42
โปรแกรมรับจํานํา-ขายฝากสินคา นายธรรมรัตน ขจิตตานนท รหัส 53296940010 นายกฤษฏิศักดิพลประสิทธิรหัส 53296940015 ภาคนิพนธฉบับนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร ปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต (เทคโนโลยีสารสนเทศ) คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิตพ.ศ.2555

นายธรรมรัตน ขจิตตานนท รหัส 53296940010 · 2013-06-24 · โปรแกรมรับจํานํา-ขายฝากสินค

  • Upload
    others

  • View
    0

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: นายธรรมรัตน ขจิตตานนท รหัส 53296940010 · 2013-06-24 · โปรแกรมรับจํานํา-ขายฝากสินค

โปรแกรมรับจํานํา-ขายฝากสินคา

นายธรรมรัตน ขจิตตานนท รหัส 53296940010

นายกฤษฏิศักดิ์ พลประสิทธิ์ รหัส 53296940015

ภาคนิพนธฉบับนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร

ปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต (เทคโนโลยีสารสนเทศ)

คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิตพ.ศ.2555

Page 2: นายธรรมรัตน ขจิตตานนท รหัส 53296940010 · 2013-06-24 · โปรแกรมรับจํานํา-ขายฝากสินค

บทที่ 1

บทนํา

1.1 ความเปนมาและความสําคัญ

ในยุคกาวหนาของเทคโนโลยีเชนทุกวันนี้ สารสนเทศสามารถนํามาประยุกตใชใหเกิดประโยชนไดอยางมากมาย ไมวาจะเปนการนํามาใชในงานธุรกิจ การบริหาร หรือกิจกรรมอื่นๆ ตลอดจนการนําขอมูลที่ตองการใชใหทันตอเหตุการณ ดังนั้นคอมพิวเตอรจึงถูกนํามาเปนเครื่องมือชวยในการจัดเก็บขอมูล ประมวลผลขอมูล ซึ่งทําใหระบบในการจัดเก็บขอมูลมีความสะดวกมากยิ่งขึ้น

นอกจากนี้ในปจจุบัน งานธุรกิจสวนใหญมักจะดําเนินไปดวยความเรงรีบ แขงกับเวลา โดยเฉพาะธุรกิจบริหารที่เกี่ยวของกับธุรกรรมการเงิน อยากเชนรานรับจํานํา ขายฝาก ซึ่งอาจมีการตกหลน ลาชา หรือเกิดการซ้ําซอนของงานเอกสารนั้นๆได ซึ่งจะสงผลใหเกิดความเสียหายในธุรกิจ รวมทั้งลูกคาอาจสูญเสียความมั่นใจในธุรกิจอีกดวย เจาของกิจการจึงเริ่มใหความสําคัญตอโปรแกรมสารสนเทศเพื่อหาทางปองกัน หรือหลีกเลี่ยงตอการสูญหายของขอมูลที่เปนเอกสาร ดวยเหตุนี้เอง สารสนเทศจึงเขามามีบทบาทในธุรกิจ ทั้งนี้กเ็พราะเพ่ิมความสะดวกรวดเร็ว และลดปญหาดังกลาวได

จากปญหาขางตนผูวิจัยไดเล็งเห็นปญหานี้ จึงไดนําเทคโนโลยีสารสนเทศมาประยุกตใชเพื่อ

พัฒนาโปรแกรมรานรับจํานําขายฝากสินคา ที่สามารถบันทึกรายการ และรายละเอียดตางๆดวย

เครื่องคอมพิวเตอร รวมทั้งสามารถบันทึกขอมูลลงฐานขอมูล และคํานวณดอกเบี้ย วันครบกําหนด

ชําระ หรือเรียกดูขอมูลการ จํานํา-ไถถอน ยอนหลังไดอีกดวย ซึ่งคุณสมบัติเหลานี้ถูกพัฒนาเพื่อตอบ

โจทยของผูทําธุรกิจดังกลาว โดยการนําอุปกรณฮารดแวรมาประยุกตใชกับการพัฒนาระบบซอฟแวร

ทําใหระบบเกิดประสิทธิภาพสูงขึ้น และสามารถนําเอาโปรแกรมดังกลาวไปพัฒนาตอในระบบงาน

ธุรกิจที่เกี่ยวของได

Page 3: นายธรรมรัตน ขจิตตานนท รหัส 53296940010 · 2013-06-24 · โปรแกรมรับจํานํา-ขายฝากสินค

1.2 วัตถุประสงคของการศึกษา

1.2.1 เพื่อพัฒนาโปรแกรมรับจํานํา ขายฝากสินคา

1.2.2 เพื่อประเมินความพึงพอใจของโปรแกรมรับจํานําขายฝากสินคา

1.3 ขอบเขตของการพัฒนาระบบ

1.3.1 กลุมประชากร เจาของกิจการรานรับจํานํา-ขายฝากสินคา จํานวน 5 คน 1.3.2 ระยะเวลาในการวิจัย ตั้งแตเดือนเมษายน พ.ศ. 2556 ถึง เดือนตุลาคม พ.ศ. 2556 1.3.3 ขอบเขตของระบบ

1.3.3.1 โปรแกรมสามารถกําหนดรหัสผานการเขาใชงานโปรแกรมได 1.3.4.2 โปรแกรมสามารถเพิ่ม – ลบ ขอมูลการรับจํานําขายฝากสินคาได 1.3.4.3 โปรแกรมสามารถตรวจสอบขอมูลยอนหลังได 1.3.4.4 โปรแกรมสามารถสั่งพิมพการรายงานขอมูลได

1.3.4.5 โปรแกรมสามารถกําหนดอัตราดอกเบี้ยได

1.3.4.6 โปรแกรมสามารถกําหนดวันชําระคางวดได

1.3.4.7 โปรแกรมสามารถแจงเตือนสินคาที่หลุดจํานําได

1.4 ประโยชนที่ไดรับจากการวิจัย 1.4.1 เพื่อความรวดเร็วในการใหบริการ 1.4.2 เพื่อความสะดวกในการจัดเก็บขอมูลสินคา 1.4.3 เปนแนวทางในการพัฒนาระบบการจัดเก็บขอมูลลูกคาใหดีขึ้น 1.4.4 เปนการนําเทคโนโลยีที่มีอยูในปจจุบันมาพัฒนาใหมีประสิทธิภาพสูงขึ้น 1.5 ขอตกลงในการวิจัย

1.5.1 ผูใชงานตองเขาใจยูเซอรอินเตอรเฟสการทํางานโดยรวมของโปรแกรมดังกลาว

1.5.1 ผูที่จะใชงานโปรแกรมรานรับจํานําขายฝากสินคา ควรศึกษาคูมือในการใชงานกอนเขา

ใชโปรแกรม

1.7 นิยามศัพทเฉพาะ Microsoft Visual Basic หมายถึง โปรแกรมที่ใชในการพัฒนาโปรแกรม Microsoft Access หมายถึง ระบบฐานขอมูลที่ใชจัดเก็บขอมูล Database หมายถึง กลุมของขอมูลที่มีความสัมพันธกัน นํามาเก็บรวบรวมเขาไวดวยกันอยางมี ระบบระเบียบ

รับจํานํา-ขายฝาก หมายถึง กิจการขนาดเล็กๆ ที่ใหบริการการรับ จํานํา-ขายฝากสินคาตางๆ

Page 4: นายธรรมรัตน ขจิตตานนท รหัส 53296940010 · 2013-06-24 · โปรแกรมรับจํานํา-ขายฝากสินค

บทที ่2 วรรณกรรมที่เกี่ยวของ

วรรณกรรมที่เกี่ยวของในการพัฒนาโปรแกรมรับจํานํา-ขายฝากสินคา ซึ่งมีแนวคิดทฤษฎี

โปรแกรมในการพัฒนาระบบดังนี ้2.1 ทฤษฎีและแนวคิดในการพัฒนาโปรแกรม 2.2 แนวคิดในการออกแบบฐานขอมูล 2.3 ทฤษฎีความพึงพอใจ 2.4 โปรแกรมที่เกี่ยวของ

2.4.1 Microsoft Visual Basic 2010 2.4.2 Microsoft Access 2010

2.5 งานวิจัยที่เกี่ยวของ

2.1 ทฤษฎีและแนวคิดในการพัฒนาโปรแกรม

วงจรการพัฒนาโปรแกรม (Program Development Life Cycle: PDLC) คือ ขั้นตอนการทํางานที่โปรแกรมเมอรใชสําหรับสรางโปรแกรม ประกอบดวย 5 ขั้นตอน ดังนี้

1. การวิเคราะหปญหา (Program Analysis) 2. การออกแบบโปรแกรม (Program Design) 3. การเขียนโปรแกรม (Program Coding) 4. การทดสอบโปรแกรม (Program Testing) 5. การบํารุงรักษาโปรแกรม (Program Maintenance)

Page 5: นายธรรมรัตน ขจิตตานนท รหัส 53296940010 · 2013-06-24 · โปรแกรมรับจํานํา-ขายฝากสินค

ภาพที่ 2.1 วงจรการพัฒนาโปรแกรม 1.การวิเคราะหปญหา (Problem Analysis)

เปนขั้นตอนแรกของวงจรการพัฒนาโปรแกรม ซึ่งเปนการศึกษาถึงปญหาที่เกิดขึ้น และคนหาสิ่งที่ตองการ เพื่อพิจารณาสิ่งตอไปนี ้

1.1. ขอมูลที่จะนําเขาสูคอมพิวเตอรมีอะไรบาง 1.2. วิธีการประมวลผลขอมูลที่นําเขาและผลลัพธที่ตองการ 1.3. การแสดงผลที่ได ตองการแสดงผลลัพธอะไรและมีหนาตาเปนอยางไร

2.การออกแบบโปรแกรม (Program Design) เปนขั้นตอนที่ 2 ของวงจรการพัฒนาโปรแกรมซึ่งการออกแบบโปรแกรมเปนขั้นตอนที่ตองใช

เครื่องมือชวยในการออกแบบ เชน ผังงาน (Flowchart) รหัสจําลอง (Pseudo code) เปนตน ซึ่งจะชวยใหเขาใจขั้นตอนการทํางานของโปรแกรมไดดียิ่งขึ้น

ผังงาน (Flowchart) เปนเครื่องมือชนิดหนึ่งที่ใชรูปภาพแสดงถึงขั้นตอนการเขียนโปรแกรมและมีลกูศรแสดงทิศทางการไหลของขอมูลจากจุดเริ่มตนถึงจุดเสนสุด

1.วิเคราะหปญหา -ตรวจสอบ Program Specification Packege -ปรึกษากับนักวิเคราะหระบบ(SA) และผูใช -กําหนดองคประกอบของโปรแกรม เชน อินพุต เอาตพุต การประมวลผล

2.ออกแบบโปรแกรม -แบงหนาที่หลัก (Main Module) ของโปรแกรม ออกเปน Module ตางๆ -ออกแบบอัลกอริทึมใหแตละโมดูล -ทดสอบผลลัพธที่ไดจากอัลกอริทึม

3.เขียนโปรแกรม -เปลี่ยนอัลกอริทึมในขั้นตอนที่ 2 มาเปนภาษาโปรแกรมมิ่ง -เขียนโปรแกรม และทดลองรันโปรแกรมดู

4.ทดสอบโปรแกรม -เมื่อพบ Error ของโปรแกรมใหแกไขทันที -การ Error อาจเกิดขึ้นจากการเขียนไวยากรณของภาษาผิดหรืออาจผิดที่อัลกอริทึมก็ได

5.บํารุงรักษาโปรแกรม -แกไข Error ที่พบระหวางการใชงานประแกรมจริงโดยผูใช -ปรับปรุงและเพิ่มเติมความสามารถใหกับโปรแกรมมากขึ้น

วงจรการพัฒนา

โปรแกรม

Page 6: นายธรรมรัตน ขจิตตานนท รหัส 53296940010 · 2013-06-24 · โปรแกรมรับจํานํา-ขายฝากสินค

ตัวอยางสัญลักษณที่ใชในผังงาน

สัญลักษณ ความหมาย

จุดเริ่มตนและจุดสิ้นสุดของโปรแกรม

การประมวลผล

ทางเลือกหรือการตัดสินใจ

รับขอมูลหรือแสดงผลขอมูล

ตัวเชื่อมตอ

ทิศทางการไหลของขอมูล

ตารางที่ 2.1 ตัวอยางสัญลักษณที่ใชในผังงาน 3.การเขียนโปรแกรม (Program Coding)

ซึ่งเปนขั้นตอนหลังจากที่ไดมีการออกแบบโปรแกรมแลว ขั้นตอนนี้เปนการเขียนโปรแกรมดวยภาษาคอมพิวเตอร เชน ภาษา C ภาษา Pascal เปนตน ทั้งนี้แตละภาษาจะมีความเหมาะสมในการใชงานแตกตางกันออกไป 4.การทดสอบโปรแกรม (Program Testing)

เปนการนําโปรแกรมที่ลงรหัสแลวเขาคอมพิวเตอร เพื่อตรวจสอบรูปแบบกฎเกณฑของภาษา และผลการทํางานของโปรแกรมนั้น ถาพบวายังไมถูกก็แกไขใหถูกตอง ซึ่งการเกิด Error ของโปรแกรมมีมาจาก 2 สาเหตุ คือ

1. Syntax Error คือ ขอผิดพลาดที่เกิดจากการเขียนโคดคําสั่ง (Source Code) ที่ไมตรงกับไวยากรณ (Syntax) ของภาษาโปรแกรมมิ่งนั้นๆ

2. Logic Error เปนขอผิดพลาดที่เกิดจากการออกแบบอัลกอริทึมใหทํางานผิดวัตถุประสงค ขอผิดพลาดของโปรแกรม เรียกวา “Bug” การแกไขขอผิดพลาด เรียกวา “Degug” โปรแกรมที่ทํางานไมไดตามวัตถุประสงค เรียกวามี “Error”

Page 7: นายธรรมรัตน ขจิตตานนท รหัส 53296940010 · 2013-06-24 · โปรแกรมรับจํานํา-ขายฝากสินค

5.การบํารุงรักษาโปรแกรม (Program Maintenance) เมื่อโปรแกรมผานการตรวจสอบตามขั้นตอนเรียบรอยแลว และถูกนํามาใหผูใชไดใชงาน

ในชวงแรกผูใชอาจจะยังไมคุนเคยก็อาจทําใหเกิดปญหาขึ้นมาบาง ดังนั้นจึงตองมีผูคอยควบคุมดูแลและคอยตรวจสอบการทํางาน การบํารุงรักษาโปรแกรมจึงเปนขั้นตอนที่ผูเขียนโปรแกรมตองคอยเฝาดูและหาขอผิดพลาดของโปรแกรมในระหวางที่ผูใช ใชงานโปรแกรม และปรับปรุงโปรแกรมเมื่อเกิดขอผิดพลาดขึ้น หรือในการใชงานโปรแกรมไปนานๆ ผูใชอาจตองการเปลี่ยนแปลงการทํางานของระบบงานเดิมเพื่อใหเหมาะกับเหตุการณ นักเขียนโปรแกรมก็จะตองคอยปรับปรุงแกไขโปรแกรมตามความตองการของผูใชที่เปลี่ยนแปลงไป

2.3 แนวคิดในการออกแบบฐานขอมูล

การออกแบบฐานขอมูลในระดับแนวคิดเปนขั้นตอนถัดมาจากการรวบรวมและวิเคราะห

ความตองการในการใชขอมูล เปนการออกแบบโครงรางของฐานขอมูลในระดับแนวคิด (conceptual

schema design) เพื่อกําหนดโครงสรางพื้นฐานของฐานขอมูลและรายละเอียดทั้งหมดของฐานขอมูล

ไดแก รีเลชัน ตาง ๆ ที่ควรเปนสวนประกอบของฐานขอมูล แอททริบิวตที่ควรเปนสวนประกอบใน

โครงรางของแตละรีเลชัน แอททริบิวตที่ควรเปนคียหลัก (primary key) และคียนอก (foreign key)

ในแตละรีเลชัน ตลอดจนคุณสมบัติหรือรูปแบบที่เปนบรรทัดฐานที่เหมาะสมในแตละรีเลชัน ทั้งนี้ การ

ออกแบบโครงรางของรีเลชันที่ดีจะชวยลดปญหาที่อาจเกิดขึ้นกับฐานขอมูลลงได ตัวอยางเชน การ

ซ้ําซอนของขอมูล และความขัดแยงของขอมูล เปนตน นอกจากนี้ การออกแบบโครงรางของ

ฐานขอมูลในระดับแนวคิดยังครอบคลุมถึงการกําหนดขอจํากัดและกฎเกณฑของขอมูล รวมทั้งการ

ควบคุมความปลอดภัยของฐานขอมูลอีกดวย

สิ่งสําคัญที่ผูออกแบบฐานขอมูลควรตองทําการศึกษาและวิเคราะหกอนออกแบบโครงราง

ของฐานขอมูลในระดับแนวคิด คือ ขั้นตอนการทํางานของระบบงานที่กําลังทําการออกแบบขอมูลที่

เกี่ยวของกับ การทํางานในแตละขั้นตอน กระแสการไหลของขอมูล (dataflow) รูปแบบและ

รายละเอียดในการประมวลผล รวมทั้งลักษณะการเก็บบันทึกขอมูล ซึ่งผลจากการศึกษาและวิเคราะห

เรื่องดังกลาวจะเปนประโยชนอยางยิ่งตอการกําหนดคุณลักษณะและการออกแบบโปรแกรมประยุกต

เพื่อการใชงานระบบฐานขอมูล

กระบวนการออกแบบฐานขอมูลในระดับแนวคิดนี้อาจกลาวไดวา เปนกระบวนการแบบ

ทําซ้ํา (iterative) มากกวาเปนกระบวนการที่ดําเนินไปตามลําดับ (sequential) เนื่องจากในระบบ

ฐานขอมูลขนาดใหญซึ่งประกอบดวยแอททริบิวตจํานวนมาก การวิเคราะหความสัมพันธระหวางแอ

ททริบิวตจะเปนเรื่อง ยุงยากมาก ดังนั้นในทางปฏิบัติ การออกแบบระบบฐานขอมูลจึงมักกระทําใน

ลักษณะจําลองแบบในระดับบนหรือภาพรวมของการทํางานกอน โดยยังไมใหความสําคัญในเรื่อง

ความสัมพันธระหวางแอททริบิวต ซึ่งใน การออกแบบโครงรางของฐานขอมูลในระดับแนวคิดนิยมนํา

แแบบจําลองที่เรียกวา อ-ีอารไดอะแกรม (Entity-Relationship Diagram) มาประยุกตใชเพื่อชวยให

Page 8: นายธรรมรัตน ขจิตตานนท รหัส 53296940010 · 2013-06-24 · โปรแกรมรับจํานํา-ขายฝากสินค

การออกแบบมีความเหมาะสมมากยิ่งขึ้น ซึ่งผลจาก การออกแบบจะทําใหเห็นถึงเอนทิตีตาง ๆ ใน

ระบบ รายละเอียดของความสัมพันธ ตลอดจนขอกําหนดและกฎเกณฑทางธุรกิจขององคกร โดยใน

ระหวางดําเนินการอาจมีการเพิ่มหรือลดเอนทิตี แอททริบิวต และ ความสัมพันธตาง ๆ ใน อี-อาร

ไดอะแกรมไดดวย แบบจําลองอี-อารไดอะแกรมขั้นพื้นฐานจึงไดรับการปรับปรุงใหชัดเจน ถูกตอง

และสอดคลองกับองคประกอบขององคกรมากขึ้น โดยกระบวนการนี้จะทําซ้ํา ๆ กันไปจนกวาผูใช

และผูออกแบบระบบจะมีความเห็นตรงกันวาเหมาะสม ดังนั้น ลักษณะเดนของแบบจําลองอี-อาร

ไดอะแกรม คือ การแสดงใหเห็นขั้นตอนการทํางานขององคกรไดอยางแทจริงและเปนที่ยอมรับของ

ผูเกี่ยวของทุกฝาย อยางไรก็ตาม การออกแบบฐานขอมูลในระดับแนวคิดอาจจําแนกได 5 ขั้นตอน

ตามลําดับ คือ

1. การกําหนดรีเลชันและความสัมพันธระหวางรีเลชัน

2. การกําหนดแอททริบิวต คียหลัก และคียนอกในแตละรีเลชัน

3. การทําใหรีเลชันมีคุณสมบัติอยูในรูปแบบที่เปนบรรทัดฐาน

4. ลักษณะและขอบเขตของขอมูล รวมทั้งขอจํากัดและกฎเกณฑตาง ๆ ที่ควรคํานึง

5. การรวบรวมและทบทวนการออกแบบฐานขอมูลในระดับแนวคิด

1. การกําหนดรีเลชันและความสัมพันธระหวางรีเลชัน

ขั้นตอนนี้จะเปนการกําหนดรีเลชันตาง ๆ ที่ควรจะมี และความสัมพันธระหวางแต

ละรีเลชันในระบบฐานขอมูล ซึ่ งประกอบดวย การกําหนดเอนทิตีที่ เกี่ยวของ การกําหนด

ความสัมพันธระหวางเอนทิตี การแปลงเอนทิตีใหเปนรีเลชัน และการแปลงความสัมพันธระหวาง

เอนทิตีเปนความสัมพันธระหวางรีเลชัน

หลังจากศึกษาและวิเคราะหรายละเอียดของระบบงานที่จะทําการออกแบบแลว

ผูออกแบบฐานขอมูลจะทําการกําหนดเอนทีตีตาง ๆ ที่ควรจะมี จากนั้นจึงทําการกําหนด

ความสัมพันธระหวางเอนทิตี ทั้งนี้ วัตถุประสงคของการกําหนดความสัมพันธระหวางเอนทิตีวา เปน

ความสัมพันธแบบหนึ่งตอหนึ่ง (one to one relationship) ความสัมพันธแบบหนึ่งตอกลุม (one to

many relationship) หรือความสัมพันธแบบกลุมตอกลุม (many to many relationship) ก็เพื่อ

ประโยชนในการกําหนดแอททริบิวตที่จะใชในการเชื่อมโยงอางอิงระหวางรีเลชันนั่นเอง

อยางไรก็ตาม กฎเกณฑในการกําหนดความสัมพันธระหวางเอนทิตีนั้นเปนสิ่งที่ไมมีการ

ระบุไวแนนอน เนื่องจากการดําเนินงานในแตละหนวยงานอาจมีความแตกตางกัน ตัวอยางเชน

สถาบันหนึ่งอาจกําหนดใหหนึ่งชุดวิชามีอาจารยผูสอนเพียงคนเดียวเทานั้น ขณะที่สถาบันอีกแหงหนึ่ง

อาจกําหนดใหหนึ่ง ชุดวิชามีอาจารยผูสอนไดมากกวาหนึ่งคน เปนตน ดังนั้น ในการกําหนด

Page 9: นายธรรมรัตน ขจิตตานนท รหัส 53296940010 · 2013-06-24 · โปรแกรมรับจํานํา-ขายฝากสินค

ความสัมพันธระหวางเอนทิตี ผูออกแบบฐานขอมูลจึงจําเปนตองทําการศึกษา วิเคราะห และพิจารณา

จากขอมูลรายละเอียด ตลอดจนลักษณะหนาที่งานของระบบที่ไดทําการเก็บรวบรวมมากอนหนานี ้

จากนั้นจึงทําการแปลงเอนทิตีใหเปนรีเลชันในฐานขอมูลเชิงสัมพันธ ซึ่งสามารถทําได

โดย การกําหนดชื่อของเอนทิตีเปนชื่อของรีเลชัน สวนการแปลงความสัมพันธระหวางเอนทิตีเปน

ความสัมพันธระหวางรีเลชันในฐานขอมูลเชิงสัมพันธนั้น หากความสัมพันธระหวางเอนทิตีเปน

ความสัมพันธแบบหนึ่งตอหนึ่งหรือความสัมพันธแบบหนึ่งตอกลุมสามารถแปลงความสัมพันธระหวาง

เอนทิตีเปนความสัมพันธระหวาง รีเลชันไดทันที หากความสัมพันธระหวางเอนทิตีเปนความสัมพันธ

แบบกลุมตอกลุมจะตองทําการแปลง ความสัมพันธดังกลาวเปนความสัมพันธแบบหนึ่งตอกลุม โดย

การสราง Composite Entity ขึ้นมากอน จากนั้นจึงแปลง Composite Entity ที่สรางขึ้นเปนรีเลชัน

ในฐานขอมูลเชิงสัมพันธ โดยการกําหนดชื่อของ Composite Entity เปนชื่อของรีเลชัน และแปลง

ความสัมพันธระหวางเอนทิตีแบบหนึ่งตอกลุมที่เพ่ิมขึ้นมาเปนความสัมพันธระหวางรีเลชัน

2. การกําหนดแอททริบิวตตาง ๆ คียหลัก และคียนอกในแตละรีเลชัน

หลังจากกําหนดรีเลชัและความสัมพันธระหวางรีเลชันในระบบฐานขอมูลแลว ขั้นตอน

นี้จะเปน การกําหนดแอททริบิวตในแตละรีเลชัน ซึ่งโดยทั่วไปมักไมนิยมกําหนดให Derived

Attribute ปรากฏอยูใน แตละรีเลชัน เนื่องจากอาจทําใหเกิดปญหาเกี่ยวกับความซ้ําซอนกันของ

ขอมูลขึ้นได

จากนั้นจึงทําการกําหนดแอททริบิวตที่ทําหนาที่เปนคียหลักในแตละรีเลชัน โดยแอททริ

บิวตที่มี คุณสมบัติเปนคียหลัก คือ แอททริบิวตที่มีคาเปนเอกลักษณหรือมีคาไมซ้ําซอนกัน ทําให

สามารถระบุคาของแอททริบิวตอื่นในทูเพิลหนึ่ง ๆ ได ทั้งนี้ แอททริบิวตที่ทําหนาที่เปนคียหลักอาจ

เปนคียผสม (composite key) หรือกลุมของแอททริบิวตที่นํามาประกอบกันเพื่อใหมีคาเปน

เอกลักษณก็ได หากทวาในหนึ่งรีเลชันอาจมีแอททริบิวตที่มีคุณสมบัติเปนคียหลักมากกวาหนึ่งแอททริ

บิวต ดังนั้น ผูออกแบบฐานขอมูลควรเลือกแอททริบิวตที่เหมาะสมที่สุดเพียงหนึ่งแอททริบิวตเพื่อทํา

หนาที่เปนคียหลัก ซึ่งแอททริบิวตที่ไมไดทําหนาที่เปนคียหลักเรียกวา คียสํารอง (alternate key)

นอกจากการกําหนดแอททริบิวตตาง ๆ และคียหลักแลว ผูออกแบบฐานขอมูล

จําเปนตองทําการกําหนดคียนอกที่สามารถเชื่อมโยงอางอิงถึงแอททริบิวตที่เปนคียหลักในอีกรีเลชันห

นึ่งที่มีความสัมพันธกันได ซึ่งการกําหนดคียนอกของแตละรีเลชันสามารถทําไดโดยการพิจารณาจาก

ความสัมพันธระหวางแตละ รีเลชันดังนี ้

- หากความสัมพันธระหวางรีเลชันเปนความสัมพันธแบบหนึ่งตอหนึ่ง ใหเพิ่มคียหลัก

ของรีลเชันหนึ่งลงไปเปนแอททริบิวตในอีกรีเลชันหนึ่ง

Page 10: นายธรรมรัตน ขจิตตานนท รหัส 53296940010 · 2013-06-24 · โปรแกรมรับจํานํา-ขายฝากสินค

- หากความสัมพันธระหวางรีเลชันเปนความสัมพันธแบบหนึ่งตอกลุม ใหเพิ่มคียหลัก

ของรีเลชันที่อยูดานความสัมพันธเปนหนึ่งไปเปนแอททริบิวตในอีกรีเลชันหนึ่งที่อยู

ดานความสัมพันธเปนกลุม ทั้งนี้กรณีของรีเลชันที่แปลงมาจาก Composite

Entity จะปรากฏแอททริบิวตดังกลาวอยูแลว

- หากรีเลชันมีความสัมพันธแบบ Recursive ใหเพิ่มคียหลักของรีเลชันที่อยูดาน

ความสัมพันธ เปนหนึ่ ง ไปเปนแอททริบิวต ในอีกรี เลชันหนึ่ งที่อยูด านที่มี

ความสัมพันธเปนกลุม โดยเปลี่ยนชื่อของแอททริบิวตนั้นใหม

ทั้งนี้ การกําหนดใหแอททริบิวตใดทําหนาที่เปนคียนอก ผูออกแบบฐานขอมูลควร

คํานึงถึงกฎแหงความบูรณภาพของการอางอิง (The Referential Integrity Rule) ดวย

3. การทําใหรีเลชันมีคุณสมบัติอยูในรูปแบบที่เปนบรรทัดฐาน

ในการออกแบบฐานขอมูล สิ่งสําคัญที่ผูออกแบบฐานขอมูลควรคํานึงถึงอีกประการ

หนึ่งก็คือ การทําใหแตละรีเลชันมีคุณสมบัติอยูในรูปแบบที่เปนบรรทัดฐาน (Normalization) ที่

เหมาะสม ซึ่งโดยทั่วไป การทําใหแตละรีเลชันใหมีคุณสมบัติอยูในรูปแบบที่เปนบรรทัดฐานนั้นมักจะ

ทําจนถึงรูปแบบที่เปนบรรทัดฐานขั้นที่ 3 แตอาจมีบางในบางกรณีที่ผูออกแบบฐานขอมูลจําเปนตอง

ดําเนินการใหรีเลชันนั้นมีคุณสมบัติอยูในรูปแบบที่เปนบรรทัดฐานของบอยสและคอดด หรือรูปแบบที่

เปนบรรทัดฐานขั้นที่ 4 และ 5 ทั้งนี้ วัตถุประสงคของการทําใหแตละรีเลชันมีคุณสมบัติอยูในรูปแบบ

ที่เปนบรรทัดฐานที่เหมาะสม คือ เพื่อขจัดปญหาความซ้ําซอนของขอมูลที่อาจเกิดขึ้นในโครงสราง

ขอมูล ทําใหขอมูลมีความถูกตองและเชื่อถือได ซึ่งจะทําใหไมเกิดความผิดพลาดกับฐานขอมูลขึ้นใน

ภายหลัง

4. ลักษณะและขอบเขตของขอมูล รวมทั้งขอจํากัดและกฎเกณฑตาง ๆ ที่ควรคํานึง

ขั้นตอนนี้เปนการนํารายละเอียดของระบบงานที่ทําการศึกษาและวิเคราะหไวแลวมาทําการพิจารณา

ถึงลักษณะและขอบเขตของขอมูลที่สามารถจัดเก็บไดในแตละแอททริบิวต ตัวอยางเชน ประเภทของ

ขอมูล (data type) ขนาดของขอมูล (data length) รูปแบบของขอมูล (format) และขอบเขตของ

ขอมูล (data range) เปนตน นอกจากนี้ยังพิจารณาถึงขอจํากัดและกฎเกณฑตาง ๆ ในการเพิ่ม การ

ลบ หรือการปรับปรุงขอมูล ซึ่งจะมีผลกระทบตอการจัดเก็บขอมูลในแตละแอททริบิวตอีกดวย

ตัวอยางเชน ในหนึ่งภาคการศึกษา นิสิตสามารถลงทะเบียนเรียนไดไมเกิน 24 หนวยกิต สมาชิกบัตร

เครดิตสามารถใชจายไดไมเกินวงเงินที่ไดรับอนุมัติ เปนตน

ดังนั้น ในการออกแบบโครงรางของฐานขอมูลในระดับแนวคิด ผูออกแบบฐานขอมูล

ควรทําการระบุรายละเอียดเกี่ยวกับขอบเขตคาของขอมูลที่สามารถจัดเก็บไดในแตละแอททริบิวต

ตลอดจนเงื่อนไข/ขอจํากัดและกฎเกณฑตาง ๆ รวมทั้ง ผลที่อาจเกิดขึ้นและแอททริบิวตที่จะไดรับ

ผลกระทบหากไมปฏิบัติตามเงื่อนไข/ขอจํากัด หรือกฎเกณฑตาง ๆ ที่มีการระบุไว

Page 11: นายธรรมรัตน ขจิตตานนท รหัส 53296940010 · 2013-06-24 · โปรแกรมรับจํานํา-ขายฝากสินค

5. การรวบรวมและทบทวนการออกแบบฐานขอมูลในระดับแนวคิด วัตถุประสงคใน

การรวบรวมและทบทวนโครงรางจากการออกแบบฐานขอมูลในระดับแนวคิด คือ เพื่อตรวจทานและ

ตรวจสอบสาระสําคัญ ตลอดจนความขัดแยง ความซ้ําซอน หรือความไมถูกตองที่อาจเกิดขึ้น ทําให

โครงรางของฐานขอมูลในระดับแนวคิดมีความถูกตองสมบูรณมากขึ้น เนื่องจากผูใชหลายคนที่มีสวน

รวมในการออกแบบฐานขอมูลอาจมีมุมมองเกี่ยวกับขอมูลเดียวกันแตกตางกัน ตัวอยางเชน ขอมูล

ของพนักงานอาจเกี่ยวของกับผูใชฐานขอมูลหลายคนจากหนวยงานตาง ๆ เชน ฝายบุคคล ฝาย

การเงินและบัญชี ฯลฯนอกจากนี้สิ่งหนึ่งที่ควรตองพิจารณาในขั้นตอนนี้ คือ ผลกระทบที่อาจเกิดจาก

ปริมาณงานหรือการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงระบบงานในอนาคต ตัวอยางเชน หากมีรีเลชันใหมเกิดขึ้น

ในระบบฐานขอมูลที่กําลังทําการออกแบบอยู อาจทําใหความสัมพันธระหวางเอนทิตีเปลี่ยนแปลงไป

และปริมาณขอมูลในแตละรีเลชันอาจเพิ่มมากขึ้นดวย เปนตน

ฐานขอมูลเปนเรื่องสําคัญสําหรับระบบงานสารสนเทศที่ใชคอมพิวเตอรประมวลผลใน

ปจจุบัน ในการออกแบบระบบสารสนเทศปจจุบันก็มีการพัฒนาเทคโนโลยีกันอยางมากมาย โดยจะมี

ระบบการออกแบบที่เปนที่นิยมใชกันมากในปจจุบันเรียกวา Relational Model โดยมีโปรแกรมที่

คุณจะศึกษาหรือโปรแกรม MS Access นี้เปนตัวชวยในการออกแบบและสรางฐานขอมูล ถือวาเปน

Tool ที่นิยมใชกันในปจจุบัน

ฐานขอมูลแบบสัมพันธ(Relational Database) หนึ่งฐานขอมูล สามารถบรรจุไดหลาย

ตาราง จึงทําใหเกิดคําถามวา ควรจะมีตารางเปนจํานวนเทาใด และมีฟลดอะไรบางที่อยูในแตละ

ตาราง คําตอบที่จะไดเปนพื้นฐานในการออกแบบฐานขอมูล การออกแบบที่ดีจะทําใหฐานขอมูลงาย

ตอการใชงาน และมีความยืดหยุน เชนเดียวกับหลายๆ สิ่งในชีวิต ในการออกแบบฐานขอมูลเปนทั้ง

ศาสตรและศิลป หมายความวา คุณสามารถออกแบบฐานขอมูลไดทั้งแบบอยางไมมีแบบแผน โดยใช

ประสบการณ หรือจะใชการออกแบบอยางมีแบบแผน

การออกแบบอยางไมเปนแบบแผน

เปนวิธีการนี้จะใชในการออกแบบฐานขอมูลใหใชงานได และนักออกแบบฐานขอมูลมักใชใน

การเริ่มการออกแบบในงานจริง แตสําหรับการออกแบบอยางมีหลักการนั้นจะใชไวตรวจสอบการออก

แบบอยางไมมีแบบแผนมากกวาที่จะใชในการเริ่มตนการออกแบบ

1.กําหนดกลุมขอมูลที่จะจัดเก็บหลักในโปรแกรมประยุกตขึ้นมา 2. การสรางตารางสําหรับแตละกลุมขอมูลที่จะจัดเก็บ 3. เลือกคียที่ใชเปนคียหลัก 4. การเพิ่มหัวขอของขอมูลใหกับตารางหลักแตละตาราง 5. การสรางตารางเพิ่มเติมสําหรับ attribute ที่ซ้ํากัน 6. แตละฟลดไดกําหนดคียหลักแลว 7. พิจารณาความสัมพันธระหวางตาราง

Page 12: นายธรรมรัตน ขจิตตานนท รหัส 53296940010 · 2013-06-24 · โปรแกรมรับจํานํา-ขายฝากสินค

การออกแบบขอมูลอยางเปนแบบแผน

เปนขั้นตอนของการออกแบบฐานขอมูลแบบเปนทางการใหกับฐานขอมูลเชิงสัมพันธซึ่งกระบวนการจัดการกับฟลดใหกับตารางนั้นจะเรียกวา นอรมัลไลเซชั่น (Normalization) โดยจะมีขั้นตอนดวยกัน 5 ขั้นดังตอไปนี้

ระดับที่ 1 (First Normal Form) หนึ่งฟลดในหนึ่งเรคคอรดสามารถบรรจุคาได 1 คาเทานั้น สิ่งนี้จะปองกันกลุมขอมูลซ้ําในหนึ่งเรคคอรด

ระดับที่ 2 (Second Normal Form) ทุก attribute ที่ไมใชคีย ตองขึ้นกับฟลดทั้งหมดในคียหลัก ซึ่งยังระบุใหสองตารางหรือมากกวาไมสามารถใชคียหลักที่เหมือนกันได

ระดับที่ 3 (Third Normal Form) ฟลดที่ไมใชคียจะตองไมขึ้นกับฟลดที่ไมใชคียอื่นในตารางเดียวกัน

ระดับที่ 4 (Forth Normal Form) หามไมใหมีความสัมพันธแบบหนึ่งตอกลุม (One-to-Many) ที่ไมข้ึนตอกันระหวางฟลดคียหลักและฟลดที่ไมใชคีย

ระดับที่ 5 (Fifth Normal Form) รูปแบบนี้จําเปนตองมีการแบงตารางออกเปนชิ้นสวนขนาดเล็กเพื่อขจัดความซ้ําซอนทั้งหมด

การนอรมัลไลเซชั่น (Normalization) เปนเสมือนหลักการตรวจสอบมากกวาวิธีปฏิบัติ เมื่อทําการนอรมัลไลซแลวตารางตั้งตนก็อาจจะถูกแยกออกมาเปนตารางยอยจํานวนมาก ซึ่งจะมีประโยชนดังนี ้

- ลดความซ้ําซอน - ดูแลรักษางาย - สามารถเขียนโคดควบคุมไดงาย - ขนาดฐานขอมูลเล็กลงเนื่องจากไมตองเก็บขอมูลซ้ําๆ กัน

2.3 ทฤษฎีความพึงพอใจ Kotler and Armstrong (2002) รายงานวา พฤติกรรมของมนุษยเกิดขึ้นตองมีสิ่งจูงใจ

(motive) หรือแรงขับดัน (drive) เปนความตองการที่กดดันจนมากพอที่จะจูงใจใหบุคคลเกิดพฤติกรรมเพื่อตอบสนองความตองการของตนเอง ซึ่งความตองการของแตละคนไมเหมือนกัน ความตองการบางอยางเปนความตองการทางชีววิทยา(biological) เกิดขึ้นจากสภาวะตึงเครียด เชน ความหิวกระหายหรือความลําบากบางอยาง เปนความตองการทางจิตวิทยา (psychological) เกิดจากความตองการการยอมรับ (recognition) การยกยอง (esteem) หรือการเปนเจาของทรัพยสิน (belonging) ความตองการสวนใหญอาจไมมากพอที่จะจูงใจใหบุคคลกระทําในชวงเวลานั้น ความตองการกลายเปนสิ่งจูงใจ เมื่อไดรับการกระตุนอยางเพียงพอจนเกิดความตึงเครียด โดยทฤษฎีที่ไดรับความนิยมมากที่สุด มี 2 ทฤษฎี คือ ทฤษฎีของอับราฮัม มาสโลว และทฤษฎีของซิกมันด ฟรอยด

Page 13: นายธรรมรัตน ขจิตตานนท รหัส 53296940010 · 2013-06-24 · โปรแกรมรับจํานํา-ขายฝากสินค

1. ทฤษฎีแรงจูงใจของมาสโลว (Maslow’s theory motivation) อับราฮัม มาสโลว (A.H.Maslow) คนหาวิธีที่จะอธิบายวาทําไมคนจึงถูกผลักดันโดยความ

ตองการบางอยาง ณ เวลาหนึ่ง ทําไมคนหนึ่งจึงทุมเทเวลาและพลังงานอยางมากเพื่อใหไดมาซึ่งความปลอดภัยของตนเองแตอีกคนหนึ่งกลับทําสิ่งเหลานั้น เพื่อใหไดรับการยกยองนับถือจากผูอื่น คําตอบของมาสโลว คือ ความตองการของมนุษยจะถูกเรียงตามลําดับจากสิ่งที่กดดันมากที่สุดไปถึงนอยที่สุด ทฤษฎีของมาสโลวไดจัดลําดับความตองการตามความสําคัญ คือ

1.1 เปนความตองการขั้นพ้ืนฐานที่มีอํานาจมากที่สุดและสังเกตเห็นไดชัดที่สุดจาก ความตองการทั้งหมดเปนความตองการที่ชวยการดํารงชีวิต ไดแก ความตองการอาหาร น้ําดื่ม ออกซิเจน การพักผอนนอนหลับ ความตองการทางเพศ ความตองการความอบอุน ตลอดจนความตองการที่จะถูกกระตุนอวัยวะรับสัมผัส แรงขับของรางกายเหลานี้จะเกี่ยวของโดยตรงกับความอยูรอดของรางกายและของอินทรีย ความพึงพอใจที่ไดรับ ในขั้นนี้จะกระตุนใหเกิดความตองการในขั้นที่สูงกวาและถาบุคคลใดประสบความลมเหลวที่จะสนองความตองการพื้นฐานนี้ก็จะไมไดรับการกระตุน ใหเกิดความตองการในระดับที่สูงขึ้นอยางไรก็ตาม ถาความตองการอยางหนึ่งยังไมไดรับความพึงพอใจ บุคคลก็จะอยูภายใตความตองการนั้นตลอดไป ซึ่งทําใหความตองการอื่นๆ ไมปรากฏหรือกลายเปนความตองการระดับรองลงไป

1.2 ความตองการความปลอดภัย (safety needs) จะสังเกตไดงายในทารกและใน เด็กเล็กๆ เนื่องจากทารกและเด็กเล็กๆ ตองการความชวยเหลือและตองพ่ึงพาอาศัยผูอื่น ทารกจะรูสึกกลัวเมื่อถูกทิ้งใหอยูตามลําพังหรือเมื่อเขาไดยินเสียงดังๆ หรือเห็นแสงสวางมาก ๆ แตประสบการณและการเรียนรูจะทําใหความรูสึกกลัวหมดไป ดังคําพูดท่ีวา “ฉันไมกลัวเสียงฟารองและฟาแลบอีก ตอไปแลว เพราะฉันรูธรรมชาติในการเกิดของมัน”

ความตองการความปลอดภัยจะยังมีอิทธิพลตอบุคคลแมวาจะผานพนวัยเด็กไปแลว แมในบุคคลที่ทํางานในฐานะเปนผูคุมครอง เชน ผูรักษาเงิน นักบัญชี หรือทํางานเกี่ยวกับการประกันตางๆ และผูที่ทําหนาที่ใหการรักษาพยาบาลเพื่อความปลอดภัยของผูอื่น เชน แพทย พยาบาล คนชรา บุคคลทั้งหมดที่กลาวมานี้จะใฝหาความปลอดภัยดวยกันทั้งสิ้น ศาสนาและปรัชญาที่มนุษยยึดถือทําใหเกิดความรูสึกมั่นคง เพราะทําใหบุคคลไดจัดระบบของตัวเองใหมีเหตุผลและวิถีทางที่ทําใหบุคคลรูสึก “ปลอดภัย” ความตองการความปลอดภัยในเรื่องอื่นๆ จะเกี่ยวของกับการเผชิญกับสิ่งตางๆ เหลานี้ สงคราม อาชญากรรม น้ําทวม แผนดินไหว การจลาจล ความสับสนไมเปนระเบียบของสังคม และเหตุการณอื่นๆ ที่คลายคลึงกับสภาพเหลานี้

1.3 ความตองการทางสังคม (social needs) ความตองการความรักและความเปน เจาของเปนความตองการขั้นที่ 3 ความตองการนี้จะเกิดขึ้นเมื่อความตองการทางดานรางกาย และความตองการความปลอดภัยไดรับการตอบสนองแลวบุคคลตองการไดรับความรักและความเปนเจาของโดยการสรางความสัมพันธกับผูอื่น

1.4 ความตองการการยกยอง (esteem needs) เมื่อความตองการไดรับความรัก และการใหความรักแกผูอื่นเปนไปอยางมีเหตุผลและทําใหบุคคล เกิดความพึงพอใจแลว พลังผลักดันในขั้นที่ 3 ก็จะลดลง และมีความตองการในขั้นตอไปมาแทนที่ กลาวคือ มนุษยตองการที่จะไดรับความนับถือยกยองออกเปน 2 ลักษณะ คือ ลักษณะที่ 1 เปนความตองการนับถือตนเอง (self-respect) สวนลักษณะที่ 2 เปนความตองการไดรับการยกยองนับถือจากผูอื่น (esteem from others) 1. ความตองการนับถือตนเอง (self-respect) คือ ความตองการมีอํานาจ มีความเชื่อมั่นใน

Page 14: นายธรรมรัตน ขจิตตานนท รหัส 53296940010 · 2013-06-24 · โปรแกรมรับจํานํา-ขายฝากสินค

ตนเอง มีความแข็งแรง มีความสามารถในตนเอง มีผลสัมฤทธิ์ไมตองพึ่งพาอาศัยผูอื่น และมีความเปนอิสระ ทุกคนตองการที่จะรูสึกวาเขามีคุณคาและมีความสามารถที่จะประสบความสําเร็จในงานภารกิจตางๆ และมีชีวิตที่เดนดัง 2. ความตองการไดรับการยกยองนับถือจากผูอื่น (esteem from others) คือ ความตองการมีเกียรติยศ การไดรับยกยอง ไดรับการยอมรับไดรับความสนใจ มีสถานภาพ มีชื่อเสียงเปนที่กลาวขาน และเปนที่ชื่นชมยินดี มีความตองการที่จะไดรับความยกยองชมเชยในสิ่งที่เขากระทําซึ่งทําใหรูสึกวาตนเองมีคุณคาวาความสามารถของเขาไดรับการยอมรับจากผูอื่น

1.5 ความตองการใหตนประสบความสําเร็จ (self – actualization needs) ถึงลําดับขั้นสุดทาย ถาความตองการลําดับขั้นกอนๆ ไดทําใหเกิดความพึงพอใจอยางมีประสิทธิภาพ ความตองการเขาใจตนเองอยางแทจริงก็จะเกิดขึ้น Maslow อธิบายความตองการเขาใจตนเองอยางแทจริงวาเปนความปรารถนาในทุกสิ่งทุกอยางซึ่งบุคคลสามารถจะไดรับอยางเหมาะสมบุคคลที่ประสบผลสําเร็จในขั้นสูงสุดนี้จะใชพลังอยางเต็มที่ในสิ่งที่ทาทายความสามารถและศักยภาพของเขาและมีความปรารถนาที่จะปรับปรุงตนเอง พลังแรงขับของเขาจะกระทําพฤติกรรมตรงกับความสามารถของตน กลาวโดยสรุปการเขาใจตนเองอยางแทจริงเปนความตองการอยางหนึ่งของบุคคลที่จะบรรลุถึงจุดสูงสุดของศักยภาพ

บุคคลพยายามที่สรางความพึงพอใจใหกับความตองการที่สําคัญที่สุดเปนอันดับแรกกอนเมื่อความตองการนั้นไดรับความพึงพอใจ ความตองการนั้นก็จะหมดลงและเปนตัวกระตุนใหบุคคลพยายามสรางความพึงพอใจใหกับความตองการที่สําคัญที่สุดลําดับตอไป ตัวอยาง เชน คนที่อดอยาก (ความตองการทางกาย) จะไมสนใจตองานศิลปะชิ้นลาสุด (ความตองการสูงสุด) หรือไมตองการยกยองจากผูอื่น หรือไมตองการแมแตอากาศที่บริสุทธิ์ (ความปลอดภัย) แตเมื่อความตองการแตละขั้นไดรับความพึงพอใจแลวก็จะมีความตองการในขั้นลําดับตอไป

2. ทฤษฎีแรงจูงใจของฟรอยด ซิกมันด ฟรอยด ( S. M. Freud) ตั้งสมมุติฐานวาบุคคลมักไมรูตัวมากนักวาพลังทางจิตวิทยา

มีสวนชวยสรางใหเกิดพฤติกรรม ฟรอยดพบวาบุคคลเพิ่มและควบคุมสิ่งเราหลายอยาง สิ่งเราเหลานี้อยูนอกเหนือการควบคุมอยางสิ้นเชิง บุคคลจึงมีความฝน พูดคําที่ไมตั้งใจพูด มีอารมณอยูเหนือเหตุผลและมีพฤติกรรมหลอกหลอนหรือเกิดอาการวิตกจริตอยางมาก

ขณะที่ ชาริณี (2535) ไดเสนอทฤษฎีการแสวงหาความพึงพอใจไววา บุคคลพอใจจะกระทําสิ่งใดๆที่ใหมีความสุขและจะหลีกเลี่ยงไมกระทําในสิ่งที่เขาจะไดรับความทุกขหรือความยากลําบาก โดยอาจแบงประเภทความพอใจกรณีนี้ได 3 ประเภท คือ

1.ความพอใจดานจิตวิทยา (psychological hedonism) เปนทรรศนะของความพึง พอใจวามนุษยโดยธรรมชาติจะมีความแสวงหาความสุขสวนตัวหรือหลีกเลี่ยงจากความทุกขใดๆ

2.ความพอใจเกี่ยวกับตนเอง (egoistic hedonism) เปนทรรศนะของความพอใจวา มนุษยจะพยายามแสวงหาความสุขสวนตัว แตไมจําเปนวาการแสวงหาความสุขตองเปนธรรมชาติของมนุษยเสมอไป

3.ความพอใจเกี่ยวกับจริยธรรม (ethical hedonism) ทรรศนะนี้ถือวามนุษย แสวงหาความสุขเพื่อผลประโยชนของมวลมนุษยหรือสังคมที่ตนเปนสมาชิกอยูและเปนผูไดรับผลประโยชนผูหนึ่งดวย ความสําคัญของความพึงพอใจ

Page 15: นายธรรมรัตน ขจิตตานนท รหัส 53296940010 · 2013-06-24 · โปรแกรมรับจํานํา-ขายฝากสินค

ความพึงพอใจ เปนปจจัยสําคัญประการหนึ่งที่ชวยใหงานสําเร็จโดยเฉพาะอยางยิ่งถาเปน

งานที่เกี่ยวของกับการใหบริการ นอกจากผูบริหารจะดําเนินการใหผูปฏิบัติงานใหบริการเกิดความพึงพอใจในการทํางานแลว ยังจําเปนตองดําเนินการที่จะใหผูมาใชบริการเกิดความพึงพอใจดวย เพราะความเจริญเติบโตของงานบริการ ปจจัยที่เปนตัวบงชี้ คือ จํานวนผูมาใชบริการ ดังนั้นผูบริหารที่ชาญฉลาดจึงควรอยางยิ่งที่จะศึกษาใหลึกซึ้งถึงปจจัยและองคประกอบตางๆที่จะทําใหเกิดความพึงพอใจทั้งผูใหบริการและผูรับบริการ

การวัดระดับความพึงพอใจ

ที่กลาวมาขางตน ความพึงพอใจจะเกิดขึ้นหรือไม ขึ้นอยูกับการใหบริการขององคกรประกอบกับระดับความรูสึกของผูมารับบริการในมิติตางๆของแตละบุคคล ดังนั้นการวัดระดับความพึงพอใจ สามารถกระทําไดหลายวิธีตอไปนี ้ 1. การใชแบบสอบถาม ซึ่งเปนวิธีที่นิยมใชกันอยางแพรหลาย โดยการขอความรวมมือจากกลุมบุคคลที่ตองการวัด แสดงความคิดเห็นลงในแบบฟอรมที่กําหนด

2. การสัมภาษณ ตองอาศัยเทคนิคและความชํานาญพิเศษของผูสัมภาษณที่จะจูงใจใหผูตอบคําถามตอบตามขอเท็จจริง

3. การสังเกต เปนการสังเกตพฤติกรรมทั้งกอนการรับบริการ ขณะรับบริการและหลังการรับบริการ การวัดโดยวิธีนี้จะตองกระทําอยางจริงจังและมีแบบแผนที่แนนอนจะเห็นไดวาการวัดความพึงพอใจตอการใหบริการนั้นสามารถกระทําไดหลายวิธี ขึ้นอยูกับความสะดวก เหมาะสม ตลอดจนจุดมุงหมายของการวัดดวย จึงจะสงผลใหการวัดนั้นมีประสิทธิภาพและนาเชื่อถือได

2.4 โปรแกรมที่เกี่ยวของ

2.4.1 Microsoft Visual Basic 6.0 ภาษา BASIC ถูกสรางในป ค.ศ. 1963 โดย Hohn Keneny และ Thomas Kurtz ที่

วิทยาลัย Dartmouth ในเบื้องตนพวกเขามีจุดมุงหมายในการพัฒนาภาษา Basic ขึ้น เพื่อใชในการสอนแนวในการเขียนโปรแกรม โดยเนนที่รูปแบบงาย ๆ เพื่อสะดวกในการใชงาน ในป 1970 Microsoft ไดเริ่มผลิตตัวแปรภาษา Basic ใน Rom ขึ้น เชน Chip Radio Sheek TRS-80 เปนตน ตอมาไดพัฒนาเปน GWBasic ซึ่ง เปน Interpreter ภาษาที่ใชกับ MS-Dos และในป 1982 Microsoft QuickBaic ไดรับการพัฒนาขั้นโดยเพิ่มความสามารถในการรันโปรแกรมใหเปน Executed Program รวมทั้งทําให Basic มีความเปน "Structured Programming" มากขึ้น โดยการตัด Line Number ทิ้งไป เพื่อลบขอกลาวหาวาเปนภาษาคอมพิวเตอรที่มีโครงสรางในลักษณะSpaghetti Code มาใชรูปแบบของ Subprogram และ User Defined รวมทั้งการใช Structured Data Type และการพัฒนาการใชงานดานกราฟฟกสใหมีการใชงานในระดับที่สูงขึ้น รวมทั้งมีการใชเสียงประกอบไดเหมือนกับภาษาคอมพิวเตอรอื่น ๆ เชน Turbo C และ Turbo Pascal เปนตน

Visual Basic เปนภาษาคอมพิวเตอรที่ไดรับความนิยมในการนํามาใชงานพัฒนาโปรแกรมบนระบบ Windows เนื่องจาก เปนภาษาคอมพิวเตอรที่ใชเทคโนโลยีในลักษณะ Visualize นั่นก็คือจะสะดวกในการหยิบเครื่องไมเครื่องมือที่โปรแกรมไดจัดเตรียมไวใหสําหรับออกแบบหนาจอและสิ่ง

Page 16: นายธรรมรัตน ขจิตตานนท รหัส 53296940010 · 2013-06-24 · โปรแกรมรับจํานํา-ขายฝากสินค

ตาง ๆ สําหรับในการเขียนโปรแกรมใหเรียบรอย ซึ่งแตกตางจากสมัยกอนเวลาจะออกแบบหนาจอก็ยังคงตองมานั่งเขียน Source Code ใหลําบาก

Visual Basic เปนเครื่องมือที่ใชในการพัฒนาโปรแกรมขึ้นใชงาน ที่ใชไดตั้งแตระดับตน เพื่อ

ใชสรางโปรแกรมงาย ๆ บน Windows หรือโปรแกรมเมอรระดับกลาง ที่จะเรียกใชฟงชั่นตาง ๆ ได

อยางมีประสิทธิภาพ ตลอดจนโปรแกรมเมอรระดับมืออาชีพ ที่จะพัฒนาโปรแกรมในระดับสูง โดย

การใช Object Linking and Embedding (OLE) และ Application Programming Interface

(API) ของระบบ windows มาประกอบการเขียนโปรแกรม

สวนประกอบของ Visual Basic โดยทั่วไปจะใช Project Standard . EXE ซึ่งเปนการเขียนโปรแกรมที่รันบนวินโดวส

Project คือ กลุมของ File ที่นํามารวมกันเพื่อสรางโปรแกรม

ภาพที่ 2.1 สวนประกอบของ Visual Basic

รายละเอียดของสวนประกอบตางๆ ของหนาจอ

สวนประกอบ รายละเอียด

Form เปนสวนที่ใชสําหรับจอภาพของโปรแกรมขึ้นใชงาน โดยจะทําหนาที่เปน Background ขอจอภาพ

Toolbox เปนสวนที่ประกอบดวย Icon ตาง ๆ หรือ ที่เรียกวา Control ที่จะนําไปใชงานโดยการ นําไปวางบน Form

Toolbar เปนเครื่องมือที่ชวยในการพัฒนาโปรแกรม หรือเปนเครื่องมือที่มีการเรียกใชบอย ๆ Project Explorer Window

เปนสวนที่ใชสําหรับเรียก Form ตาง ๆ ขึ้นมาแกไข ในกรณีที่มี Form มากกวา 1 Form

Properties Window เปนจอภาพที่ใชกําหนดคุณสมบัติตาง ๆ ของ Project ที่เราไดออกแบบไวเพื่อใหทํางาน ตามความตองการ

Form Layout Window ใชสําหรับกําหนดตําแหนงของ Form ที่จะใหแสดงอยูในจอภาพเมื่อทําการ Run ตารางที่ 2.2 รายละเอียดของสวนประกอบตางๆ ของหนาจอ

Page 17: นายธรรมรัตน ขจิตตานนท รหัส 53296940010 · 2013-06-24 · โปรแกรมรับจํานํา-ขายฝากสินค

ทูลบาร (Toolbar) เปนแถบสัญลักษณที่ใชสําหรับเขาถึงชุดคําสั่งของ Visual Basic ไดทันที โดยจะนําคําสั่งที่ถูก

ใชงานบอย ๆ มาแสดง

ภาพที่ 2.3 ทูลบาร (Toolbar)

ทูลบารสามารถแบงออกไดเปน 4 กลุมใหญ ๆ คือ

1. Standard Toolbars เปนทูลบารมาตรฐานประกอบดวยคําสั่งที่เกี่ยวกับการจัดการ Project

2. Edit Toolbars เปนทูลบารที่ประกอบไปดวยคําสั่งที่ใชสําหรับชวยในการเขียนโคดใน code editor

3. Debug Toolbars เปนทูลบารที่ประกอบไปดวยคําสั่งที่ใชสําหรับตรวจสอบการทํางานการประมวลผลโปรแกรม

4. Form Editor Toolbars เปนทูลบารที่ประกอบไปดวยคําสั่งที่ใชสําหรับชวยในการปรับขนาด, ยาย, เปลี่ยนตําแหนงคอนโทรลตาง ๆ ที่อยูบนฟอรม ทูลบ็อกซ (Toolbox)

เปนแถบสัญลักษณ Controls ตาง ๆ ที่ใชสําหรับพัฒนาโปรแกรมประยุกต มี 2 กลุมคือ 1. คอนโทรลภายใน (Intrinsic controls) เปนชุดคอนโทรลมาตรฐานของ Visual Basic

ทุก ๆ ครั้งที่มีการเรียกใช Form เพื่อสรางโปรแกรมประยุกต คอลโทรลชุดนี้จะถูกเรียกขึ้นมาอัตโนมัติ สามารถเลือกใชงานคอลโทรลกลุมนี้ไดทันท ี

ภาพที่ 2.4 ทูลบ็อกซ (Toolbox)

Page 18: นายธรรมรัตน ขจิตตานนท รหัส 53296940010 · 2013-06-24 · โปรแกรมรับจํานํา-ขายฝากสินค

2. คอนโทรล ActiveX (ActiveX controls) เปนชุดคอนโทรลเพิ่มเติมที่ไมโครซอฟทจัดเตรียมไว เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการพัฒนาโปรแกรมประยุกต การเพิ่มคอนโทรลกลุมนี้เขามาในทูลบอกซทําโดยเลือกเมนู Project/Components

ภาพที่ 2.5 คอนโทรล ActiveX

Form Designer เปนสวนที่ใชออกแบบการแสดงผลสวนที่ใชติดตอกับผูใช ฟอรมเปนออบเจ็กตแรกที่ถูก

เตรียมไวใหใชงาน คอลโทรลทุกตัวที่ตองการใชงานจะตองนําไปบรรจุไวในฟอรม นําคอลโทรลมาประกอบกันขึ้นเปนโปรแกรมประยุกต ทุกครั้งที่เปด Visual Basic ขึ้นมา หรือ สราง Project ใหมจะมีฟอรมวาง 1 ฟอรมถูกสรางเตรียมไวเสมอ

ภาพที่ 2.6 Form Designer

Page 19: นายธรรมรัตน ขจิตตานนท รหัส 53296940010 · 2013-06-24 · โปรแกรมรับจํานํา-ขายฝากสินค

Properties Window หนาตางคุณสมบัติเปนสวนที่ใชกําหนดคุณสมบัติของออบเจ็กตที่ถูกเลือก (adtive) หรือ

ไดรับความสนใจ (focus) อยูขณะนั้น ซึ่งสามารถที่จะปรับเปลี่ยนคาตาง ๆ ของคอลโทรลเพื่อใหเกิดความเหมาะสมและตรงกับความตองการใชงานไดทันท ี

ภาพที่ 2.7 Properties Window

หนาตาง Form Layout เปนสวนที่แสดงใหเห็นตําแหนงของฟอรม และสามารถกําหนดตําแหนงของฟอรม ที่ปรากฏ

บนจอภาพในขณะประมวลผลได โดยการเคลื่อนยายฟอรมจําลอง ที่อยูในจอภาพจําลองดวยการ drag เมาส ไปยังตําแหนงที่ตองการ โดยจะมีผลในขณะประมวลผลเทานั้น

ภาพที่ 2.8 หนาตาง Form Layout

หนาตาง New Project หนาตาง New Project จะปรากฏขึ้นมาเมื่อเลือกเมนู File/New Project กรอบโตตอบนี้

จะแสดงชนิดของโปรแกรมประยุกต ที่ตองการพัฒนา ซึ่งจะคลายกับตอนที่เปดโปรแกรม Visual Basic ขึ้นมาครั้งแรก

Page 20: นายธรรมรัตน ขจิตตานนท รหัส 53296940010 · 2013-06-24 · โปรแกรมรับจํานํา-ขายฝากสินค

ภาพที่ 2.9 หนาตาง New Project หนาตาง Code Editor

เปนสวนที่ใชในการเขียนชุดคําสั่งสําหรับการประมวลผล และควบคุมการทํางานของคอลโทรล ตาง ๆ

ภาพที่ 2.10 หนาตาง Code Editor

Page 21: นายธรรมรัตน ขจิตตานนท รหัส 53296940010 · 2013-06-24 · โปรแกรมรับจํานํา-ขายฝากสินค

ตัวอยางโปรแกรมที่พัฒนาดวย Microsoft Visual Basic

ภาพที่ 2.11 ตัวอยางโปรแกรมที่พัฒนาดวย Microsoft Visual Basic 2.4.2 Microsoft Access

โปรแกรม Microsoft Access 2010 เปนโปรแกรมจัดการระบบฐานขอมูลที่ชวยจัดการกับระบบฐานขอมูลไดอยางมี ประสิทธิภาพ ตั้งแตการจัดเก็บ คนหา วิเคราะห และนําเสนอขอมูล ซึ่งโปรแกรม Access สามารถทําไดงาย สะดวก และรวดเร็ว โปรแกรม Microsoft Acces 2010 ซึ่งเปนรุนลาสุด ไดมีการปรับปรุงคุณภาพของโปรแกรมในหลาย ๆ ดานเพื่อใหการจัดการระบบฐานขอมูลเปนไดอยางมีประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้น โปรแกรม Access 2010 เปนโปรแกรมประเภทจัดการฐานขอมูลเชิงสัมพันธ ที่ทํากันในสํานักงาน หรือองคกรขนาดเล็ก และยังสามารถเขียนกลุมโปรแกรม (แมโคร และ มอดูล) ของ วิชวลเบสิก เพื่อใชในการทํางานได โปรแกรม Access ยังสามารถเชื่อมตอกับฐานขอมูล Microsoft SQL Server ไดดวย

ความแตกตางระหวางโปรแกรม Access กับ Visual Basic หรือ Visual Basic .Net คือ วิชวลเบสิกไมมีสวนเก็บขอมูลในตนเอง แตสามารถพัฒนาโปรแกรมไดหลากหลาย เชน พัฒนาโปรแกรมควบคุมอุปกรณ โปรแกรมประยุกตทางวิทยาศาสตร เกมส หรือเชื่อมตอกับระบบฐานขอมูลภายนอก เปนภาษาที่เหมาะกับการพัฒนาโปรแกรมประยุกต (Application) สวนโปรแกรม Access เหมาะสําหรับนักพัฒนาระบบฐานขอมูลที่ไมตองการโปรแกรมที่ซับซอน ความสามารถของโปรแกรม Access ที่สําคัญคือสรางตาราง แบบสอบถาม ฟอรม หรือรายงานในแฟมเดียวกันได ดวยคุณสมบัติพื้นฐานและวิซซารดจึงอํานวยใหโปรแกรม Access พัฒนาโปรแกรมใหแลวเสร็จไดในเวลาอันสั้น มีเครื่องมือที่อํานวยความสะดวกในการพัฒนาระบบฐานขอมูลอยางครบถวน

Page 22: นายธรรมรัตน ขจิตตานนท รหัส 53296940010 · 2013-06-24 · โปรแกรมรับจํานํา-ขายฝากสินค

คุณสมบัติพิเศษของโปรแกรม Microsoft Access 2010 1. มีการจัดเก็บเครื่องมือ และไอคอน ใหอยูในรูปแบบของริบบอน เพื่อใหงาย และสะดวกตอ

การใชงาน 2. การสรางฟลด สามารถจัดเก็บรูปแบบขอมูลที่ซับซอนมากขึ้น โดยสามารถสรางฟลดที่เก็บขอมูลไดมากกวา 1 คา 3. สามารถจัดเก็บไฟลไดมากกวา 1 ประเภท และมากกวา 1 ไฟลในฟลดของเรคคอรดเดียวกัน

4. สามารถทํางานรวมกับ Windows SharePoint Services เพื่อการติดตอกับฐานขอมูลได5. สามารถบันทึกออบเจ็กตฐานขอมูลเปนไฟล PDF หรือไฟล XML เพื่อนําไฟลฐานขอมูลไป

ใชงานได โดยที่ยังรักษารูปแบบเดิมของไฟลขอมูลไว สวนประกอบของฐานขอมูล ใน Access 2010 กอนจะเริ่มทํางานในฐานขอมูล ควรทําความเขาใจกันกอนวา ในหนาตางการทํางานฐานขอมูลนั้น มีสวนประกอบท่ีสําคัญ ซึ่งสวนประกอบที่สําคัญในหนาตางฐานขอมูลนั้นจะประกอบไปดวย

ภาพที่ 2.12 สวนประกอบของฐานขอมูล ใน Access 2010 1. แถบชื่อ = ใชแสดงชื่อโปรแกรม และชื่อไฟลฐานขอมูลที่เปดใชงาน

2. ปุม แฟม (File) = ใชจัดเก็บเมนูคําสั่งตาง ๆ เชนเดียวกับปุม Office ในโปรแกรม Microsoft Access 2007

3. แถบเมน ู= ใชแสดงเมนูคําสั่งที่ใชในโปรแกรม

4. ริบบอน = ใชแสดงไอคอนเครื่องมือที่ตองใชงานบอย ๆ

5. พื้นที่การทํางาน = ใชแสดงรายการทํางานตาง ๆ ในฐานขอมูล

Page 23: นายธรรมรัตน ขจิตตานนท รหัส 53296940010 · 2013-06-24 · โปรแกรมรับจํานํา-ขายฝากสินค

6. Navigation Pane = ใชแสดงรายชื่อออบเจ็กตในฐานขอมูล

7. ปุมควบคุม Windows = ใชควบคุมการเปด - ปด หนาตางฐานขอมูล

8. แถบสถานะการทํางาน = ใชแสดงสถานะการทํางานตาง ๆ ของโปรแกรม

การเริ่มตนสรางไฟลฐานขอมูล ใน Access 2010 สามารถทําไดหลายวิธีดังนี ้1.การสรางไฟลฐานขอมูลดวยไอคอน ฐานขอมูลเปลา (Blank Database)

1.1. คลิกปุม แฟม (File) > สราง (New) > ฐานขอมูลเปลา (Blank Database) 1.2. กําหนดชื่อไฟลฐานขอมูล 1.3. คลิกปุม สราง (Create)

ภาพที่ 2.13 การสรางไฟลฐานขอมูลดวยไอคอน ฐานขอมูลเปลา

1.4. ฐานขอมูลใหมจะถูกสรางขึ้นมาใหใชงาน

ภาพที่ 2.14 ฐานขอมูลใหม

Page 24: นายธรรมรัตน ขจิตตานนท รหัส 53296940010 · 2013-06-24 · โปรแกรมรับจํานํา-ขายฝากสินค

2.การสรางไฟลฐานขอมูลจากแมแบบ (Template) ของโปรแกรม

เปนการสรางไฟลฐานขอมูลขึ้นมาจากรูปแบบฐานขอมูลที่มีอยูในโปรแกรม ซึ่งการสรางไฟลฐานขอมูลจาก แมแบบ (Template) ของโปรแกรมนั้น ทําไดงาย ๆ ดังนี้

2.1. คลิกปุม แฟม (File) > สราง (New) > ตัวอยางแมแบบ (Sample template)

ภาพที่ 2.15 การสรางไฟลฐานขอมูลจากแมแบบ

2.2. เลือกรูปแบบฐานขอมูลที่ตองการ

2.3. คลิกปุม สราง (Create)

2.4. จะปรากฏฐานขอมูลตามแบบที่ไดเลือกขึ้นมา

ภาพที่ 2.16 ผลลัพธการสรางไฟลฐานขอมูลจากแมแบบ

Page 25: นายธรรมรัตน ขจิตตานนท รหัส 53296940010 · 2013-06-24 · โปรแกรมรับจํานํา-ขายฝากสินค

2.5 งานวิจัยที่เกี่ยวของ

Page 26: นายธรรมรัตน ขจิตตานนท รหัส 53296940010 · 2013-06-24 · โปรแกรมรับจํานํา-ขายฝากสินค

บทที่ 3

วิธีการวิจัย

การวิจัยครั้งนี้เปนการวิจัยเพื่อการศึกษาความคิดเห็นของเจาของกิจการรานรับจํานําขายฝาก ตอโปรแกรมรับจํานํา-ขายฝากสินคา โดยผูวิจัยไดดําเนินการวิจัยตามขั้นตอนดังตอไปนี้

3.1 ประชากรและกลุมตัวอยาง 3.2 เครื่องมือที่ใชในการวิจัย 3.3 การวิเคราะหระบบ 3.4 การวิเคราะหขอมูล

3.5 แผนการดําเนินงาน 3.6 สถิติที่ใชในการวิจัย

3.1 ประชากรและกลุมตัวอยาง

ประชากรและกลุมตัวอยาง คือ เจาของกิจการรานรับจํานํา-ขายฝากสินคา จํานวน 5 คน

3.2 เคร่ืองมือที่ใชในการวิจัย 3.2.1 โปรแกรมการพัฒนาระบบรับจํานํา-ขายฝากสินคา 3.2.2 แบบสอบถามความพึงพอใจของเจาของกิจการในการใชงานโปรแกรมรับจํานํา-ขายฝากสินคา 3.3 การวิเคราะหระบบ

วิเคราะหโปรแกรมการพัฒนาโปรแกรมรับจํานํา-ขายฝากสินคา ในการวิจัยครั้งนี้ผูวิจัยไดทําการวิเคราะหออกแบบและพัฒนารับจํานํา-ขายฝากสินคา โดยมี

ขอมูลที่สําคัญดังตอไปนี ้

Page 27: นายธรรมรัตน ขจิตตานนท รหัส 53296940010 · 2013-06-24 · โปรแกรมรับจํานํา-ขายฝากสินค

3.3.1. Flow Chart การทํางานของโปรแกรมรับจํานํา-ขายฝากสินคา

ภาพที่ 3.1 แผนผัง Flow chart แสดงขั้นตอนการทํางานของโปรแกรมรับจํานํา-ขายฝากสินคา

จากภาพที่ 3.1 เปนแผนผัง Flow chart แสดงขั้นตอนการทํางานของโปรแกรมรับจํานํา-ขายฝากสินคา โดยขั้นตอนการทํางาน คือ ลงชื่อเขาใชงานโดยการกรอกรหัสผานเพื่อยืนยันตัวตนของผูใชงาน หากกรอกขอมูลผิดระบบจะมีการแจงเตือนและใหกลับไปกรอกขอมูลใหมอีกครั้ง หากกรอกขอมูลถูกตองก็จะเขาสูหนาหลักโปรแกรมรับจํานํา-ขายฝากสินคา และยังมีหนาตางการทํางาน ดังนี้ ฟอรมเพิ่มรายชื่อลูฏคา ฟอรมจํานํา-ขายฝาก ฟอรมไถถอน ฟอรมคนหาและรายงาน และฟอรมเปลี่ยนรหัสผาน

ลงชื่อเขาใชงาน

ตรวจสอบ

รหัสผาน แจงเตือน

เริ่มตน

จบการทํางาน

ถูกตอง

ไมถูกตองใช

ฟอรมหนาหลัก

Page 28: นายธรรมรัตน ขจิตตานนท รหัส 53296940010 · 2013-06-24 · โปรแกรมรับจํานํา-ขายฝากสินค

1. Form การเขาใชงานของโปรแกรมรับจํานํา-ขายฝากสินคา ภาพที่ 3.2 หนาของการลงชื่อเขาเขาใชงานโปรแกรมรับจํานํา-ขายฝากสินคา

ภาพที่ 3.3 แผนผัง Flow chart แสดงขั้นตอนการลงชื่อเขาใชงานโปรแกรมรับจํานํา-ขายฝากสินคา

จากภาพที่ 3.2 แสดงถึงหนาแรกของการเขาใชงานโปรแกรมรับจํานํา-ขายฝากสินคาโดย

ขั้นตอนแรก ผูเขาใชงานจะตองกรอกชื่อผูใชและรหัสผานเพื่อความปลอดภัยของระบบ โดยชื่อผูใชและรหัสผานจะถูกกําหนดโดยผูจัดทําระบบ และเมื่อกรอกรหัสผานดังกลาวใหกดตกลงเพื่อยื่นยันขอมูล และหลังจากนั้นก็จะปรากฏดังหนาตางถัดไป และภาพที่ 3.3 เปนแผนผัง Flow chart แสดงขั้นตอนการทํางานในการลงชื่อเขาใชงานโปรแกรมรับจํานํา-ขายฝากสินคา

โปรแกรมรับจํานาํ-ขายฝากสินคา

ชื่อ

รหัสผาน

ยกเลิก ตกลง

ลงชื่อเขาใชงาน

ตรวจสอบ

รหัสผาน แจงเตือน

เริ่มตน

จบการทํางาน

ถูกตอง

ไมถูกตอง

ฟอรมหนาหลัก

Page 29: นายธรรมรัตน ขจิตตานนท รหัส 53296940010 · 2013-06-24 · โปรแกรมรับจํานํา-ขายฝากสินค

2. Form หนาตางหลักโปรแกรมรับจํานํา-ขายฝากสินคา ภาพที่ 3.4 หนาหลักของโปรแกรมรับจํานํา-ขายฝาก

จากภาพที่ 3.4 แสดงถึงหนาหลักของการเขาใชงานโปรแกรมรับจํานํา-ขายฝากสินคาเมื่อผูใชลงชื่อเขาใชงานโปรแกรมรับจํานํา-ขายฝากสินคาสําเร็จ 3. Form หนาตางเพิ่มรายชื่อลูกคา

ภาพที่ 3.5 หนาตางเพิ่มรายชื่อลูกคา

โปรแกรมรับจํานาํ-ขายฝากสินคา

เพิ่มรายชื่อลูกคา จํานํา-ขายฝาก ไถถอนสินทรัพย คนหาและรายงาน เปลี่ยนรหัสผาน

ยินดีตอนรับสู

โปรแกรมรับจํานํา-ขายฝากสินคา

โปรแกรมรับจํานาํ-ขายฝากสินคา

ขอมูลลูกคา

รหัสลูกคา 00012

เพศ

ชื่อ-สกุล :

รายละเอียด :

บันทึก ยกเลิก

เพิ่มรายชื่อลูกคา จํานํา-ขายฝาก ไถถอนสินทรัพย คนหาและรายงาน เปลี่ยนรหัสผาน

Page 30: นายธรรมรัตน ขจิตตานนท รหัส 53296940010 · 2013-06-24 · โปรแกรมรับจํานํา-ขายฝากสินค

ภาพที่ 3.6 หนาตางยืนยันเพิ่มรายชื่อลูกคา

ภาพที่ 3.7 แผนผัง Flow chart แสดงขั้นตอนการเพิ่มรายชื่อลูกคา

จากภาพที่ 3.5 แสดงถึงหนาตางการเพิ่มรายชื่อลูกคาของโปรแกรมรับจํานํา-ขายฝากสินคา โดยผูใชงานจะกรอกขอมูลของลูกคาที่ตองการจะบันทึก จากนั้นกดปุมบันทึก ระบบก็จะขึ้นหนาตางใหมขึ้นมาดังภาพที่ 3.6 เพื่อใหเรายืนยันวาเราตองการจะบันทึกการเพิ่มรายชื่อครั้งนี้ใชหรือไม ถาตองการบันทึกใหกดใช ถาไมตองการหรือกรอกขอมูลผิดใหกดไมใช และภาพที่ 3.7 คือแผนผัง Flow chart แสดงขั้นตอนการบันทึกขอมูลรายชื่อลูกคานั้นลงในฐานขอมูล

ตรวจสอบ

ความถูกตอง แจงเตือน

เริ่มตน

จบการทํางาน

บันทึกขอมูลธุรกรรม

สินคาลงฐานขอมลู

ถูกตอง

ไมถูกตอง

กรอกขอมูลสินคา

คุณยืนยันการเพิ่มรายชื่อใชหรือไม

ใช ไม

Page 31: นายธรรมรัตน ขจิตตานนท รหัส 53296940010 · 2013-06-24 · โปรแกรมรับจํานํา-ขายฝากสินค

4. Form หนาตางการจํานํา-ขายฝากสินคา ภาพที ่3.8 หนาตางเพิ่มการจํานํา-ขายฝากสินคา ภาพที่ 3.8 หนาตางเพิ่มการจํานํา-ขายฝากสินคา ภาพที ่3.9 หนาตางยืนยันการจํานํา

โปรแกรมรับจํานาํ-ขายฝากสินคา

รหัสลูกคา

ชื่อ-สกุล

รายละเอียด

สินทรัพยที่จํานํา

เลขที่จํานํา: 12511

ประเภทสินทรัพย :

รายละเอียดสินคา:

ยอดเงินจํานํา

ราคาประเมิณ : บาท

ยอดเงินที่ตองการ : บาท

จากขอมูลดอกเบี้ย

อัตราดอกเบี้ย : ตอเดือนๆละ บาท

ชําระดอกเบี้ยทกุ : เดือน วัน

ชําระงวดแรก :

500

15 ตุลาคม 2556

บันทึก

คุณยืนยันการจํานาํสินคาใชหรือไม

ใช ไม

ยกเลิก

เพิ่มรายชื่อลูกคา จํานํา-ขายฝาก ไถถอนสินทรัพย คนหาและรายงาน เปลี่ยนรหัสผาน

Page 32: นายธรรมรัตน ขจิตตานนท รหัส 53296940010 · 2013-06-24 · โปรแกรมรับจํานํา-ขายฝากสินค

ภาพที่ 3.10 แผนผัง Flow chart แสดงขั้นตอนการจํานํา-ขายฝากสินคา

จากภาพที่ 3.8 แสดงถึงการเพิ่มการรับจํานําสินคาจากโปรแกรมรับจํานํา-ขายฝากสินคา โดยผูใชงานจะกรอกขอมูลลูกคาและขอมูลสินคาที่ตองการจะเพิ่มการจํานํา-ขายฝาก จากนั้นกดบันทึก ระบบก็จะขึ้นหนาตางใหมขึ้นมาดังภาพที่ 3.9 เพื่อใหเรายืนยันวาเราตองการจะเพิ่มการจํานํา-ขายฝากสินคาตามขอมูลนั้นใชหรือไม ถาตองการบันทึกใหกดใช ถาไมตองการหรือกรอกขอมูลผิดใหกดไมใช และภาพที่ 3.10 เปนแผนผัง Flow chart แสดงขั้นตอนการเพิ่มการจํานํา-ขายฝากสินคาลงฐานขอมูล

ตรวจสอบ

ความถูกตอง แจงเตือน

เริ่มตน

จบการทํางาน

บันทึกขอมูลการจํานํา-

ขายฝากลงฐานขอมลู

ถูกตอง

ไมถูกตอง

กรอกขอมูลการจํานํา-ขาย

ฝากสินคา

Page 33: นายธรรมรัตน ขจิตตานนท รหัส 53296940010 · 2013-06-24 · โปรแกรมรับจํานํา-ขายฝากสินค

5. Form หนาตางไถถอนสินทรัพย

ภาพที่ 3.11 หนาตางการไถถอนสินคา

ภาพที่ 3.11 หนาตางการไถถอนสินคา ภาพที่ 3.12 หนาตางยืนยันการไถถอน

โปรแกรมรับจํานาํ-ขายฝากสินคา

รหัสลูกคา

ชื่อ-สกุล

รายละเอียด

สินทรัพยที่จํานําไว

เลขที่จํานํา: 12511

ประเภทสินทรัพย :

รายละเอียดสินคา:

ยอดเงินจํานํา

ราคาประเมิณ : บาท

ยอดเงินที่ตองการ : บาท

จากขอมูลดอกเบี้ย

อัตราดอกเบี้ย : ตอเดือนๆละ บาท

ชําระดอกเบี้ยทกุ : เดือน วัน

ชําระงวดแรก :

500

15 ตุลาคม 2556

ไถถอน

ยกเลิก

เพิ่มรายชื่อลูกคา จํานํา-ขายฝาก ไถถอนสินทรัพย คนหาและรายงาน เปลี่ยนรหัสผาน

คุณยืนยันการไถถอนสินคาใชหรือไม

ใช ไม

Page 34: นายธรรมรัตน ขจิตตานนท รหัส 53296940010 · 2013-06-24 · โปรแกรมรับจํานํา-ขายฝากสินค

ภาพที่ 3.13 แผนผัง Flow chart แสดงขั้นตอนการไถถอนสินคา

จากภาพที่ 3.11 แสดงถึงการไถถอนสินคาจากโปรแกรมรับจํานํา-ขายฝากสินคา โดยผูใชงานจะกรอกขอมูลลูกคาและขอมูลสินคาที่ตองการจะไถถอน จากนั้นกดปุมไถถอน ระบบก็จะขึ้นหนาตางใหมขึ้นมาดังภาพที่ 3.12 เพื่อใหเรายืนยันวาเราตองการจะไถถอนสินคาตามขอมูลนั้นใชหรือไม ถาตองการบันทึกใหกดใช ถาไมตองการหรือกรอกขอมูลผิดใหกดไมใช และภาพที่ 3.13 เปนแผนผัง Flow chart แสดงขั้นตอนการไถถอนสินคาและลบขอมูลสินคาออกจากฐานขอมูล

ตรวจสอบ

ความถูกตอง แจงเตือน

เริ่มตน

จบการทํางาน

ลบขอมูลการจํานํา-ขาย

ฝากจากฐานขอมลู

ถูกตอง

ไมถูกตอง

กรอกขอมูลสินคาท่ีตองการไถถอน

Page 35: นายธรรมรัตน ขจิตตานนท รหัส 53296940010 · 2013-06-24 · โปรแกรมรับจํานํา-ขายฝากสินค

6. Form หนาตางคนหาและรายงาน sda

ภาพที่ 3.14 หนาตางคนหาและรายงาน

โปรแกรมรับจํานาํ-ขายฝากสินคา

คนหาจาก

รหัสลูกคา

ชื่อ-สกุล

ประเภทสินคา

รหัสสินคา

รหัสลูกคา ประเภทสินทรัพย ชื่อสินทรัพย รายละเอียด ยอดเอาจํานํา สถานะ

00001 โทรศัพทมือถือ Iphone5 S/N:32132sd 8000 ไถถอน

00001 โทรศัพทมือถือ Iphone6 S/N:35214sd 15000 หลุดจํานํา

00001 โทรทัศน Sumesung46”” S/N:32sd 5000 จํานํา

เพิ่มรายชื่อลูกคา จํานํา-ขายฝาก ไถถอนสินทรัพย คนหาและรายงาน เปลี่ยนรหัสผาน

00001

คนหา

Page 36: นายธรรมรัตน ขจิตตานนท รหัส 53296940010 · 2013-06-24 · โปรแกรมรับจํานํา-ขายฝากสินค

ภาพที่ 3.15 หนาตางรายงานและสั่งพิมพ

โปรแกรมรับจํานาํ-ขายฝากสินคา

สถานะสินคา อยูระหวางการจาํนํา-ขายฝาก

รหัสลูกคา 00001

ชื่อ-สกุล นายจํานํา ขายฝาก

รายละเอียด 39/9 ม.2 ต.ทุงคาย อ.ยานตาขาว จ.ตรัง 92000

สินทรัพยที่จํานําไว

เลขที่จํานํา: 00055

ประเภทสินทรัพย : โทรทัศน

รายละเอียดสินคา: Sumesung46”” S/N:32sd

เมื่อวันที:่ 15 มีนาคม 2556

ยอดเงินจํานํา

ราคาประเมิณ : 5000 บาท

ยอดเงินที่ตองการ : 5000 บาท

จากขอมูลดอกเบี้ย

อัตราดอกเบี้ย : 5.0 ตอสัปดาหละ 250 บาท

ชําระดอกเบี้ยทกุ : - เดือน 7 วัน

ชําระงวดแรก : 22 มีนาคม 2556

ผูรับจํานําสินคา ผูจํานํา-ขายฝากสนิคา

เพิ่มรายชื่อลูกคา จํานํา-ขายฝาก ไถถอนสินทรัพย คนหาและรายงาน เปลี่ยนรหัสผาน

พิมพ

นายรับฝาก สินคา นายจํานํา ขายฝาก

ยกเลิก

Page 37: นายธรรมรัตน ขจิตตานนท รหัส 53296940010 · 2013-06-24 · โปรแกรมรับจํานํา-ขายฝากสินค

ภาพที่ 3.16 แผนผัง Flow chart แสดงขั้นตอนการแสดงการคนหาและรายงาน

จากภาพที่ 3.14 แสดงถึงหนาตางเรียกดูรายงานการจํานํา-ขายฝาก รายละเอียด และสถานะ

ของสินคาตามแตผูใชงานตองการเรียกดู ภาพที่ 3.15 เปนการแสดงขอมูลตางของสินคานั้นกอนการการสั่งพิมพ และภาพที3่.16 เปนแผนผัง Flow chart แสดงถึงขั้นตอนการคนหาและรายงาน

เริ่มตน

จบการทํางาน

คนหาขอมูลรายงาน

จากฐานขอมูล

ถูกตอง

เลือกรายงานทีต่องการ

เรียกด ู

แสดงรายงานที่คนหาและ

สั่งพิมพ

Page 38: นายธรรมรัตน ขจิตตานนท รหัส 53296940010 · 2013-06-24 · โปรแกรมรับจํานํา-ขายฝากสินค

7. Form หนาตางความปลอดภัย

ภาพที่ 3.17หนาตางเปลี่ยนรหัสผาน

ภาพที่ 3.18หนาตางยืนยันการเปลี่ยนรหัสผาน

โปรแกรมรับจํานาํ-ขายฝากสินคา

กรอกรหัสผานเดิม

กรอกรหัสผานใหม

กรอกรหัสผานใหมอีกครั้ง

save cancle

คุณยืนยันการเปลี่ยนรหัสผานใชหรือไม

ใช ไม

เพิ่มรายชื่อลูกคา จํานํา-ขายฝาก ไถถอนสินทรัพย คนหาและรายงาน เปลี่ยนรหัสผาน

Page 39: นายธรรมรัตน ขจิตตานนท รหัส 53296940010 · 2013-06-24 · โปรแกรมรับจํานํา-ขายฝากสินค

ภาพที่ 3.19 แผนผัง Flow chart แสดงขั้นตอนการตั้งรหัสผานใหม

จากภาพที่ 3.17 แสดงถึงหนาการเปลี่ยนรหัสผานใหม โดยผูใชงานทีต่องการเปลี่ยนรหัสผานใหม สามารถเปลี่ยนแปลงไดดวยตนเอง เมื่อเปลี่ยนแปลงแลวใหกดตกลง ก็จะขึ้นหนาตางใหม ดังภาพที่ 3.18 ขึ้นมา เพื่อใหเรายืนยันวาเราตองการจะบันทึกการเปลี่ยนแปลงรหัสผานครั้งนี้ใชหรือไม ถาตองการบันทึกใหกดใช ถาไมตองการหรือกรอกขอมูลผิดใหกดไมใช และภาพที่ 3.19 คือแผนผัง Flow chart แสดงขั้นตอนการเปลี่ยนรหัสผาน

ตรวจสอบ

รหัสผาน แจงเตือน

จบการทํางาน

เริ่มตน

บันทึกลง

ฐานขอมูล

ถูกต

ไมถูกตอง

กรอก Password

กรอก Password

แจงเตือน ตรวจสอบ

รหัสผาน

ไมถูกตอง

ถูกตอง

Page 40: นายธรรมรัตน ขจิตตานนท รหัส 53296940010 · 2013-06-24 · โปรแกรมรับจํานํา-ขายฝากสินค

3.4 การวิเคราะหขอมูล วิเคราะหแบบสอบถามความคิดเห็นของเจาของกิจการและผูใชงานโปรแกรมรับจํา-ขาย

ฝากสินคา 1. ลักษณะของแบบสอบถาม

การประเมินครั้งนี้ผูวิจัย ไดกําหนดเครื่องมือเปน แบบสอบถามโดยแบงออกเปน 3 ตอน คือ ตอนที่1 ขอมูลทั่วไป เปนการสอบถามเกี่ยวกับสถานภาพสวนตัวตางๆ ของตัวผูใชงาน ไดแก เพศ ระดับการศึกษา อาย ุ ตอนที่ 2 ขอมูลเกี่ยวกับความพึงพอใจในการทดสอบการใชงานโปรแกรมรับจํานํา-ขายฝากสินคา ไดแก ดานความตองการของผูใช ดานการทํางานของระบบ ดานรูปแบบการนําเสนอ แบบสอบถามเปนแบบมาตราสวนประมาณคามี 5 ตัวเลือกคือ 5 หมายถึง มีความพึงพอใจในระดับดีมาก 4 หมายถึง มีความพึงพอใจในระดับด ี 3 หมายถงึ มีความพึงพอใจในระดับปานกลาง 2 หมายถึง มีความพึงพอใจในระดับพอใช 1 หมายถึง มีความพึงพอใจในระดับควรปรับปรุง

ตอนที3่ ขอเสนอแนะอื่น ๆ เปนลักษณะ แบบสอบถาม โดยวิธีอิสระ แบบปลายเปด จะรวบรวมขอเสนอแนะที่สําคัญ

ในการวิจัยครั้งนี้ ผูวิจัยไดดําเนินการวิเคราะหขอมูล ดังนี้ 3.4.1 ตรวจสอบจํานวนและความสมบูรณของแบบสอบถามที่ไดจากการเก็บรวบรวม ขอมูล 3.4.2 นําแบบสอบถามไปวิเคราะหขอมูลตามตัวแปรที่ศึกษา โดยใชวิธีการทางสถิติ ดวยโปรแกรมคอมพิวเตอร 3.4.3 ในการวิเคราะหขอมูลจากแบบสอบถามตอนที่ 1 เปนการวิเคราะหขอมูลทั่วไปของ ผูตอบแบบสอบถามในดานตางๆ เชนเพศ ระดับการศึกษา อายุ และทําการวิเคราะหขอมูลโดยการแจกแจงความถี่ (Frequency) และสถิติรอยละ (Percentage)

3.4.4 ในการวิ เคราะหขอมูลจากแบบสอบถามตอนที่ 2 เปนการวิ เคราะหขอมูล ความพึงพอใจของผูตอบแบบสอบถามตอโปรแกรมรับจํานํา-ขายฝากสินคา ไดแก ดานขอมูล ดานความสะดวกซึ่งทําการวิเคราะหขอมูลโดยหาคาเฉลี่ย (Mean) และคาเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) เปนรายขอ ซึ่งลักษณะของแบบสอบถามเปนแบบมาตราสวนประมาณคา 5 ระดับ ดังนี้

5 หมายถึง มีความพึงพอใจในระดับดีมาก 4 หมายถึง มีความพึงพอใจในระดับด ี 3 หมายถึง มีความพึงพอใจในระดับปานกลาง 2 หมายถึง มีความพึงพอใจในระดับพอใช 1 หมายถึง มีความพึงพอใจในระดับควรปรับปรุง

Page 41: นายธรรมรัตน ขจิตตานนท รหัส 53296940010 · 2013-06-24 · โปรแกรมรับจํานํา-ขายฝากสินค

สวนการแปลความหมายของคาเฉลี่ยระดับความพึงพอใจของผูตอบแบบสอบถามตอโปรแกรมรับจํานํา-ขายฝากสินคา ที่ไดจากการตอบแบบสอบถามในแตละรายการและในภาพรวม จะใชเกณฑ ดังนี้ กําหนดใหคะแนนเฉลี่ยระหวาง 4.01-5.00 แปลวา มีความพึงพอใจในระดับดีมาก กําหนดใหคะแนนเฉลี่ยระหวาง 3.01-4.00 แปลวา มีความพึงพอใจในระดับด ี กําหนดใหคะแนนเฉลี่ยระหวาง 2.01-3.00 แปลวา มีความพึงพอใจในระดับปานกลาง กําหนดใหคะแนนเฉลี่ยระหวาง 1.51-2.00 แปลวา มีความพึงพอใจในระดับพอใช กําหนดใหคะแนนเฉลี่ยระหวาง 1.00-1.50 แปลวา มีความพึงพอใจในระดับควรปรับปรุง

3.4.5 ในการวิเคราะหขอมูลจากแบบสอบถามตอนที่ 3 ซึ่งเปนขอมูลเสนอแนะและความคิดเห็นอื่นๆ ของผูตอบแบบสอบถามตอโปรแกรมรับจํานํา-ขายฝากสินคาจะใชการวิเคราะหเนื้อหา (Content Analysis)

3.5 แผนการดําเนินงาน

ตารางที่ 3.1 แผนการดําเนินงาน

กิจกรรม ระยะเวลาการดําเนินงาน (เดือน)

ระยะ เวลา เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค.

1.ศึกษาผลิตภัณฑ 2 เดือน

2.นําขอมูลมาวิเคราะหเพื่อ

ออกแบบระบบ

2 เดือน

3.เขียนSourceCode และ

ออกแบบระบบFormทั้งในสวน

ของการนําเขาขอมูล และสวนของ

การแสดงผลรายงานตาง ๆ

3 เดือน

4.ทดสอบระบบเพื่อนําขอผิดพลาด

มาแกไขใหสมบูรณ

2 เดือน

5.ประเมินผลรวมทั้งหมด และ

จัดทํารายงานเตรียมขอมูลนําเสนอ

1 เดือน

Page 42: นายธรรมรัตน ขจิตตานนท รหัส 53296940010 · 2013-06-24 · โปรแกรมรับจํานํา-ขายฝากสินค

3.6 สถิติที่ใชในการวิจัย

ในการวิจัยครั้งนี้ ผูวิจัยไดทําการวิเคราะหขอมูลโดยใชสถิติ ดังตอไปนี้

3.7.1 คาเฉลี่ย

สูตร n

X X

เมื่อ X แทน คาเฉลี่ยเลขคณิต

X แทน ผลรวมของขอมูลทั้งหมด

n แทน จํานวนของขอมูลทั้งหมด

3.7.2 คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

สูตร

1n

XXS.D.

2

เมื่อ S.D. แทน คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

X แทน ขอมูลของแตละจํานวน

X แทน คาเฉลี่ยเลขคณิต

n แทน จํานวนของขอมูลทั้งหมด

แทน ผลรวมของขอมูลทั้งหมด

3.7.3 คารอยละ

สูตร 100 N

f P

เมื่อ P แทน รอยละ

f แทน ความถี่ที่ตองการแปลงเปนคารอยละ

N แทน จํานวนความถี่ทั้งหมด