328
การประชุมทางวิชาการประจําปี การประชุมทางวิชาการประจําปี ของ ของ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประจําปี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประจําปี ๒๕๕๔ ๒๕๕๔ ๑๐ ๑๐ กันยายน กันยายน ๒๕๕๔ ๒๕๕๔ คณะศึก คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ครบรอบ ๔๓ ปี วันคล้ายวันสถาปนาคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น สารจากคณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น มีนโยบายสําคัญในการพัฒนาการศึกษาของชาติ ด้วยการ พัฒนาศักยภาพด้านการเรียนของนักศึกษาของคณะฯทั้งระดับปริญญาตรี โท และเอก และพัฒนาศักยภาพ ด้านการสอนของอาจารย์ โดยวิธีการในการพัฒนานั้นเน้นการใช้นวัตกรรมต่างๆรวมถึงใช้การวิจัยเป็นฐานใน การพัฒนาด้วยการนําผลการวิจัยมาใช้ในการเรียนการสอน สนับสนุนให้อาจารย์และนักศึกษาทําวิจัย รวมทั้ง นําผลการวิจัยไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม เพื่อส่งเสริมให้อาจารย์และนักศึกษาได้มีโอกาสพบปะกับนักวิจัยทั้งในประเทศและต่างประเทศ ได้ แลกเปลี่ยนเรียนรูรวมทั้งได้มีโอกาสนําเสนอผลงานวิจัยของตนเองต่อสาธารณชน คณะฯจึงได้จัดการประชุม ทางวิชาการระดับนานาชาติ International Conference on Educational Research (ICER2011) : Learning Community for Sustainable Development ขึ้นเป็นประจําทุกปีมาตั้งแต่ปี 2008 ซึ่งการ ประชุมแต่ละครั้งก็ได้รับความสนใจจากนักวิชาการทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศเป็นจํานวนมากและเพื่อเป็น การเปิดโอกาสให้นักวิจัยชาวไทยได้มีโอกาสนําเสนองานด้วยภาษาไทยในบรรยากาศแบบนานาชาติ คณะฯจึง ได้จัดประชุมโดยใช้ภาษาไทย ควบคู่ไปกับการประชุม International Conference on Educational Research (ICER2011) และใช้ชื่อว่า การประชุมทางวิชาการประจําปีของคณะศึกษาศาสตร์ ประจําปี 2554 การประชุมครั้งนีได้รับความสนใจจากทั้งนักวิจัยจากสถาบันการศึกษาต่างๆ ศิษย์เก่าของคณะ ศึกษาศาสตร์ นักศึกษาระดับปริญญาโทและเอก ครูอาจารย์ในโรงเรียน เข้าร่วมประชุมทั้งในแบบบรรยายและ โปสเตอร์ นับว่าเป็นการเริ่มต้นชุมชนของนักวิจัยชาวไทยที่น่ายินดีอย่างยิ่ง หวังว่า การประชุมครั้งนี้จะเป็นจุดเริ่มต้นที่สําคัญของทุกท่านในการเข้าสู่ชุมชนนักวิจัย ขอขอบคุณทุก ท่านที่เข้าร่วมการประชุมในครั้งนีหวังว่าจะได้พบกับท่านอีกในการประชุมครั้งต่อไป ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ไมตรี อินทร์ประสิทธิคณบดีคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

สารจากคณบดีTH-OR-03 การพ ฒนาแผนการจ ดการเร ยนร แบบเป ดท เน นการใช เทคโนโลย

  • Upload
    others

  • View
    0

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

  • การประชุมทางวิชาการประจําปีการประชุมทางวิชาการประจําปีของของคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประจําปี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประจําปี ๒๕๕๔๒๕๕๔ ๙๙ –– ๑๐ ๑๐ กันยายน กันยายน ๒๕๕๔ ๒๕๕๔ ณ คณะศึกณ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

    ครบรอบ ๔๓ ปี วันคล้ายวันสถาปนาคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

    สารจากคณบด ี

    คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น มีนโยบายสําคัญในการพัฒนาการศึกษาของชาติ ด้วยการพัฒนาศักยภาพด้านการเรียนของนักศึกษาของคณะฯทั้งระดับปริญญาตรี โท และเอก และพัฒนาศักยภาพด้านการสอนของอาจารย์ โดยวิธีการในการพัฒนานั้นเน้นการใช้นวัตกรรมต่างๆรวมถึงใช้การวิจัยเป็นฐานในการพัฒนาด้วยการนําผลการวิจัยมาใช้ในการเรียนการสอน สนับสนุนให้อาจารย์และนักศึกษาทําวิจัย รวมท้ังนําผลการวิจัยไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม

    เพ่ือส่งเสริมให้อาจารย์และนักศึกษาได้มีโอกาสพบปะกับนักวิจัยทั้งในประเทศและต่างประเทศ ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ รวมทั้งได้มีโอกาสนําเสนอผลงานวิจัยของตนเองต่อสาธารณชน คณะฯจึงได้จัดการประชุมทางวิชาการระดับนานาชาติ International Conference on Educational Research (ICER2011) : Learning Community for Sustainable Development ขึ้นเป็นประจําทุกปีมาต้ังแต่ปี 2008 ซึ่งการประชุมแต่ละคร้ังก็ได้รับความสนใจจากนักวิชาการทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศเป็นจํานวนมากและเพ่ือเป็นการเปิดโอกาสให้นักวิจัยชาวไทยได้มีโอกาสนําเสนองานด้วยภาษาไทยในบรรยากาศแบบนานาชาติ คณะฯจึงได้จัดประชุมโดยใช้ภาษาไทย ควบคู่ไปกับการประชุม International Conference on Educational Research (ICER2011) และใช้ช่ือว่า การประชุมทางวิชาการประจําปีของคณะศึกษาศาสตร์ ประจําปี 2554 การประชุมครั้งน้ี ได้รับความสนใจจากทั้งนักวิจัยจากสถาบันการศึกษาต่างๆ ศิษย์เก่าของคณะศึกษาศาสตร์ นักศึกษาระดับปริญญาโทและเอก ครูอาจารย์ในโรงเรียน เข้าร่วมประชุมทั้งในแบบบรรยายและโปสเตอร์ นับว่าเป็นการเริ่มต้นชุมชนของนักวิจัยชาวไทยที่น่ายินดีอย่างย่ิง หวังว่า การประชุมคร้ังน้ีจะเป็นจุดเริ่มต้นที่สําคัญของทุกท่านในการเข้าสู่ชุมชนนักวิจัย ขอขอบคุณทุกท่านที่เข้าร่วมการประชุมในครั้งน้ี หวังว่าจะได้พบกับท่านอีกในการประชุมคร้ังต่อไป ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ไมตรี อินทร์ประสิทธ์ิ คณบดีคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

  • การประชุมทางวิชาการประจําปีการประชุมทางวิชาการประจําปีของของคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประจําปี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประจําปี ๒๕๕๔๒๕๕๔ ๙๙ –– ๑๐ ๑๐ กันยายน กันยายน ๒๕๕๔ ๒๕๕๔ ณ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นณ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

    สารบัญ รหัส ชื่อบทความวิจัย / ผู้แต่ง หน้า

    ครบรอบ ๔๓ ปี วันคล้ายวันสถาปนาคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

    การนําเสนอแบบบรรยาย TH-OR-01 ผลของการนําเสนอสถานการณ์ปัญหาทางคณิตศาสตร์ของครูต่อนักเรยีน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – 6…………………………………………………………………………………. 1-11 กฤษณัย สุวรรณ์ และคณะ TH-OR-02 ผลของการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้แบบเปิดที่มีต่อ พหุปัญญา และผลการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1……………………………..12-22 กัญญา ราชหุ่น และคณะ TH-OR-03 การพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้แบบเปิดที่เนน้การใช้เทคโนโลย…ี…………………………..23-29 กิตติศักด์ิ ใจอ่อน และคณะ TH-OR-04 การพัฒนาภาษาทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนโดยวิธีการแบบเปิด………………….…………30-36 เกษม เปรมประยูร และคณะ TH-OR-05 บทบาทของผูบ้ริหารโรงเรียนขยายโอกาสที่ใช้นวัตกรรมการศึกษาชั้นเรียน……………….37-46 จงจิตร มุ่งเกิด และคณะ TH-OR-06 วิธีการสื่อสารทางคณิตศาสตร์ในการแก้ปญัหาปลายเปดิของนักเรียน : เน้นความแตกต่างระหว่างเพศ…………………………………………………………………………. 47-55 จิตขจี พ่ึงผล และคณะ TH-OR-07 ปัจจัยที่มีอิทธพิลต่อการคิดอย่างมีวิจารณญาณ…………………………………………………… 56-61 เจริญขวัญ รัตนะวงษา และคณะ TH-OR-08 ผลของลักษณะการนาํเสนอสถานการณ์ปญัหาวิชาคณติศาสตร์ของนกัเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ในชั้นเรียนที่ใช้วิธีการแบบเปิด (Open Approach) และวิธีการศึกษาชั้นเรียน (Lesson Study) โรงเรียนคคูําพทิยาสรรพ์ อําเภอซําสงู จังหวัดขอนแก่น………………………………………………………………………………………………. 62-74 นันทิพัฒน์ ปันแสน และคณะ TH-OR-09 การพัฒนากิจกรรมการเรียนการสอนวิชาสังคมศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6…………… 75-80 โดยใช้การสอนแบบร่วมมือการเรียนรู้แบบ JIGSAW II นุชนาฎ เนสุสินธ์ุ และคณะ TH-OR-10 อารมณ์ของนกัเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ในวิธีการแบบเปิด…………………………………82-90 ประดิษฐ มูลสาร และคณะ TH-OR-11 การสํารวจความคิดเหน็เก่ียวกับการใชน้วัตกรรมการศึกษาชั้นเรียน (Lesson Study) และวิธีการแบบเปิด (Open Approach) รายวิชาคณิตศาสตร์ ในระดับชัน้ประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนสนามบิน…………………………………………………91-100 ปิยภรณ์ ศิริมา และคณะ

  • การประชุมทางวิชาการประจําปีการประชุมทางวิชาการประจําปีของของคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประจําปี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประจําปี ๒๕๕๔๒๕๕๔ ๙๙ –– ๑๐ ๑๐ กันยายน กันยายน ๒๕๕๔ ๒๕๕๔ ณ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นณ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

    สารบัญ รหัส ชื่อบทความวิจัย / ผู้แต่ง หน้า

    ครบรอบ ๔๓ ปี วันคล้ายวันสถาปนาคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

    TH-OR-12 การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถในการคิดแก้ปัญหา และผลการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย…………………101-106 เพ็ญพร วังภูมิใหญ ่และคณะ TH-OR-13 การพัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณและ ผลสัมฤทธิ์ทาง การเรียนวิชาเคมี เรื่องสารชวีโมเลกุล ของนักเรียนชัน้มัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยใช้รูปแบบวัฏจักรการเรยีนรู้ 4 MAT………………………………………………………….107-116 วันเพ็ญ ปัญญาสิงห์ และคณะ TH-OR-14 การสังเคราะหง์านวิจัยการจัดการเรียนการสอนสังคมศกึษา เพื่อพัฒนาทักษะ กระบวนการคดิของนักเรียนระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน ระหว่าง พทุธศกัราช 2542-2553 ด้วยการวิเคราะห์อภิมานและการวิเคราะห์เนื้อหา ..…………………………117-130 เศวตาภรณ์ ต้ังวันเจริญ และคณะ TH-OR-15 ผลของการจัดการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนซิปปาทีบู่รณาการ กระบวนการเรียนรู้วรรณคดีที่มีต่อผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้และเจตคติต่อวรรณคดีไทย ของนักเรียนระดับชัน้มัธยมศึกษาตอนต้นในโรงเรียนสาธิต…………………………………131-140 สันติวัฒน์ จันทร์ใด TH-OR-16 บทบาทของครูที่ใช้กระบวนการการศึกษาชั้นเรียน (LESSON STUDY) ระดับชัน้ประถมศึกษาปีที่ 4 – 6 …………………………………………………………………….141-149

    อนงค์นุช เวชประชา และคณะ TH-OR-17 การศึกษาลักษณะการสื่อสารทางคณิตศาสตร์ในชัน้เรยีนคณิตศาสตร์ ที่ใช้วิธีการแบบเปิด ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนกุดบากราษฎร์บํารงุ จังหวัดสกลนคร……………………………………………………150-160 อรพรรณ พรหมจิตติพงศ์ และคณะ TH-OR-18 ผลของการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์การสืบเสาะโดยใช้การบูรณาการร่วม ระหว่างปฏิบติัการทดลองจริงผ่านคอมพวิเตอร์ และสถานการณ์จําลอง บนคอมพิวเตอร์ที่มีต่อการเรียนรูฟ้ิสิกส์เรือ่งคุณสมบัติของคลืน่เสียง ของนักเรียนระดับชัน้มัธยมศึกษาปีที่ 5……………………………………………………………..161-168 อัจฉราพร กันหาอาจ และคณะ TH-OR-19 การวิจัยและพฒันานวัตกรรมเรื่อง วิธีการแบบเปิด (Open Approach) เพื่อพัฒนาระบบฝึกหัดครคูณิตศาสตร์แบบใหม่………………………………………………….169-178 เอ้ือจิตร พัฒนจักร และคณะ

  • การประชุมทางวิชาการประจําปีการประชุมทางวิชาการประจําปีของของคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประจําปี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประจําปี ๒๕๕๔๒๕๕๔ ๙๙ –– ๑๐ ๑๐ กันยายน กันยายน ๒๕๕๔ ๒๕๕๔ ณ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นณ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

    สารบัญ รหัส ชื่อบทความวิจัย / ผู้แต่ง หน้า

    ครบรอบ ๔๓ ปี วันคล้ายวันสถาปนาคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

    การนําเสนอแบบโปสเตอร์ TH-PO-01 ผลการเรียนรูข้องนักเรียนชัน้ประถมศึกษาปีที่ 1 ที่เรียนด้วยหน่วยการเรยีนรู้ แบบบูรณาการ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู…้……………………………………………………………179-185 เกรียง นาค-อก และคณะ TH-PO-02 การศึกษาผลการจัดกิจกรรมการเรียนรูส้าระที่ 2 การวัด เรื่อง การวัด การชั่ง การตวง ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โดยใช้วิธีการแบบเปิด (Open Approach)

    ภายใต้นวัตกรรมการศึกษาชัน้เรียน (Lesson Study)………………………………………..186-193 เก้ือจิตต์ ฉิมทมิ และคณะ TH-PO-03 การศึกษาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรข์ั้นพื้นฐานและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง เรามาออกแรงกันเถอะ ของนักเรียนชั้นประถมศกึษาปีที่ 1 โดยใช้วิธี Predict – Observe - Explain (POE)……………………………………………..194-202 ขนิษฐา ศิริพรรณ และคณะ TH-PO-04 ความสามารถด้านการอ่านภาษาไทยอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 5 ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบ KWL-PLUS และวิธีการคิดแบบหมวก 6 ใบ………203-210 จาริณี ฤทธ์ิพันธ์ม่วง และคณะ TH-PO-05 ผลการเรียนรูก้ลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ของนักเรยีนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 และ 6 ที่เรียนด้วยหนว่ยการเรียนรูส้ําหรบันักเรียนคละชัน้……………………………………………211-217 ณิชาภัทร สุขเกษม และคณะ TH-PO-06 การศึกษาผลการจัดกิจกรรมการเรียนรูส้าระที่ 2 เรื่อง การชั่ง การวัด การตวง ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 โดยใช้วิธีการเปิด (Open Approach) ด้วยนวัตกรรม การศึกษาชั้นเรียน (Lesson Study)………………………………………………………………218-224 นภาพร วรเนตรสุดาทิพย์ และคณะ TH-PO-07 ผลการเรียนรูข้องนักเรียนชัน้มัธยมศกึษาปีที่ 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ตามแนวคิดทฤษฎีพหุปัญญา………………………………………………………………………… 225-230 นฤมล นนลือชา และคณะ TH-PO-08 การพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์โดยใช้กระบวนการเรยีนรู้แบบโครงงาน สําหรบันักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5…………………………………………………………………231-239 เพ็ญนภา แสงโสดา และคณะ TH-PO-09 ผลการเรียนรูก้ลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่เรียนด้วยกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคดิทฤษฎีพหุปญัญา…………………………………240-247 เพียงใจ พรมเลิศ และคณะ

  • การประชุมทางวิชาการประจําปีการประชุมทางวิชาการประจําปีของของคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประจําปี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประจําปี ๒๕๕๔๒๕๕๔ ๙๙ –– ๑๐ ๑๐ กันยายน กันยายน ๒๕๕๔ ๒๕๕๔ ณ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นณ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

    สารบัญ รหัส ชื่อบทความวิจัย / ผู้แต่ง หน้า

    ครบรอบ ๔๓ ปี วันคล้ายวันสถาปนาคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

    TH-PO-10 การพัฒนาความสามารถในการคิดและการอ่านภาษาไทยอย่างมีวิจารณญาณของ นักเรียนชัน้มัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยใช้วิธีการคิดแบบหมวกหกใบ……………………………248-255 มารศรี เมืองโคตร และคณะ TH-PO-11 การพัฒนาทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ ของนักเรยีนชั้นมัธยมศกึษาปีที่ 1 ในสาระการเรยีนรู้ภาษาไทย โดยใช้รูปแบบการสอนเพื่อให้เกิดมโนมต…ิ………………256-264 ยุพคิน ไชยรบ และคณะ TH-PO-12 ผลการเรียนรูข้องนักเรียนชัน้ประถมศึกษาปีที่ 1 ที่เรียนด้วยหน่วยบรูณาการ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู…้…………………………………………………………………………………265-271 ลัดดา ธนะภูมิชัย และคณะ TH-PO-13 ผลการเรียนรูก้ลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยของนักเรียนชั้นประถมศกึษา

    ปีที่ 1 และ 2 ที่เรียนด้วยหน่วยการเรียนรูส้ําหรับนักเรียนคละชัน้.............................272-278 วิจิตร ทองโคกสี และคณะ

    TH-PO-14 ผลการเรียนรูข้องนักเรียนชัน้ประถมศึกษาปีที่ 1 ที่เรียนด้วยหน่วยบรูณาการ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู…้…………………………………………………………………………………279-286 วิมลลักษณ ์จนัทนพิมพ์ และคณะ TH-PO-15 ผลการเรียนรูก้ลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ของนักเรยีนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ที่เรียนด้วยกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคดิทฤษฎีพหุปญัญา……………………………… 287-294 สถาพร แก้วภูมิแห่ และคณะ TH-PO-16 การวิจัยเชงิปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมเพื่อพัฒนาความคดิสร้างสรรค์ทางภาษา บูรณาการภูมิปัญญาท้องถ่ิน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3……………………………295-302 สุดสวาท มีไชโย และคณะ TH-PO-17 แนวทางใหม่รปูแบบการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยใช้ยุทธวิธเีมตาคอกนิชัน ระดับชัน้มัธยมศึกษาตอนปลาย………………………………………………………………………303-314 อภิสิทธ์ิ โคตรนรินทร์ และคณะ TH-PO-18 การพัฒนาความสามารถด้านการเขียนแสดงความคิดเหน็ชิงวิพากษ์ ของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โดยใช้กระบวนการคดิเชิงวิพากษ์จากวรรณกรรมท้องถ่ิน……315-321 อังคณา บัวผัน และคณะ ภาคผนวก รายช่ือคณะกรรมการคัดกรองผลงานวิจัย

  • การประชุมทางวิชาการประจําปีการประชุมทางวิชาการประจําปีของของคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประจําปี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประจําปี ๒๕๕๔๒๕๕๔ ๙๙ –– ๑๐ ๑๐ กันยายน กันยายน ๒๕๕๔ ๒๕๕๔ ณ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นณ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

    ครบรอบ ๔๓ ปี วันคล้ายวันสถาปนาคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

    ผลของการนําเสนอสถานการณ์ปญัหาทางคณิตศาสตร์ของครูต่อนักเรียน ชั้นประถมศกึษาปีท่ี 1 – 6 กฤษณัย สุวรรณ์1 ([email protected]) ขวัญตา จรัสแผ้ว2 ([email protected]) อภิชาต แซ่อ้ึง3 ([email protected]) ไมตรี อินทร์ประสิทธ์ิ4 ([email protected]) บทคัดย่อ การวิจัยคร้ังน้ีมี วัตถุประสงค์เพ่ือศึกษาผลของลักษณะวิธีการนําเสนอสถานการณ์ปัญหาทางคณิตศาสตร์ของครูต่อนักเรียนช้ันประถมศึกษา ในโรงเรียนที่ใช้นวัตกรรมการศึกษาช้ันเรียน (Lesson Study) และวิธีการแบบเปิด (Open Approach) โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพที่เน้นการวิเคราะห์โปรโตคอล(Protocal Analysis) และการบรรยายเชิงวิเคราะห์ (Analytic Description) ดําเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้บริบทในช้ันเรียนคณิตศาสตร์ มีนักศึกษาปฏิบัติการสอนเป็นผู้ดําเนินการจัดกิจกรรมการแก้ปัญหา ที่ใช้สถานการณ์ปัญหาปลายเปิด เก็บข้อมูลจากนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 1-6 โรงเรียนคูคําพิทยาสรรพ์ เคร่ืองมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) แผนการจัดการเรียนรู้ด้วยวิธีการแบบเปิด 2) แบบสัมภาษณ์นักเรียน 3) แบบสอบถามผู้สังเกต 4) วีดีทัศน์ช้ันเรียน และ 5) ผลงานนักเรียน ผลการวิจัยพบว่า ในระดับช้ัน ป.1-3 ลักษณะวิธีการนําเสนอสถานการณ์ปัญหาใช้ภาพประกอบเรื่องเล่า การเล่าเร่ือง การใช้สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ เกม และการใช้ใบกิจกรรมและสื่อ ผลที่เกิดข้ึนใน ด้านการตอบสนอง คือ นักเรียนมีความสนใจ มีปฏิสัมพันธ์กับครู มีความกระตือรือร้นและมีส่วนร่วมในกิจกรรม ด้านกระบวนการกลุ่ม นักเรียนร่วมมือกันทํางาน มีการแบ่งหน้าที่ในการทํากิจกรรมเป็นผู้คิดแก้ปัญหาและผู้บันทึก และมีการตรวจสอบวิธี แนวคิดของเพ่ือน ด้านผลงานของนักเรียนมีการทํางานออกมาเป็นระบบ เรียบร้อย นักเรียนเขียนอธิบายเหตุผล แนวคิดซึ่งสอดคล้องตามท่ีครูคาดการณ์ไว้

    ผลการวิจัยพบว่า ในระดับช้ัน ป.4-6 ลักษณะวิธีการนําเสนอสถานการณ์ปัญหาโดยการใช้สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ ลักษณะวิธีการนําเสนอสถานการณ์ปัญหาใช้ใบคําสั่ง ผลที่เกิดข้ึนใน ด้านการตอบสนอง นักเรียนอ่านคําสั่งบ่อยๆ และซักถามในประเด็นที่สงสัย ด้านกระบวนการกลุ่มนักเรียนมีการคิดแนวคิดของตัวเอง มีการเสนอแนวคิดและโต้เถียงภายในกลุ่มเพ่ือหาวิธีการแก้ปัญหา ด้านผลงานนักเรียน ผลงานมีความเรียบร้อย แต่ไม่ค่อยสมบูรณ์ คําสําคัญ : ลักษณะวิธีการนําเสนอสถานการณ์ปัญหา, การศึกษาช้ันเรียน, วิธีการแบบเปิด 1 นักศึกษาระดับปริญญาโท สาขาวิชาคณิตศาสตรศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 2 นักศึกษาระดับปริญญาโท สาขาวิชาคณิตศาสตรศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 3 นักศึกษาระดับปริญญาโท สาขาวิชาคณิตศาสตรศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 4 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ผู้อํานวยการศูนย์วิจัยคณิตศาสตรศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

    1

  • การประชุมทางวิชาการประจําปีการประชุมทางวิชาการประจําปีของของคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประจําปี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประจําปี ๒๕๕๔๒๕๕๔ ๙๙ –– ๑๐ ๑๐ กันยายน กันยายน ๒๕๕๔ ๒๕๕๔ ณ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นณ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

    ครบรอบ ๔๓ ปี วันคล้ายวันสถาปนาคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

    ความเป็นมาและความสาํคญั จากที่มีการจัดต้ังศูนย์วิจัยคณิตศาสตรศึกษาที่มหาวิทยาลัยขอนแก่น เมื่อ พ.ศ.2547 นําโดย ผศ.ดร.

    ไมตรี อินทร์ประสิทธ์ิ โดยเน้นความร่วมมือกับมหาวิทยาลัย และองค์กรต่างๆ เพ่ือพัฒนาระบบฝึกหัดครูคณิตศาสตร์ในโครงการผลิตครู ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน (หลักสูตร 5 ปี) และระดับบัณฑิตศึกษา มีการคัดเลือกสถานศึกษาในบางเขตพ้ืนที่เพ่ือการวิจัยและการพัฒนาวิชาชีพครูคณิตศาสตร์เข้าร่วมโครงการ โดยได้ใช้นวัตกรรมการศึกษาช้ันเรียน (Lesson Study) และวิธีการแบบเปิด (Open Approach) ในการจัดการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์ มีการขยายผลออกไปยังชุมชนครูคณิตศาสตร์ที่กว้างขวางข้ึน ทั้งน้ีเพ่ือที่จะยกระดับความสามารถและการคิดทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนต่อไป ภายใต้แนวคิดว่า คณิตศาสตร์เป็นเรื่องสนุกและท้าทาย โดยเฉพาะอย่างย่ิงหากเด็กเป็นผู้ “คิด” ได้เอง มากกว่าที่ครูผู้สอนจะเป็นผู้ป้อนความรู้ให้แต่เพียงอย่างเดียว การสอนวิชาคณิตศาสตร์ที่ผ่านมาส่วนใหญ่ให้เด็กทําแต่แบบฝึกหัด ครูเป็นผู้ป้อนความรู้ เพราะเป็นการทําแบบฝึกหัดแบบเดิม ๆ (Routine) แต่ในการสอนวิเคราะห์ ฝึกทักษะการใช้ภาษาทางการสื่อสาร เป็นการเรียนการสอนแบบบูรณาการอย่างแท้จริง และเหมาะที่จะนําไปใช้ได้ต้ังแต่ระดับเด็กเล็กไปจนถึงระดับอุดมศึกษา

    การสอนคณิตศาสตร์ด้วยวิธีการแบบเปิด (Open Approach) มีจุดมุ่งหมาย คือการทําให้กิจกรรมของนักเรียนและวิธีคิดทางคณิตศาสตร์จะต้องถูกนําออกมาใช้อย่าง เต็มความสามารถ ต้องให้นักเรียนแต่ละคนมีอิสระในการพัฒนาความก้าวหน้าในการแก้ปัญหาตามความสามารถและความสนใจของตน สิ่งสุดท้ายคือต้องปล่อยให้นักเรียนได้พัฒนาความฉลาดทางคณิตศาสตร์ของเขา ดังน้ันครูจึงต้องสร้างกิจกรรมห้องเรียนที่จะส่งเสริมวิธีคิดทางคณิตศาสตร์แบบต่าง ๆ ขณะที่นักเรียนที่มีความสามารถสูงกว่าก็สามารถที่จะใช้วิธีการทางคณิตศาสตร์อย่างหลากหลาย และนักเรียนที่มีความสามารถด้อยกว่าก็ยังคงสนุกสนานกับกับ กิจกรรมทางคณิตศาสตร์ตามความสามารถของตนทําให้นักเรียนเปิดโอกาสการสืบเสาะด้วยวิธีการที่ตนเช่ือมั่นและนําไปสู่การแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ที่มีความซับซ้อนสูงขึ้น ผลที่เกิดข้ึนมีความเป็นไปได้ที่นักเรียนจะเกิดการพัฒนาสูงขึ้นที่จะแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ของพวกเขา และในขณะเดียวกันยังเป็นการช่วยส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ให้นักเรียนแต่ละคน วิธีการแบบเปิด (Open Approach) จํากัดความได้ว่า เป็นวิธีการสอนหน่ึงที่ใช้กิจกรรมที่มีปฏิสัมพันธ์ระหว่างวิชาคณิตศาสตร์และนักเรียนได้เปิดการใช้วิธีการในการแก้ปัญหาที่หลากหลายจําเป็นต้องสร้างกิจกรรมที่มีปฏิสัมพันธ์ระหว่างวิธีคิดทางคณิตศาสตร์และพฤติกรรมการแก้ปัญหานักเรียนได้ถูกเปิดออกมาอย่างชัดเจนสามารถอธิบายได้ 3 ลักษณะ คือ

    1) มีการพัฒนากิจกรรมของเด็กเพ่ือวิธีการสอนแบบเปิดโดยเฉพาะ 2) ปัญหาที่กําหนดในวิธีการแบบเปิดต้องอาศัยแนวคิดทางคณิตศาสตร์ด้วย 3) วิธีการแบบเปิดควรสอดคล้องกันในกิจกรรมสัมพันธ์ระหว่าง ข้อ 1 กับ ข้อ 2

    สิ่งที่ควรตระหนักอย่างมากต่อกระบวนการสร้างความเข้าใจ “วิธีการแบบเปิด” คือความสัมพันธ์ระหว่างปัญหาและวิธีการแก้ไข ปัญหาที่ใช้ “วิธีการแบบเปิด” น้ีต้องเป็นปัญหาที่ไม่เกิดเป็นประจํา ทั้งสถานการณ์ของปัญหากระบวนการแก้ปัญหาตามแบบที่กําหนดและการแก้ปัญหาแบบปลายเปิด

    ในการนําไปปฏิบัติจริง ครูแต่ละคนย่อมจัดสภาพห้องเรียนและจุดมุ่งหมายการสอนตามแนวทาง ของตน ดังน้ันวิธีการท่ีใช้ใน “วิธีการแบบเปิด” จึงขึ้นอยู่กับตัวปัญหา ซึ่งประกอบด้วยสถานการณ์ของปัญหา กระบวนการแก้ปัญหาที่มีแนวทางให้ปฏิบัติและการแก้ปัญหาแบบปลายเปิดสําหรับจุด เน้นสําคัญของวิธีการสอนด้วยวิธีแบบเปิด (Open Approach) จะต้องให้นักเรียนเปิดใจกว้างเก่ียวกับคณิตศาสตร์ โดยมีเป้าหมายให้นักเรียนทุกคนได้เรียนคณิตศาสตร์ซึ่งสอดคล้องกับศักยภาพทางคณิตศาสตร์ของตนและระดับของการกําหนดการเรียนรู้ด้วยตนเอง นอกจากนี้ยังต้องการให้เด็กสามารถใช้ศักยภาพของตนเองได้อย่างเต็มที่ใน

    2

  • การประชุมทางวิชาการประจําปีการประชุมทางวิชาการประจําปีของของคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประจําปี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประจําปี ๒๕๕๔๒๕๕๔ ๙๙ –– ๑๐ ๑๐ กันยายน กันยายน ๒๕๕๔ ๒๕๕๔ ณ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นณ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

    ครบรอบ ๔๓ ปี วันคล้ายวันสถาปนาคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

    กระบวนการคิดทางคณิตศาสตร์รูปแบบในการเรียนสอนวิชาคณิตศาสตร์โดยใช้วิธีการแบบเปิด (Open Approach) มี 4 ขั้นตอนดังน้ี

    1. ขั้นการนําเสนอปัญหา (Posing open-ended problem) 2. ขั้นการเรียนรู้ด้วยตนเองของนักเรียน (Students’ self learning through problem solving) 3. ขั้นการอภิปรายร่วมกันทั้งช้ันเรียนและขยายแนวคิดในช้ันเรียน (Whole class discussion and comparison) 4. ขั้นการสรุปโดยการเช่ือมโยงแนวคิดของนักเรียนที่เกิดขึ้นในช้ันเรียน (Summarization through connecting students’ mathematical ideas emerged in the classroom) การนําเสนอสถานการณ์ปัญหาเป็นข้ันตอนแรกของการเรียนการสอนโดยใช้วิธีการแบบเปิด(Open

    Approach) หากครูไม่สามารถที่จะนําเสนอสถานการณ์ปัญหาให้กลายเป็นปัญหาของนักเรียนได้ ในการดําเนินการเรียนการสอนก็อาจจะเป็นไปอย่างไม่ราบรื่น ซึ่งอาจจะเกิดปัญหาว่าปัญหานั้นไม่กลายเป็นปัญหาของนักเรียน นักเรียนไม่อยากที่จะลงมือแก้ปัญหานั้น และไม่อยากจะเรียนวิชาคณิตศาสตร์ต่อไป วัตถุประสงค์การวิจัย

    เพ่ือศึกษาผลของลักษณะวิธีการนําเสนอสถานการณ์ปัญหาทางคณิตศาสตร์ของครูต่อนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 1 – 6 คําถามการวิจัย

    ลักษณะวิธีการนําเสนอสถานการณ์ปัญหาวิชาคณิตศาสตร์ ของนักเรียนช้ันประถมศึกษามีผลอย่างไร ขอบเขตการวิจัย

    1. กลุ่มเป้าหมาย : นักเรียนโรงเรียนคูคําพิทยาสรรพ์ ช้ันประถมศึกษาปีที่ 1 จํานวน 4 คน ช้ันประถมศึกษาปีที่ 2 จํานวน 4 คน ช้ันประถมศึกษาปีที่ 3 จํานวน 4 คน ช้ันประถมศึกษาปีที่ 4 จํานวน 4 คน ช้ันประถมศึกษาปีที่ 5 จํานวน 4 คน ช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 จํานวน 5 คน

    2. ตัวแปรที่ศึกษา ตัวแปรที่ศึกษา คือ ผลของลักษณะวิธีการนําเสนอสถานการณ์ปัญหาทางคณิตศาสตร์ของครูต่อนักเรียนช้ัน

    ประถมศึกษาปีที่ 1 – 6 3. ระยะเวลาทําการศึกษาวิจัย

    8 พ.ย. 2553 – 7 ก.พ. 2554 4. นิยามศัพท์เฉพาะ

    4.1 วิธีการแบบเปิด (Open Approach) หมายถึง กิจกรรมการเรียนการสอนที่อาศัยทักษะกระบวนการคิดสนับสนุนกิจกรรมเชิงสร้างสรรค์ และการคิดแบบคณิตศาสตร์ของนักเรียนไปพร้อมๆกัน ม ี4 ขั้นตอนดังน้ี

    1. ขั้นการนําเสนอปัญหา (Posing open-ended problem)

    3

  • การประชุมทางวิชาการประจําปีการประชุมทางวิชาการประจําปีของของคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประจําปี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประจําปี ๒๕๕๔๒๕๕๔ ๙๙ –– ๑๐ ๑๐ กันยายน กันยายน ๒๕๕๔ ๒๕๕๔ ณ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นณ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

    ครบรอบ ๔๓ ปี วันคล้ายวันสถาปนาคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

    2. ขั้นการเรียนรู้ด้วยตนเองของนักเรียน (Students’ self learning through problem solving) 3. ขั้นการอภิปรายร่วมกันทั้งช้ันเรียนและขยายแนวคิดในช้ันเรียน (Whole class discussion and comparison) 4. ขั้นการสรุปโดยการเช่ือมโยงแนวคิดของนักเรียนที่เกิดขึ้นในช้ันเรียน (Summarization through connecting students’ mathematical ideas emerged in the classroom)

    4.2 การศึกษาช้ันเรียน (Lesson study) Lesson หมายถึง บทเรียน ช้ันเรียน ช่ัวโมงเรียน สิ่งเรียนรู้จากประสบการณ์ Study หมายถึง การศึกษาทีอ่ยู่ภายใต้การเรียนรู้อย่างมีเหตุมีผลคือ การวิจัย การศึกษา การค้นคว้าการวิเคราะห์ การพิจารณา หรือการเรียนรู้ Lesson Study ความหมายคือ การศึกษาวิจัยบทเรียน หรือการวิจัยแผนการสอนที่จัดแก่นักเรียน เป็นการศึกษาเพ่ือหาคําตอบที่เป็นระบบตามระเบียบวิธีการวิจัยเชิงทดลองการ วิจัยบทเรียน เป็นการทํางานร่วมกันของกลุ่มครูเพ่ือมุ่งสู่เป้าหมาย และการพัฒนาแผนการสอนที่จะต้องมีการสังเกต การวิเคราะห์ และทบทวนร่วมกัน การกําหนดประเด็นของครูผ่านกระบวนการเหล่าน้ีก็เพ่ือที่จะปรับปรุงวิธีคิดของ เด็กและการทําให้บทเรียนมีประสิทธิภาพมากข้ึน

    4.3 วิธีการนําเสนอสถานการณ์ปัญหา หมายถึง ขั้นตอนหน่ึงในการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์ ด้วยวิธีการแบบเปิด (Open Approach) ซึ่งเป็นการนําเสนอสถานการณ์ต่อช้ันเรียน เพ่ือให้เกิดเป็นปัญหาของผู้เรียนด้วยลักษณะวิธีการต่างๆ

    4.4 ลักษณะวิธีการนําเสนอสถานการณ์ปัญหาโดยการใช้ภาพประกอบเร่ืองเล่า หมายถึงการที่ครูนําเสนอสถานการณ์ปัญหาโดยใช้รูปภาพและมีเรื่องเล่าประกอบภาพน้ัน ๆ มีการอธิบายภาพที่ครูนําเสนอ

    4.5 ลักษณะวิธีการนําเสนอสถานการณ์ปัญหาโดยการใช้สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ หมายถึง การที่ครูนําเสนอสถานการณ์ปัญหาโดยการเขียนเพียงแค่สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ เช่นประโยค สัญลักษณ์

    4.6 ลักษณะวิธีการนําเสนอสถานการณ์ปัญหาโดยการใช้รูปภาพ หมายถึง การที่ครูนําเสนอสถานการณ์ปัญหาโดยการใช้รูปภาพ ไม่เน้นการอธิบายภาพท่ีนําเสนอ

    4.7 ลักษณะวิธีการนําเสนอสถานการณ์ปัญหาโดยการใช้วิธีการเล่าเร่ือง หมายถึง การใช้การเล่าเร่ือง

    4.8 ลักษณะวิธีการนําเสนอสถานการณ์ปัญหาโดยการใช้เกม หมายถึง การนําเกมเข้ามาเป็นตัวสร้างสถานการณ์ปัญหาในข้ันตอนการนําเสนอสถานการณ์ปัญหา ก่อนที่จะให้นักเรียนได้ลงมือแก้สถานการณ์ปัญหาที่เกิดจากตัวเกมส์น้ัน

    4.9 ลักษณะวิธีการนําเสนอสถานการณ์ปัญหาโดยการใช้ใบกิจกรรมและสื่อการเรียนการสอน หมายถึง การใช้ใบกิจกรรมท่ีมีสถานการณ์ปัญหาและสื่อประกอบในการให้นักเรียนลงมือแก้ปัญหา

    4.10 ลักษณะการนําเสนอสถานการณ์ปัญหาโดยใช้ใบคําสั่ง หมายถึง การที่ครูแจกใบคําสั่งให้นักเรียนแต่ละกลุ่ม โดยที่ครูไม่อธิบายเพ่ิมเติม

    4

  • การประชุมทางวิชาการประจําปีการประชุมทางวิชาการประจําปีของของคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประจําปี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประจําปี ๒๕๕๔๒๕๕๔ ๙๙ –– ๑๐ ๑๐ กันยายน กันยายน ๒๕๕๔ ๒๕๕๔ ณ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นณ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

    ครบรอบ ๔๓ ปี วันคล้ายวันสถาปนาคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

    4.11 ผลของลักษณะวิธีการนําเสนอสถานการณ์ปัญหา หมายถึง ผลที่เกิดกับนักเรียนทั้ง 3 ด้าน ได้แก่ ด้านการตอบสนอง ด้านกระบวนการกลุ่ม และด้านผลงานนักเรียน

    4.12 กระบวนการกลุ่ม หมายถึง เป็นกระบวนการเรียนรู้ของกลุ่มผู้เรียนต้ังแต่ 2 คนขึ้นไปและมีปฏิสัมพันธ์กัน

    วิธีการดําเนนิการวิจัย

    การวิจัยครั้งน้ีมีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษาผลของลักษณะวิธีการนําเสนอสถานการณ์ปัญหาวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนช้ันประถมศึกษา โรงเรียนคูคําพิทยาสรรพ์ ในบริบทช้ันเรียนคณิตศาสตร์ โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพซึ่งเน้นการวิเคราะห์โปรโตคอล (Protocol Analysis) และการบรรยายเชิงวิเคราะห์ (Analyltic Description) 1. การกําหนดผู้เข้าร่วมวิจัย

    การวิจัยคร้ังนี้ประกอบด้วยผู้ร่วมวิจัยดังน้ี 1.1 ผู้วิจัย 6 คน โดยเป็นครูผู้สอนวิชาคณิตศาสตร์ประจําช้ันประถมศึกษาปีที่ 1 – 6 ช้ันละ 1 คนทํา

    หน้าที่ดําเนินการจัดกิจกรรมแก้ปัญหาในชั้นเรียนวิชาคณิตศาสตร์สังเกตพฤติกรรมกลุ่มเป้าหมาย และวิธีการคิดของกลุ่มเป้าหมาย

    1.2 ผู้ช่วยวิจัย ทําหน้าที่บันทึกวีดีทัศน์ภาพรวมของกลุ่มเป้าหมายโดยเห็นพฤติกรรมของกลุ่มเป้าหมายในขณะที่ทําการแก้ปัญหาบันทึกภาพและบันทึกช้ินงานของกลุ่มเป้าหมาย 2. การคัดเลือกกลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายที่คัดเลือกคือนักเรียนช้ันประถมศึกษาช้ันปีที่ 1 – 6 โรงเรียนคูคําพิทยาสรรพ์ อําเภอซําสูง จังหวัดขอนแก่น ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553 โดยได้ดําเนินการคัดเลือก กลุ่มของนักเรียนที่มีลักษณะเป็นคนชอบคิด สนใจอยากรู้ มีความกระตือรือร้น มีวิธีคิดเป็นของตัวเอง ให้ความร่วมมือในการทํากิจกรรม และสามารถทํางานร่วมกันได้ จากการท่ีผู้วิจัยได้มีส่วนร่วมในการจัดการเรียนรู้เป็นเวลา 1 ภาคเรียน 3. เคร่ืองมือที่ใช้ในการวิจัย

    เคร่ืองมือที่ใช้ในการวิจัย แบ่งเป็น 2 ประเภทคือ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลและเครื่องมือที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล

    3.1 เคร่ืองมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลมีดังน้ี 3.1.1 แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้นวัตกรรมการศึกษาช้ันเรียน (Lesson Study) และวิธีการ

    แบบเปิด (Open Approach) 3.1.2 กล้องวีดีทัศน์จํานวน 1 ตัว ใช้บันทึกภาพการในการนําเสนอสถานการณ์ปัญหาของครู

    พฤติกรรมของนักเรียนที่มีต่อลักษณะการนําเสนอสถานการณ์ปัญหา กระบวนการกลุ่มของกลุ่มตัวอย่างในระหว่างที่ทําการแก้ปัญหา

    3.1.3 แบบสอบถามผู้สังเกตช้ันเรียน 1 คน ใช้ในการสอบถามความคิดเห็นของผู้สังเกตช้ันเรียนต่อลักษณะในการนําเสนอสถานการณ์ปัญหาในรูปแบบต่างๆ 3.2 เคร่ืองมือที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลมีดังน้ี

    3.2.1 โปรโตคอลการแก้ปัญหาของนักเรียน 3.2.2 แบบสอบถามผู้สังเกตช้ันเรียน 3.2.2 ผลงานของนักเรียน 3.2.3 ข้อมูลพ้ืนฐานของนักเรียน

    5

  • การประชุมทางวิชาการประจําปีการประชุมทางวิชาการประจําปีของของคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประจําปี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประจําปี ๒๕๕๔๒๕๕๔ ๙๙ –– ๑๐ ๑๐ กันยายน กันยายน ๒๕๕๔ ๒๕๕๔ ณ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นณ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

    ครบรอบ ๔๓ ปี วันคล้ายวันสถาปนาคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

    3.2.4 กรอบแนวคิดในการวิจัย 3.2.5 วีดีทัศน์ช้ันเรียน

    4. การเก็บรวบรวมข้อมูล การวิจัยคร้ังนี้ผู้วิจัยได้ดําเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล ซึ่งมีขั้นตอนการดําเนินการดังน้ี 4.1 การดําเนินการก่อนการเก็บข้อมูล

    4.1.1 การสังเกตช้ันเรียน เพ่ือศึกษาธรรมชาติของนักเรียนและศึกษาวิธีคิด ลักษณะของนักเรียนแต่ละกลุ่มเพ่ือคัดเลือกกลุ่มตัวอย่าง

    4.1.2 การสร้างแผนการจัดการเรียนรู้ร่วมกับครูประจําช้ัน ครูผู้สังเกต นักศึกษาปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา ผู้ประสานงานโรงเรียน และผู้ช่วยวิจัย ซึ่งเป็นแผนที่ใช้ในช้ันเรียน

    4.1.3 การวางแผนเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้วิจัยได้วางแผนการเก็บรวบรวมข้อมูลร่วมกับผู้ช่วยวิจัย ในด้านอุปกรณ์ต่างๆ ที่จะใช้ในการวิจัย บทบาทของผู้ช่วยวิจัยแต่ละคน

    4.1.4 การทดลองเก็บข้อมูล เป็นการนําอุปกรณ์ที่จะใช้ในการเก็บข้อมูลไปต้ังไว้ในห้องเรียนเพ่ือให้นักเรียนคุ้นเคยกับอุปกรณ์ 4.2 การดําเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลผู้วิจัยได้ดําเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลในภาคเรียนที่ 2 ปี

    การศึกษา 2553 4.2.1 ดําเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลกับกลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 1 – 6

    ช้ันเรียนละ 1 กลุ่ม ประกอบด้วยสมาชิกจํานวน 3 – 5 คน ซึ่งผู้วิจัยเป็นผู้ดําเนินภายในช้ันเรียน และมีผู้ช่วยวิจัยในการบันทึกวีดีทัศน์และบันทึกภาพถ่าย

    4.2.2 เก็บรวบรวมช้ินงานของนักเรียนที่ได้จากการทํากิจกรรม โดยใช้การถ่ายภาพช้ินงาน มาจัดเก็บในรูปไฟล์ภาพ

    4.2.3 นําวีดีโอมาจัดทําเป็นโปรโตคอล เพ่ือใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลต่อไป 5. การวิเคราะห์ข้อมูล

    5.1 ทําการวิเคราะห์โปรโตคอล (Protocol Analysis) ตามกรอบแนวคิดในการวิจัย โดยมีขั้นตอนดังน้ี ขั้นที่ 1 วิเคราะห์การตอบสนอง พฤติกรรมของนักเรียนที่มีต่อลักษณะการนําเสนอ

    สถานการณ์ปัญหาวิชาคณิตศาสตร์ โดยแยกเป็นลักษณะการนําเสนอสถานการณ์ปัญหาวิชาคณิตศาสตร์

    ขั้นที่ 2 วิเคราะห์กระบวนการกลุ่มของนักเรียนในกระบวนการแก้ปัญหาวิชาคณิตศาสตร์ที่มีต่อลักษณะการนําเสนอสถานการณ์ปัญหาวิชาคณิตศาสตร์ 5.2 ทําการวิเคราะห์ผลงานของนักเรียนโดยแยกเป็นลักษณะการนําเสนอสถานการณ์ปัญหา

    6. การนําเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล ในการนําเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล ผู้วิจัยเรียงลําดับดังต่อไปน้ี 6.1 ข้อมูลลักษณะการนําเสนอสถานการณ์ปัญหาแต่ละลักษณะ 6.2 ข้อมูลเกี่ยวกลับกลุ่มตัวอย่าง 6.3 การวิเคราะห์โปรโตคอล นําเสนอข้อมูลตามแผนการจัดการเรียนรู้

    6

  • การประชุมทางวิชาการประจําปีการประชุมทางวิชาการประจําปีของของคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประจําปี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประจําปี ๒๕๕๔๒๕๕๔ ๙๙ –– ๑๐ ๑๐ กันยายน กันยายน ๒๕๕๔ ๒๕๕๔ ณ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นณ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

    ครบรอบ ๔๓ ปี วันคล้ายวันสถาปนาคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

    การวิเคราะหข์้อมูลและผลการวิเคราะหข์้อมูล การวิจัยคร้ังน้ีมีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษาผลของลักษณะวิธีการนําเสนอสถานการณ์ปัญหาทางคณิตศาสตร์

    ของครูต่อนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 1 – 6 1. โครงสร้างการวิเคราะหข์้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลทําโดยการนําโปรโตคอลของการจัดกิจกรรมที่มีการนําเสนอสถานการณ์ปัญหาของ

    นักเรียนกลุ่มตัวอย่างมาวิเคราะห์ผลที่เกิดขึ้น 3 ด้าน ดังต่อไปนี้ 1) ด้านการตอบสนองการตอบสนองของนักเรียน 2) ด้านกระบวนการกลุ่มของนักเรียน และ 3) ด้านผลงานของนักเรียน

    2. ผลการวิเคราะห์ข้อมูล จากการวิเคราะห์ข้อมูลสรุปได้ดังต่อไปนี้ 2.1 ลักษณะวิธีการนําเสนอสถานการณ์ปัญหาโดยการใช้วิธีการเล่าเรื่อง

    ด้านการตอบสนอง นักเรียนสนใจในสิ่งที่ครูเล่า อยากรู้อยากเห็น และจะมีการเล่าเร่ืองของตัวเองออกมาให้เพ่ือนๆและครูได้รับฟังด้วย ซึ่งแสดงให้เห็นว่านักเรียนมีส่วนร่วมในช้ันเรียนเป็นอย่างดี นอกจากนี้ การที่มีนักเรียนมาเล่าเรื่องของตัวเองที่เกี่ยวข้องกับสถานการณ์ที่ครูเล่ายังทําให้เพ่ือนๆให้ความสนใจ และจะมีการโต้ตอบ และแสดงความคิดเห็นร่วมกันตลอด ทาให้ห้องเรียนน่าเรียน และนักเรียนไม่เครียดกับการเรียนด้วย

    ด้านกระบวนการกลุ่ม นักเรียนช่วยกันทํากิจกรรมกันภายในกลุ่ม มีการตรวจสอบคําตอบที่ได้ ด้านผลงานนักเรียน ผลงานที่ออกมานักเรียนมีความต้ังใจในการทํากิจกรรม นักเรียนมีการนําเร่ืองที่ครู

    เล่าเรื่องอธิบายคําตอบลงไปในกระดาษนําเสนอ 2.2 ลักษณะวิธีการนําเสนอสถานการณ์ปัญหาโดยการใช้ภาพประกอบการเล่าเรื่อง

    ด้านการตอบสนอง นักเรียนมีความสนใจรูปภาพ มีความกระตือรือร้น อยากมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเล่าเรื่องประกอบภาพ นักเรียนจะมีความสนใจในสื่อที่ครูนามาใช้ในการสอน น้ันก็คือรูปภาพและของรางวัลน้ันเอง นักเรียนให้ความสนใจเป็นอย่างมาก นักเรียนมีความสุขกับการเรียนทั้งคาบในคาบเรียนน้ี นักเรียนมีความกระตือรือร้น และอยากที่จะแสดงออก

    ด้านกระบวนการกลุ่ม นักเรียนแบ่งหน้าที่กัน ผู้นําเป็นคนเขียนและนําเสนอ สมาชิกคิดและร่วมแสดงความคิดเห็น

    ด้านผลงานนักเรียน นักเรียนมีการวางแผนก่อนบันทึก ผลงานเรียบร้อย แบ่งเป็นส่วน ๆ 2.3 ลักษณะวิธีการนําเสนอสถานการณ์ปัญหาโดยการใช้สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์

    ด้านการตอบสนอง นักเรียนมีความสนใจสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ พยายามอธิบายความหมายของสัญลักษณ์ ทําความเข้าใจสัญลักษณ์

    ด้านกระบวนการกลุ่ม นักเรียนแบ่งหน้าที่ในการทํากิจกรรม มีส่วนร่วมในการคิดและแสดงความคิดเห็น รวมถึง อภิปรายวิธีการร่วมกัน ผู้นําเป็นคนบันทึกและนําเสนอ

    ด้านผลงานนักเรียน ผลงานของนักเรียนเรียบร้อย แต่การวางแผนยังไม่ค่อยเหมาะสม มีแนวคิดคล้ายกันและบันทึกลงในกระดาษไม่ได้วางแผนรูปแบบในการบันทึก 2.4 ลักษณะวิธีการนําเสนอสถานการณ์ปัญหาโดยการใช้รูปภาพ

    ด้านการตอบสนอง นักเรียนสนใจภาพที่ครูนําเสนอ อธิบายภาพที่มองเห็น รายละเอียดจะค่อยเพ่ิมขึ้นมา และมีการคิดเก่ียวกับรูปภาพ

    ด้านกระบวนการกลุ่ม นักเรียนแบ่งหน้าที่ช่วยกันในการทํากิจกรรม มีผู้เขียนบันทึกและนําเสนอร่วมกัน คิดและแสดงความคิดเห็น มีการตรวจสอบผลงานของกลุ่ม

    7

  • การประชุมทางวิชาการประจําปีการประชุมทางวิชาการประจําปีของของคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประจําปี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประจําปี ๒๕๕๔๒๕๕๔ ๙๙ –– ๑๐ ๑๐ กันยายน กันยายน ๒๕๕๔ ๒๕๕๔ ณ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นณ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

    ครบรอบ ๔๓ ปี วันคล้ายวันสถาปนาคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

    ด้านผลงานนักเรียน ผลงานของนักเรียนเรียบร้อย เป็นระเบียบ มีการออกแบบการเขียน ปัญหาคือภาษาที่ใช้เป็นภาษาของนักเรียนความถูกต้องยังไม่ครบ มีถูกบ้างผิดบ้าง 2.5 ลักษณะวิธีการนําเสนอสถานการณ์ปัญหาโดยการใช้เกม

    ด้านการตอบสนอง นักเรียนจะให้ความร่วมมือในการทํากิจกรรมด้วยอารมณ์ที่สนุกสนาน ต้ังใจ และให้ความสนใจกับการเล่นเกมเป็นอย่างมาก ทําให้ห้องเรียนเต็มไปด้วยเสียงฮือฮาในเวลาที่กลุ่มตนได้คะแนน และจะมีความสุขกับการเรียนในคาบน้ีเป็นอย่างมาก

    ด้านกระบวนการกลุ่ม นักเรียนช่วยกันภายในกลุ่มหาคําตอบ โดยในการหาคําตอบน้ันจะไม่ได้หาแค่กลุ่มของตัวเอง ยังไปหาคําตอบของอีกกลุ่มหน่ึงด้วยว่าถูกต้องหรือไม่ ซึ่งเป็นการตรวจสอบความถูกต้องของเกมน่ันเอง

    ด้านผลงานนักเรียน กิจกรรมการเล่นเกมครั้งน้ีจะให้คะแนนนักเรียนเป็นกลุ่ม ซึ่งคะแนนที่ออกมาผลปรากฏว่าทั้งสองกลุ่มได้กลุ่มละ 6 คะแนนเท่ากัน และนักเรียนแต่ละคนก็ยอมรับในคะแนนที่กลุ่มของตัวเองได้รับ 2.6 ลักษณะวิธีการนําเสนอสถานการณ์ปัญหาโดยการใช้ใบกิจกรรมและสื่อการเรียนการสอน

    ด้านการตอบสนอง นักเรียนมีความสนใจเกี่ยวกับใบกิจกรรมและสื่อที่ครูผู้สอนเตรียมมาและมีส่วนร่วมในการทํากิจกรรมหน้าช้ันเรียนกับครูผู้สอน

    ด้านกระบวนการกลุ่ม นักเรียนคนหน่ึงจะเป็นคนบอกคําตอบและเหตุผล ส่วนนักเรียนอีกคนจะเป็นคนเขียน โดยที่คนบอกจะมีการตรวจสอบเหตุผลที่คนเขียนบันทึกลงใบกิจกรรม

    ด้านผลงานนักเรียน ผลงานที่ออกมานักเรียนมีความต้ังใจในการระบายสีปริมาณของนํ้าลงในใบกิจกรรม การเขียนเหตุผลของการได้มาซึ่งปริมาณของนํ้าที่ได้จะมีการอธิบายให้คนอ่ืนเข้าใจด้วย 2.7 ลักษณะการนําเสนอสถานการณ์ปัญหาโดยใช้ใบคําสั่ง

    ด้านการตอบสนอง การตอบสนองของนักเรียนไม่ค่อยเด่นชัด จะมีการอ่านใบคําสั่งบ่อยครั้งและถามอาจารย์ในข้อสงสัยในใบคําสั่งบ่อยครั้ง และไม่เข้าใจในใบคําสั่ง ซึ่งเห็นชัดว่านักเรียนเข้าใจถึงสถานการณ์ปัญหาได้ยาก

    ด้านกระบวนการกลุ่ม มีการเสนอแนวคิดที่หลากหลาย มีการโต้เถียงในเรื่องของแนวคิดมากและมีการหาเหตุผลมาอธิบายเหตุผลของตนเอง มีการถามเพ่ือนและครูในข้อสงสัย มีการร่วมมือกันใน การทํางาน บรรยากาศในการทํางานมีความตึงเครียด

    ด้านผลงานนักเรียน จากผลงานมีการเขียนแนวคิดของตนเองค่อนข้างน้อยและผลงานยังไม่สมบูรณ์ซึ่งผลงานก็ยังไม่ตรงตามจุดประสงค์ที่ต้ังไว้ ซึ่งจากที่นักเรียนมีการโต้เถียงกันในการหาข้อสรุปไม่ได้ สรุปผลการวิจัยและอภิปรายผลการวิจัย

    ผลการวิจัยพบว่า ลักษณะวิธีการนําเสนอสถานการณ์ปัญหาวิชาคณิตศาสตร์ ของนักเรียนช้ันประถมศึกษา

    1. การนําเสนอสถานการณ์ปัญหาใช้ภาพประกอบเร่ืองเล่า การเล่าเรื่อง การใช้สัญลกัษณ์ทางคณิตศาสตร์ เกม และการใช้ใบกิจกรรมและสื่อ ในระดับช้ันประถมศึกษาปีที่ 1-3 ด้านการตอบสนอง คือ นักเรียนมีความสนใจ มีการตอบสนองปฏิสัมพันธ์กับครู มีความกระตือรือร้น

    และม