51
เทคนิคการจัดทาถายภาพเอกซเรยของอวัยวะภายในชองทอง ฐิติพงศ แกวเหล็ก กายวิภาคของอวัยวะภายในชองชอง ภายในชองทอง ประกอบดวย อวัยวะสําคัญๆมากมาย ภาพถายรังสีธรรมดาจะใชชวยใน การวินิจฉัยโรค ไดหลายระบบ ไดแก ระบบทางเดินอาหาร และยอยอาหาร ตั้งแตสวนกระเพาะอาหาร ลําไสเล็ก จนถึงลําไสใหญ ระบบขับถายปสสาวะ คือ ไต ทอไต และกระเพาะปสสาวะ สวนอื่นๆ นอกจากนี้เชน ตับ มาม ถุงน้ําดี และกระบังลม

เทคนิคการจ ัดท าถ ายภาพเอกซเรย ของอว ัยวะภายในช องท องe-office.ahs.nu.ac.th/mis/download/course/lec_653333_abdomen.pdf ·

  • Upload
    others

  • View
    3

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: เทคนิคการจ ัดท าถ ายภาพเอกซเรย ของอว ัยวะภายในช องท องe-office.ahs.nu.ac.th/mis/download/course/lec_653333_abdomen.pdf ·

เทคนิคการจัดทาถายภาพเอกซเรยของอวัยวะภายในชองทอง

ฐิติพงศ แกวเหล็ก กายวิภาคของอวัยวะภายในชองชอง

ภายในชองทอง ประกอบดวย อวัยวะสําคัญๆมากมาย ภาพถายรังสีธรรมดาจะใชชวยในการวินิจฉัยโรค ไดหลายระบบ ไดแก

ระบบทางเดินอาหาร และยอยอาหาร ตั้งแตสวนกระเพาะอาหาร ลําไสเล็ก จนถึงลําไสใหญ ระบบขับถายปสสาวะ คือ ไต ทอไต และกระเพาะปสสาวะ สวนอื่นๆ นอกจากนี้เชน ตับ มาม ถุงน้ําดี และกระบังลม

Page 2: เทคนิคการจ ัดท าถ ายภาพเอกซเรย ของอว ัยวะภายในช องท องe-office.ahs.nu.ac.th/mis/download/course/lec_653333_abdomen.pdf ·

รูป ระบบปสสาวะ

เทคนิคสําคัญท่ีควรทราบ -การถายภาพรงัสีของอวัยวะภายในชองทอง มีดังนี ้ - การถายภาพเอกซเรยของชองทองทั้งหมด (Abdomen:Abd) - การถายภาพเอกซเรยระบบทางเดินปสสาวะ (KUB) - การถายภาพเอกซเรยถุงน้ําดี (Gall bladder:GB) -การถายภาพเอกซเรยกระบงัลม -การถายภาพเอกซเรยตับ (Liver) -การถายภาพเอกซเรยมาม (Spleen) การเตรียมตัวผูปวยกอนถายภาพรงัส ี

ถาหากนัดผูปวยกอน มาถายเอกซเรยไดลวงหนา 1 วัน ควรแนะนําผูปวยดังนี้ - ใหผูปวยรับประทานอาหารออนๆ ที่มีกากนอย ในมื้อเย็นกอนวันถายเอกซเรย - กอนนอนรับประทานยาระบายอยางออนๆ เชน น้ํามันละหุงประมาณ 2 ชอนโตะ - ตอนเชาควรถายอุจจาระ หรือสวนอุจจาระใหสะอาดกอนถายเอกซเรยไมเกิน 2 ช่ัวโมง

เพื่อขจัดเงาของอุจจาระใหหมดทําใหสามารถวินิจฉัยโรคไดงายขึ้น กรณีที่ผูปวยมาดวยอาการปวดทองอยางเฉียบพลัน เชน มีการอุดตันของระบบทางเดิน

อาหาร(Intestinal obstruction) หรือทางเดินอาหารแตกทะลุ (perforation)ไมตองเตรียมผูปวยลวงหนา

Page 3: เทคนิคการจ ัดท าถ ายภาพเอกซเรย ของอว ัยวะภายในช องท องe-office.ahs.nu.ac.th/mis/download/course/lec_653333_abdomen.pdf ·

และกอนถายเอกซเรยตองตรวจดูวา เสื้อผาผูปวยมีวัตถุที่เปนโลหะหรือพลาสติก หรือไม เชนกระดุม ซิป เข็มขัด และเหรียญสตางค เปนตน ถามีตองถอดออกใหหมด แลวเปลี่ยนเปนชุดของทางโรคพยาบาลที่จัดไวใหในหองแตงตัว แตถาหากเปนผูปวยอาการหนัก ไมสามารถลุกเดินไดสะดวก ก็ตองปลดหรือถอดวัตถุทึบรังสี ออกใหพนสวนที่จะถาย แลวใชผาคลุมไวใหเรียบรอย

การถายภาพเอกซเรยชองทองท้ังหมด (Abdomen)

เปนการถายภาพทางรังสีทั่วทั้งชองทอง โดยไมใชสารทึบรังสี เพื่อดูสภาวะทั่วๆไป ดังนี้ - ความผิดปกติจากการรวมตัวของกาซ ในระบบทางเดินอาหาร - กอนนิ่วในทางเดินปสสาวะ ถุงน้ําดี ตับออน - กาซที่ร่ัวเขาไปในชองทอง (peritoneal cavity) - น้ําในชองทอง( Ascitis) รวมถึงเลือดออกในชองทอง - กอนในชองทอง ฝในชองทอง ฝใตกระบังลม - ส่ิงแปลกปลอมตางๆ ในระบบทางเดินอาหาร หรือ ชองทอง - ขนาด, รูปราง, ตําแหนง และพยาธิสภาพของตับ, มาม,ไต, ตอมหมวกไต ,ตับออน และ

มดลูก ดังนั้น กอนการตรวจพิเศษใด ๆ เกี่ยวของ ทองจะตองถายภาพเอกซเรย ธรรมดา (Plain

film Abdomen) ในทานอน และ/หรือ ทายืนกอนเสมอ เพื่อใชเปนภาพเปรียบเทียบ กับภาพที่ถายหลัง ฉีดสารทึบรังสี หรือตรวจพิเศษอยางอื่นๆ

ทาที่ใชในการถายมีหลายทา ดังนี้

- Anteroposterior Supine - Anteroposterior Upright - Posteroanterior Prone - Lateral Supine - Lateral Upright - Right or left Lateral Decubitus - Dorsal Decubitus (Cross-table Lateral) - Wangensteen Rice View

Page 4: เทคนิคการจ ัดท าถ ายภาพเอกซเรย ของอว ัยวะภายในช องท องe-office.ahs.nu.ac.th/mis/download/course/lec_653333_abdomen.pdf ·

ทาที่ถายเปนประจํามี 2 ทา คือ Anteroposteror supine และ upright ในบางครั้งรังสีแพทยจะขอใหถาย Acute abdomen series จะหมายถึงถึง การถายเอกซเรย 3 ทา ดังนี้

- Abdomen AP Supine - Abdomen AP Upright - Chest Upright Acute abdomen หมายถึง ภาวะที่มีการอุดตันของระบบทางเดินอาหาร หรือมีการแตกทะลุ

ของทอทางเดินอาหาร หากมีการอุดตันของทอทางเดินอาหาร จะวินิจฉัยการพองตัวของลําไส โดยถายเอกซเรย

Abdomen supine และยังสามารถบอกมีการพองตัวมากนอยเพียงใด มีลม และน้ําขังในลําไส หรือไม

หากมีการแตกทะลุของทอทางเดินอาหาร จะถายเอกซเรยทา Abdomen Upright เพื่อชวยในการวินิจฉัยวามีลมออกจากทอทางเดินอาหารไปอยูใตแผนกระบังลม หรือไม

สวนการถายเอกซเรยปอด เพื่อชวยใหเห็นลมใตกระบังลมไดชัดเจนยิ่งขึ้น หรืออาจมีพยาธิสภาพของปอดที่เกิดรวมกับพยาธิสภาพในชองทอง

ในกรณีของผูปวยที่ไสติ่งแตก(Ruptured appendititis) จะมีลมจากลําไสร่ัวเขาไปในชองทอง(peritoneal cavity)นอยมาก จึงควรใหผูปวยลุกนั่งนานๆ รอใหลมลอยขึ้นเสียกอนคอยถายเอกซเรยในทายืน

การหาตําแหนง ของสิ่งแปลกปลอมนอกทางเดินอาหาร จะตองถายเอกซเรย 2 ทา เสมอ คือ - Anteroposterior supine - Lateral supine

Page 5: เทคนิคการจ ัดท าถ ายภาพเอกซเรย ของอว ัยวะภายในช องท องe-office.ahs.nu.ac.th/mis/download/course/lec_653333_abdomen.pdf ·

Anteroposterior projection supine

ขนาดฟลมท่ีใช

14 x 17 นิ้ว วางตามยาวในถาด Bucky

การจัดทาผูปวย

ใหผูปวยนอนหงายบนเตียงเอกซเรย จัด Midsagital line ของรางกาย ใหอยูในแนวเดยีวกับเสนกึ่งกลางเตยีง แขนทั้งสองขางวางไวขางลําตัว

จัดขอบบนคาสเซท ใหคลุมตั้งแตกระบงัลมจนไป กึ่งกลางคาสเซท อยูระดับ Iliac crest และใหขอบลางของคาสเซท คลุม symphysis pubis

กรณีท่ีผูปวยมีลําตัวยาว ทําใหขอบลางของฟลม คลุมไมถึง pelvic area ก็ใหใชฟลม ขนาด 11 x 14 นิ้ว อีก 1 แผน วางตามขวางใน bucky จดัใหขอบลางของคาสเซทคลุม ตั้งแต symphysis pubis ขึ้นไป แลวถายอีกรูป

เทคนิคในการถาย

ใหผูปวยหายใจออกใหหมด แลวกล้ันใจนิง่ จึงคอยกดปุมปลอยเอกซเรย เพื่อใหหนาทองแบนราบ และกระบังลมยกตัวสูงขึ้น

จุดก่ึงกลางของรังส(ี center ray)

จุดกึ่งกลางฟลม

Page 6: เทคนิคการจ ัดท าถ ายภาพเอกซเรย ของอว ัยวะภายในช องท องe-office.ahs.nu.ac.th/mis/download/course/lec_653333_abdomen.pdf ·

ภาพที่ไดแสดงถึง จะปรากฏเงาของอวัยวะตางๆ ในสภาวะปกติจะปรากฏ ดังนี ้

- เงาสีดําของแผนไขมันที่จับอยูที่ผนังชองทองดานนอก (parietal peritoneum) เรียกวา pre หรือ properitoneal fat lines

- เงาสีขาวของกลามเนื้อโซแอส(Psoas) อยูสองขางของ กระดูกสันหลังสวนเอว เปนรูปสามเหลี่ยม จะปรากฏชัดเมื่อ เมื่อไขมันมาปกคลุม

- เงาสีขาวของไต(Kidney) อยูสองขางระหวางกระดกูสันหลัง สวนอกที ่12 (T12) และกระดกูสันหลัง สวนเอวที่ 1 (L1) บางครั้งปรากฏชัดทั้งสองขาง บางครั้งก็เห็นเพียงขางเดียว หรืออาจไมเห็นทั้งสองขาง เพราะถูกกาซในลําไสบงั

- เงาสีขาวของตับ เปนรูปสามเหลี่ยมอยูตอนบนดานขวาของชองทอง และเงาสีขาวของมามเปนรูปสามเหลี่ยม ขนาดเล็กกวา อยูตอนบนดานซายของชองทอง โดยปกติเงาทั้งสองจะเห็นไมชัด นอกจากจะเปนโรคตับหรือมามโต

- เงาสีดําของกาซในชองทางเดินอาหาร ไดแก ในฟนดัส(Fundus) ของกระเพาะอาหาร ปรากฏอยูตอนบนของชองทองใตกระบังลมซาย และลําไสใหญ ปรากฏอยูตามตําแหนงของลําไสใหญไดทุกสวน สวนลําไสเล็กปกติจะไมมีกาซอยูภายใน เพราะมีการบีบตวั และเคลื่อนไหวอยูเสมอ

- กระดกูชายโครงทรวงอกดานลางซายและขวา

- กระดกูสันหลังสวนอก และสันเอว กับกระดูกเชิงกราน

Page 7: เทคนิคการจ ัดท าถ ายภาพเอกซเรย ของอว ัยวะภายในช องท องe-office.ahs.nu.ac.th/mis/download/course/lec_653333_abdomen.pdf ·

เทคนิคในการถายภาพ

ความหนาเฉลีย่ของสวนท่ีถาย

Bucky ระยะจุดโฟกัสถึงฟลม

ความไวของฟลมและสกีน

mAs

kVp

20 cm 8:1 36 นิ้ว 200 60 75

รูป AP supine

Page 8: เทคนิคการจ ัดท าถ ายภาพเอกซเรย ของอว ัยวะภายในช องท องe-office.ahs.nu.ac.th/mis/download/course/lec_653333_abdomen.pdf ·

Anteroposterior projection upright

ขนาดฟลมท่ีใช

14 x 17 นิ้ว วางตามยาวในถาด Bucky

การจัดทาผูปวย ปรับเตียงเอกซเรยใหอยูในแนวตั้ง ใหผูปวยยืนตรง หลัง และสนเทาชิดเตียง แขนทั้งสอง

ขางวางไวขางลําตัว หรือเกาะขอบเตียงทั้งสองขาง ไว จัด Midsagital line ของรางกาย ใหอยูในแนวเดียวกับเสนกึ่งกลางเตียง ขอบบนของคาส

เซท คลุมกระบังลม และสวนลางของปอดเล็กนอย ถามี Bucky ก็จัดในลักษณะเดียวกัน

รูป AP upright

จุดก่ึงกลางของรังส(ี center ray)

จุดกึ่งกลางฟลม

Page 9: เทคนิคการจ ัดท าถ ายภาพเอกซเรย ของอว ัยวะภายในช องท องe-office.ahs.nu.ac.th/mis/download/course/lec_653333_abdomen.pdf ·

ภาพที่ไดแสดงถึง ระดับของลมและน้ํา (Air-fluid level) ที่อยูในทางเดินอาหาร หรือชองทองแยกจากกัน เพราะลมขึ้นตอนบน สวนที่เปนของเหลว หรือน้ํา ตกลงมา อยูดานลาง ถาเปนลมอยูนอกทางเดินอาหาร (Free air or spontaneous pneumoperitonium) ก็ลอยข้ึนไปอยูใตแผนกระบังลม สวนกอนเนื้อ หรือหินปูน ที่เคลื่อนไดก็เปลี่ยนไปอยูในระดับที่ต่ํากวาเมื่อเทียบ กับทานอน ดังนั้น ทานี้ มีประโยชนมากในการวินิจฉัยผูปวย ที่สงสัยวามี การอุดตันในทอ ทางเดินอาหาร (Gut obstruction) หรือทอทางเดินอาหาร แตกทะลุ (Gut perforation) หมายเหตุ ในทายืน ถาหนาทองยื่นออก ควรเพิ่มคาเอกโพเชอรอีกเล็กนอย

เทคนิคในการถายภาพ

ความหนาเฉลีย่ของสวนท่ีถาย

Bucky ระยะจุดโฟกัสถึงฟลม

ความไวของฟลมและสกีน

mAs

kVp

20 cm 8:1 36 นิ้ว 200 60 75

Page 10: เทคนิคการจ ัดท าถ ายภาพเอกซเรย ของอว ัยวะภายในช องท องe-office.ahs.nu.ac.th/mis/download/course/lec_653333_abdomen.pdf ·

Posteroanterior projection prone

ขนาดฟลมท่ีใช

14 x 17 นิ้ว วางตามยาวในถาด Bucky

การจัดทาผูปวย ใหผูปวยนอนคว่ําบนเตียงเอกซเรย จัดเสนมิดซาจิทตอล ใหอยูในแนวเดียวกับเสนกลาง

เตียง งอขอศอกเล็กนอย วางแขนในทาที่สบายตะแคงศีรษะไปดานใดดานหนึ่ง เอาถุงทรายหนุนใตขอเทา 2 ขางเล็กนอย จัดฟลมใหคลุม ตั้งแตกระบังลมลงมา

จุดก่ึงกลางของรังส(ี center ray)

จุดกึ่งกลางฟลม ภาพที่ไดแสดงถึง ลมที่อยูในทางเดินอาหารถูกเบียดจาก สวนกลางๆ ของชองทองไปทางดานขาง ทานี้ทองจะอยูชิดฟลมมากขึ้น และแบนราบมากขึ้นเพราะถูกกดทับ ทําใหเห็นเงาตับชัดขึ้นดวย

เทคนิคในการถายภาพ

ความหนาเฉลีย่ของสวนท่ีถาย

Bucky ระยะจุดโฟกัสถึงฟลม

ความไวของฟลมและสกีน

mAs

kVp

20 cm 8:1 36 นิ้ว 200 60 75

Page 11: เทคนิคการจ ัดท าถ ายภาพเอกซเรย ของอว ัยวะภายในช องท องe-office.ahs.nu.ac.th/mis/download/course/lec_653333_abdomen.pdf ·

Lateral projection supine

ขนาดฟลมท่ีใช

14 x 17 นิ้ว วางตามยาวในถาด Bucky

การจัดทาผูปวย ใหผูปวยนอนตะแคงบนเตียงเอกซเรย เอาดานขวาหรือซาย ลงตามตองการ จัดใหลําตัวอยู

กึ่งกลางเตียง เขาทั้งสองขางงอยื่นไปขางหนาเล็กนอย เพื่อใหทรงตัวอยูได แขนทั้งสองขางยกขึ้นไปบนศีรษะ ขอบบนของฟลมใหคลุมกระบุงลม

รูป Lateral projection supine

จุดก่ึงกลางของรังส(ี center ray)

จุดกึ่งกลางฟลม

Page 12: เทคนิคการจ ัดท าถ ายภาพเอกซเรย ของอว ัยวะภายในช องท องe-office.ahs.nu.ac.th/mis/download/course/lec_653333_abdomen.pdf ·

ภาพที่ไดแสดงถึง - ชวยบอกวา กอนเนื้อหรือส่ิงแปลกปลอม ที่พบในฟลม AP supine อยูคอยไปทางดาน

หนาหรือดานหลัง เพื่อชวยสันนิษฐาน ตอไปไดวาควรจะเปนสวนใดของลําไส - ชวยบอกวา กาซที่พบในทางเดินอาหารจากฟลม AP Supine อยูทางดานหนาหรือดานหลัง

เพื่อชวยสันนิษฐานตอไปไดวา ควรจะเปนสวนใดของลําไส เชน ถาพบกาซ ทางดานหลังก็อาจจะเปนกาซที่อยูในลําไสใหญสวนปลายหรือ Rectum ซ่ึงเปนสวนที่ติดกับกระดูกสันหลังสวนเอว หรือกระดูกกนกบ

- ชวยแยกกอนนิ่วที่พบในฟลม AP supine วาเปนนิ่วในไต หรือนิ่วของถุงน้ําดี คือถาเปนนิ่วของถุงน้ําดี จะอยูหนาตอกระดูกสันหลัง แตถาเปนนิ่วในไตจะอยูดานหลัง และซอนกับกระดูกสันหลัง

เทคนิคในการถายภาพ

ความหนาเฉลีย่ของสวนท่ีถาย

Bucky ระยะจุดโฟกัสถึงฟลม

ความไวของฟลมและสกีน

mAs

kVp

30 cm 8:1 36 นิ้ว 200 100 100

Page 13: เทคนิคการจ ัดท าถ ายภาพเอกซเรย ของอว ัยวะภายในช องท องe-office.ahs.nu.ac.th/mis/download/course/lec_653333_abdomen.pdf ·

Lateral projection upright

ขนาดฟลมท่ีใช

14 x 17 นิ้ว วางตามยาวในถาด Bucky

การจัดทาผูปวย ปรับเตียงเอกซเรย ใหอยูในแนวตั้ง หรือใช stand bucky ก็ได ใหผูปวยยืนหันดานขางของ

ลําตัวชิดกึ่งกลางเตียง แขนทั้งสองขางยกขึ้นพักไวบนศีรษะงอขอศอกยื่นไปขางหนาแนบติดกับศีรษะ เพื่อใหลําตัวชิดเตียงมากที่สุด ขอบบนของฟลมใหคลุม กระบังลมและสวนลางของปอดเล็กนอย

จุดก่ึงกลางของรังส(ี center ray)

จุดกึ่งกลางฟลม ภาพที่ไดแสดงถึง

- ชวยบอกวา ลมที่ลอยข้ึนอยูดานหนา หรือดานหลังของชองทอง - ชวยบอกใหทราบวา กอนเนื้อ กอนนิ่ว หรือส่ิงแปลกปลอมที่พบในทา AP supine หรือ

AP upright อยูดานหนา หรือดานหลังของชองทอง และมีการเปลี่ยนแปลงที่ลงมาถึงระดับใดบาง

เทคนิคในการถายภาพ

ความหนาเฉลีย่ของสวนท่ีถาย

Bucky ระยะจุดโฟกัสถึงฟลม

ความไวของฟลมและสกีน

mAs

kVp

30 cm 8:1 36 นิ้ว 200 100 80

Page 14: เทคนิคการจ ัดท าถ ายภาพเอกซเรย ของอว ัยวะภายในช องท องe-office.ahs.nu.ac.th/mis/download/course/lec_653333_abdomen.pdf ·

Right or Left Lateral Decubitus ถาผูปวยมีอาการหนักมาก ไมสามารถยืนไดใหใชทานีแ้ทน ทา AP Upright

ขนาดฟลมท่ีใช

14 x 17 นิ้ว รวมกับแผนกรดิ

การจัดทาผูปวย ใหผูปวยนอนตะแคงซาย หรือขวาก็ได โดยหนุนบนหมอนหรือฟองน้ํา ที่วางตามยาวบน

เตียงเอกซเรย วางฟลม พรอมดวยกริด ในแนวตั้งตามยาวของลําตัว ชิดกับบริเวณหนาทอง หรือดานหลังของผูปวย ถาวางฟลมชิดหนาทองจะจัดงายกวา แขนขางที่ชิดเตียง ยกขึ้นหนุน ศีรษะไว แขนอีกขางหนึ่งโอบแผนคาสเซท ไมใหลม ใหขอบบนของฟลม อยูเหนือระดับกระบังลม จัดหลอดเอกซเรยใหแนวของลําแสงขนานกับเตียง และตั้งฉากกับฟลม

รูป Right or Left Lateral Decubitus

จุดก่ึงกลางของรังส(ี center ray)

จุดกึ่งกลางฟลม

Page 15: เทคนิคการจ ัดท าถ ายภาพเอกซเรย ของอว ัยวะภายในช องท องe-office.ahs.nu.ac.th/mis/download/course/lec_653333_abdomen.pdf ·

ภาพที่ไดแสดงถึง ระดับของลมและน้ําในทางเดินอาหารหรือ ลมที่อยูนอกทางเดินอาหาร ซ่ึงจะปรากฏ ใหเห็นทางดานขางของชองทอง โดยมากนิยม ถาย Left lateral decubitus เพราะลมลอยขึ้นขางขวาของลําตัว เห็นเปนสีดําตัดกับเงาของตับไดชัดเจนดี แตถาจัด right lateral decubitus ลมที่ลอยข้ึน จะไปซอนทับกับลม ในกระเพาะอาหาร สวน Fundus ซ่ึงอยูขางซายเหมือนกัน หมายเหตุ กอนถายเอกซเรยควรใหผูปวยนอนนิ่งๆ อยูในทานี้ประมาณ 5 นาที เพื่อทิ้งชวงเวลาใหกาซลอยข้ึน

เทคนิคในการถายภาพ

ความหนาเฉลีย่ของสวนท่ีถาย

Grid ระยะจุดโฟกัสถึงฟลม

ความไวของฟลมและสกีน

mAs

kVp

20 cm 8:1 40 นิ้ว 200 60 75

Page 16: เทคนิคการจ ัดท าถ ายภาพเอกซเรย ของอว ัยวะภายในช องท องe-office.ahs.nu.ac.th/mis/download/course/lec_653333_abdomen.pdf ·

Dorsal decubitus( Crosstable lateral) ใชแทนทา lateral upright ในกรณีที่ผูปวยยืนไมได

ขนาดฟลมท่ีใช

14 x 17 นิ้ว รวมกับแผนกรดิ

การจัดทาผูปวย ใหผูปวยนอนหงาย โดยหนุนบน หรือฟองน้ําที่วางตามยาวบนเตียงเอกซเรย วางฟลม

พรอมดวยกริด ในแนวตั้งตามยาวของลําตัว ชิดดานขวา หรือดานซายตามตองการ แขนทั้งสอง ยกขึ้นไวเหนือศีรษะ ขอบบนขอฟลมจัดใหคลุมกระบังลม

รูป Dorsal decubitus( Crosstable lateral)

จุดก่ึงกลางของรังส(ี center ray)

จุดกึ่งกลางฟลม

Page 17: เทคนิคการจ ัดท าถ ายภาพเอกซเรย ของอว ัยวะภายในช องท องe-office.ahs.nu.ac.th/mis/download/course/lec_653333_abdomen.pdf ·

ภาพที่ไดแสดงถึง ระดับของลมและน้ําในทางเดินอาหารหรือ ลมที่อยูนอกทางเดินอาหาร ลอยข้ึนดานหนาของชองทอง แตการวินิจฉัย แยกสวนของลําไส เปนไปไดยากไมคอยนิยมทํากัน

เทคนิคในการถายภาพ

ความหนาเฉลีย่ของสวนท่ีถาย

Grid ระยะจุดโฟกัสถึงฟลม

ความไวของฟลมและสกีน

mAs

kVp

30 cm 8:1 40 นิ้ว 200 100 80

Page 18: เทคนิคการจ ัดท าถ ายภาพเอกซเรย ของอว ัยวะภายในช องท องe-office.ahs.nu.ac.th/mis/download/course/lec_653333_abdomen.pdf ·

Wangensteen –Rice view เปนทาพิเศษ สําหรับถายเดก็แรกเกิด ที่ชองทางเดินของทวารหนกัอดุตัน (Imperforate anus) เพื่อบอกความยาวของลําไสใหญสวนที่ตีบ (Atresia) เด็กที่ถายเอกซเรยแบบนี้ได ควรมีอายุมากกวา 12-24 ช่ัวโมง

ขนาดฟลมท่ีใช

8 x 10 นิ้ว วางตามยาว

การจัดทาผูปวย เอาแผนคาสเซทวางตั้งในคาสเซทสแตน ติดเครื่องหมายตะกั่ว อันกลมๆ เล็กๆ ไวที่รูทวาร

หนักของเด็ก หรือ ใชเทอรโมมิเตอร แบบปรอท สําหรับสอดทวาร ของเด็ก (Anal thermeter) สอดไวก็ได จับเด็กหอยหัวลงประมาณ 5-10 นาทีกอน หลังจากนั้นถาย Abdomen ของเด็ก ในทาหอยหัวลงทั้ง AP และ Lateral upright projection โดยใหผูชวยใสเสื้อ ตะกั่ว จับเด็กใหอยูในทาดังกลาว ฟลมจะตองคลุมบริเวณที่ต่ํากวา Symphysis pubis มากหนอย เพื่อใหเห็นเครื่องหมายตะกั่วที่ติดไว

จุดก่ึงกลางของรังส(ี center ray)

จุดกึ่งกลางฟลม ภาพที่ไดแสดงถึง กาซในลําไสใหญ ลอยขึ้นไปอยูสวนสูงสุด ซ่ึงในทาหอยหัวลงก็คือ สวนปลายสุดของสําไสใหญ ระยะระหวางเครื่องหมายตะกั่วที่รูทวาร กับกาซที่อยูปลายสุดของลําไสใหญ ก็คือความยาวของลําไสใหญสวนที่ตีบตัน

Page 19: เทคนิคการจ ัดท าถ ายภาพเอกซเรย ของอว ัยวะภายในช องท องe-office.ahs.nu.ac.th/mis/download/course/lec_653333_abdomen.pdf ·

รูป Wangensteen –Rice view

ขอผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้น คือ -จับเด็กหอยหัวไมนานพอ, เด็กอายุนอยเกินไป -มีการรวมตัว หรือการสะสมของขี้เทา (Meconium) ลําไสใหญตอนปลาย(Rectum) ทําใหกาซลงไปไมได -มีสวนอื่นของลําไสที่อยูในภาวะตีบตัน เชนกัน

เทคนิคในการถายภาพ

ความหนาเฉลีย่ของสวนท่ีถาย

Grid ระยะจุดโฟกัสถึงฟลม

ความไวของฟลมและสกีน

mAs

kVp

10 cm 8:1 40 นิ้ว 200 15 55

Page 20: เทคนิคการจ ัดท าถ ายภาพเอกซเรย ของอว ัยวะภายในช องท องe-office.ahs.nu.ac.th/mis/download/course/lec_653333_abdomen.pdf ·

การถายเอกซเรยระบบทางเดินปสสวะ (KUB) เปนการถายเอกซเรยของระบบทางเดินปสสาวะ ซ่ึงประกอบดวยไต (Kidney) ทอทางเดิน

ปสสาวะ (Ureter) และกระเพาะปสสาวะ (Bladder) โดยไมใชสารทึบรังสี ชวยเพื่อดคูวามผิดปกติซ่ึงอาจเกิดสาเหตุตางๆ ดังนี ้

- ผิดปกติมาตั้งแตกําเนิด (Congenital anormally) - ติดเชื้อ (Infection) - เกิดเนื้องอก (Tumour) - หลอดเลือดทีม่าเลี้ยงผิดปกติ (Vascular lesion) - เกิดถุงน้ําแปลกปลอมขึ้นเอง (Cystic disease) - มีกอนนิว่มาอดุตัน (Calculi) - ประสบอุบัติเหตุบริเวณนี้ (Trauma) - ไดรับเชื้อซ่ึงลามมาจากอวยัวะ อ่ืน ทางกระแสโลหิต หรือทอน้ําเหลือง

จุดประสงคในการถาย เพื่อตรวจสอบสภาพโดยทัว่ไปของความผิดปกติในระบบทางเดินปสสาวะที่อาจเกิดจากสาเหตุตางๆ ดงักลาวแลว และหากจะมกีารตรวจพิเศษอื่นใด เพิ่มเติม เชน ฉีดสารทึบรังสีแลวถายภาพ, ถายเอกซเรยคอมพวิเตอรโทโมกราฟฟ(CT) หรือ อัลตราซาวด (Ultrasound) ก็จะไดเปนฟลมเปรียบเทยีบผลการวินิจฉัยเปนลําดับขัน้ไดตอไป ทาที่ใชในการถายมีหลายทา ดังนี ้

- Anteroposterior supine - Anteroposteror upright - Lateral

ทาที่ใชถายเปนประจํามีทาเดียว คือ Anteroposterior supine

Page 21: เทคนิคการจ ัดท าถ ายภาพเอกซเรย ของอว ัยวะภายในช องท องe-office.ahs.nu.ac.th/mis/download/course/lec_653333_abdomen.pdf ·

Anteroposterior projection supine

ขนาดฟลมท่ีใช

14 x 17 นิ้ว วางตามยาวใน Bucky

การจัดทาผูปวย ใหผูปวยนอนหงายบนเตียงเอกซเรย จัดให Midsagital line อยูในแนวเดียวกับเสนกลาง

เตียง แขนทั้ง สองขางวางขางลําตัว จัดขอบบนของฟลมใหคลุมไตทั้ง สอง ขาง และที่สําคัญขอบลางของฟลม ตองไมขาด Symphysis pubis

รูป Anteroposterior projection supine

จุดก่ึงกลางของรังส(ี center ray)

จุดกึ่งกลางฟลม (Iliac crest : Umbilicus) เทคนิคในการถาย ใหคนไขหายใจออกใหหมด แลวกล้ันใจนิ่ง จึงคอยกดปุมปลอยรังสี ถาตองการดูการเคลื่อนที่ของไต ตองถายขณะใหผูปวยหายใจ เขาเต็มที่ แลวกล่ันใจนิ่ง 1 รูป และหายใจออกเต็มที่กล้ันใจนิ่งอีก 1 รูป เพื่อเปรียบเทียบตําแหนงของไตของภาพทั้งสอง ในสภาวะปกติ เวลาหายใจเขา-ออก ไตจะเคลื่อนที่ไดเพียง 2-3 เซนติเมตร โดยที่ไตขางขวาจะต่ํากวาไตขางซายเล็กนอย

Page 22: เทคนิคการจ ัดท าถ ายภาพเอกซเรย ของอว ัยวะภายในช องท องe-office.ahs.nu.ac.th/mis/download/course/lec_653333_abdomen.pdf ·

ภาพที่ไดแสดงถึง เงาตาง ๆ ของอวัยวะ ภายในชองทอง เหมือนกับภาพเอกซเรย Abdomen

เทคนิคในการถายภาพ

ความหนาเฉลีย่ของสวนท่ีถาย

Bucky ระยะจุดโฟกัสถึงฟลม

ความไวของฟลมและสกีน

mAs

kVp

20 cm 8:1 36 นิ้ว 200 60 75

Page 23: เทคนิคการจ ัดท าถ ายภาพเอกซเรย ของอว ัยวะภายในช องท องe-office.ahs.nu.ac.th/mis/download/course/lec_653333_abdomen.pdf ·

Anteroposterior projection upright

ขนาดฟลมท่ีใช

14 x 17 นิ้ว วางตามยาวใน Bucky

การจัดทาผูปวย ปรับเตียงเอกซเรยใหอยูในแนวตั้ง หรือใช Bucky stand จัดใหผูปวยยืนใหดานหลัง และ

สนเทา ชิดเตียง แขนทั้งสองขาง วางไวขางลําตัว จัด Midsagital line ใหอยูในแนวเดียวกับ เสนกึ่งกลาง bucky ขอบบนของฟลมใหคลุมไตทั้งสองขาง ขอบลางอยาใหขาด Symphysis pubis

จุดก่ึงกลางของรังส(ี center ray)

จุดกึ่งกลางฟลม ภาพที่ไดแสดงถึง ตําแหนงของไต เปรียบเทียบไดกับทานอน เชน ในรายที่เปน Floating kidney เมื่อถายในทายืน ไตจะต่ํากวาทานอนมาก (ประมาณ 1 คืบ) ซ่ึง โดยปกติแลวเวลายืนและนอน ระดับของไตจะตางกันเพียง 2-3 เซนติเมตร เทานั้น หรืออยางมากก็ไมเกิน 5 เซนติเมตร นอกจากนี้ยังอาจเห็นการเคลื่อนที่ของกอนนิ่วไดอีกดวย

เทคนิคในการถายภาพ

ความหนาเฉลีย่ของสวนท่ีถาย

Bucky ระยะจุดโฟกัสถึงฟลม

ความไวของฟลมและสกีน

mAs

kVp

20 cm 8:1 36 นิ้ว 200 80 75

Page 24: เทคนิคการจ ัดท าถ ายภาพเอกซเรย ของอว ัยวะภายในช องท องe-office.ahs.nu.ac.th/mis/download/course/lec_653333_abdomen.pdf ·

Lateral projection

ขนาดฟลมท่ีใช

14 x 17 นิ้ว วางตามยาวใน Bucky

การจัดทาผูปวย ใหผูปวยนอนบนเตียงเอกซเรย ตะแคงตัวขางขวาลง เพื่อใหเงาของไตขวา และถุงน้ําดีชัด

เพราะอยูชิดฟลม จัดใหลําตัวอยูกึ่งกลางเตียง แขนทั้งสอง ยกขึ้นแนบศีรษะไวงอเขาซอนกันยื่นไปขางหนา จะไดทรงตัวได ขอบบนของฟลมใหคลุมไต ทั้งสองขาง ขอบลางใหคลุม Symphysis pusis

จุดก่ึงกลางของรังส(ี center ray)

จุดกึ่งกลางฟลม ภาพที่ไดแสดงถึง ชวยใหแยกไดวา กอนนิ่วที่พบในฟลม AP เปนนิ่วของไตขางขวา หรือนิ่วของถุงน้ําดี เพราะอวัยวะทั้งสอง อยูที่ ตําแหนงใกลเคียงกันมาก ถาเปนนิ่วของถุงน้ําดีจะอยูหนาตอกระดูกสันหลัง สวนนิ่วของไต จะอยูดานหลังและซอนกับกระดูกสันหลัง

เทคนิคในการถายภาพ

ความหนาเฉลีย่ของสวนท่ีถาย

Bucky ระยะจุดโฟกัสถึงฟลม

ความไวของฟลมและสกีน

mAs

kVp

30 cm 8:1 36 นิ้ว 200 100 80

Page 25: เทคนิคการจ ัดท าถ ายภาพเอกซเรย ของอว ัยวะภายในช องท องe-office.ahs.nu.ac.th/mis/download/course/lec_653333_abdomen.pdf ·

การถายเอกซเรยถุงน้ําดี (GB) เปนการถายภาพเอกซเรยธรรมดาบริเวณถุงน้ําดี เพื่อดูนิ่วในถุงน้ําดี ซ่ึงโดยปกติจะเห็นได

ตอ เมื่อกอนนิ่วเปนชนิดที่ทึบตอรังสี แพทยมักจะเขียนในใบขอถายภาพวา Plain GB นิ่วของถุงน้ําดีสวนใหญ ไมทึบตอรังสี (Radiolucent) รูปรางเปนเหลี่ยมมากกวา กลมๆ

ซ่ึงจะเปลี่ยนตําแหนงไปไดเมื่ออยูในทานอนหรือยืน ตําแหนงของถุงน้ําดีจะอยูที่ซีกบนดานขวา (right upper border) ของ Abdomen ใต

right lobe ของตับ แตก็แปรเปลี่ยนไปไดเล็กนอยตามขนาด และรูปรางของผูปวย กลาว คือ คนที่มีรูปรางอวนถุงน้ําดีจะอยูสูง และหางจากเสนกึ่งกลางของลําตัว สวนคนที่มีรูปรางผอมถุงน้ําดีจะหอยต่ํากวา และอยูชิดกับกระดูกสันหลังมากกวา ดังนั้น การพิจารณารูปรางคนไข จึงมีสวนชวยในการจัดทาถูกตองสวยงาม

รูป ตําแหนงของ Gallbladder ตามลักษณะของรูปราง

Page 26: เทคนิคการจ ัดท าถ ายภาพเอกซเรย ของอว ัยวะภายในช องท องe-office.ahs.nu.ac.th/mis/download/course/lec_653333_abdomen.pdf ·

ทาที่ใชในการถายมีหลายทา ดังนี ้- Posteroanterior projection - Anteroposterior projection - Left posteroanterior oblique projection (LAO : Left anterior oblique) - Right anteroposterior oblique projection (RPO : Right Posterior oblique) - Right lateral projection - Right Lateral decubitus - Left posteroanterior oblique projection upright (LAO upright) ทาที่ใชถายเปนประจํา คือ Posteroanterior projection

Posteroanterior projection

ขนาดฟลมท่ีใช

10 x 12 นิ้ว หรือ 11 x 14 นิ้ว วางตามยาวใน Bucky

การจัดทาผูปวย ใหผูปวยนอนคว่ํา เอาหมอนหนุนศีรษะไว จัดซีกขวาของลําตัวใหอยู กึ่งกลางเตียง หันหนา

ไปดานใดดานหนึ่ง วางแขนไวขางลําตัวหรือ เหนือศีรษะ เอาถุงทรายรองรับขอเทาไวเพื่อความสบาย จัดขอบบนฟลมใหคลุมตั้งแต T11 ลงมา และขอบลางของฟลมใหคลุมแอนทีเรียซุปพีเรียอิลิแอคสปาย

รูป Posteroanterior projection

Page 27: เทคนิคการจ ัดท าถ ายภาพเอกซเรย ของอว ัยวะภายในช องท องe-office.ahs.nu.ac.th/mis/download/course/lec_653333_abdomen.pdf ·

จุดก่ึงกลางของรังส(ี center ray)

ตําแหนงกึ่งกลางถุงน้ําดีตามรูปรางคนไข ดังนี ้

- ผูปวยรูปรางปานกลาง ที่ระดับ L2-L3 หางจากกระดูกสนัหลังไปทางขวา 3 นิ้ว

- ผูปวยรูปรางอวน ที่ระดับ T2-L1 หางจากกระดกูสันหลังไปทางขวา 5 นิ้ว

- ผูปวยรูปรางผอม ที่ระดับ L4-L5 หางจากกระดูกสันหลังไปทางขวา 2 นิ้ว

ภาพที่ไดแสดงถงึ เงาทึบแสงลางๆ ของถุงน้ําดี แตโดยมากมักมอง ไมเห็นขอบเขตของถุงน้ําดี เวนเสียแตเมื่อนิ่วที่ทึบรังสีอยูภายใน ก็จะเห็นกอนนิ่วชัด เพราะถุงน้ําดี อยูคอนมาทางดานหนาของลําตัว และหอยต่ําลง ซ่ึงจะทําใหกอนนิ่ว ตกลงมารวมเปนกระจุก

รูป GB hyperstenic และ asthenic

เทคนิคในการถายภาพ

ความหนาเฉลีย่ของสวนท่ีถาย

Bucky ระยะจุดโฟกัสถึงฟลม

ความไวของฟลมและสกีน

mAs

kVp

20 cm 8:1 36 นิ้ว 200 60 75

Page 28: เทคนิคการจ ัดท าถ ายภาพเอกซเรย ของอว ัยวะภายในช องท องe-office.ahs.nu.ac.th/mis/download/course/lec_653333_abdomen.pdf ·

Anteroposterior projection

ขนาดฟลมท่ีใช

10 x 12 นิ้ว หรือ 11 x 14 นิ้ว วางตามยาวใน Bucky

การจัดทาผูปวย ใหผูปวยนอนหงาย เอาหมอนหนุนศีรษะไว จัดซีกขวาของลําตัวใหอยู กึ่งกลางเตียง ชันหัว

เขาหรือถุงทรายหนุนใตเขาทั้งสองขางเล็กนอย แขนทั้งสองวางขางลําตัว หรือเหนือศีรษะ จัดฟลมใหคลุมตั้งแต T11 ลงมา และคลุมแอนทีเรีย ซุปพีเรีย อิลิแอคสปาย

จุดก่ึงกลางของรังส(ี center ray)

ระดับ 1 นิ้ว เหนือชายโครงหางจากเสนกึง่กลางตัว ไปทางขวา 3 นิ้ว เพราะเวลานอนหงาย กระบังลม จะรั้งใหตับ และถุงน้ําดี สูงตามไปดวย

ภาพที่ไดแสดงถึง การกระจายของกอนนิ่วทึบรังสีออกจากัน เนื่องจากในทานอนหงายถุงน้ําดีจะแผราบไปทางดานหลัง ขยับสูงขึ้น และอยูหางจากกระดูกสันหลังมากขึ้นเปน การถายเพื่อเปรียบเทียบ กับทา PA ในกรณีที่ยังมีขอสงสัย

เทคนิคในการถายภาพ

ความหนาเฉลีย่ของสวนท่ีถาย

Bucky ระยะจุดโฟกัสถึงฟลม

ความไวของฟลมและสกีน

mAs

kVp

20 cm 8:1 36 นิ้ว 200 60 75

Page 29: เทคนิคการจ ัดท าถ ายภาพเอกซเรย ของอว ัยวะภายในช องท องe-office.ahs.nu.ac.th/mis/download/course/lec_653333_abdomen.pdf ·

Left posterior oblique projection (LAO)

ขนาดฟลมท่ีใช

10 x 12 นิ้ว หรือ 11 x 14 นิ้ว วางตามยาวใน Bucky

การจัดทาผูปวย ใหผูปวยนอนคว่ํากอนแลวจึงตะแคงตัวขางขวาขึ้น จากเตียงประมาณ 3-4นิ้ว แขนซายวาง

แนบขางลําตัว งอขอศอกขางขวาเอามือยันพื้นเตียงไว หันศีรษะไปทางดานขวา ตะแคงสะโพกขางขวาขึ้นเล็กนอยพรอมกับงอเขาขวายื่นไปขางหนาเพื่อประคองตัวใหนิ่ง จัดซีกขวาของลําตัวใหอยูกึ่งกลางเตียง ฟลมคลุมตั้งแต T11 ลงมา จนถึงแอนทีเรีย ซุปพีเรีย อิลิแอคสปาย

รูป Left posterior oblique projection (LAO)

จุดก่ึงกลางของรังส(ี center ray)

ระดับ ชายโครงหางจากเสนกึ่งกลางตัว ไปทางขวา 3 นิ้ว

ภาพที่ไดแสดงถึง เงาถุงน้ําดี แยกออกจากเงาของกระดูกสันหลังมากขึ้น ถาตองการแยกใหแยกมากก็ตะแคงมาก ถาตองการใหแยกนอยก็ตะแคงนอย

Page 30: เทคนิคการจ ัดท าถ ายภาพเอกซเรย ของอว ัยวะภายในช องท องe-office.ahs.nu.ac.th/mis/download/course/lec_653333_abdomen.pdf ·

รูป Left posterior oblique projection (LAO)

เทคนิคในการถายภาพ

ความหนาเฉลีย่ของสวนท่ีถาย

Bucky ระยะจุดโฟกัสถึงฟลม

ความไวของฟลมและสกีน

mAs

kVp

20 cm 8:1 36 นิ้ว 200 80 80

Page 31: เทคนิคการจ ัดท าถ ายภาพเอกซเรย ของอว ัยวะภายในช องท องe-office.ahs.nu.ac.th/mis/download/course/lec_653333_abdomen.pdf ·

Right anteroposterior oblique projection (RPO)

ขนาดฟลมท่ีใช

10 x 12 นิ้ว หรือ 11 x 14 นิ้ว วางตามยาวใน Bucky

การจัดทาผูปวย ใหผูปวยนอนหงาย เอาหมอนหนุนศีรษะไว แลวตะแคงตัวขางซายขึ้นเล็กนอย หาหมอน

หนุนหลังและสะโพกขางที่ตะแคงขึ้น จัดซีกขวาของลําตัวใหอยู กึ่งกลางเตียง แขนทั้งสองยกขึ้นวางไวเหนือศีรษะ จัดฟลมใหคลุมตั้งแต T11 ลงมา และคลุมแอนทีเรีย ซุปพีเรีย อิลิแอคสปาย

ทานี้จะเปนทากลับกันกับทา LAO ใชในกรณีท่ีคนไขนอนคว่ําไมได

จุดก่ึงกลางของรังส(ี center ray)

ระดับ 1 นิ้ว เหนือชายโครงหางจากเสนกึง่กลางตัว ไปทางขวา 3 นิ้ว

ภาพที่ไดแสดงถึง เงาของถุงน้ําดีแยกออกจากเงาของกระดูกสันหลังไดมากขึ้น เชนเดียวกับทา LAO

เทคนิคในการถายภาพ

ความหนาเฉลีย่ของสวนท่ีถาย

Bucky ระยะจุดโฟกัสถึงฟลม

ความไวของฟลมและสกีน

mAs

kVp

25 cm 8:1 36 นิ้ว 200 80 80

Page 32: เทคนิคการจ ัดท าถ ายภาพเอกซเรย ของอว ัยวะภายในช องท องe-office.ahs.nu.ac.th/mis/download/course/lec_653333_abdomen.pdf ·

Right Lateral projection

ขนาดฟลมท่ีใช

10 x 12 นิ้ว หรือ 11 x 14 นิ้ว วางตามยาวใน Bucky

การจัดทาผูปวย ใหผูปวยนอนตะแคงเอาขางขวาชิดเตียง งอเขาทั้ง 2 ขาง ยื่นไปขางหนาเล็กนอย แขนสอง

ขางยกขึ้นแนบศีรษะ ลําตัวอยูในแนวตั้งฉากกับพื้นเตียง Midaxillary line อยูในแนวเดียวกับเสนกึ่งกลางเตียง

รูป Right Lateral projection

จุดก่ึงกลางของรังส(ี center ray)

Midaxillary ระดับชายโครง

ภาพที่ไดแสดงถึง จะชวยแยกกอนนิ่วที่พบในฟลม PA หรือ LAO วาเปนนิ่วของไตขางขวาหรือนิ่วของถุงน้ําดี ถาเปนนิ่วของถุงน้ําดีจะเห็นอยูหนาตอกระดูกสันหลัง ถาเปนนิ่วในไตขวาจะเห็นอยูหลังตอกระดูกสันหลัง

Page 33: เทคนิคการจ ัดท าถ ายภาพเอกซเรย ของอว ัยวะภายในช องท องe-office.ahs.nu.ac.th/mis/download/course/lec_653333_abdomen.pdf ·

รูป Right Lateral projection

เทคนิคในการถายภาพ

ความหนาเฉลีย่ของสวนท่ีถาย

Bucky ระยะจุดโฟกัสถึงฟลม

ความไวของฟลมและสกีน

mAs

kVp

30 cm 8:1 36 นิ้ว 200 100 80

Page 34: เทคนิคการจ ัดท าถ ายภาพเอกซเรย ของอว ัยวะภายในช องท องe-office.ahs.nu.ac.th/mis/download/course/lec_653333_abdomen.pdf ·

Right Lateral decubitus

ขนาดฟลมท่ีใช

10 x 12 นิ้ว หรือ 11 x 14 นิ้ว รวมกับกริด

การจัดทาผูปวย ใหผูปวยนอนตะแคงเอาขางขวาลง หาหมอนหรือฟองน้ําหนุนลําตัว ใหสูงจากพื้นเตียง

เล็กนอย วางฟลม และกริดในแนวตั้งตามยาวของลําตัวชิดบริเวณหนาทอง ตั้งแต T 11 ลงมาจนถึง Anterior Superior Iliac Spine แขนขางที่ชิดเตียงยกขึ้นหนุนศีรษะไว แขนอีกขางโอบแผนคาสเซทไวไมใหลม จัดหลอดเอกซเรยใหแนวของลําแสงขนานกับพื้นเตียง

รูป Right Lateral decubitus

จุดก่ึงกลางของรังส(ี center ray)

ระดับของชายโครงถัดจากกระดูกสันหลังลงมาทางขวา 3 นิ้ว

Page 35: เทคนิคการจ ัดท าถ ายภาพเอกซเรย ของอว ัยวะภายในช องท องe-office.ahs.nu.ac.th/mis/download/course/lec_653333_abdomen.pdf ·

ภาพที่ไดแสดงถึง เงาของกาซในทางเดินอาหาร ซ่ึงเดิมเคยบังเงาของถุงน้ําดีลอยสูงขึ้น ถุงน้ําดีจะหอยต่ําลง ถามีกอนนิ่วจะตกลงมานอน อยูบริเวณกนถุง ทานี้มักจะใชถายเพิ่มเติมหลังจากการทําการตรวจพิเศษของถุงน้ําดี โดยใหผูปวยรับประทานสารทึบรังสีเขาไป (Oral cholecystography) ในกรณีที่ถายในทาอื่นยังมองเห็นถุงน้ําดีไมชัด

รูป Right Lateral decubitus

เทคนิคในการถายภาพ

ความหนาเฉลีย่ของสวนท่ีถาย

Gid ระยะจุดโฟกัสถึงฟลม

ความไวของฟลมและสกีน

mAs

kVp

20 cm 8:1 40 นิ้ว 200 60 75

Page 36: เทคนิคการจ ัดท าถ ายภาพเอกซเรย ของอว ัยวะภายในช องท องe-office.ahs.nu.ac.th/mis/download/course/lec_653333_abdomen.pdf ·

Left posterior oblique projection upright (LAO upright)

ขนาดฟลมท่ีใช

10 x 12 นิ้ว หรือ 11 x 14 นิ้ว วางตามยาวใน Bucky

การจัดทาผูปวย ใหผูปวยนอนยืนหันหนาหา Bucky stand หรือ เตียงเอกซเรยที่ปรับใหอยูในแนวตั้งเบี่ยง

ตัวทางดานขวาใหหางจากฟลมเล็กนอย เพื่อแยกเงาของถุงน้ําดีออกจากเงาของกระดูกสันหลังเหมือนกับทา LAO supine จัดดานขวาของลําตัวใหอยูกึ่งกลางเตียง แขนทั้งสองขาง กางออก ยื่นมือไปจับขอบเตียงไว

จุดก่ึงกลางของรังส(ี center ray)

กึ่งกลางของถุงน้ําดี ในระดบัต่ํากวาตําแหนงที่ใชในทานอน(LAO supine) ประมาณ 2 นิ้ว เพราะในทายนื ถุงน้ําดีจะขยับต่ําลงอีกเลก็นอย

ภาพที่ไดแสดงถึง กอนนิ่วในถุงน้ําดีตกลงสูกนถุงตามแรงโนมถวงของโลก หมายเหตุ ถารับประทานสารทึบรังสีเขาไป ก็เห็นระดับของสารทึบรังสีได

เทคนิคในการถายภาพ

ความหนาเฉลีย่ของสวนท่ีถาย

Bucky ระยะจุดโฟกัสถึงฟลม

ความไวของฟลมและสกีน

mAs

kVp

25 cm 8:1 36 นิ้ว 200 80 80

Page 37: เทคนิคการจ ัดท าถ ายภาพเอกซเรย ของอว ัยวะภายในช องท องe-office.ahs.nu.ac.th/mis/download/course/lec_653333_abdomen.pdf ·

การถายภาพเอกซเรยตับ(Liver) โรคของตับที่มักวินจิฉัยดวยการถายภาพรังสี คือโรคฝในตับ(Liver abcess) ฝในตบัมัก

เกิดจากเชื้อบิด (Amaebic) ซ่ึงแพรมาตาม Portal vein จากแผลในลําไส ลักษณะของฝ มักเปนอันเดียวอยูที่ Liver Right Lobe ทําใหตับโตมากขึ้นอาจขยายขึ้นขางบนไปเบียดกระบังลมดานขวา ใหสูงขึ้นหรืออาจโตไปทางซายหรือขยายลงลางก็ได ทําใหกระเพาะอาหาร และลําไสเล็กถูกเบียดออกไป จากเดมิ จากฟลมเอกซเรยอาจเหน็กอนตับโต เปนกอนทึบแสงสีขาวๆ จางๆ แพทยจะดูดเอาหนองของฝในตับออก แลวฉีดลม(Air) และสารทึบรังสีไอโอดีน เชน miodil เขาไปในโพรงที่อักเสบนั้น แลวถายภาพรังสีเพื่อใหเห็นขอบเขตของฝดีขึ้น ทาที่ใชในการถาย มีดังนี ้

- Anteroposterior supine - Right Lateral supine - Anteroposterior upright - Right Lateral Upright - Posteroanterior (Benassi’s Method)

Page 38: เทคนิคการจ ัดท าถ ายภาพเอกซเรย ของอว ัยวะภายในช องท องe-office.ahs.nu.ac.th/mis/download/course/lec_653333_abdomen.pdf ·

Anteroposterior projection supine

ขนาดฟลมท่ีใช

14 x17 นิ้ว วางตามยาวใน Bucky

การจัดทาผูปวย ใหผูปวยนอนเตียงเอกซเรยจัดระนาบ Midsagital ใหอยูในแนวเดียวกับเสนกึ่งกลางเตียง

แขนทั้งสองขางวางไวขางลําตัว จัดขอบบนของฟลม ใหติดสวนลางของปอดเหนือกระบังลม

จุดก่ึงกลางของรังส(ี center ray)

Xiphoid process

ภาพที่ไดแสดงถึง สวนของตับที่โตวาคอนไปทางซายหรือขวา บนหรือลาง

เทคนิคในการถายภาพ

ความหนาเฉลีย่ของสวนท่ีถาย

Bucky ระยะจุดโฟกัสถึงฟลม

ความไวของฟลมและสกีน

mAs

kVp

20 cm 8:1 36 นิ้ว 200 60 75

Page 39: เทคนิคการจ ัดท าถ ายภาพเอกซเรย ของอว ัยวะภายในช องท องe-office.ahs.nu.ac.th/mis/download/course/lec_653333_abdomen.pdf ·

Right lateral projection supine

ขนาดฟลมท่ีใช

14 x17 นิ้ว วางตามยาวใน Bucky

การจัดทาผูปวย ใหผูปวยนอนเตียงเอกซเรย เอาดานขวาของลําตัวลง จัดใหลําตัวอยูกึ่งกลางเตียง เขาสอง

ขางงอยื่นไปขางหนาเล็กนอย เพื่อใหทรงตัวอยูได แขนทั้งสองขางยกขึ้นไวบนศีรษะ จัดขอบบนของฟลม ใหคลุมสวนลางของปอดเหนือกระบังลม

จุดก่ึงกลางของรังส(ี center ray)

Xiphoid process

ภาพที่ไดแสดงถึง สวนของตับที่โตวาอยูดานหนา หรือหลังตอกระเพาะอาหาร และลําไส

เทคนิคในการถายภาพ

ความหนาเฉลีย่ของสวนท่ีถาย

Bucky ระยะจุดโฟกัสถึงฟลม

ความไวของฟลมและสกีน

mAs

kVp

30 cm 8:1 36 นิ้ว 200 100 80 รูป

Page 40: เทคนิคการจ ัดท าถ ายภาพเอกซเรย ของอว ัยวะภายในช องท องe-office.ahs.nu.ac.th/mis/download/course/lec_653333_abdomen.pdf ·

Anteroposterior projection upright ทานี้ถายหลังจากฉีดลมหรือสารทึบรังสีเขาไปในโพรงของฝที่เจาะเอาหนองออกแลวของตับ ขนาดฟลมท่ีใช

12 x15 นิ้ว วางตามยาวใน Bucky

การจัดทาผูปวย ปรับเตียงเอกซเรยใหอยูในแนวตั้ง จัดหลังของผูปวยใหชิดเตียงเอกซเรย จัดซีกขวาของ

ลําตัวใหอยูกึ่งกลางเตียง ขอบบนของฟลม ใหคลุมสวนลางของปอดเหนือกระบังลมทางดานขวา ขอบลางของฟลมใหคลุม Iliac crest เพราะบางรายตับโตลงมาทางดานลางมาก

จุดก่ึงกลางของรังส(ี center ray)

Xiphoid process

ภาพที่ไดแสดงถึง บริเวณสวนลาง และขอบเขตทางดานขางของฝในตับ

รูป Anteroposterior projection upright

Page 41: เทคนิคการจ ัดท าถ ายภาพเอกซเรย ของอว ัยวะภายในช องท องe-office.ahs.nu.ac.th/mis/download/course/lec_653333_abdomen.pdf ·

เทคนิคในการถายภาพ

ความหนาเฉลีย่ของสวนท่ีถาย

Bucky ระยะจุดโฟกัสถึงฟลม

ความไวของฟลมและสกีน

mAs

kVp

20 cm 8:1 36 นิ้ว 200 80 75 Right lateral projection upright

ทานี้ถายประกอบกับทา AP upright หลังฉีดลมหรือสารทึบรังสีเขาไปในโพรงของฝที่เจาะเอาหนองออกแลวของตับ ขนาดฟลมท่ีใช

12 x15 นิ้ว วางตามยาวใน Bucky

การจัดทาผูปวย ใหผูปวยยืน เอาดานขวาของลําตัวชิดเตียงเอกซเรย ซ่ึงปรับใหอยูในแนวตั้ง กึ่งกลางของ

ลําตัวอยูในแนวเดียวกับเสนกึ่งกลางเตียง แขนทั้งสองขางยกขึ้นไวบนศีรษะ ขอบบนของฟลมใหคลุมสวนลางของปอด เหนือกระบังลม ขอบลางคลุม iliac crest

จุดก่ึงกลางของรังส(ี center ray)

Xiphoid process

Page 42: เทคนิคการจ ัดท าถ ายภาพเอกซเรย ของอว ัยวะภายในช องท องe-office.ahs.nu.ac.th/mis/download/course/lec_653333_abdomen.pdf ·

ภาพที่ไดแสดงถึง บริเวณดานหนา และหลังของฝในตับ

เทคนิคในการถายภาพ

ความหนาเฉลีย่ของสวนท่ีถาย

Bucky ระยะจุดโฟกัสถึงฟลม

ความไวของฟลมและสกีน

mAs

kVp

30 cm 8:1 36 นิ้ว 200 100 80

Page 43: เทคนิคการจ ัดท าถ ายภาพเอกซเรย ของอว ัยวะภายในช องท องe-office.ahs.nu.ac.th/mis/download/course/lec_653333_abdomen.pdf ·

Posteroanterior projection (Benassi’s Mehod) ขนาดฟลมท่ีใช

14 x17 นิ้ว วางตามยาวใน Bucky

การจัดทาผูปวย ทานี้เหมาะสมสําหรับผูปวยที่อาการไมหนักมาก เพราะตองจัดใหผูปวยนอนคว่ํา สวนของ

ตับจะไดอยูชิดฟลมมากขึ้น จัดระนาบ Midsagital ใหอยูในแนวเดียวกับเสนกลางเตียง งอขอศอกเล็กนอย วางแขนในทาที่สบายตะแคงศีรษะไปดานใดดานหนึ่ง จัดฟลมใหคลุมตั้งแตสวนลางของปอดเหนือกระบังลมมา

รูป Posteroanterior projection (Benassi’s Mehod)

จุดก่ึงกลางของรังส(ี center ray)

ระดับเดยีวกับ Xiphoid process โดยเอียงหลอดเอกซเรยไปทางเทา 25 องศา หรือเอียง ไปทางศีรษะ 10 องศา

ภาพที่ไดแสดงถึง ขนาดและขอบเขตของตับชัดเจนขึ้น เพราะตับอยูชิดฟลมมากขึ้น และใชลําแสงเฉียงชวย

Page 44: เทคนิคการจ ัดท าถ ายภาพเอกซเรย ของอว ัยวะภายในช องท องe-office.ahs.nu.ac.th/mis/download/course/lec_653333_abdomen.pdf ·

เทคนิคในการถายภาพ

ความหนาเฉลีย่ของสวนท่ีถาย

Bucky ระยะจุดโฟกัสถึงฟลม

ความไวของฟลมและสกีน

mAs

kVp

20 cm 8:1 36 นิ้ว 200 60 75

การถายภาพเอกซเรยกระบังลม (Diaphragm) โรคของกระบังลมที่พบบอยและใชภาพรังสีชวยในการวนิิจฉัย คือ ฝใตกระบังลม(Subphrenic abcess) ผูปวยที่เปนโรคนี้ กระบังลมจะไมเคลื่อนไหวขึน้ลง ตามการหายใจเขา-ออก ซ่ึงสามารถตรวจดูไดจากจอทีวีของเครือ่งเอกซเรยฟลูออโรสโคป(Fluoroscopy) โดยตรง หลังจากนี้ผูปวยอาจตองถายภาพเอกซเรยเพิ่มเตมิ คือ

- Lateral abdomen เพื่อชวยบอกตําแหนงของฝวาอยูดานหนา หรือดานหลัง - Lateral upright abdomen ภายหลังฉีดสารทึบรังสี เขาไปในฝ เพื่อดูระดับของลม และ

สารทึบรังสี และดูขอบเขตของฝ การฉีดขาดของกระบังลม อาจเกิดได 2 ทาง คือ

- เปนเองแตโดยกําเนิด (Congenital anormalies) คือมีรูที่แผนกระบังลมเกิด ขึ้นเองเรียกวา diaphragmatic hernia ทําใหอวัยวะภายในชองทองดันผานรูนี้เขาไปในชองอกได

- ประสบอุบัติเหตุบริเวณชองทองอยางรุนแรง ทําใหความดันในชองทองเพิ่มเพิ่มขึ้น ไปดันใหแผนกระบังลมฉีกขาด แลวอวัยวะในชองทองก็คอย ๆ เคลื่อนที่หรือ เคลื่อนทันทีที่เขาไปในชองอก

ผูปวยทั้ง 2 ประเภทนี้จะถายภาพรังสี 3 ภาพ คือ Chest upright

- เพื่อดูเงาของอวัยวะภายในชองทอง วาลอดทะลุรอยฉีกของแผนกระบังลมเขาไปในทรวงอกหรือไม ถาเขาจะเหน็คลายเงาของกระบงัลมขางนั้นยกสูงขึ้นกวาปกติ

- เพื่อดูกาซหรือระดับน้ําในทรวงอก ซ่ึงอาจเปนเงาของกาซในสวน Fundus ของกระเพาะอาหาร หรือ กาซในลําไสใหญ ที่เคลื่อนเขาไป

- ดูเงาของหวัใจถูกดันไปดานตรงขามหรือไม

Page 45: เทคนิคการจ ัดท าถ ายภาพเอกซเรย ของอว ัยวะภายในช องท องe-office.ahs.nu.ac.th/mis/download/course/lec_653333_abdomen.pdf ·

Abdomen supine เพื่อดูตําแหนงของตับ,มาม, กระเพาะอาหาร และลําไสวาอยูในตําแหนงเดิม หรือถูกเบียดไปทางดานใด ถาหากภาพจากฟลมเอกซเรย ยังบงใหทราบไดไมแนชัด อาจใชวิธีตรวจโดยฟลูออโรสโคป เพิ่มเติม และใหผูปวยกลืนแปงแบเรียม ติดตามการเคลื่อนที่ของแปงแบเรยีม เพื่อพิสูจนวาผานเขาไปชองปอดหรือไม Chest upright หลังฉีดลม หรือ กาซคารบอนไดออกไซด (CO2) หรือ กาซออกซิเจน (O2) ประมาณ 50 มิลลิเมตร เขาไปในชองทอง (Pneumoperitoneum) เพื่อบอกใหทราบวามีการฉีกขาดของกระบังลมหรือไม ถากาซจะลอยขึ้นไปในชองเยื่อหุมปอดเหน็ไดในภาพเอกซเรย การถายภาพเอกซเรยมาม (Spleen) Anteroposterior Oblique projection ขนาดฟลมท่ีใช

14 x17 นิ้ว วางตามยาวใน Bucky

การจัดทาผูปวย ใหผูปวยนอนหงาย แลวตะแคงตัวขางขวา ขึ้นจนแผนหลังทํามุมกับพื้นเตียงประมาณ 40-

45 องศา จัดใหลําตัวทางดานซายอยูกึ่งกลางเตียง เอาหมอนหนุนหลัง และสะโพกผูปวยไว

จุดก่ึงกลางของรังส(ี center ray)

Midcavicular ขางซายระดับเดียวกับ Xiphoid process

ภาพที่ไดแสดงถึง เห็นเงาของมาม ที่โตวาคอนไปทางไหน

Page 46: เทคนิคการจ ัดท าถ ายภาพเอกซเรย ของอว ัยวะภายในช องท องe-office.ahs.nu.ac.th/mis/download/course/lec_653333_abdomen.pdf ·

เทคนิคในการถายภาพ

ความหนาเฉลีย่ของสวนท่ีถาย

Bucky ระยะจุดโฟกัสถึงฟลม

ความไวของฟลมและสกีน

mAs

kVp

20 cm 8:1 36 นิ้ว 200 60 75 Left Lateral projection ขนาดฟลมท่ีใช

11 x 14นิ้ว วางตามยาวใน Bucky

การจัดทาผูปวย ใหผูปวยนอนตะแคงบนเตียงเอกซเรย เอาดานซายของลําตัวชิดฟลม จัดใหลําตัวอยูกึ่งกลาง

เตียง เขาทั้งสองขางงอยื่นไปขางหนาเล็กนอย เพื่อทรงตัวอยูได แขนทั้งสองขางยกขึ้นไวบนศีรษะ ขอบบนของฟลมใหคลุม กระบังลมขางซายลงมา

จุดก่ึงกลางของรังส(ี center ray)

จุดกึ่งกลางฟลม ระดับเดยีวกบั Xiphoid process

ภาพที่ไดแสดงถึง เห็นเงาของมาม ที่โตวาคอนไปทาง ดานหนาหรือหลัง

เทคนิคในการถายภาพ

ความหนาเฉลีย่ของสวนท่ีถาย

Bucky ระยะจุดโฟกัสถึงฟลม

ความไวของฟลมและสกีน

mAs

kVp

30 cm 8:1 36 นิ้ว 200 100 80

Page 47: เทคนิคการจ ัดท าถ ายภาพเอกซเรย ของอว ัยวะภายในช องท องe-office.ahs.nu.ac.th/mis/download/course/lec_653333_abdomen.pdf ·

การถายภาพเอกซเรยทารกในครรภ(Fetography) เปนการถายภาพเอกซเรยทองของหญิงมีครรภ เพื่อดูสภาวะของทารกในครรภ แพทย อาจ

เขียนใบขอถายฟลมวา Plain Abdomen จุดประสงคในการถาย

- เพื่อดูทารก หมุนตัวอยูในทาอะไร ถาการคลําทองของสูติแพทยไมแนนอน - เพื่อดูการเจริญเติบโต และขนาดของทารกซึ่งคาดหมายวามีความผิดปกติ - เพื่อวินจิฉัยใหแนชัดลงไปในกรณีที่สงสัยวาทารกตายในครรภ - เพื่อดูวาผูปวยตั้งครรภจริงหรือไม - เมื่อสงสัยการตั้งครรภแฝด - เมื่อสงสัยวามคีวามผิดปกตขิองศีรษะเดก็วาใหญหรือเล็กเกินไป

การปองกันอนัตรายจากรงัสีแกผูปวย โดยปกตแิลวถาไมมีความจาํเปนจริงๆ ควรหลีกเลี่ยงการตรวจผูปวยตัง้ครรภ ดวยการถายภาพเอกซเรยเพราะแสงเอกซเรยจะมีผลตอการเปลี่ยนแปลง การเจริญเติบโตของทารกในครรภอยางมาก โดยเฉพาะในระยะ 18 สัปดาห หรือประมาณ 4 เดือนแรก ของการตั้งครรภ เมื่อการตรวจดวยวิธีอ่ืนไมไดผล หรือใหวนิิจฉัยไดไมแนนอน และจําเปนตองถายเอกซเรยจริงๆ เรามีวิธีลดปริมาณรังสีที่ผูปวยจะไดรับโดย

- ใชอินเทนซิฟายอิง สกรีน (Intensifying screen) ชนิดไวแสงสูง - ใชฟลมชนิดไวแสงสูง - หลีกเลี่ยงการถายฟลมซ้ํา ควรตั้งคาเอกซโพเชอรใหเหมาะ จัดทาใหถูกตองที่สุดกอนถาย - หร่ีไดอะแฟรมใหคลุมเฉพาะบริเวณที่ตองการด ู

การควบคุมคณุภาพของภาพเอกซเรย การถายภาพเอกซเรยในผูปวยตั้งครรภใหไดคุณภาพดี จะตองประกอบดวย

- เครื่องเอกซเรยที่มีกําลังสูงอยางนอย 200 mA ขึ้นไป เพราะบริเวณที่เราตองการ ดูมีความหนามาก ใชเทคนิคการตั้งคา kVp สูงจะไดลดคา mAs ลงไดมาก

- การตั้งคา exposure time ตองไมสูงมาก มิเชนนั้นภาพจะไมชัดเนื่องจากมีการเคลื่อนไหวของทารกในครรภ ซ่ึงเปนสิ่งที่ไมอาจควบคุมได

- Bucky หรือ Gid จะตองใชดวยทุกกรณี เพื่อลดรังสรกระเจิงใหมากทีสุ่ด เปนผลใหภาพที่คมชัด

Page 48: เทคนิคการจ ัดท าถ ายภาพเอกซเรย ของอว ัยวะภายในช องท องe-office.ahs.nu.ac.th/mis/download/course/lec_653333_abdomen.pdf ·

- ฟลมที่ใช จะตองเปนฟลมใหมไมมีฝอก(fog) จากแสง หรือสารเคมี หรือเปนฟลมหมดอายุ และเมื่อถายแลวตองผานขบวนการลางฟลมที่มีการควบคุมคุณภาพเปนประจํา

การเตรียมผูปวยกอนถายเอกซเรย อาจสวนอุจจาระใหผูปวยกอนถายฟลม เพือ่ใหภาพชัดเจนขึ้น ทั้งนี้ขึ้นกับดุลยพนิิจของสูติแพทย และสภาวะของผูปวย แตถาตองถายเอกซเรยในทายืนควรใหผูปวยถายปสสาวะออกใหหมดกอน มิฉะนัน้กระเพาะปสสาวะ อาจดันศีรษะเด็กไว ไมใหตกอยูในตําแหนงที่ควรจะเปน ในมดลูก(Uterine cavity) ทาที่ใชในการถาย มีดังนี ้

- Anteroposterior projection - Lateral projection - Dorsal decubitus

Anteroposterior projection ขนาดฟลมท่ีใช

14 x 17 นิ้ว วางตามยาวใน Bucky

การจัดทาผูปวย ใหผูปวยนอนหงายบนเตียงเอกซเรย ชันเขาทั้งสองขาง เพื่อใหหลังชิดพื้นเตียงมากที่สุด

เอาถุงทรายยันปลายเทาไว หรือใหผูปวยยืนตรงเอาหลังพิงเตียงเอกซเรย ซ่ึงปรับใหอยูในแนวตั้ง จัด Midsagital line ใหอยูในแนวเดียวกับเสนกึ่งกลางเตียง แขนทั้งสอง ขางวางไวขางลําตัวขอบลางของฟลม ใหคลุมพอดีกับขอบลางของ Ischium tuberosity

จุดก่ึงกลางของรังส(ี center ray)

จุดกึ่งกลางทอง

Page 49: เทคนิคการจ ัดท าถ ายภาพเอกซเรย ของอว ัยวะภายในช องท องe-office.ahs.nu.ac.th/mis/download/course/lec_653333_abdomen.pdf ·

เทคนิคในการถาย

ควรใหผูปวยสูดหายใจเขาลึกๆ แลวกล้ันใจนิ่งจึงคอยกดปุมปลอยเอกซเรย เพราะถาเกิดสภาวะทีม่ีกาซออกซิเจนในเลือดนอย ทารกในครรภจะดิน้มากหรือ ใชวิธีถามผูปวยดวูาทารกกําลังดิ้นอยูอยูหรือไม

หมายเหต ุอาจจัดผูปวยในทานอนคว่ําก็ได จะทําใหภาพของทารกในครรภ ชัดเจนขึ้นเพราะอยูชิดกับฟลม แตผูปวยจะรูสึกไมคอยสบายเมื่ออยูในทานี้ เพราะฉะนัน้ใหพจิารณาสภาวะผูปวยประกอบดวย ภาพที่ไดแสดงถึง ทาของทารก,ขนาดของทารก และขนาดของศีรษะทารกในครรภ นอกจากนี้ทา AP ยังเปนทาสําหรับวัดขนาดของกระดูกเชิงกรานของหญิง มีครรภดวย (Pelvimetry)

รูป Anteroposterior projection

เทคนิคในการถายภาพ

ความหนาเฉลีย่ของสวนท่ีถาย

Bucky ระยะจุดโฟกัสถึงฟลม

ความไวของฟลมและสกีน

mAs

kVp

28 cm 8:1 36 นิ้ว 500 120 85

Page 50: เทคนิคการจ ัดท าถ ายภาพเอกซเรย ของอว ัยวะภายในช องท องe-office.ahs.nu.ac.th/mis/download/course/lec_653333_abdomen.pdf ·

Lateral projection ขนาดฟลมท่ีใช

14 x 17 นิ้ว วางตามยาวใน Bucky

การจัดทาผูปวย ใหผูปวยนอนตะแคงบนเตียงเอกซเรย จัดระนาบ Coronal ที่อยูกึ่งกลางระหวางเสน Mid

axillary กับหนาทองใหอยูในแนวเดียวกับเสนกลางเตียง แผนหลังตั้งฉากกับเตียงหาหมอนหนุนระหวางเขา ทั้งสองขาง เพื่อใหสบาย ขอบลางของฟลม ใหคลุมถึงขอบลางของ Ischium tuberosity

จุดก่ึงกลางของรังส(ี center ray)

จุดกึ่งกลางฟลม ระดับเดยีวกบัจุดยอดของสวนโคงของหนาทอง ภาพที่ไดแสดงถึง ขนาดของศีรษะทารกในครรภ ซ่ึงตองวัดเทียบกับทา AP supine และ เปนทาสําหรับวัดขนาดของกระดูกเชิงกราน ประกอบกับทา AP เชนเดียวกัน

เทคนิคในการถายภาพ

ความหนาเฉลีย่ของสวนท่ีถาย

Bucky ระยะจุดโฟกัสถึงฟลม

ความไวของฟลมและสกีน

mAs

kVp

30 cm 8:1 36 นิ้ว 500 110 85

Page 51: เทคนิคการจ ัดท าถ ายภาพเอกซเรย ของอว ัยวะภายในช องท องe-office.ahs.nu.ac.th/mis/download/course/lec_653333_abdomen.pdf ·

Dorsal decubitus ขนาดฟลมท่ีใช

14 x 17 นิ้ว รวมกับกรดิ

การจัดทาผูปวย ใหผูปวยนอนหงายบนเตียงเอกซเรย ชันเขาทั้งสองขาง เพื่อใหหลังชิดพื้นเตียงมากที่สุด

ถาตองการถายทานี้หลังจากทา AP ก็ไมตองใหผูปวยขยับเขยื้อน เพราะจัดเหมือนทา AP ทุกอยางเพียงแตวางฟลมในแนวตั้งตามยาวของลําตัวชิดดานขวาหรือซาย ตามตองการ แขนทั้งสอง ยกขึ้นไวเหนือศีรษะ ขอบลางของฟลม ใหคลุม Ischium tuberosity หันหลอดเอกซเรยใหอยูในแนวนอน ลํารังสีตกตั้งฉากกับฟลม

จุดก่ึงกลางของรังส(ี center ray)

จุดกึ่งกลางฟลม ภาพที่ไดแสดงถึง ทาของทารก และขนาดของศีรษะทารกในครรภ เทียบกับทา APไดดี เนื่องจากไมมีการเคลื่อนไหวตัวผูปวย ดังนั้นสภาวะของทารกในครรภก็จะเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมนอยมากหรือไมเปลี่ยนเลย

เทคนิคในการถายภาพ

ความหนาเฉลีย่ของสวนท่ีถาย

Gid ระยะจุดโฟกัสถึงฟลม

ความไวของฟลมและสกีน

mAs

kVp

30 cm 8:1 40 นิ้ว 500 100 85