37
แนวปฏบัต การร้อถอนและจาหน่ายอาคารเรยนหรอส ่งปลูกสร้าง กลุ่มบรหารงานการเง นและสนทรัพย์ สานักงานเขตพ ้นท่การศกษาประถมศกษาพระนครศรอยุธยา เขต 1

แนวปฏิบัติ...-แบบขอใช้ที่ราชพัสดุ (แบบ ทบ.4) 24 -แบบส่งคืนที่ราชพัสดุ (แบบ

  • Upload
    others

  • View
    18

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

แนวปฏิบัติ

การรือ้ถอนและจ าหนา่ยอาคารเรียนหรือสิ่งปลูกสร้าง

กลุ่มบริหารงานการเงนิและสินทรัพย์

ส านักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต 1

ค าน า

การด าเนินการเก่ียวกับที่ราชพัสดุและที่ดินประเภทอ่ืน เป็นภารกิจของส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต 1 ที่จะดูแลให้ความช่วยเหลือโรงเรียนในสังกัด ซึ่งงานที่เก่ียวกับที่ราชพัสดุ เช่น การข้ึนทะเบียนที่ราชพัสดุ การขอใช้ที่ราชพัสดุ การรับบริจาคที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง การส่งคืนที่ราชพัสดุ การจัดหาประโยชน์ในที่ดินของสถานศึกษา และการรื้อถอนอาคารหรือสิ่งปลูกสร้าง เป็นภารกิจที่ต้องใช้ความละเอียดรอบคอบตั้งใจ มีความอุตสาหะ เพื่อให้บรรลุตามเป้าหมาย รวดเร็วมีประสิทธิภาพ ปฏิบัติให้ถูกต้องตามระเบียบ กฎกระทรวงต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องและที่แก้ไขเพ่ิมเติมอยู่เสมอไม่สะดวกต่อการค้นคว้าน ามาอ้างอิงในการปฏิบัติงาน ประกอบกับบุคลากรของหน่วยงานสถานศึกษาที่ปฏิบัติงานด้านที่ราชพัสดุมีการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอซึ่งส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐานได้มีการกระจายอ านาจให้กับหน่วยงานการศึกษา ดังนั้นเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการบริหารงานมิให้เกิดความล่าช้าและผิดพลาด มีความคล่องตัว ในการแก้ปัญหา ส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต 1 จึงได้จัดท าคู่มือการด าเนินการเกี่ยวกับท่ีราชพัสดุด้านการรื้อถอนอาคารและสิ่งปลูกสร้างให้กับโรงเรียนในสังกัดไว้เพ่ือเป็นแนวทางการปฏิบัติงานต่อไป

( นางบุญสม มีกุศล ) เจ้าพนักงานพัสดุช านาญงาน

สารบัญ

หน้า

1. สภาพปัญหาและความเป็นมา 1 2. แนวปฏิบัติการรื้อถอนและจ าหน่ายอาคารเรียนหรือสิ่งปลูกสร้างฯ 2 3. เอกสารประกอบการรื้อถอนอาคารเรียนและสิ่งปลูกสร้าง 6 4. ภาคผนวก ก -ระเบียบส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ว่าด้วยการบริหารจัดการอสังหาริมทรัพย์ 10 ของสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐานของรัฐที่เป็นนิติบุคคลในสังกัดเขตพ้ืนที่การศึกษา พ.ศ.2551 -หนังสือเวียนกรมธนารักษ์ เรื่องการขอใช้ที่ราชพัสดุ 14 -ค าสั่งส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน เรื่องมอบอ านาจการขอใช้ที่ดินราชพัสดุ 16 ในความครอบครองของโรงเรียน -ที่ดินของวัด 21 -แบบรายการแจ้งขอรื้อถอนสิ่งปลูกสร้างที่เป็นที่ราชพัสดุ (แบบ ทบ.3) 22 -แบบขอใช้ที่ราชพัสดุ (แบบ ทบ.4) 24 -แบบส่งคืนท่ีราชพัสดุ (แบบ ทบ.6) 25 -แบบรายการส่ง-รับที่ราชพัสดุขึ้นทะเบียน (แบบ ทบ.9 ) 27 -แบบส ารวจรายการส่ง-รับที่ราชพัสดุขึ้นทะเบียน(แบบ ทร.03 แบบส ารวจรายการที่ดิน) 28 -แบบส ารวจรายการอาคาร/สิ่งปลูกสร้างข้ึนทะเบียนที่ราชพัสดุ(แบบ ทร.04) 31 -แบบส ารวจรายการสิ่งปลูกสร้างของรัฐที่ปลูกอยู่บนที่ดินที่มิใช่ที่ราชพัสดุ(แบบ ทร.05) 32 -ทะเบียนคุมทรัพย์สิน 34

-1-

บทที่ 1

สภาพปัญหาและความเป็นมา

ปัจจุบันที่ราชพัสดุทั้งที่เป็นที่ดินและสิ่งปลุกสร้างและท่ีดินประเภทอ่ืน ที่อยู่ในการปกครอง ดูแล บ ารุงรักษา ใช้ และจัดหาประโยชน์ ในความครอบครองของหน่ายงานการศึกษา สังกัดส านักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ทั้งที่เป็นที่ราชพัสดุเดิม ที่ได้จากการอุทิศหรือบริจาค หรือได้มาโดยวิธีอ่ืน เพ่ือใช้ประโยชน์ในการจัดการศึกษา หน่วยงานการศึกษาบางแห่งไม่มีแผนงานหรือโครงการที่ชัดเจนรองรับการใช้ประโยชน์ รวมถึงความไม่เข้าใจในระเบียบ กฎหมาย ที่เกี่ยวข้องกับการใช้ที่ราชพัสดุ ท าให้การปกครอง ดูแล บ ารุงรักษา ใช้ และจัดหาประโยชน์ ไม่เป็นไปตามวัตถุประสงค์ และเป็นปัญหาในการด าเนินการ ซึ่งขณะนี้ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ได้พิจารณาให้สถานศึกษาของรัฐที่เป็นนิติบุคคลมีอ านาจในการปกครอง ดูแล บ ารุงรักษา ใช้ และจัดหาประโยชน์จากทรัพย์สินของสถานศึกษาทั้งท่ีเป็นที่ราชพัสดุและทรัพย์สินอื่น รวมทั้งจัดหารายได้จากบริการของสถานศึกษา และเก็บค่าธรรมเนียมการศึกษาที่ไม่ขัดหรือแย้งกับนโยบาย วัตถุประสงค์ และภารกิจหลักของสถานศึกษา เพ่ือให้สถานศึกษาใช้ที่ราชพัสดุ รื้อถอนที่ราชพัสดุ ได้อย่างถูกต้องเป็นไปตามระเบียบและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง จึงจัดท าคู่มือด าเนินการนี้ขึ้นเพ่ือให้สถานศึกษาใช้เป็นแนวทางในการบริหารจัดการที่ราชพัสดุต่อไป

วัตถุประสงค ์

1. เพ่ือให้การปฏิบัติงานเกี่ยวกับการรื้อถอนอาคารเรียนหรือสิ่งปลูกสร้าง มีความสะดวกและรวดเร็ว ถูกต้องตามระเบียบและแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการรื้อถอนอาคารเรียนหรือสิ่งปลูกสร้าง 2. เพ่ือลดภาระงานเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานเกี่ยวกับการรื้อถอนอาคารเรียนหรือสิ่งปลูกสร้างของสถานศึกษาในสังกัด ในการจัดพิมพ์เอกสารแบบฟอร์มการด าเนินการ และลดข้อผิดพลาดที่อาจเกิดข้ึนในการปฏิบัติงาน ประโยชน์ที่ได้รับ

1. เพ่ือให้เจ้าหน้าที่ของสถานศึกษาและผู้บริหารได้รับทราบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องและเข้าใจวิธีการด าเนินการรื้อถอนอาคารเรียนหรือสิ่งปลูกสร้างที่ถูกต้อง ซึ่งชวยลดข้อผิดพลาดในการปฏิบัติงาน 2. เพ่ือให้เจ้าหน้าที่ของสถานศึกษาใช้เป็นคู่มือในการปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและท าให้การ ปฏิบัติงานเป็นไปในแนวทางเดียวกัน 3. เพ่ือให้ผู้บริหารสถานศึกษาและเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติได้รับทราบขั้นตอนการปฏิบัติงานและขั้นตอนการ วิธีการด าเนินการรื้อถอนอาคารเรียนหรือสิ่งปลูกสร้าง

-2-

บทที่ 2 แนวปฏิบัติการรื้อถอนและจ าหน่ายอาคารเรียนหรือส่ิงปลูกสร้าง

วัสดุที่รื้อถอน ต้นไม้ ดิน หรือวัสดุอ่ืน ๆ ท่ีได้จากที่ราชพัสดุ

เพ่ือให้เป็นแนวปฏิบัติของส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาและสถานศึกษาที่เป็นนิติบุคคล โดยอาศัยอ านาจตามความในมาตรา 30(1) แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐานจึงก าหนดแนวปฏิบัติการรื้อถอนอาคารเรียนหรือสิ่งปลูกสร้าง วัสดุที่รื้อถอน ต้นไม้ ดิน หรือวัสดุอ่ืน ๆ ที่ได้จากที่ราชพัสดุของสถานศึกษา ตามกฎกระทรวงว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการปกครอง ดูแล บ ารุงรักษาและการใช้ที่ราชพัสดุ พ.ศ. 2545 ข้อ 19 ข้อ 20 ข้อ21 และ ข้อ 22 และระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการปกครอง ดูแล บ ารุงรักษาและการใช้ที่ราชพัสดุ พ.ศ. 2546 ข้อ 21 ข้อ 22 ข้อ 23 ข้อ 24 ข้อ 25 ข้อ 26 และข้อ 27

นิยาม “ที่ราชพัสดุ” หมายถึงอสังหาริมทรัพย์อันเป็นทรัพย์สินของแผ่นดินทุกชนิด ตาม พรบ.ที่ราชพัสดุ พ.ศ. 2518 แต่ไม่หมายรวมถึงอสังหาริมทรัพย์ที่สถานศึกษาของรัฐที่เป็นนิติบุคคลได้มาโดยมีผู้อุทิศให้หรือโดยการซื้อหรือการแลกเปลี่ยนจากรายได้ของสถานศึกษา ตั้งแต่วันที่ 7 ก.ค. 2546

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. การขออนุญาตรื้อถอน 1) โรงเรียนขออนุญาตไปยัง สพป. มีเอกสารประกอบดังนี้ 1.1 แบบส ารวจอาคารเรียนหรือสิ่งปลูกสร้าง 1.2 แบบส ารวจสภาพอาคารเรียนหรือสิ่งปลูกสร้างที่ขอรื้อถอน 1.3 รูปภาพสิ่งปลูกสร้างที่ขอรื้อถอน 1.4 ผังบริเวณโรงเรียนพร้อมระบุต าแหน่งที่ขอรื้อถอนสิ่งปลูกสร้าง (ถ้ามี) 1.5 รายการแจ้งขอรื้อถอน (แบบ ทบ.3) และเหตุผลการรื้อถอน พร้อมระบุว่าจะประมูลขายน า เงินส่งคลังเป็นรายได้ของกรมธนารักษ์ หรือขอน าวัสดุที่ได้จาการรื้อถอนไปใช้ประโยชน์ทางราชการโดยให้ ผอ.สพป. ลงนามในแบบ ทบ.3 1.6 รายการ ส่ง – รับ ที่ราชพัสดุขึ้นทะเบียน (แบบ ทบ.9) หรือ ทร.04 1.7 บันทึกผลการประชุมคณะกรรมการสถานศึกษาซึ่งมีมติอนุมัติให้รื้อถอนอาคารหรือสิ่งปลูกสร้าง 2. ผอ. สพป. แต่งตั้งคณะกรรมการพิจารณาสภาพอาคารเรียนหรือหรือสิ่งปลูกสร้างอย่างน้อย 3 คน ประกอบด้วยผู้มีความรู้ทางการก่อสร้างร่วมเป็นกรรมการด าเนินการส ารวจตามแบบ เพ่ือพิจารณาเหตุผลและความจ าเป็นตลอดจนปฏิบัติให้ถูกต้องตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง เพ่ือเสนอความเห็นประกอบการพิจารณาของ ผอ.สพป. 3. ผอ.สพป. พิจารณาอนุญาตรื้อถอน ดังนี้ 3.1 อาคารหรือสิ่งปลูกสร้างที่ก่อสร้างมานานแล้วไม่น้อยกว่า 25 ปี 3.2 อาคารหรือสิ่งปลูกสร้างที่ช ารุด จนใช้ประโยชน์ในราชการไม่ได้ 3.3 อาคารหรือสิ่งปลูกสร้างเดิมท่ีปลูกสร้างอาคารหรือสิ่งปลูกสร้างใหม่ทดแทนตามที่ได้รับงบประมาณ 4. การพิจารณาอนุญาตนอกเหนือจากข้อ 3 ให้ สพป. ด าเนินดังนี้ 4.1 สถานศึกษาในกรุงเทพมหานครให้ขออนุญาตต่ออธิบดีกรมธนารักษ์ 4.2 สถานศึกษาในส่วนภูมิภาคให้ขออนุญาตต่อผู้ว่าราชการจังหวัด

-3- วิธีด าเนินการรื้อถอน การรื้อถอนให้ด าเนินการด้วยวิธีการด าเนินการอย่างใดอย่างหนึ่ง ดังนี้ 1. การรื้อถอนโดยการจ้าง ให้ด าเนินการตามระเบียบส านักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2535 และท่ีแก้ไขเพ่ิมเติม 2. ด าเนินการรื้อถอนเอง โดยให้เจ้าหน้าที่ด าเนินการ 3. รื้อถอนโดยให้ผู้ที่ชนะการประมูลซื้ออาคารหรือสิ่งปลูกสร้างเป็นผู้ด าเนินการเอง 4. เมือ่ด าเนินการรื้อถอนเสร็จเรียบร้อยแล้วให้ สพป.รายงานไปยัง สพฐ. พร้อมจ าหน่ายออกจากทะเบียนที่ราชพัสดุไปยังส านักงานธนารักษ์พ้ืนที่ต่อไป

เอกสารประกอบการขออนุญาตรื้อถอนสิ่งปลูกสร้าง 1. แบบส ารวจสภาพอาคารเรียน - ให้จัดท าตามแบบฟอร์มที่ก าหนด พร้อมระบุข้อมูลโดยละเอียด ทั้งอาคารเรียนและอาคารประกอบทุกหลังให้สัมพันธ์กับแผนผังบริเวณโรงเรียน 2. แบบส ารวจสภาพอาคารที่รื้อถอน - ให้จัดท าตามแบบฟอร์มที่ก าหนด - ตรวจสอบรายละเอียดเกี่ยวกับการข้ึนทะเบียนที่ราชพัสดุให้ถูกต้อง (ตรงตาม แบบ ทบ. 9) - ระบุการน าวัสดุที่ได้จากการรื้อถอนไปใช้ประโยชน์ให้ชัดเจน 3. รายการแจ้งขอรื้อถอนสิ่งปลูกสร้างที่เป็นที่ราชพัสดุ (แบบ ทบ. 3) - ให้จัดท าตามแบบฟอร์มที่ก าหนด - ระบุรายละเอียดในแบบฯ ให้สัมพันธ์กับข้อมูลในแบบรายงานอ่ืน ๆ 4. แผนผังบริเวณโรงเรียน - ระบุอาคารเรียน/อาคารประกอบให้ครบทุกหลังสามารถตรวจสอบกับแบบส ารวจสภาพอาคารเรียนได้ 5. ส าเนารายการส่ง – รับที่ราชพัสดุขึ้นทะเบียน (แบบ ทบ.9) พร้อมรับรองส าเนาถูกต้อง 6. แบบแปลนสิ่งปลูกสร้างใหม่ที่ขอน าวัสดุที่จาการรื้อถอนไปใช้ประโยชน์ - กรณีการขอน าวัสดุที่ได้จากการรื้อถอนไปสร้างอาคารต้องระบุให้ชัดเจนและแบบแปลนต้องเขียนถูกต้องตามหลักวิชาช่าง มีชื่อผู้เขียนแบบและวิศวกรรับรองแบบแปลนพร้อมจัดส่งส าเนาบัตรประจ าตัววิศวกร และส าเนาหนังสือใบประกอบวิชาชีพ พร้อมรับรองส าเนาถูกต้อง 7. ภาพถ่ายสิ่งปลูกสร้างที่ขอรื้อถอน สามารถเห็นภาพโดยรวมของอาคารที่ขอรื้อถอนทั้ง 4 ด้าน 8. อ่ืน ๆ - บันทึกรายงานการประชุมคณะกรรมการสถานศึกษาท่ีมีมติเกี่ยวกับอาคารที่ขอรื้อถอน - กรณีการขออนุญาตรื้อถอนบ้านพักครู ให้โรงเรียนบันทึกชี้แจงประกอบการขออนุญาตรื้อถอนด้วยว่าหากได้รับอนุญาตให้รื้อถอนแล้ว จะไม่เกิดภาระงบประมาณค่าเช่าบ้านของราชการ - ให้โรงเรียนจัดท าเอกสารประกอบการขออนุญาตรื้อถอน จ านวน 3 ฉบับ โรงเรียนเก็บ จ านวน 1 ฉบับ ส่ง สพป. จ านวน 2 ฉบับ

-4-

ระเบียบกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1. กฎกระทรวงว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการปกครอง ดูแล บ ารุงรักษา ใช้และจัดหาประโยชน์เกี่ยวกับที่ราชพัสดุ พ.ศ. 2545 ข้อ 19 ข้อ 20 ข้อ 21 และข้อ 22 2. ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการปกครอง ดูแล บ ารุงรักษาและการใช้ที่ราชพัสดุ พ.ศ. 2546 ข้อ 21 ข้อ 22 ข้อ 23 ข้อ 24 ข้อ 25 ข้อ 26 และข้อ 27 3. ค าสั่งส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐานที่ 63/2546 สั่ง ณ วันที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2546

การจ าหน่าย 1. โดยวิธีขาย ให้ สพป.ด าเนินการขายโดยวิธีทอดตลาดก่อน แต่ถ้าขายโดยวิธีทอดตลาดแล้วไม่ได้ผลดี ให้น าวิธีที่ก าหนดเกี่ยวกับการซื้อมาใช้โดยอนุโลม เว้นแต่การขายวัสดุที่รื้อถอนครั้งหนึ่งซึ่งมีราคาซ้ือหรือได้มารวมกันไม่เกิน 100,000.00 บาท จะขายโดยวิธีตกลงราคาโดยไม่ต้องขายทอดตลาดก่อนก็ได้ การขายทอดตลาด ด าเนินการดังนี้ 1. แต่งตั้งคณะกรรมการประเมินราคาอย่างน้อย 3 คน คณะกรรมการประเมินราคาที่เสนอแต่งตั้งให้ประกอบด้วยผู้ช านาญการหรือมีความรู้เกี่ยวกับการประเมินราคาอาคาร หรือสิ่งปลูกสร้าง ต้นไม้ ดิน หรือวัสดุอ่ืน ๆ ที่ได้มาจากท่ีราชพัสดุ อย่างน้อย 1 คน เพื่อประเมินราคาให้เหมาะสมกับคุณภาพและปริมาณวัสดุที่รื้อถอนตามราคาท้องตลาดในปัจจุบันและจัดท ารายการรายละเอียดการรื้อถอน / วัสดุที่ได้จาการรื้อถอนแล้วแต่กรณี

2. เมื่อด าเนินการตาม ข้อ 1 แล้วให้ สพป.ด าเนินการ ดังนี้ 2.1 อนุมัติให้ใช้ราคาที่คณะกรรมการประเมินราคาก าหนดในการขายทอดตลาด 2.2 อนุมัติให้ด าเนินการขายทอดตลาด 2.3 ประกาศขายทอดตลาด พร้อมท าหนังสือและส่งประกาศขายทอดตลาด เพ่ือเผยแพร่ทางเว็ปไซค์ ซึ่งมีสาระส าคัญ ดังนี้ 2.3.1 รายการที่จะขายทอดตลาด 2.3.2 หลักประกันมูลค่าไม่น้อยกว่าร้อยละ 25 ของราคาประเมิน 2.3.3 คุณสมบัติของผู้มีสิทธิเข้าสู้ราคา 2.3.4 ก าหนดวัน เวลาและสถานที่ที่ขายทอดตลาด 2.3.5 ก าหนดวัน เวลาและสถานที่ในการให้หรือขายรายละเอียด 2.4 แต่งตั้งคณะกรรมการขายทอดตลาดอย่างน้อย 3 คน ในกรณีขายทอดตลาดโดยให้ผู้ที่ชนะการประมูลซื้ออาคารหรือสิ่งปลูกสร้างเป็นผู้รื้อถอน ให้แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสภาพหลังการรื้อถอนด้วย 3. เจ้าหน้าที่พัสดุด าเนินการให้ หรือขายประกาศขายทอดตลาดและรายการรายละเอียดการ รื้อถอน /วัสดุที่ได้จากการรื้อถอนแล้วแต่กรณี ตามระยะเวลาที่ก าหนด 4. ในวันขายทอดตลาดให้ด าเนินการดังนี้ 4.1 รับลงทะเบียนเป็นผู้เข้าสู้ราคาทุกรายโดยให้ลงลายมือชื่อพร้อมช าระหลักประกันเพ่ือเข้า สู้ราคา 4.2 ให้ชี้แจงผู้เข้าสู้ราคาทราบในส่วนที่เป็นสาระส าคัญให้มีความเข้าใจตรงกัน เช่น การขายทอดตลาดเริ่มต้นที่ราคาประเมิน เงื่อนไขในประกาศขายทอดตลาด เป็นต้น

-5-

5. การขายทอดตลาด เมื่อได้ผู้ที่ชนะการประมูลซื้ออาคารหรือสิ่งปลูกสร้างแล้วหากช าระเงินสดทันทีให้ออกใบเสร็จรับเงินแล้วน าเงินส่งคลังเป็นรายได้แผ่นดินของกรมธนารักษ์ กรณีไม่สามารถช าระเงินสดได้ ให้จัดท าสัญญาซื้อขายอาคารที่รื้อถอน หรือวัสดุที่ได้จากการรื้อถอนโดยให้มีรายการ รายละเอียดการรื้อถอน / วัสดุที่ได้จาการรื้อถอน แล้วแต่กรณีเป็นส่วนหนึ่งของสัญญาด้วย 6. รายงานผลการขายทอดตลาด ให้ผอ.สพป.เพ่ือทราบและน าเงินส่งคลังเป็นรายได้ของ กรมธนารักษ์

2. โดยวิธีน าวัสดุที่ได้จากการรื้อถอนไปใช้ประโยชน์แก่ทางราชการ ให้ สพป.ด าเนินการดังนี้ 2.1 แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจนับวัสดุที่ได้จาการรื้อถอนไม่น้อยกว่า 3 คน เพ่ือตรวจนับและควบคุมการใช้วัสดุ และจัดท าบัญชีคุมยอดวัสดุที่รื้อถอนว่ามีจ านวนใด น าไปใช้เท่าใดและคงเหลือเท่าใดทั้งนี้หากมีวัสดุคงเหลือจากการใช้ประโยชน์ให้ด าเนินการจ าหน่าย 2.2 การน าวัสดุไปใช้ประโยชน์แก่ทางราชการให้น าไปใช้ดังนี้ 1) น าไปก่อสร้างอาคารหรือสิ่งปลูกสร้างซึ่งจะต้องน าส่งขึ้นทะเบียนที่ราชพัสดุ 2) น าไปจัดท าเป็นวัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ เช่นโต๊ะ เก้าอ้ี เป็นต้น และวัสดุอุปกรณ์นั้นจะต้องลงบัญชี หรือทะเบียนควบคุมพัสดุ ตามระเบียบส านักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการวัสดุ พ.ศ. 2535 และท่ีแก้ไขเพ่ิมเติม 3) กรณีน าวัสดุที่ได้จากการรื้อถอนไปใช้ประโยชน์อื่น ๆ นอกเหนือจาก 1) และ 2) ให้ท าความ ตกลงดังนี้ 3.1) โรงเรียนในกรุงเทพมหานคร ให้ท าความตกลงกับกรมธนารักษ์ 3.2) โรงเรียนในส่วนภูมิภาคให้ท าความตกลงกับส านักงานธนารักษ์พ้ืนที่ 3. การน าวัสดุที่ได้จาการรื้อถอนไปใช้เพื่อสาธารณประโยชน์ หรือสาธารณกุศล ให้ปฏิบัติดังนี้ 3.1 โรงเรียนในกรุงเทพมหานคร ให้ท าความตกลงกับกรมธนารักษ์ 3.2 โรงเรียนในส่วนภูมิภาค ให้ท าความตกลงกับส านักงานธนารักษ์พ้ืนที่ ข้อสงัเกต 1. เมื่อโรงเรียนได้รับอนุญาตให้รื้อถอนอาคารเรียนหรือสิ่งปลูกสร้างตามที่โรงเรียนแจ้งขออนุญาตแล้วแต่ไม่ได้ด าเนินการตามท่ีขออนุญาต ท าให้อาคารยังคงไม่ได้รื้อถอนและจ าหน่ายด้วยเหตุผลดังนี้คือ 1.1 ไม่ได้ท าการรื้อถอนทันทีเนื่องจากไม่มีงบประมาณในการด าเนินการ 1.2 ผู้บริหารคนเดิมย้าย ผู้บริหารคนใหม่มีความเห็นไม่ให้รื้อถอนจึงไม่ได้ด าเนินการใด ๆ 2. โรงเรียนไม่ได้จัดท าบัญชีคุมจ านวนวัสดุที่ได้จาการรื้อถอนว่าใช้ไปเท่าใด คงเหลือเท่าใด 3. โรงเรียนได้รื้อถอนอาคารหรือสิ่งปลูกสร้างแล้ว จึงแจ้งขอรื้อถอนภายหลัง ซึ่งการกระท าดังกล่าวเป็นเหตุให้ สพป. ไม่สามารถตรวจสอบสภาพและหลักฐานเพ่ือประกอบการพิจารณาอนุญาตให้รื้อถอนได้ 4. โรงเรียนไม่มีหลักฐานรายการส่ง – รับ ที่ราชพัสดุขึ้นทะเบียน (แบบ ทบ. 9) ท าให้ไม่สามารถตรวจสอบหลักฐานการได้มาของอาคารที่ขอรื้อถอน 5. โรงเรียนไม่มีการประชุมขอมติรื้อถอนอาคารหรือสิ่งปลูกสร้างจากคณะกรรมการสถานศึกษา ซึ่งอาจท าให้เกิดปัญหากับชุมชนได้

-6-

แนวปฏบัิติในการขอร้ือถอนอาคารเรียนและส่ิงปลูกสร้างทีร่าชพสัดุ เพื่อใหก้ารร้ือถอนอาคารเรียนและส่ิงปลูกสร้างถูกตอ้งตามระเบียบ และแนวปฏิบติัตามพระราชบญัญติัท่ีราชพสัดุ พ.ศ. 2518 และแนวปฏิบติัของส านกังานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานเก่ียวกบัแนวปฏิบติัการร้ือถอนและจ าหน่ายอาคารเรียนหรือส่ิงปลูกสร้าง วสัดุท่ีร้ือถอน ตน้ไม ้ดิน หรือวสัดุอ่ืนท่ีได ้จากท่ีราชพสัดุ จึงขอใหโ้รงเรียนในสังกดั ส่งเอกสารดงัต่อไปน้ีใหส้ านกังานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาพระนครศรีอยธุยา เขต 1 ด าเนินการ ดงัน้ีคือ 1. แบบส ารวจอาคารเรียน จ านวน 1 ชุด 2. แบบส ารวจอาคารท่ีขอร้ือถอน จ านวน 1 ชุด 3. แบบ ทบ.9 (ท่ีมีเลขท่ีข้ึนทะเบียนแลว้ อย.......... จ านวน 2 ชุด 4. ภาพถ่ายของส่ิงปลูกสร้างท่ีขอร้ือถอน จ านวน 1 ชุด 5. แผนผงัของโรงเรียนท่ีก าหนดจุดของส่ิงปลูกสร้างท่ีขอร้ือถอน จ านวน 1 ชุด 6.แบบ ทบ.3 จ านวน 1 ชุด 7. ส่งรายช่ือคณะกรรมการตรวจสภาพอาคารฯ 3 คน จ านวน 1 ชุด 8. ค าสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสภาพอาคาร ส่ิงปลูกสร้าง ท่ีขอร้ือถอน(ท่ี ผอ.สพป.อย. เขต 1 ลงนามแลว้) จ านวน 1 ฉบบั 9.รายผลของคณะกรรมการตรวจสภาพอาคาร ส่ิงปลูกสร้างท่ีขอร้ือถอน จ านวน 1 ชุด 10. ส่งรายช่ือคณะกรรมการตรวจนบัพสัดุท่ีไดจ้ากการร้ือถอน(กรณี ท่ีโรงเรียนร้ือถอนเอง คณะกรรมการประเมินราคากลาง (กรณีขายทอดตลาด) จ านวน 3 คน จ านวน 1 ชุด 11.รายงานผลของคณะกรรมการตามขอ้ 10 จ านวน 1 ชุด

-7- แบบส ารวจอาคารเรียน

1. ชื่อ โรงเรียน..................................................... ตั้งอยู่ต าบล....................................... อ าเภอ.......................... จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

2. จ านวนนักเรียนทั้งหมด................... คน จ านวนครู..................... คน 3. การจัดชั้นเรียน

ชั้นเรียน จ านวนห้องเรียน จ านวนนักเรียน หมายเหตุ

ชั้นอนุบาลปีที่ 1

ชั้นอนุบาล ปีที่ 2

ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1

ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2

ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3

ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4

ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5

ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

4. มีอาคารเรียนทั้งหมด............. หลัง.......... ห้องเรียน อาคารประกอบ........ หลัง แยกได้ดังนี้

รายการ แบบ จ านวนห้อง สร้างเมื่อ ประเภทเงิน สภาพอาคาร หมายเหตุ

หลังที่ 1 งบประมาณ ดี ช ารุด

หลังที่ 2

หลังที่ 3

-8-

5. อาคารประกอบ............................หลัง แยกได้ดังนี้

รายการ แบบ จ านวนห้อง สร้างเมื่อ ประเภทเงิน สภาพอาคาร หมายเหตุ

หลังที่ 1 งบประมาณ ดี ช ารุด

หลังที่ 2

หลังที่ 3

(ลงชื่อ)………………………………...........….ผู้กรอกแบบส ารวจ (..........................................)

(ลงชื่อ)………………………………...........….ผู้อ านวยการโรงเรียน (.................................................) ส ารวจเมื่อวันที่........................................

ภาคผนวก