19
1 ครูณรงคฤทธิศักดารณรงค เรื่อง การเปลี่ยนแปลงของภาษา ผูสอน ครูณรงคฤทธิศักดารณรงค ครูเชี่ยวชาญ คศ.4 วิชาภาษาไทย 43101 ชั้นมัธยมศึกษาปที6 หนวยการเรียนรูที4

วิชาภาษาไทย ท43101edltv.thai.net/courses/668/51thM6-KOs040701.pdf · ครูณรงค ฤทธิ์ศักดารณรงค 2 ธรรมชาติของภาษาย

  • Upload
    others

  • View
    0

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: วิชาภาษาไทย ท43101edltv.thai.net/courses/668/51thM6-KOs040701.pdf · ครูณรงค ฤทธิ์ศักดารณรงค 2 ธรรมชาติของภาษาย

1ครูณรงคฤทธิ์ ศักดารณรงค

เรือ่ง การเปลี่ยนแปลงของภาษาเรือ่ง การเปลี่ยนแปลงของภาษา

ผูสอน ครณูรงคฤทธิ์ ศักดารณรงคครเูชี่ยวชาญ คศ.4

วิชาภาษาไทย ท43101ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6หนวยการเรยีนรูที่ 4

Page 2: วิชาภาษาไทย ท43101edltv.thai.net/courses/668/51thM6-KOs040701.pdf · ครูณรงค ฤทธิ์ศักดารณรงค 2 ธรรมชาติของภาษาย

2ครูณรงคฤทธิ์ ศักดารณรงค

ธรรมชาติของภาษายอมมีการเปลี่ยนแปลง ทั้งเสียง คํา ความหมายแตภาษาที่เปลี่ยนแปลงชาที่สุด คือ ภาษาถิ่น

ธรรมชาติของภาษายอมมีการเปลี่ยนแปลง ทั้งเสียง คํา ความหมายแตภาษาที่เปลี่ยนแปลงชาที่สุด คือ ภาษาถิ่น

Page 3: วิชาภาษาไทย ท43101edltv.thai.net/courses/668/51thM6-KOs040701.pdf · ครูณรงค ฤทธิ์ศักดารณรงค 2 ธรรมชาติของภาษาย

3ครูณรงคฤทธิ์ ศักดารณรงค

เสียงเสียงคําคํา

ความหมายความหมาย

Page 4: วิชาภาษาไทย ท43101edltv.thai.net/courses/668/51thM6-KOs040701.pdf · ครูณรงค ฤทธิ์ศักดารณรงค 2 ธรรมชาติของภาษาย

4ครูณรงคฤทธิ์ ศักดารณรงค

ภาษาถิ่น มกีารเปลีย่นแปลงทางภาษาและวัฒนธรรมนอยกวาภาษากลาง นักภาษาจึงใชภาษาถิ่นเปนเครือ่งทดสอบความหมายของภาษาดั้งเดิม

ภาษาถิ่น มกีารเปลีย่นแปลงทางภาษาและวัฒนธรรมนอยกวาภาษากลาง นักภาษาจึงใชภาษาถิ่นเปนเครือ่งทดสอบความหมายของภาษาดั้งเดิม

Page 5: วิชาภาษาไทย ท43101edltv.thai.net/courses/668/51thM6-KOs040701.pdf · ครูณรงค ฤทธิ์ศักดารณรงค 2 ธรรมชาติของภาษาย

5ครูณรงคฤทธิ์ ศักดารณรงค

เรือด หมายถึงตัวที่ดูดกินเลือดคนและสัตว คนสมัยใหมไมรูจักตัวเรือด มักออกเสียงเลือด เมื่อนําไปทดสอบกบัภาษาอีสานออกเสียงวาเฮือด หรือตัวเฮือด ซึง่หมายถึงตัวเรือด

เรือด หมายถึงตัวที่ดูดกินเลือดคนและสัตว คนสมัยใหมไมรูจักตัวเรือด มักออกเสียงเลือด เมื่อนําไปทดสอบกบัภาษาอีสานออกเสียงวาเฮือด หรือตัวเฮือด ซึง่หมายถึงตัวเรือด

Page 6: วิชาภาษาไทย ท43101edltv.thai.net/courses/668/51thM6-KOs040701.pdf · ครูณรงค ฤทธิ์ศักดารณรงค 2 ธรรมชาติของภาษาย

6ครูณรงคฤทธิ์ ศักดารณรงค

ขอสังเกต ตัวเรือด ทีภ่าษาอีสานออกเสียงเปน ตัวเฮือด เพราะ ร กลายเปน ฮ ในภาษาถิ่นอีสาน สวนคําวา เลือด ยังคงออกเสียงวา เลือด อยูาตามเดิม

ขอสังเกต ตัวเรือด ทีภ่าษาอีสานออกเสียงเปน ตัวเฮือด เพราะ ร กลายเปน ฮ ในภาษาถิ่นอีสาน สวนคําวา เลือด ยังคงออกเสียงวา เลือด อยูาตามเดิม

Page 7: วิชาภาษาไทย ท43101edltv.thai.net/courses/668/51thM6-KOs040701.pdf · ครูณรงค ฤทธิ์ศักดารณรงค 2 ธรรมชาติของภาษาย

7ครูณรงคฤทธิ์ ศักดารณรงค

ภาษาถิ่น บางครั้งเรียกวา ภาษาพื้นเมือง อาจเปนเพราะภาษาถิ่นไมเปนที่ยอมรับกันวา เปนภาษามาตรฐานหรือภาษากลางของประเทศ

ภาษาถิ่น บางครั้งเรียกวา ภาษาพื้นเมือง อาจเปนเพราะภาษาถิ่นไมเปนที่ยอมรับกันวา เปนภาษามาตรฐานหรือภาษากลางของประเทศ

Page 8: วิชาภาษาไทย ท43101edltv.thai.net/courses/668/51thM6-KOs040701.pdf · ครูณรงค ฤทธิ์ศักดารณรงค 2 ธรรมชาติของภาษาย

8ครูณรงคฤทธิ์ ศักดารณรงค

สรุป ภาษาถิ่นคือภาษาที่พูดแตกตางกันในแตละทองถิ่น แตสามารถติดตอสื่อสารทาํความเขาใจกันได แมจะตางสําเนียงแตถือเปนภาษาเดียวกัน

สรุป ภาษาถิ่นคือภาษาที่พูดแตกตางกันในแตละทองถิ่น แตสามารถติดตอสื่อสารทาํความเขาใจกันได แมจะตางสําเนียงแตถือเปนภาษาเดียวกัน

Page 9: วิชาภาษาไทย ท43101edltv.thai.net/courses/668/51thM6-KOs040701.pdf · ครูณรงค ฤทธิ์ศักดารณรงค 2 ธรรมชาติของภาษาย

9ครูณรงคฤทธิ์ ศักดารณรงค

หมายถึงภาษาที่ใชเปนภาษาราชการ เปนภาษาเมืองหลวงใชถายทอดเสียงพูดเปนตัวอักษรไดใกลเคียงที่สุด และเปนภาษาของคนสวนใหญในประเทศ

Page 10: วิชาภาษาไทย ท43101edltv.thai.net/courses/668/51thM6-KOs040701.pdf · ครูณรงค ฤทธิ์ศักดารณรงค 2 ธรรมชาติของภาษาย

10ครูณรงคฤทธิ์ ศักดารณรงค

สภาพภูมิศาสตรกาลเวลาอิทธิพลภาษาใกลเคียงการผสมทางวัฒนธรรม

1.2.3.4.

Page 11: วิชาภาษาไทย ท43101edltv.thai.net/courses/668/51thM6-KOs040701.pdf · ครูณรงค ฤทธิ์ศักดารณรงค 2 ธรรมชาติของภาษาย

11ครูณรงคฤทธิ์ ศักดารณรงค

เอกลักษณวัฒนธรรมทองถิ่นสัญลกัษณแสดงความเปนพวกเดียวกันเปนฐานของภาษาและวรรณคดีไทยเปนขอมลูทางวัฒนธรรมและทัศนคติ

1.2.3.4.

Page 12: วิชาภาษาไทย ท43101edltv.thai.net/courses/668/51thM6-KOs040701.pdf · ครูณรงค ฤทธิ์ศักดารณรงค 2 ธรรมชาติของภาษาย

12ครูณรงคฤทธิ์ ศักดารณรงค

กรงุเทพ ฯกรงุเทพ ฯอีสานอีสานเหนือเหนือใตใต

Page 13: วิชาภาษาไทย ท43101edltv.thai.net/courses/668/51thM6-KOs040701.pdf · ครูณรงค ฤทธิ์ศักดารณรงค 2 ธรรมชาติของภาษาย

13ครูณรงคฤทธิ์ ศักดารณรงค

หนวยเสียงพยัญชนะในภาษาถิ่น เทยีบกบัภาษากลาง 21 หนวยเสียง มเีสียงแตกตางกนั ดังตอไปนี้

หนวยเสียงพยัญชนะในภาษาถิ่น เทยีบกบัภาษากลาง 21 หนวยเสียง มเีสียงแตกตางกนั ดังตอไปนี้

Page 14: วิชาภาษาไทย ท43101edltv.thai.net/courses/668/51thM6-KOs040701.pdf · ครูณรงค ฤทธิ์ศักดารณรงค 2 ธรรมชาติของภาษาย

14ครูณรงคฤทธิ์ ศักดารณรงค

ภาษาอีสานไมมีหนวยเสียง /ช/ร/ภาษาเหนือไมมีหนวยเสียง /ช/ร/ภาษาใตไมมีหนวยเสียง /ง/ร/ภาษากลางไมมีหนวยเสียง /ญ/ย/หรือ ญ นาสิก

ภาษาอีสานไมมีหนวยเสียง /ช/ร/ภาษาเหนือไมมีหนวยเสียง /ช/ร/ภาษาใตไมมีหนวยเสียง /ง/ร/ภาษากลางไมมีหนวยเสียง /ญ/ย/หรือ ญ นาสิก

Page 15: วิชาภาษาไทย ท43101edltv.thai.net/courses/668/51thM6-KOs040701.pdf · ครูณรงค ฤทธิ์ศักดารณรงค 2 ธรรมชาติของภาษาย

15ครูณรงคฤทธิ์ ศักดารณรงค

หนวยเสียงวรรณยุกตในภาษาถิ่น แตกตางกนัในแตละทองถิ่น ภาษาในภาคเดยีวกนัอาจแตกตางกนัก็ได

หนวยเสียงวรรณยุกตในภาษาถิ่น แตกตางกนัในแตละทองถิ่น ภาษาในภาคเดยีวกนัอาจแตกตางกนัก็ได

Page 16: วิชาภาษาไทย ท43101edltv.thai.net/courses/668/51thM6-KOs040701.pdf · ครูณรงค ฤทธิ์ศักดารณรงค 2 ธรรมชาติของภาษาย

16ครูณรงคฤทธิ์ ศักดารณรงค

ภาษาอีสานมีเสียงวรรณยุกต 6 เสียงภาษาอีสานมีเสียงวรรณยุกต 6 เสียง

ภาษาเหนือมีเสียงวรรณยุกต 6 เสียงภาษาเหนือมีเสียงวรรณยุกต 6 เสียง

ภาษาใตมีเสียงวรรณยุกต 7 เสียงภาษาใตมีเสียงวรรณยุกต 7 เสียง

Page 17: วิชาภาษาไทย ท43101edltv.thai.net/courses/668/51thM6-KOs040701.pdf · ครูณรงค ฤทธิ์ศักดารณรงค 2 ธรรมชาติของภาษาย

17ครูณรงคฤทธิ์ ศักดารณรงค

เสียงวรรณยุกตในภาษาถิ่นใตมีเสียงเพิ่มขึ้นคือ เสียงสามัญหางเสียงตรีเทียบเสียง /mE/ในเสียงดนตรีและเสียงสามัญหางเสียงจัตวาเทียบเสียง /RE/ในเสียงดนตรี

เสียงวรรณยุกตในภาษาถิ่นใตมีเสียงเพิ่มขึ้นคือ เสียงสามัญหางเสียงตรีเทียบเสียง /mE/ในเสียงดนตรีและเสียงสามัญหางเสียงจัตวาเทียบเสียง /RE/ในเสียงดนตรี

Page 18: วิชาภาษาไทย ท43101edltv.thai.net/courses/668/51thM6-KOs040701.pdf · ครูณรงค ฤทธิ์ศักดารณรงค 2 ธรรมชาติของภาษาย

18ครูณรงคฤทธิ์ ศักดารณรงค

อิทธิพลของภาษาถิ่นที่มีตอภาษาไทย เชน มีอิทธิพลในการออกเสียงภาษากลาง การศึกษาภาษาถิ่นชวยใหเขาใจความหมายภาษาและภาษาวรรณคดีไดดียิ่งขึ้น ตลอดทั้งทําใหเกิดความภูมิใจในทองถิ่นของตน

อิทธิพลของภาษาถิ่นที่มีตอภาษาไทย เชน มีอิทธิพลในการออกเสียงภาษากลาง การศึกษาภาษาถิ่นชวยใหเขาใจความหมายภาษาและภาษาวรรณคดีไดดียิ่งขึ้น ตลอดทั้งทําใหเกิดความภูมิใจในทองถิ่นของตน

Page 19: วิชาภาษาไทย ท43101edltv.thai.net/courses/668/51thM6-KOs040701.pdf · ครูณรงค ฤทธิ์ศักดารณรงค 2 ธรรมชาติของภาษาย

19ครูณรงคฤทธิ์ ศักดารณรงค

การเปลี่ยนแปลงของภาษา ทําใหเกิดภาษาถิ่น การสรางคํา การผสมผสานของคําระหวางภาษาในแตละถิ่น ลักษณะเชนนี้ ถือวาเปนเอกลักษณเฉพาะของภาษาถิ่นที่มีอิทธิพลตอกัน

การเปลี่ยนแปลงของภาษา ทําใหเกิดภาษาถิ่น การสรางคํา การผสมผสานของคําระหวางภาษาในแตละถิ่น ลักษณะเชนนี้ ถือวาเปนเอกลักษณเฉพาะของภาษาถิ่นที่มีอิทธิพลตอกัน