวิธีการฝึก 4. ก าหนดกฎระเบียบการฝึก ในส่วนของครูฝึก ซึ่งเป็นบุคลากรของสถานประกอบการ รวมไปถึงพ่ีเลี้ยงที่ช่วยฝึกนักศึกษา มีหน้าที่ 1. ศึกษาสมรรถนะอาชีพที่ก าหนดในการฝึกอาชีพ 2. เขียนแผนการฝึกอาชีพ 3. ครูฝึกเป็นโค้ช (Coach) ควบคุมนักศึกษาให้ฝึกได้ตามแผนการฝึก 4. พนักงานประจ าเป็นพ่ีเลี้ยง (Mentor) ให้นักศึกษาฝึกตาม Task Analysis 5. ประเมินผลการฝึกอาชีพ 6. สับเปลี่ยนงานจนครบตามงานและระยะเวลาทีก่ าหนดในแผนการฝึก

Page 4: การจัดท าแผนการฝึกอาชีพในสถานประกอบการเพื่อฝึกอาชีพ ...tpc.ac.th/images/Journal/Plan.pdf ·

4

การจัดท าแผนการฝึกอาชีพในสถานประกอบการเพื่อฝึกอาชีพนักศึกษาระบบทวิภาคี

สุบิน แพทย์รัตน์ ([email protected]) เรียบเรียง

รูปแบบการจัดฝึกอาชีพตามระดับการศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)

หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) มุ่งเน้นผลิตผู้มีความรู้ความเข้าใจและทักษะในระดับฝีมือ (Skill) มีสมรรถนะที่สามารถปฏิบัติงานอาชีพได้จริง ซึ่งหลักสูตรก าหนดให้ผู้เรียนได้เรียนและฝึกปฏิบัติ ง านอาชีพครอบคลุ มสาขาวิชา เช่น สาขาวิชาการโรงแรม หลักสูตรก าหนดให้ศึกษา งานครัวโรงแรม งานแม่บ้ านโรงแรม งานบริการอาหารและเครื่องดื่ม ภัตตาคารและการจัดเลี้ยง เครื่องดื่มและการผสมเครื่องดื่ม งานส่วนหน้าโรงแรม ดั งนั้ น ในการจัดฝึ กอาชีพในสถานประกอบการจึงต้องมีการหมุนเปลี่ยนงานฝึกไปตามแผนกงานต่างๆ ให้สอดคล้องกับหลักสูตร

ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) มุ่งเน้นผลิตผู้มีความรู้ความเข้าใจและทักษะในระดับเทคนิค (Technic) สามารถปฏิบัติงานที่ใช้เทคนิค ควบคุมการท างาน การจัดฝึกอาชีพจะเน้นไปที่งานเฉพาะต าแหน่ง และเน้นการควบคุมการท างาน

ระดับปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการ (ทล.บ.) ระดับปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการ (ทล.บ.) มุ่งเน้นผลิตผู้มีความรอบรู้และมี

สมรรถนะในการปฏิบัติ และพัฒนางานระดับเทคโนโลยี การจัดฝึกอาชีพจึงเน้นการพัฒนางานให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น หรือพัฒนานวัตกรรมในการผลิตเพ่ือเพ่ิมมูลค่า

รูปแบบและวิธีการจัดฝึกอาชีพในสถานประกอบการ การจัดฝึกอาชีพในสถานประกอบการนั้น สถานศึกษาสามารถก าหนดรูปแบบการฝึกอาชีพ ได้ดังนี้

Page 5: การจัดท าแผนการฝึกอาชีพในสถานประกอบการเพื่อฝึกอาชีพ ...tpc.ac.th/images/Journal/Plan.pdf ·

5

การจัดท าแผนการฝึกอาชีพในสถานประกอบการเพื่อฝึกอาชีพนักศึกษาระบบทวิภาคี

สุบิน แพทย์รัตน์ ([email protected]) เรียบเรียง

1. การจัดฝึกอาชีพแบบจบเป็นเรื่อง (Block Release) เป็นการเรียนหรือฝึกให้จบเป็นเรื่องๆ และอาจก าหนดให้นักเรียน นักศึกษาไปเรียนทฤษฎีในสถานศึกษาในช่วงเวลาที่ก า หนดระหว่ า งกา รฝึ กอาชี พ ในสถานประกอบการ 2. การจัดฝึกอาชีพแบบฝึกเป็นวัน (Day Release) เป็นระบบที่ก าหนดให้นักเรียน นักศึกษากลับไปเรียนทฤษฎีในสถานศึกษา สัปดาห์ละ 1 – 2 วัน 3. การจัดฝึกอาชีพแบบอ่ืน ๆ เช่น การฝึกอาชีพแบบผสม การฝึกอาชีพนอกเวลาเรียน (ในภาคค่ า และวันเสาร์) การฝึกอาชีพแบบโมดูล เป็นต้น

ส่วนวิธีการฝึกในสถานประกอบการ จะใช้วิธีการอบรมในงาน (On the Job Training) ซึ่งเป็นวิธีการที่เหมาะสมกับสถานประกอบการ และข้อก าหนด ISO 9001 การฝึกอบรมในงานการฝึกอบรมในงาน (on the job training) คือการเรียนรู้งานโดยการสังเกตการท างานของพนักงานที่มีความช านาญและลงมือปฏิบัติจริง องค์กรต้องก าหนดว่าต้องมีทักษะอะไรบ้างที่จ า เป็นในงาน หลังจากนั้นองค์กรมีหน้าที่ในการจัดให้พนักงานมีทักษะตามที่ก าหนด

การฝึกอาชีพแบบ On the Job Training (OJT) คือ การฝึกการปฏิบัติงานจริง โดยมีผู้ช านาญงานนั้นเป็นครูฝึก คอยดูแลการฝึกงานของผู้เข้ารับ

การฝึกอบรม ซึ่งการฝึกอบรมแบบ On the Job Training จะไม่เน้นการเรียนทฤษฎีมากนัก แต่มุ่งเน้นไปในทางฝึกปฏิบัติ ท าให้การฝึกอบรมแบบนี้ มีความสามารถในการสร้างความรู้ความเข้าใจ เหมาะกับการปฏิบัติงานโดยตรงเพราะเห็นผลในระยะสั้นค่อนข้างชัดเจน ต้นทุนต่ า แต่ก็ไม่ควรที่จะให้มีจ านวนผู้เข้ารับการฝึกอบรมมากเกินไป เพราะอาจจะท าให้เกิดการดูแลของผู้ฝึกสอนไม่ทั่วถึง อาจท าให้เกิดการบกพร่องในการปฏิบัติงาน ในการฝึกสถานประกอบการจะมอบหมายให้พนักงานประจ าในหน้าที่เป็นพ่ีเลี้ยง (Mentor) และครูฝึกท าหน้าที่เป็นโค้ช (Coach) การฝึกอาชีพแบบ On the Job Training (OJT) จะมีกระบวนการคือ

Page 6: การจัดท าแผนการฝึกอาชีพในสถานประกอบการเพื่อฝึกอาชีพ ...tpc.ac.th/images/Journal/Plan.pdf ·

6

การจัดท าแผนการฝึกอาชีพในสถานประกอบการเพื่อฝึกอาชีพนักศึกษาระบบทวิภาคี

สุบิน แพทย์รัตน์ ([email protected]) เรียบเรียง

1. พิจารณาว่ามีหน่วยงานหรือแผนกใด ที่ต้องเกี่ยวข้องกับการฝึกอบรมในงาน 2. จัดท ารายการทักษะที่ต้องเรียนรู้ใน การปฏิบัติงานและวิธีการวัดผล 3. ก าหนดโปรแกรม การฝึกอาชีพส าหรับนักศึกษาแต่ละคน 4. จัดท าคู่มือหรือเอกสารการฝึกอบรมในงาน 5. จัดท าระบบรายงานของนักศึกษาระหว่างฝึก และสิ้นสุดการฝึก

การฝึกอบรมนอกงาน (Off the Job Training) เป็นการฝึกอบรมที่เน้นความรู้ ความเข้าใจ โดยการจัดฝึกอบรมอย่างเป็นทางการในห้อง หรือใน

สถานการณ์จ าลอง ไม่ใช่การเรียนรู้แบบปฏิบัติงานจริง ซึ่งการฝึกอบรมประเภทนี้จะให้ความรู้ผู้เข้าอบรมได้มากกว่าการอบรมแบบ On the Job Training เพราะผู้เข้าอบรมสามารถเรียนรู้ได้อย่างเต็มท่ี จึงเหมาะสมกับให้ความรู้นักศึกษาเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพการฝึกปฏิบัติ และเพ่ือสร้างความรู้ความเข้าใจในงาน ซึ่งอาจท าได้ทั้งสถานประกอบการจัดฝึกอบรมเอง และครูจากสถานศึกษาไปให้ความรู้เพ่ิมเติมในสถานประกอบการ

ในการฝึกอาชีพนักศึกษาทวิภาคีสถานศึกษาควรร่วมกับสถานประกอบการจัดชั่วโมงให้ครูมาสอนให้ความรู้และเป็นการนิเทศอย่างน้อยสัปดาห์ละ 2 ชั่วโมง เพื่อเป็นการจัดการเรียนเสริมให้นักศึกษาทวิภาคีมีสมรรถนะมากกว่าการฝึกประสบการณ์วิชาชีพหรือฝึกงานปกติ

Page 7: การจัดท าแผนการฝึกอาชีพในสถานประกอบการเพื่อฝึกอาชีพ ...tpc.ac.th/images/Journal/Plan.pdf ·

7

การจัดท าแผนการฝึกอาชีพในสถานประกอบการเพื่อฝึกอาชีพนักศึกษาระบบทวิภาคี

สุบิน แพทย์รัตน์ ([email protected]) เรียบเรียง

โครงสร้างหลักสูตร โครงสร้างของหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556 แบ่งเป็น 3 หมวดวิชา และ

กิจกรรมเสริมหลักสูตร รวมไม่น้อยกว่า 103 หน่วยกิต ดังนี้ 1 หมวดวิชาทักษะชีวิต

1.1 กลุ่มวิชาภาษาไทย 1.2 กลุ่มวิชาภาษาต่างประเทศ 1.3 กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์ 1.4 กลุ่มวิชาคณิตศาสตร์ 1.5 กลุ่มวิชาสังคมศึกษา 1.6 กลุ่มวิชาสุขศึกษาและพลศึกษา

2 หมวดวิชาทักษะวิชาชีพ 2.1 กลุ่มทักษะวิชาชีพพ้ืนฐาน 2.2 กลุ่มทักษะวิชาชีพเฉพาะ 2.3 กลุ่มทักษะวิชาชีพเลือก (ทวิภาคี) 2.4 ฝึกประสบการณ์ทักษะวิชาชีพ 2.5 โครงการพัฒนาทักษะวิชาชีพ

3 หมวดวิชาเลือกเสรี 4 กิจกรรมเสริมหลักสูตร การฝึกประสบการณ์ทักษะวิชาชีพ เป็นการจัดกระบวนการเรียนรู้โดยความร่วมมือระหว่าง

สถานศึกษาอาชีวศึกษาหรือสถาบันกับภาคการผลิตและหรือภาคบริการ หลังจากที่ผู้เรียนได้เรียนรู้ภาคทฤษฎีและการฝึกหัดหรือฝึกปฏิบัติเบื้องต้นใน สถานศึกษาอาชีวศึกษาหรือสถาบัน แล้วระยะเวลาหนึ่ง ทั้งนี้ เพ่ือเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง ได้สัมผัสกับการปฏิบัติงานอาชีพ เครื่องมือเครื่องจักร อุปกรณ์ที่ทันสมัยและบรรยากาศการทางานร่วมกัน ส่งเสริมการฝึกทักษะ กระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ์ซึ่งจะช่วยให้ผู้เรียนท าได้ คิดเป็น ท าเป็นและเกิดการ ใฝ่รู้อย่างต่อเนื่อง ตลอดจนเกิดความมั่นใจและเจตคติที่ดีในการทางานและการประกอบอาชีพอิสระ โดยการจดัฝึกประสบการณ์ทักษะวิชาชีพต้องด าเนินการ ดังนี้

ใบเนื้อหาที่ 2 โครงสร้างหลักสูตรและการจัดรายวิชาทวิภาคี

Page 8: การจัดท าแผนการฝึกอาชีพในสถานประกอบการเพื่อฝึกอาชีพ ...tpc.ac.th/images/Journal/Plan.pdf ·

8

การจัดท าแผนการฝึกอาชีพในสถานประกอบการเพื่อฝึกอาชีพนักศึกษาระบบทวิภาคี

สุบิน แพทย์รัตน์ ([email protected]) เรียบเรียง

1 สถานศึกษาอาชีวศึกษาหรือสถาบัน ต้องจัดให้มีการฝึกประสบการณ์ทักษะวิชาชีพ ในรูปของการฝึกงานในสถานประ กอบการ แหล่งวิทยาการ รัฐวิสาหกิจหรือหน่วยงานของรัฐ โดยใช้เวลารวมไม่น้อยกว่า 320 ชั่วโมง ก าหนดให้มีค่าเท่ากับ 4 หน่วยกิต กรณีสถานศึกษาอาชีวศึกษาหรือสถาบัน ต้องการเพ่ิมพูนประสบการณ์ทักษะวิชาชีพ สามารถนารายวิชาในหมวด วิชาทักษะ วิชาชีพ ที่ตรงหรือสัมพันธ์กับ ลักษณะงาน ไปเรียนหรือฝึกในสถานประกอบการ รัฐวิสาหกิจหรือหน่วยงานของรัฐ ได้ โดยใช้เวลารวมกับการฝึกประสบการณ์ทักษะวิชาชีพ ไม่น้อยกว่า 1 ภาคเรียน

2 การตัดสินผลการเรียนและให้ระดับผลการเรียน ให้ปฏิบัติเช่นเดียวกับรายวิชาอ่ืน โครงการพัฒนาทักษะวิชาชีพ เป็นรายวิชาที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ศึกษาค้นคว้า บูรณาการ

ความรู้ ทักษะและประสบการณ์ จากสิ่งที่ได้เรียนรู้ลงมือปฏิบัติด้วยตนเองตามความถนัดและความสนใจ ตั้งแต่การเลือกหัวข้อหรือเรื่องที่จะศึกษาค้นคว้า การวางแผน การก าหนดขั้นตอนการด าเนินการ การด าเนินงาน การประเมินผลและการจัดท ารายงาน ซึ่งอาจท าเป็นรายบุคคลหรือกลุ่มก็ได้ ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับลักษณะของโครงการนั้น ๆ โดยการจัดท าโครงการดังกล่าว ต้องด าเนินการดังนี้

1 สถานศึกษาอาชีวศึกษาหรือสถาบัน ต้องจัดให้ผู้เรียนจัดท าโครงการพัฒนาทักษะวิชาชีพ ที่สัมพันธ์หรือสอดคล้องกับสาขาวิชา ในภาคเรียนที่ 5 และหรือภาคเรียนที่ 6 รวมจ านวน 4 หน่วยกิต ใช้เวลาไม่น้อยกว่า 216 ชั่วโมง ทั้งนี้ สถานศึกษาอาชีวศึกษาหรือสถาบันต้องจัดให้มีชั่วโมงเรียน 4 ชั่วโมง ต่อสัปดาห์ กรณีที่ใช้รายวิชาเดียวหากจัดให้มีโครงการพัฒนาทักษะวิชาชีพ 2 รายวิชา คือ โครงการ 1 และโครงการ 2 ให้สถานศึกษาอาชีวศึกษาหรือสถาบันจัดให้มีชั่วโมงเรียนต่อสัปดาห ์ที่เทียบเคียงกับเกณฑ์ดังกล่าวข้างต้น

2 การตัดสินผลการเรียนและให้ระดับผลการเรียน ให้ปฏิบัติเช่นเดียวกับรายวิชาอ่ืน การศึกษาระบบทวิภาคี เป็นรูปแบบการจัดการศึกษาท่ีเกิดจากข้อตกลงร่วมกันระหว่าง

สถานศึกษาอาชีวศึกษาหรือสถาบันกับสถานประกอบการ รัฐวิสาหกิจ หรือหน่วยงานของรัฐ โดยผู้เรียนใช้เวลาส่วนหนึ่งใน สถานศึกษาอาชีวศึกษาหรือสถาบัน และเรียนภาคปฏิบัติ ในสถานประกอบการ รัฐวิสาหกิจ หรือหน่วยงานของรัฐเพื่อให้การจัดการศึกษาระบบทวิภาคีสามารถเพ่ิมขีดความสามารถด้านการผลิต และพัฒนา ก าลังคนตามจุดหมายของหลักสูตรการจัดการศึกษาระบบทวิภาคี โดยน ารายวิชาทวิภาคีในกลุ่มทักษะวิชาชีพเลือกไปก าหนดรายละเอียดของรายวิชาและเวลาที่ใช้ฝึก จัดท าแผนฝึกอาชีพ การวัดและการประเมินผลในแต่ละรายวิชาให้สอดคล้องกับลักษณะงานของสถานประกอบการรฐัวิสาหกิจ หรือหน่วยงานของรัฐ ทั้งนี้ อาจน ารายวิชาชีพอ่ืนในหมวดวิชาทักษะวิชาชีพไปจัดร่วมด้วยก็ได้

Page 9: การจัดท าแผนการฝึกอาชีพในสถานประกอบการเพื่อฝึกอาชีพ ...tpc.ac.th/images/Journal/Plan.pdf ·

9

การจัดท าแผนการฝึกอาชีพในสถานประกอบการเพื่อฝึกอาชีพนักศึกษาระบบทวิภาคี

สุบิน แพทย์รัตน์ ([email protected]) เรียบเรียง

แนวทางการจัดรายวิชาทวิภาคี ปวช. ตัวอย่างหลักสูตรได้ก าหนดรายวิชาทวิภาคี ไว้ในกลุ่มทักษะวิชาชีพเลือก ดังนี้

รหัสวิชา ชื่อวิชา ท - ป - น 2701-5101 ปฏิบัติงานการโรงแรม 1 * - * - * 2701-5102 ปฏิบัติงานการโรงแรม 2 * - * - * 2701-5103 ปฏิบัติงานการโรงแรม 3 * - * - * 2701-5104 ปฏิบัติงานการโรงแรม 4 * - * - * 2701-5105 ปฏิบัติงานการโรงแรม 5 * - * - * 2701-5106 ปฏิบัติงานการโรงแรม 6 * - * - *

และได้ก าหนดจัดการศึกษาระบบทวิภาคี ไม่น้อยกว่า 21 หน่วยกิต โดยให้สถานศึกษาร่วมกับ

สถานประกอบการวิเคราะห์ลักษณะงานของสถานประกอบการ เพ่ือก าหนดจ านวนหน่วยกิตและรายละเอียดของแต่ละรายวิชารวมทั้งการจัดท าแผนการฝึกอาชีพ การวัดและประเมินผลรายวิชา โดยให้ใช้เวลาฝึกในสถานประกอบการไม่น้อยกว่า 54 ชั่วโมง มีค่าเท่ากับ 1 หน่วยกิต โครงสร้างของหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2557 แบ่งเป็น 3 หมวดวิชา

และกิจกรรมเสริมหลักสูตร รวมไม่น้อยกว่า 83 หน่วยกิตดังนี้ 1. หมวดวิชาทักษะชีวิต ไม่น้อยกว่า 21 หน่วยกิต

1.1 กลุ่มทักษะภาษาและการสื่อสาร (ไม่น้อยกว่า 9 หน่วยกิต) 1.2 กลุ่มทักษะการคิดและการแก้ปัญหา (ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต) 1.3 กลุ่มทักษะทางสังคมและการด ารงชีวิต (ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต)

Page 10: การจัดท าแผนการฝึกอาชีพในสถานประกอบการเพื่อฝึกอาชีพ ...tpc.ac.th/images/Journal/Plan.pdf ·

10

การจัดท าแผนการฝึกอาชีพในสถานประกอบการเพื่อฝึกอาชีพนักศึกษาระบบทวิภาคี

สุบิน แพทย์รัตน์ ([email protected]) เรียบเรียง

2. หมวดวิชาทักษะวิชาชีพ ไม่น้อยกว่า 56 หน่วยกิต 2.1 กลุ่มทักษะวิชาชีพพ้ืนฐาน (15 หน่วยกิต) 2.2 กลุ่มทักษะวิชาชีพเฉพาะ (21 หน่วยกิต) 2.3 กลุ่มทักษะวิชาชีพเลือก (ไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต) 2.4 ฝึกประสบการณ์ทักษะวิชาชีพ (4 หน่วยกิต) 2.5 โครงการพัฒนาทักษะวิชาชีพ (4 หน่วยกิต)

3. หมวดวิชาเลือกเสรี ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต 4. กิจกรรมเสริมหลักสูตร (2 ชั่วโมงต่อสัปดาห์)

แนวทางการจัดรายวิชาทวิภาคี ปวส. ตัวอย่างรายวิชาทวิภาคีสาขาวิชาการโรงแรม

รหัสวิชา ชื่อวิชา ท-ป-น 3701-5201 งานซักรีดและห้องผ้า *-*-3 3701-5202 งานการจัดเตรียมห้องพัก *-*-3 3701-5203 งานการจัดการวัสดุอุปกรณ์ในงานแม่บ้าน *-*-3 3701-5204 งานศิลปะการจัดและตกแต่งสถานที่ *-*-3 3701-5205 งานการใช้ภาษาอังกฤษงานแม่บ้าน *-*-3 3701-5206 งานศิลปะการจัดดอกไม้ *-*-3

ส าหรับรายวิชาในการศึกษาระบบทวิภาคีไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต นั้น ให้สถานศึกษาร่วมวิเคราะห์ลักษณะงานของสถานประกอบการ รัฐวิสาหกิจหรือหน่วยงานของรัฐ เพ่ือน ามาก าหนดจุดประสงค์รายวิชาสมรรถนะรายวิชาและค าอธิบายรายวิชา ที่สอดคล้องกันระหว่างสมรรถนะวิชาชีพสาขางานกับลักษณะการปฏิบัติงานจริงในสถานประกอบการ รวมทั้งจ านวนหน่วยกิตและเวลาที่ใช้ในการฝึกอาชีพในแต่ละรายวิชาเพ่ือน าไปจัดท าแผนการฝึกอาชีพ การวัดและการประเมินผลการปฏิบัติงานให้สอดคล้องกับสมรรถนะรายวิชา ทั้งนี้ โดยให้ใช้เวลาฝึกในสถานประกอบการไม่น้อยกว่า 54 ชั่วโมง มีค่าเท่ากับ 1 หน่วยกิต โครงสร้างของหลักสูตรระดับปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการ พ.ศ. ๒๕๕๕

แบ่งเป็น 3 หมวดวิชา รวมไม่น้อยกว่า 72 หน่วยกิตดังนี้ 1. หมวดวิชาทักษะชีวิต ไม่น้อยกว่า 15 หน่วยกิต 2. หมวดวิชาทักษะวิชาชีพ ไม่น้อยกว่า 51 หน่วยกิต

Page 11: การจัดท าแผนการฝึกอาชีพในสถานประกอบการเพื่อฝึกอาชีพ ...tpc.ac.th/images/Journal/Plan.pdf ·

11

การจัดท าแผนการฝึกอาชีพในสถานประกอบการเพื่อฝึกอาชีพนักศึกษาระบบทวิภาคี

สุบิน แพทย์รัตน์ ([email protected]) เรียบเรียง

2.1 กลุ่มทักษะวิชาชีพเฉพาะ (ไม่น้อยกว่า 30 หน่วยกิต) 2.2 กลุ่มทักษะวิชาชีพเลือก (ไม่น้อยกว่า …. หนว่ยกิต) 2.3 ฝึกประสบการณ์ทักษะวิชาชีพ (ไม่น้อยกว่า …. หน่วยกิต) 2.4 โครงการพัฒนาทักษะวิชาชีพ (ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต)

3. หมวดวิชาเลือกเสรี ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต

แนวทางการจัดรายวิชาทวิภาคี ป.ตรี ทล.บ. จัดอยู่ ในกลุ่มทักษะวิชาชีพเลือก ประกอบด้วยกลุ่มวิชาที่ เน้นการน าไปศึกษาหรือฝึก

ประสบการณ์ทักษะวิชาชีพในสถานประกอบการหรือทวิภาคี เพ่ือให้เกิดสมรรถนะทางด้านบริหาร จัดการ ด าเนินการ ควบคุม ดูแลงาน ให้ค าแนะน า สอนงานในสถานประกอบการ

องค์ประกอบที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาระบบทวิภาคี ในระดับปริญญาตรี การจัดการศึกษาระบบทวิภาคีเป็นรูปแบบการจัดการศึกษาที่เกิดจากข้อตกลงร่วมกันระหว่าง

สถานศึกษาอาชีวศึกษาหรือสถาบันกับสถานประกอบการ รัฐวิสาหกิจ หรือหน่วยงานของรัฐ โดยผู้เรียนใช้เวลาส่วนหนึ่งในสถานศึกษาอาชีวศึกษาหรือสถาบัน และเรียนภาคปฏิบัติในสถานประกอบการ รัฐวิสาหกิจ หรือหน่วยงานของรัฐ เพ่ือให้การจัดการศึกษาระบบทวิภาคีสามารถเพ่ิมขีดความสามารถด้านการผลิตและพัฒนาก าลังคนที่ตรงตามความต้องการของผู้ใช้ ตามจุดหมายของหลักสูตร สถานศึกษาอาชีวศึกษาหรือสถาบันร่วมกับสถานประกอบการ รัฐวิสาหกิจ หรือหน่วยงานของรัฐต้องร่วมกันวางแผนการจัดการศึกษา การวัดและการประเมินผลอย่างยืดหยุ่นและหลากหลายรูปแบบ ทั้งนี้ให้เป็นไปตามความเหมาะสมภายใต้บริบทของสถานประกอบการและสถานศึกษา โดยให้ด าเนินการดังนี้

1. ท าบันทึกข้อตกลงลงนามความร่วมมือจัดการศึกษาร่วมกัน (MOU) กับ สถานประกอบการ 2. ท าบันทึกข้อตกลงโดยสร้างความเข้าใจกับสถานประกอบการในเรื่องการจัด การเรียนการสอน

รายวิชาสมรรถนะวิชาชีพ การฝึกอาชีพ การฝึกประสบการณ์ทักษะวิชาชีพ การวัด และประเมินผล และการรับประกันการมีงานท าของผู้ส าเร็จการศึกษา เงินเดือน และค่าตอบแทน

3. นักศึกษาเข้ารับการฝึกอาชีพ และท าโครงการพัฒนาทักษะวิชาชีพ ใน สถานประกอบการ อย่างน้อย 1 ปีการศึกษาแต่ในที่นี้ได้จัดท าแผนการเรียนไว้รองรับโดยนักศึกษาลงทะเบียน เรียนในสถานศึกษา 1 ปีการศึกษา 2 ภาคเรียนกับอีก 1 ภาคฤดูร้อนและเข้าฝึกอาชีพท างาน ในสถานประกอบการ 1 ปีการศึกษา และน ารายวิชาในกลุ่มทักษะวิชาชีพเฉพาะ รายวิชาในกลุ่ มทักษะวิชาชีพเลือก โครงการพัฒนาทักษะวิชาชีพไปเรียนในสถานประกอบการ และจัดท าแผนการฝึกอาชีพ การวัดและประเมินผลการศึกษา การฝึกอาชีพร่วมกัน เพ่ือตัดสินผลการเรียนเป็นรายวิชา ในการจัด

Page 12: การจัดท าแผนการฝึกอาชีพในสถานประกอบการเพื่อฝึกอาชีพ ...tpc.ac.th/images/Journal/Plan.pdf ·

12

การจัดท าแผนการฝึกอาชีพในสถานประกอบการเพื่อฝึกอาชีพนักศึกษาระบบทวิภาคี

สุบิน แพทย์รัตน์ ([email protected]) เรียบเรียง

การเรียนการสอน ก าหนดให้ด าเนินการจัดการเรียนการสอนร่วมกันทั้งสถานศึกษาและสถานประกอบการดังนี้

1. ภาคเรียนที่ 1 และภาคเรียนที่ 2 จัดการเรียนการสอนในสถานศึกษา ณ สถาบัน การอาชีวศึกษา โดยจะจัดเฉพาะรายวิชาที่เป็นทฤษฎี และปฏิบัติเบื้องต้น บทบาทหลักจะเป็นอาจารย์ ประจ าหลักสูตรของสถาบันการอาชีวศึกษา เป็นผู้ด าเนินการจัดการเรียนการสอน ส่วนบทบาทรองจะเป็นครูฝึกของสถานประกอบการที่จัดส่งมาร่วมจัดการเรียนการสอน ทั้งนี้เพ่ือเป็นการเตรียมความพร้อมก่อนให้แก่ผู้เรียนก่อนที่จะออกไปฝึกอาชีพในชั้นปีที่ 2 ณ สถานประกอบการที่ท าความร่วมมือ (MOU) ไว้

2. ภาคเรียนฤดูร้อน จัดการเรียนการสอนในสถานศึกษา ณ สถาบันการอาชีวศึกษา โดยจัดการเรียนการสอนที่ในรายวิชาที่เหลือเพ่ือให้เรียนครบถ้วนสมบูรณ์ตามหลักสูตร บทบาทหลักจะเป็นอาจารย์ประจ าหลักสูตรของสถาบันการอาชีวศึกษา เป็นผู้ด าเนินการจัดการเรียนการสอน ส่วนบทบาทรอง จะเป็นครูฝึกของสถานประกอบการที่จัดส่งมาร่วมจัดการเรียนการสอนกับสถาบันการอาชีวศึกษา ณ สถานประกอบการที่ท าความร่วมมือ (MOU) ไว้ต่อไป

3. ภาคเรียนที่ 3 และภาคเรียนที่ 4 จัดการเรียนการสอน ณ สถานประกอบการที่ท า ความร่วมมือ (MOU) ไว้ จัดการฝึกอาชีพโดยการน ารายวิชาในหมวดทักษะวิชาชีพที่จะเป็นสมรรถนะอาชีพของผู้เรียนโดยตรง เพ่ือต้องการให้ผู้เรียนได้ปฏิบัติงานในสถานการณ์ และสิ่งแวดล้อมจริงในวิชาชีพ บทบาทหลักจะเป็นครูฝึกของสถานประกอบการ เป็นผู้ด าเนินการจัดฝึกอาชีพตามแผนการฝึกอาชีพที่ได้ก าหนดไว้ ส่วนบทบาทรองจะเป็นอาจารย์ประจ าหลักสูตรของสถาบันการอาชีวศึกษา เพ่ือร่วมจัดการเรียนการสอนกับสถานประกอบการ ทั้งนี้ได้ก าหนดให้ลงทะเบียนและด าเนินการโครงการพัฒนาทักษะวิชาชีพในภาคเรียนที่ 3 ด้วยทั้งนี้เพ่ือเป็นการเตรียมผู้เรียนก่อนที่จะส าเร็จการศึกษา ให้มีขีดความสามารถเป็นไปตามสมรรถนะที่พึงประสงค์ก่อนเข้าสู่การประกอบอาชีพ และสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะ และเทคโนโลยีตลอดจนศึกษาค้นคว้าองค์ความรู้ใหม่ ๆ นวัตกรรมมาใช้ในงานอาชีพ ทั้งนี้ส าหรับการวัด และประเมินผลจะประเมินผลร่วมกันโดยให้น้ าหนักกับสถานประกอบการในการวัดและประเมินผลมากกว่าอาจารย์ประจ าหลักสูตรในสถานศึกษา ในอัตราส่วน 60:40

Page 13: การจัดท าแผนการฝึกอาชีพในสถานประกอบการเพื่อฝึกอาชีพ ...tpc.ac.th/images/Journal/Plan.pdf ·

13

การจัดท าแผนการฝึกอาชีพในสถานประกอบการเพื่อฝึกอาชีพนักศึกษาระบบทวิภาคี

สุบิน แพทย์รัตน์ ([email protected]) เรียบเรียง

ความหมายของการวิเคราะห์งาน (Job Analysis) การวิเคราะห์งาน เป็นกระบวนการ ในการจัดการรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะงาน หน้าที่

ความรับผิดชอบเกี่ยวกับงานอย่างมีระบบ รวมถึงลักษณะเฉพาะของบุคคลที่เหมาะสมกับงาน เช่น มีความรู้ความสามารถทักษะ ฯลฯ ที่องค์การต้องการ เพ่ือให้การปฏิบัติงานประสบผลส าเร็จตามเป้าหมายขององค์การ ซึ่งในขอบเขตของในสถานประกอบการจะท าให้ได้ผลจากการวิเคราะห์งาน คือ

1. การบรรยายลักษณะงาน (Job Description) Job Description หมายถึง การระบุหน้าที่ความรับผิดชอบของงานนั้น ประกอบด้วย 3 ส่วน ดังนี้

1) การระบุชื่อต าแหน่งงาน (Job identification) แสดงถึงหน้าที่และระดับความช านาญของต าแหน่ง เช่น เจ้าหน้าที่ฝ่ายบุคคล , หัวหน้าฝึกหัด, พนักงานท าความสะอาดห้องพัก, Bell Boy ฯลฯ

2) ค าสรุปเกี่ยวกับงาน (Job summery) การสรุปเกี่ยวกับงาน กระชับ แบบย่อ ช่วยให้เห็นความแตกต่างของหน้าที่และลักษณะงานที่ต้องท า

3) หน้าที่งาน (Job duties) ส่วนของหน้าที่งานที่ส าคัญว่าท าอะไร ท าท าไม และท าอย่างไร รวมถึงหน้าที่งานหลัก (Duty) และภารกิจ (Task) หรือหน้าที่งานรอง

Job Description จะเป็นงานที่นักศึกษาจะฝึก โดยเลือกฝึกตามหลักสูตร และความต้องการของอาชีพ

2. การก าหนดคุณสมบัติเฉพาะของผู้ปฏิบัติงาน (Job Specification) Job Specification คือ รายละเอียดของคุณสมบัติเฉพาะของพนักงานทางด้าน ความสามารถ

ประสบการณ์ ความรู้ ทักษะ ซึ่งใช้ในการท างานเฉพาะอย่างเพ่ือให้งานประสบผลส าเร็จ ซึ่งจะน าไปเป็นข้อก าหนดในการฝึกอบรมหรือการฝึกนักศึกษาทวิภาคีให้มีสมรรถนะตามท่ีต้องการต่อไป

การรวบรวมข้อมูลการวิเคราะห์งาน 1.การสัมภาษณ์ 2.การตอบแบบสอบถาม 3.การสังเกตการปฏิบัติงาน 4.การท าบันทึกการปฏิบัติงาน 5.ใช้วิธีผสมผสาน

ใบเนื้อหาที่ 3 การวิเคราะห์งาน(Job Analysis)ในสถานประกอบการเพื่อฝึกอาชีพ

Page 14: การจัดท าแผนการฝึกอาชีพในสถานประกอบการเพื่อฝึกอาชีพ ...tpc.ac.th/images/Journal/Plan.pdf ·

14

การจัดท าแผนการฝึกอาชีพในสถานประกอบการเพื่อฝึกอาชีพนักศึกษาระบบทวิภาคี

สุบิน แพทย์รัตน์ ([email protected]) เรียบเรียง

การวิเคราะห์งานในสถานประกอบการ (In Company Job Analysis) การวิเคราะห์งานใน

สถานประกอบการ เป็นการวิเคราะห์งานเพ่ือฝึกอาชีพให้กับนักศึกษาทวิภาคี โดยมีจุดประสงค์ คือ

1. เพ่ือให้นักศึกษาทวิภาคีได้ฝึกอาชีพในสถานประกอบการเหมาะสมกับระดับการศึกษา

2. เพ่ือให้นักศึกษาทวิภาคีท่ีได้ฝึกอาชีพมีสมรรถนะและมีความพร้อมในการปฏิบัติงานเป็นพนักงานของสถานประกอบการ

ความหมายของสมรรถนะ สมรรถนะ (Competence) ในความหมายทั่วไป คือความสามารถในการปฏิบัติงานโดยใช้ความรู้

ทักษะและเจตคติท่ีบูรณาการกันอย่างแนบแน่นเพื่อให้เกิดประสิทธิผลและประสิทธิภาพ สมรรถนะ (Competence) ในความหมายของงานอาชีพหรือวิชาชีพ คือ ความสามารถในการ

ปฏิบัติงานอาชีพ โดยใช้ความรู้ ทักษะและเจตคติที่บูรณาการกันอย่างแนบแน่น เพ่ือให้เกิดผลลัพธ์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ส านักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (ก.พ.) ให้ความหมายของสมรรถนะ คือ คุณลักษณะเชิงพฤติกรรมที่เป็นผลมาจากความรู้ ทักษะ/ความสามารถและคุณลักษณะอื่น ๆ ที่ท าให้บุคคลสามารถสร้างผลงานได้โดดเด่นกว่าเพื่อนร่วมงานอ่ืน ๆ ในองค์กร กล่าวคือ การที่บุคคลจะแสดงสมรรถนะใดสมรรถนะหนึ่งได้มักจะต้องมีองค์ประกอบของทั้งความรู้ ทักษะ/ความสามารถและคุณลักษณะอื่น ๆ

สรุปองค์ประกอบของสมรรถนะ

ทักษะ (Skill) ซึ่งในการศึกษาจะเป็นจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมทักษะ

Page 15: การจัดท าแผนการฝึกอาชีพในสถานประกอบการเพื่อฝึกอาชีพ ...tpc.ac.th/images/Journal/Plan.pdf ·

15

การจัดท าแผนการฝึกอาชีพในสถานประกอบการเพื่อฝึกอาชีพนักศึกษาระบบทวิภาคี

สุบิน แพทย์รัตน์ ([email protected]) เรียบเรียง

ความรู้ (Knowledge) ซึ่งในการศึกษาจะเป็นจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมแสดงความรู้ ความจ า อธิบาย บอก

คุณลักษณะ(Attributes) ซึ่งในการศึกษาจะเป็นจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมจิตพิสัย Competency แตกต่างจากทักษะ ความรู้ ทัศนคติ และแรงจูงใจ อย่างไร

เนื่องจาก สมรรถนะ (Competency) เป็นสิ่งที่ประกอบขึ้นมาจาก ความรู้ (Knowledge) ทักษะ (Skill) และคุณลักษณะ (Attributes) จึงส่งผลให้คนทั่วไปสับสนว่า สมรรถนะ (Competency) แตกต่างจากความรู้ (Knowledge) ทักษะ (Skill) และทัศนคติ/แรงจูงใจ (Attitude/Motive) อย่างไร หรือความรู้หรือทักษะที่บุคคลมีอยู่นั่นถือเป็น Competency หรือไม่ เ พ่ือ ไม่ ให้ เกิดความสับสน สถาบัน Schoonover Associates ได้มีการศึกษาและอธิบายในเชิงเปรียบเทียบไว้ดังนี้ สมรรถนะ VS ความรู้

ความรู้ อย่างเดียวไม่ถือเป็น สมรรถนะ เว้นแต่ความรู้ในเรื่องนั้นจะน ามาประยุกต์ใช้กับงานให้ประสบผลส าเร็จ จึงถือเป็นส่วนหนึ่งของ สมรรถนะ

ตัวอย่าง ความรู้และความเข้าใจในส่วนประกอบเครื่องยนต์ ถือเป็นความรู้ แต่ความสามารถในการน าความรู้และความเข้าใจในส่วนประกอบเครื่องยนต์ มาซ่อมเครื่องยนต์ ได้นั้น จึงจะถือเป็น “สมรรถนะ”การแสดงความรู้จะใช้ในการวัดผลแต่ไม่ใช่สมรรถนะ

สมรรถนะ VS ทักษะ ทักษะ (Skill) อย่างเดียวไม่ถือเป็น สมรรถนะ แต่ทักษะที่ก่อให้เกิดผลส าเร็จอย่างชัดเจนถือเป็น

สมรรถนะ ตัวอย่าง ความสามารถในการถอดประกอบเครื่องยนต์ เป็นทักษะ แต่ความสามารถในการซ่อม

เครื่องยนต์ ถือเป็น “สมรรถนะ” สมรรถนะ VS แรงจูงใจ/คุณลักษณะ สมรรถนะ ไม่ใช่แรงจูงใจหรือทัศนคติ (Motive/Attitude) แต่เป็นแรงขับภายใน ที่ท าให้บุคคล

แสดงพฤติกรรมที่ ตนมุ่งหวังไปสู่สิ่งที่เป็นเป้าหมายของเขา ตัวอย่าง การต้องการความส าเร็จ เป็นแรงจูงใจที่ก่อให้เกิดแนวคิดหรือทัศนคติท่ีต้องการสร้าง

ผลงานที่ดี แต่ความสามารถในการท างานให้ส าเร็จได้ตรงตามเวลาที่ก าหนด ถือเป็น “สมรรถนะ” รูปแบบการเขียนสมรรถนะ

“กริยา+ กรรม+ (ค าขยาย)” เช่น ลงทะเบียนผู้เข้าพัก ท าความสะอาดห้องพัก

Page 16: การจัดท าแผนการฝึกอาชีพในสถานประกอบการเพื่อฝึกอาชีพ ...tpc.ac.th/images/Journal/Plan.pdf ·

16

การจัดท าแผนการฝึกอาชีพในสถานประกอบการเพื่อฝึกอาชีพนักศึกษาระบบทวิภาคี

สุบิน แพทย์รัตน์ ([email protected]) เรียบเรียง

ซ่อมหม้อน้ า ล้างรถด้วยแชมพู

การวิเคราะห์งานโดยใช้ DACUM (Developing A Curriculum) งานหรืออาชีพ หนึ่ง ๆ จะประกอบไปด้วย หลายบทบาท (DUTY) ของหน้าที่ และหลาย

ภาระกิจ (TASK) ของหน้าที่ ดังนี้ บทบาทหน้าที่ (DUTY) หมายถึง หน้าที่ความรับผิดชอบในต าแหน่งงานอาชีพนั้น ๆ เช่น อาชีพ

พนักงานโรงแรม ต าแหน่ง แม่บ้านโรงแรม ตัวอย่างบทบาทหน้าที่ ที่พึงต้องมีเช่น ท าความสะอาดห้องพัก เตรียมรถท าความสะอาด ซักรีด เป็นต้น

ภารกิจ (TASK) หมายถึง วิธีการด าเนินการ เป็นการกระท าของแต่ละบทบาทหน้าที่ เช่น บทบาทหน้าที่ท าความสะอาดห้องพัก พึงกระท า ตัวอย่างได้แก่ ท าความสะอาดห้องน้ า ปูเตียง ท าความสะอาดเฟอร์นิเจอร์ เป็นต้น ซึ่งแต่ละภารกิจ จะมีขั้นตอนการท างาน (Step Operation) ของแต่ละภารกิจอยู่ เช่นอาชีพพนักงานโรงแรม ต าแหน่งแม่บ้าน ท าหน้า ท าความสะอาดห้องพัก ภารกิจ ท าความสะอาดห้องน้ า ขั้นตอนพึงกระท า เช่น ล้างอ่างล้างหน้า ล้างโถส้วม ล้างอ่างอาบน้ า ล้างผนังห้องน้ า ล้างพ้ืน เป็นต้น โดยที่ขั้นตอนแต่ละข้ันตอนจะต้องเป็นไปอย่างมีล าดับขั้นที่ก่อนหลัง

กระบวนการดาคัม หรือ DACUM process. เป็นกระบวนการวิเคราะห์รายละเอียดของอาชีพ หรือต าแหน่งงาน มีข้ันตอนหรือกระบวนการ ส าคัญ 2 ขั้นตอนหลัก คือ

1. ขั้นตอนการวิเคราะห์งานหรืออาชีพ (Job Analysis) ผลลัพธ์ที่ได้คือ ผังแสดงหน้าที่ต่างๆของอาชีพหรืองานหลัก (Duty) และภารกิจหรืองานย่อย (Task) ซึ่งเรียกว่า แผนผังดาคัม หรือ DACUM Chart หรือแผนผังสมรรถนะ (Competency Profile)

Page 17: การจัดท าแผนการฝึกอาชีพในสถานประกอบการเพื่อฝึกอาชีพ ...tpc.ac.th/images/Journal/Plan.pdf ·

17

การจัดท าแผนการฝึกอาชีพในสถานประกอบการเพื่อฝึกอาชีพนักศึกษาระบบทวิภาคี

สุบิน แพทย์รัตน์ ([email protected]) เรียบเรียง

2. ขั้นตอนการวิเคราะห์งานย่อย (Task Analysis) ผลลัพ์ที่ได้คือ รายละเอียดของภารกิจ เช่น. ขั้นตอนการปฏิบัติงาน ความรู้ที่ใช้ท างาน คุณลักษณะของผู้ปฏิบัติงาน มาตรฐานของงาน เครื่องมือ เครื่องจักร วัสดุ อุปกรณ์ ความปลอดภัย และข้อควรระวังต่างๆ เป็นต้น

คณะกรรมการ DACUM 1. คณะกรรมการดาคัม หรือ DACUM Committee คือผู้เชี่ยวชาญหน้างานจริง หรือผู้ที่

ปฏิบัติงานจริง ไม่ใช่หัวหน้างานเด็ดขาด 2. ผู้ด าเนินการประชุมดาคัม หรือ DACUM Facilitator. และผู้บันทึกข้อมูล และเขียนผัง

ดาคัม. เรียก Recorder ซึ่งเป็นบุคลากรจากสถานศึกษาหรือหน่วยงาน รูปแบบการประชุม

ใช้วิธีการระดมสมอง (Brain storming) โดยกลุ่มคนที่ให้ข้อมูลแยกตามงาน (Focus Group)มีกระบวนการ ดังนี้

1. ปฐมนิเทศ แนะน าตัว ให้รู้จักกันก่อน 2. ทบทวนชื่อต าแหน่งงานหรืออาชีพที่จะวิเคราะห์ เพ่ือให้ทุกคนได้เข้าใจตรงกัน 3. ก าหนดขอบเขตงาน หรืออาชีพ เขียนรายละเอียดต าแหน่งงานหรือลักษณะอาชีพ เรียก job

description 4. ขั้นวิเคราะห์งานและอาชีพ (Job Analysis) เพ่ือให้ได้ หน้าที่งานหลัก และภารกิจงานย่อย

เขียนออกมาเป็นผังดาคัม (DACUM Chart) ส่วนมากนิยมใช้บัตรค าและการวิเคราะห์กลุ่มค า 5. ทบทวน จัดล าดับ หน้าที่ (Duty) และภารกิจ (Task) 6. พิจารณา หน้าที ่ภารกิจ เพ่ือคัดกรองงานที่มีความส าคัญมากที่สุด.(Important) ท าบ่อยท่ีสุด

(Frequently) ท ายากที่สุด(Difficulty) หรือการหา I F D สุดท้ายจะเหลือบางหน้าที่ และบางภารกิจเท่านั้น

7. ขั้นวิเคราะห์งานย่อย Task Analysis เพ่ือให้ได้ขั้นตอนการท างาน(Step Operation) หรือทักษะ (Skill) ความรู้ที่จ าเป็นในการท างาน (Knowledge) มาตรฐานการท างาน วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ ส าหรับการท างาน ความปลอดภัย ข้อควรระวัง เป็นต้น

8. ก าหนดระดับของต าแหน่งงาน หรือ ก าหนดความรู้ความสามารถพ้ืนฐานที่ผู้เรียนหรือแรงงานใหม่ ต้องมีก่อนถึงจะท างานในต าแหน่งงานนี้ได้

จากนั้นน ารายละเอียดต่างๆ ที่ได้จากการวิเคราะห์ภารกิจ (Task Analysis) ซึ่งจัดท าเป็นเอกสารมีรายละเอียดตามที่กล่าวมา สามารถน าไปพัฒนาเป็นมาตรฐานสมรรถนะ (Competency Standard)

Page 18: การจัดท าแผนการฝึกอาชีพในสถานประกอบการเพื่อฝึกอาชีพ ...tpc.ac.th/images/Journal/Plan.pdf ·

18

การจัดท าแผนการฝึกอาชีพในสถานประกอบการเพื่อฝึกอาชีพนักศึกษาระบบทวิภาคี

สุบิน แพทย์รัตน์ ([email protected]) เรียบเรียง

และหลักสูตรการฝึกตามสมรรถนะ (Competency-based Curriculum : CBC) ต่อไป ทั้งนี้ควรมีการทบทวน เอกสารการวิเคราะห์งานบ่อยๆ หากจ าเป็น เพื่อให้ถูกต้องตรงกับความต้องการของสถานประกอบการมากที่สุด

การวิเคราะห์งานควรด าเนินการภาพรวมทั้งหมดก่อน แล้วจึงแยกออกเป็นระดับ ปวช. ปวส. และ ป.ตรี

ภารกิจ/งานย่อย(Task)

หน้าที/่งานหลัก(Duty)

งาน/อาชีพ(JOB)

แม่บ้านแม่บ้าน

ท าความสะอาดห้องพักท าความสะอาดห้องพัก

ท าความสะอาดห้องน้ าท าความสะอาดห้องน้ า

ปูเตียงปูเตียง

ท าความสะอาดห้องนอนท าความสะอาดห้องนอน

ท าความสะอาดเฟอร์นิเจอร์ท าความสะอาดเฟอร์นิเจอร์

ซักรีดซักรีด

รับ-ส่งผ้ารับ-ส่งผ้า

ซักรีดผ้าโรงแรมซักรีดผ้าโรงแรม

ซักรีดผ้าแขกซักรีดผ้าแขก

ตัวอย่างผัง DACUM งานแม่บ้านโรงแรมในระดับ ปวช.

Page 19: การจัดท าแผนการฝึกอาชีพในสถานประกอบการเพื่อฝึกอาชีพ ...tpc.ac.th/images/Journal/Plan.pdf ·

19

การจัดท าแผนการฝึกอาชีพในสถานประกอบการเพื่อฝึกอาชีพนักศึกษาระบบทวิภาคี

สุบิน แพทย์รัตน์ ([email protected]) เรียบเรียง

การเขียนแผนการฝึกอาชีพ (Training Plan) หลังจากได้วิเคราะห์งานแล้ว จะสามารถเลือกงานที่จะฝึกอาชีพนักศึกษาทวิภาคีตามระดับ ปวช.

ปวส. หรือ ป.ตรี ไดต้ลอดหลักสูตร จากนั้นจึงร่วมกันก าหนดระยะเวลาการฝึกโดยค านึงถึง สิ่งต่อไปนี้ 1. ระยะเวลาการฝึกอาชีพที่ต้องมีการปรับเปลี่ยนหมุนงานที่ฝึก 2. ประสบการณ์ระยะการฝึกที่ท าให้นักศึกษามีสมรรถนะ 3. หน่วยกิต และจ านวนชั่วโมงต่อหน่วยกิตที่นักศึกษาจะได้รับ ซึ่งอาจเฉลี่ยกันโดยอนุโลม

เพ่ือให้การฝึกมีประสิทธิภาพ โดยเน้นสมรรถนะ ประสบการณ์การฝึกนักศึกษาที่ผ่านมา ซึ่งในทางปฏิบัติก าหนดหน่วยเป็นวัน ดังตัวอย่าง

หลังจากนี้จึงไปก าหนดปฏิทินวันเริ่มเข้ารับการฝึกของแต่ละงานหรือแต่ละแผนกต่อไป จากตัวอย่างจะใช้ระยะเวลาการฝึกประมาณ 10 เดือน

ช่ือสถานประกอบการ..สบายดีโฮเต็ล.. ใช้ฝึกนักศึกษาทวิภาคีของวิทยาลยั.......................... ปีการศึกษา ..25.....ระดับ .ปวช.. สาขาวิชา/สาขางาน..การโรงแรม......

ที ่สมรรถนะ/

อาชีพท่ีต้องการ แผนก/

ต าแหน่งงาน หน้าท่ี (Duty)/

งานหลัก ช่ือ-สกุล

ครูฝึก/พี่เลีย้ง ระยะการฝึก(วัน)

รวม (วัน)

1 แม่บ้านโรงแรม H/K

Room Attendant 1.ท าความสะอาดห้องพัก นางวิภาดา 25 75 Cleaning 2.ท าความสะอาดพื้นท่ีสาธารณะ 10

Laundry Attendant 3.ซักรีด 20 Florist 4.จัดดอกไม ้ 20

2 พนักงานส่วนหน้า F/O

Reception 1.ต้อนรับแขก นายสมชาย 20 66 Reservations Clerk 2.ส ารองห้องพัก 20

Operator 3.รับโทรศัพท์ 10

Cashier 4.เก็บเงิน 16 3 พนักงานบริการอาหาร

และเครื่องดื่ม F/B

Waiter 1.เสิร์ฟอาหาร นายวิฑูรย ์ 20 75

Catering 2.จัดเลีย้ง 20 Bartender 3.ผสมเครื่องดื่ม 20 Cashier 4.เก็บเงิน 15

รวมระยะเวลา 216

ใบเนื้อหาที่ 4 การเขียนแผนการฝึกอาชีพ (Training Plan)

ตัวอย่างแผนการฝึก (Training Plan) นักศึกษาทวิภาคีสาขาวิชาการโรงแรม

Page 20: การจัดท าแผนการฝึกอาชีพในสถานประกอบการเพื่อฝึกอาชีพ ...tpc.ac.th/images/Journal/Plan.pdf ·

20

การจัดท าแผนการฝึกอาชีพในสถานประกอบการเพื่อฝึกอาชีพนักศึกษาระบบทวิภาคี

สุบิน แพทย์รัตน์ ([email protected]) เรียบเรียง

การก าหนดรายวิชาทวิภาคี จากตัวอย่างแผนการฝึก สามารถก าหนดรายวิชาทวิภาคี ระดับ ปวช. (ซึ่งอาจเป็นรายวิชาใหม่)

สาขาวิชาการโรงแรมและช่วงระยะเวลาการฝึก ได้ดังนี้

รหัสวิชา ชื่อวิชา ท-ป–น มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. 2701-5101 ปฏิบัติงานการโรงแรม 1

- ท าความสะอาดห้องพัก - ท าความสะอาดพื้นที่สาธารณะ

* - * - 4

2701-5102 ปฏิบัติงานการโรงแรม 2 - จัดดอกไม ้- ซักรีด

* - * - 4

2701-5103 ปฏิบัติงานการโรงแรม 3 - รับโทรศัพท์ - ต้อนรับแขก

* - * - 4

2701-5104 ปฏิบัติงานการโรงแรม 4 - ส ารองห้องพัก - เก็บเงิน

* - * - 4

2701-5105 ปฏิบัติงานการโรงแรม 5 - เสิร์ฟอาหาร - เก็บเงิน

* - * - 4

2701-5106 ปฏิบัติงานการโรงแรม 6 - ผสมเครื่องดืม่ - จัดเลีย้ง

* - * - 4

ตัวอย่างรายวิชาทวิภาคีและช่วงระยะเวลาการฝึก

Page 21: การจัดท าแผนการฝึกอาชีพในสถานประกอบการเพื่อฝึกอาชีพ ...tpc.ac.th/images/Journal/Plan.pdf ·

21

การจัดท าแผนการฝึกอาชีพในสถานประกอบการเพื่อฝึกอาชีพนักศึกษาระบบทวิภาคี

สุบิน แพทย์รัตน์ ([email protected]) เรียบเรียง

การเขียนแผนการฝึกปฏิบัติงาน เป็นการน าภารกิจหรืองานย่อยที่ได้จากการวิเคราะห์งานแล้ว

มาท าการวิเคราะห์ภารกิจ (Task Analysis) เพ่ือให้ได้ข้อมูลในการเขียนแผนการฝึกปฏิบัติงาน (Work Task Plan) และการจัดฝึกอบรมซึ่งจะมีทั้งฝึกอบรมในงาน (On the Job Training) และอบรมนอกงาน (Off the Job Training) ดังนั้นถ้ายิ่งวิเคราะห์ภารกิจได้ละเอียดเท่าใด ก็จะส่งผลให้การฝึกมีประสิทธิภาพ บางครั้งครูฝึกก็จะให้นักศึกษาท าการวิเคราะห์ภารกิจ ซึ่งเป็นเรื่องท่ีนักศึกษาสามารถท าได้

การวิเคราะห์ภารกิจ (Task Analysis) เป็นการวิเคราะห์ถึงขั้นตอนการท างาน (Step Operation) ซึ่งจะสอดคล้องกับทักษะ (Skill) ที่

จะท าการฝึกอาชีพ โดยก าหนดขั้นตอนการปฏิบัติงาน (Step Operation) ที่ต้องฝึกทักษะ (Skill) ระบุเครื่องมือวัสดุอุปกรณ์ที่จ าเป็นต้องใช้ในการปฏิบัติงาน ระบุความรู้(Knowledge)ที่จ าเป็นต้องใช้ในการปฏิบัติงาน ที่ต้องจัดการเรียนการสอน ระบุคุณลักษณะส่วนบุคคล(Attribute)ของผู้ปฏิบัติงาน ที่ต้องควบคุมหรือฝึกฝน ระบุมาตรฐานการปฏิบัติงาน และระบุเกี่ยวกับความปลอดภัยหรือข้อควรระวัง ดังในตาราง ซึ่งมีรายละเอียด คือ

1. ขั้นตอนการปฏิบัติงาน เ ป็ น ขั้ น ต อ น ก า รปฏิบัติงานยิ่งละเอียดมายิ่งท าให้การฝึกมีประสิทธิภาพ ซึ่งแต่ไม่ควรเกิน 1 หน้ากระดาษ ให้เขียนขึ้นต้นด้วยกริยาซึ่งเป็นจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม แต่ละขั้นตอนจะน า ไปฝึกทักษะ (Skill)

2. เครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ ที่ใช้ปฏิบัติงาน เป็นการระบุเพ่ือเตรียมการฝึก 3. ความรู้ที่ต้องสอน (Knowledge) ระบุความรู้ที่ต้องมีมาก่อนการปฏิบัติงาน จะมีประโยชน์ใน

การน าไปจัดการฝึกอบรมนอกงาน (Off the Job Training)

ใบเนือ้หาที่ 5 การเขียนแผนการฝึกปฏิบัติงาน (Work Task Plan)

Page 22: การจัดท าแผนการฝึกอาชีพในสถานประกอบการเพื่อฝึกอาชีพ ...tpc.ac.th/images/Journal/Plan.pdf ·

22

การจัดท าแผนการฝึกอาชีพในสถานประกอบการเพื่อฝึกอาชีพนักศึกษาระบบทวิภาคี

สุบิน แพทย์รัตน์ ([email protected]) เรียบเรียง

4. คุณลักษณะที่ต้องฝึก (Attribute) หรืออาจเป็นเจตคติก็ได้ แต่ในมุมมองของสมรรถนะจะเป็นคุณลักษณะ เช่น สุภาพ อ่อนน้อม ยิ้มทักทาย เป็นต้น

5. มาตรฐานการปฏิบัติงาน ระบุมาตรฐานของการปฏิบัติงานที่ต้องการให้มีสมรรถนะ 6. ข้อควรระวัง/ความปลอดภัย ระบุสิ่งที่จะท าให้เกิดความผิดพลาด หรือการป้องกันความ

เสียหาย การป้องกันความเสี่ยง

Page 23: การจัดท าแผนการฝึกอาชีพในสถานประกอบการเพื่อฝึกอาชีพ ...tpc.ac.th/images/Journal/Plan.pdf ·

23

การจัดท าแผนการฝึกอาชีพในสถานประกอบการเพื่อฝึกอาชีพนักศึกษาระบบทวิภาคี

สุบิน แพทย์รัตน์ ([email protected]) เรียบเรียง

ตัวอย่างการวิเคราะห์ภารกิจ (Task Analysis)

(Skill)

Page 24: การจัดท าแผนการฝึกอาชีพในสถานประกอบการเพื่อฝึกอาชีพ ...tpc.ac.th/images/Journal/Plan.pdf ·

24

การจัดท าแผนการฝึกอาชีพในสถานประกอบการเพื่อฝึกอาชีพนักศึกษาระบบทวิภาคี

สุบิน แพทย์รัตน์ ([email protected]) เรียบเรียง

การเขียนแผนการฝึกปฏิบัติงาน (Work Task Plan) แผนการฝึกปฏิบัติงานเป็นแผนการสอนของครูฝึก สามารถใช้แผนการฝึกปฏิบัติจากรุ่นสู่รุ่น หาก

ได้มีการพัฒนาต่อเนื่องจะท าให้การฝึกปฏิบัติงานมีประสิทธิภาพ ซึ่งจะมีส่วนคล้ายกับแผนการสอนของครูในสถานศึกษาแต่มีลักษณะเป็นตาราง เพ่ือความสะดวกรวดเร็วไม่เป็นภาระกับครูฝึก ทั้งนี้ครูฝึกอาจเลือกเขียนเฉพาะเรื่องที่มีความส าคัญโดยเฉพาะเรื่องที่ต้องฝึกทักษะ แผนการฝึกปฏิบัติงานของครูฝึกจัดท าขึ้นเพ่ือเตรียมงานการฝึกอาชีพให้นักเรียน นักศึกษาระบบทวิภาคี มีความรู้ ความสามารถในอาชีพ ตรงตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่สถานประกอบการกับสถานศึกษาก าหนดไว้ ซึ่งจะได้ข้อมูลขั้นตอนการปฏิบัติงานจากการวิเคราะห์ภารกิจ (Task Analysis) แต่จะมีการก าหนดจุดประสงค์(Objectives) ของการฝึกปฏิบัติซึ่งประกอบด้วย

1. จุดประสงค์ทั่วไป จุดประสงค์ทั่วไปหรือจุดประสงค์ปลายทาง คือ จุดประสงค์ที่เป็นเป้าหมายส าคัญที่

มุ่งหวังให้เกิดพฤติกรรมขึ้นกับผู้เรียนในการฝึก/การเรียนรู้แต่ละเรื่อง หรือแต่ละหน่วยการเรียนรู้ โดยมีรูปแบบการเขียน คือ

เพื่อให้ +ประธาน+กริยารวมๆ+เรื่องท่ีจัดการฝึก/เรียนรู้ (หัวข้อใหญ่ท่ี 1..2..3)+เกณฑ์กว้างๆ (ตัวอย่าง)

เพ่ือให้นักศึกษาทวิภาคีปูเตียงและจัดองค์ประกอบของเตียงได้สวยงาม เพ่ือให้นักศึกษาทวิภาคีท าความสะอาดห้องน้ าได้สะอาดตามมาตรฐาน และจัดวางอุปกรณ์ใน

ห้องน้ าได้อย่างถูกต้อง 2. จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม เป็นจุดมุ่งหมายของการสอนการฝึกที่ก าหนด หรือพฤติกรรมการฝึก/การเรียนรู้ที่

คาดหวัง ของผู้เรียนในรูปของการแสดงออก หรือการกระท าที่สามารถสังเกตเห็นได้ จุดมุ่งหมายเชิงพฤติกรรมที่ เขียนอย่างถูกต้องครบถ้วน จะประกอบด้วยข้อความ 3 ส่วน คือ พฤติกรรมที่คาดหวัง สถานการณ์หรือเง่ือนไข และเกณฑ ์โดยมีรูปแบบการเขียน คือ

พฤติกรรม (กริยา)+ เรื่องย่อยท่ีจะจัดการฝึก/เรียนรู้ +เกณฑ์

Page 25: การจัดท าแผนการฝึกอาชีพในสถานประกอบการเพื่อฝึกอาชีพ ...tpc.ac.th/images/Journal/Plan.pdf ·

25

การจัดท าแผนการฝึกอาชีพในสถานประกอบการเพื่อฝึกอาชีพนักศึกษาระบบทวิภาคี

สุบิน แพทย์รัตน์ ([email protected]) เรียบเรียง

(ตัวอย่าง) ปูเตียงจนตึงได้มาตรฐาน จัดผ้าเช็ดตัวเป็นรูปห่านคู่ได้สวยงาม จัดองค์ประกอบเตียงได้สวยงาม

และมีองค์ประกอบที่ต้องก าหนด เพ่ือให้สามารถเป็นแนวทางการฝึกปฏิบัติได้ คือ

วิธีสอน/วิธีฝึก ระบุวิธีการสอน เช่น สาธิต ฝึกปฏิบัติ และหากมีการไปปฏิบัติงานจริงก็จะระบุให้มีการฝึกอบรมในงาน OJT เป็นต้น

กิจกรรมการสอน/การฝึก ระบุกิจกรรมการสอนของครูฝึก และกิจกรรมการเรียนของนักศึกษา เช่น ครูฝึกบรรยายเรื่อง.... ครูจากสถานศึกษาบรรยายเรื่อง..... ครูฝึกสาธิต นักศึกษาฝึกปฏิบัติ เป็นต้น แต่ค าว่านักศึกษาฟังบรรยายไม่ต้องเขียน

สื่อ อุปกรณ์ ระบุสื่อ อุปกรณ์ที่ต้องใช้ เช่น ใบเนื้อหา ใบงาน อุปกรณ์...... เป็นต้น

การวัดและประเมินผล ระบวุิธีการวัดและประเมินผลการฝึก เช่น สังเกต..... ประเมินผลการปฏิบัติ เป็นต้น

Page 26: การจัดท าแผนการฝึกอาชีพในสถานประกอบการเพื่อฝึกอาชีพ ...tpc.ac.th/images/Journal/Plan.pdf ·

26

การจัดท าแผนการฝึกอาชีพในสถานประกอบการเพื่อฝึกอาชีพนักศึกษาระบบทวิภาคี

สุบิน แพทย์รัตน์ ([email protected]) เรียบเรียง

ตัวอย่างการเขียนแผนการฝึกปฏิบัติงาน (Work Task Plans)

Page 27: การจัดท าแผนการฝึกอาชีพในสถานประกอบการเพื่อฝึกอาชีพ ...tpc.ac.th/images/Journal/Plan.pdf ·

สุบิน แพทย์รัตน์ ([email protected]) เรียบเรียง

บรรณานุกรม

1. ความหมายของสมรรถนะ. ส านักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน. [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://opdc.go.th (7 กุมภาพันธ์ 2558).

2. ส านักพัฒนาสมรรถนะครูและบุคลากรอาชีวศึกษา ส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา. คู่มือหลักสูตรพัฒนาครูฝึกในสถานประกอบการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี. กรุงเทพ ส านักพัฒนาสมรรถนะครูและบุคลากรอาชีวศึกษา : 2557.

3. ศูนย์อาชีวศึกษาทวิภาคี ส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา. แนวทางปฏิบัติการจัดอาชีวศึกษาทวิภาคี. พิมพ์ครั้งแรก. ม.ป.ท. : 2556.

4. ศูนย์อาชีวศึกษาทวิภาคี ส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา. แนวทางปฏิบัติการจัดอาชีวศึกษาทวิภาคีตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องมาตรฐานการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี พ.ศ.2557 . กรุงเทพ. จามจุรีโปรดักส์ : 2557.

5. หลักสูตรการอาชีวศึกษา. ส านักมาตรฐานการอาชีวศึกษา,. [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://bsq2.vec.go.th (7 กุมภาพันธ์ 2558).

6. EFFECTIVE IN-COMPANY VOCATIONAL TRAINING. In:The German Technical Cooperation (GTZ),editors. National Training Course For Master Trainers; 21-30 September 2015; Bureau of Personnel Competency Development. Bangkok:GTZ; 2015.