44
สถาบันทางสังคม ตามพจนานุกรมศัพท์สังคมวิทยา ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พุทธศักราช 2524 ได้ให้ความหมาย ว่า ยอดรวมของรูปแบบความสัมพันธ์ กระบวนการ และวัตถุ อุปกรณ์ที่สร้างขึ้น เพื่อสนองประโยชน์สาคัญ ๆ ทางสังคม เรื่องใดเรื่องหนึ่ง ทุกสถาบันย่อมมีประเพณี จารีต กฎเกณฑ์ เจ้าหน้าที่ ธรรมเนียม ปฏิบัติ

สถาบันทางสังคม ตามพจนานุกรมศัพท์สังคมวิทยา ฉบับ ... · การเปลี่ยนแปลงระบอบการเมืองการปกครอง

  • Upload
    others

  • View
    1

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: สถาบันทางสังคม ตามพจนานุกรมศัพท์สังคมวิทยา ฉบับ ... · การเปลี่ยนแปลงระบอบการเมืองการปกครอง

สถาบันทางสังคม ตามพจนานุกรมศัพท์สังคมวิทยา ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พุทธศักราช 2524 ได้ให้ความหมายว่า ยอดรวมของรูปแบบความสัมพันธ์ กระบวนการ และวัตถุอุปกรณ์ที่สร้างขึ้น เพื่อสนองประโยชน์ส าคัญ ๆ ทางสังคมเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ทุกสถาบันย่อมมีประเพณี จารีต กฎเกณฑ์ เจ้าหน้าที่ ธรรมเนียม ปฏิบัติ

Page 2: สถาบันทางสังคม ตามพจนานุกรมศัพท์สังคมวิทยา ฉบับ ... · การเปลี่ยนแปลงระบอบการเมืองการปกครอง

ความส าคัญของสถาบันทางสังคม สถาบันสังคมทุกสถาบัน เป็นสิ่งที่ช่วยท าให้สังคมสามารถธ ารงอยู่ได้ และพัฒนาสังคมให้มีความเจริญก้าวหน้า สถาบันและโครงสร้างทางสังคม แตกต่างกันออกไปในแต่ละสังคม ขึ้นอยู่กับคุณค่า และค่านิยมที่คนในสังคมจะยอมรับ ยกย่อง และเป็นบรรทัดฐานที่สังคมยึดถือปฏิบัติ เช่น สังคมไทยยึดหลักอาวุโส แต่สังคมตะวันตกยึดหลักความเสมอภาคกัน

Page 3: สถาบันทางสังคม ตามพจนานุกรมศัพท์สังคมวิทยา ฉบับ ... · การเปลี่ยนแปลงระบอบการเมืองการปกครอง

ปัจจัยที่ท าให้มนุษย์อยู่ร่วมกันเป็นสังคม 1. ธรรมชาติของมนุษย์ เพราะมีระยะเวลาทารกที่ยาวนาน ต้องพึ่งพาอาศัยผู้อื่นในวัยเยาว์จนดูแลตัวเองได้ 2. ความต้องการในปัจจัยสี่ 3. มนุษย์เป็นสิ่งมีชีวิตที่มีวัฒนธรรม การเรียนรู้ และถ่ายทอดสิ่งที่ดีต่อกัน 4. ความรู้สึกเป็นพวกเดียวกัน การต้องการความอบอุ่น และความปลอดภัย

Page 4: สถาบันทางสังคม ตามพจนานุกรมศัพท์สังคมวิทยา ฉบับ ... · การเปลี่ยนแปลงระบอบการเมืองการปกครอง

สถาบันครอบครัว สมาชิกในครอบครัวมีความสัมพันธ์กันทางสายโลหิต เช่น พ่อแม่ พี่น้อง หรือโดยการ สมรส เช่น สามี ภรรยา เขย สะใภ้ ความสัมพันธ์เป็นไปอย่างมั่นคง มีความรักและความปรารถนาดีต่อกัน ครอบครัวเดี่ยว คือ บิดามารดา บุตร ครอบครัวขยาย คือมีสมาชิกหลายล าดับชั้น

Page 5: สถาบันทางสังคม ตามพจนานุกรมศัพท์สังคมวิทยา ฉบับ ... · การเปลี่ยนแปลงระบอบการเมืองการปกครอง

บทบาทส าคัญของสถาบันครอบครัว การให้ก าเนิดสมาชิกใหม่กับสังคม และเลี้ยงดูสมาชิกให้เป็นบุคคลที่มีคุณภาพ เพราะครอบครัวเป็นสถาบันพื้นฐานที่มีความส าคัญที่สุด อบรมขัดเกลาให้สมาชิกเป็นคนดี ท าหน้าที่ถ่ายทอดวัฒนธรรมให้แก่สมาชิก ก าหนดสถานภาพ เป็นลูกที่ดีต้องช่วยเหลือการงานในบ้าน เชื่อฟังค าสั่งสอนของบิดามารดา

Page 6: สถาบันทางสังคม ตามพจนานุกรมศัพท์สังคมวิทยา ฉบับ ... · การเปลี่ยนแปลงระบอบการเมืองการปกครอง

เป็นแบบแผนการคิดการกระท าที่เกี่ยวกับการให้การศึกษาแก่สมาชิกในสังคม ฝึกอบรมในด้านต่าง ๆ ทั้งที่เป็นทางการ (โรงเรียน มหาวิทยาลัย) และไม่เป็นทางการ (พ่อแม่อบรมสั่งสอนลูกที่บ้าน การเรียนรู้การทอผ้าในหมู่บ้าน)

Page 7: สถาบันทางสังคม ตามพจนานุกรมศัพท์สังคมวิทยา ฉบับ ... · การเปลี่ยนแปลงระบอบการเมืองการปกครอง

บทบาทที่ส าคัญของสถาบันการศึกษา ส่งเสริมให้สมาชิกในสังคมมีความงอกงามในสติปัญญา มีคุณธรรม น าความรู้ที่ได้รับไปประกอบอาชีพ เพื่อสนองต่อความต้องการของสังคมต่อไป มีค่านิยมที่ดีงามตามระเบียบแบบแผน บรรทัดฐานของสังคมส่งเสริมให้สังคมมีความเจริญก้าวหน้าต่อไป

Page 8: สถาบันทางสังคม ตามพจนานุกรมศัพท์สังคมวิทยา ฉบับ ... · การเปลี่ยนแปลงระบอบการเมืองการปกครอง

สถาบันศาสนา เป็นแบบแผนการคิดการกระท าที่ก าหนดแนวทางการปฏิบัติของสมาชิกในสังคม

บทบาทท่ีส าคัญของสถาบันศาสนา คือ เป็นศูนย์รวมจิตใจความเชื่อความศรัทธา ควบคุมความประพฤตแิละเป็นการปลูกฝังค่านิยมท่ีดีงามของสมาชิกในสังคม

Page 9: สถาบันทางสังคม ตามพจนานุกรมศัพท์สังคมวิทยา ฉบับ ... · การเปลี่ยนแปลงระบอบการเมืองการปกครอง

สถาบันเศรษฐกิจ เป็นแบบแผนการคิดการกระท าที่เกี่ยวกับการผลิตสินค้าและบริการ การแลกเปลี่ยน การกระจายสินค้าและบริการ รวมทั้งการบริโภคของสมาชิกในสังคม สถาบัน เศรษฐกิจยังเป็นองค์ประกอบที่ส าคัญในการวางรากฐานให้เกิดความเข็มแข็งในทางการเมืองอีกด้วย

Page 10: สถาบันทางสังคม ตามพจนานุกรมศัพท์สังคมวิทยา ฉบับ ... · การเปลี่ยนแปลงระบอบการเมืองการปกครอง

บทบาทที่ส าคัญของสถาบันเศรษฐกิจ การผลิตสินค้าและบริการที่มีคุณภาพ และมาตรฐาน มีการกระจายรายได้ สินค้าและบริการที่เป็นธรรม มีการก าหนดกลไกราคาที่เหมาะสม มีเงินตราเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน เพื่อให้เกิดความสะดวกและรวดเร็วในการเข้าถึงสินค้าและบริการนั้น ๆ สถาบันทางเศรษฐกิจเป็นตัวบ่งชี้ว่าสมาชิกมีความเป็นอยู่ดี ก็จะมีฐานะทางเศรษฐกิจที่ดีไปด้วย

Page 11: สถาบันทางสังคม ตามพจนานุกรมศัพท์สังคมวิทยา ฉบับ ... · การเปลี่ยนแปลงระบอบการเมืองการปกครอง

เป็นแบบแผนการคิดการกระท าที่ก าหนดระบบอ านาจในการจัดระเบียบภายในสังคม ท าหน้าที่ควบคุมในสมาชิกในสังคมสามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างสันติสุข

Page 12: สถาบันทางสังคม ตามพจนานุกรมศัพท์สังคมวิทยา ฉบับ ... · การเปลี่ยนแปลงระบอบการเมืองการปกครอง

บทบาทที่ส าคัญของสถาบันการเมืองการปกครอง กลุ่มบุคคลที่ท าหน้าที่ส าคัญของสถาบัน คือ ฝ่ายนิติบัญญัติ ฝ่ายบริหาร และฝ่ายตุลาการ เป็นการสร้างความมั่นคงให้แก่สังคม ท าให้สมาชิกสังคมได้รับความปลอดภัยทั้งต่อตนเอง สังคม และประเทศชาติ และให้บริการสาธารณะต่าง ๆ

Page 13: สถาบันทางสังคม ตามพจนานุกรมศัพท์สังคมวิทยา ฉบับ ... · การเปลี่ยนแปลงระบอบการเมืองการปกครอง

สถาบันนันทนาการ เป็นแบบแผนการคิดการกระท าที่เกี่ยวข้องกับการพักผ่อนหย่อนใจของสมาชิกในสังคม ท าให้เกิดงานที่สร้างสรรค์ขึ้น เช่น การแสดง ดนตรี กีฬา บทบาทที่ส าคัญ คือ ท าให้สมาชิกในสังคมใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ในทางสร้างสรรค์ ผ่อนคลายความเครียด มีความเพลิดเพลินใจ ท าให้มีสุขภาพที่ดี

Page 14: สถาบันทางสังคม ตามพจนานุกรมศัพท์สังคมวิทยา ฉบับ ... · การเปลี่ยนแปลงระบอบการเมืองการปกครอง

สถาบันสื่อสารมวลชน เป็นแบบแผนการคิดการกระท าในเรื่องของการติดต่อ หรือส่งข่าวสารข้อมูล เป็นการให้ความรู้ความเพลิดเพลินแก่สมาชิกในสังคม บทบาทที่ส าคัญ คือ การส่งข่าวสาร น าเสนอความคิดเห็นของตนเองไปสู่สาธารณชน เพื่อให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของข้อมูลข่าวสาร เป็นช่องทางในการถ่ายทอดวัฒนธรรม ให้ความรู้แก่สมาชิกในสังคม ในรูปแบบต่าง ๆ เช่น โทรทัศน์ วิทยุ

Page 15: สถาบันทางสังคม ตามพจนานุกรมศัพท์สังคมวิทยา ฉบับ ... · การเปลี่ยนแปลงระบอบการเมืองการปกครอง
Page 16: สถาบันทางสังคม ตามพจนานุกรมศัพท์สังคมวิทยา ฉบับ ... · การเปลี่ยนแปลงระบอบการเมืองการปกครอง

การเปลี่ยนแปลงระบอบการเมืองการปกครอง พ.ศ.2475 วันที่ 24 มิถุนายน 2475 คณะบุคคลได้ท าการยึดอ านาจเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ สู่ “การปกครองภายใต้รัฐธรรมนูญ ที่มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นพระประมุขของชาต”ิ ซึ่งคณะบุคคลนี้ คือ “คณะราษฎร” ซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับการศึกษามาจากประเทศตะวันตก ซึ่งผู้น าฝ่ายทหาร คือ พันเอกพระยาพหลพลพยุหเสนา ผู้น าฝ่ายพลเรือน คือ นายปรีดี พนมยงค์

Page 17: สถาบันทางสังคม ตามพจนานุกรมศัพท์สังคมวิทยา ฉบับ ... · การเปลี่ยนแปลงระบอบการเมืองการปกครอง

เหตุผลส าคัญที่ต้องท าการเปลี่ยนแปลงการปกครอง คือ “ต้องการให้ประเทศไทยมีความเจริญก้าวหน้ามากขึ้น ระบอบเดิมนั้นล้าสมัยแล้วจึงต้องเปลี่ยนแปลงเสียใหม่ เพื่อให้ระบอบการปกครองของประเทศไทยทัดเทียมกับนานาอารยประเทศ”

Page 18: สถาบันทางสังคม ตามพจนานุกรมศัพท์สังคมวิทยา ฉบับ ... · การเปลี่ยนแปลงระบอบการเมืองการปกครอง

หลัก 6 ประการของคณะราษฎร 1. หลักเอกราช การรักษาความเป็นเอกราชของชาติ ศาล และเศรษฐกิจของประเทศให้มั่นคง 2. หลักความสงบ การรักษาความปลอดภัยในประเทศ 3. หลักเศรษฐกิจ การบ ารุงความสุขสมบูรณ์ของราษฎร 4. หลักความเสมอภาค การให้ราษฎรได้รับสิทธิเสมอภาคเท่าเทียมกัน

Page 19: สถาบันทางสังคม ตามพจนานุกรมศัพท์สังคมวิทยา ฉบับ ... · การเปลี่ยนแปลงระบอบการเมืองการปกครอง

5. หลักเสรีภาพ การให้ราษฎรได้รับเสรีภาพ มีความเป็นอิสระตามกฎหมาย 6. หลักการศึกษา การให้การศึกษาอย่างเต็มที่แก่ราษฎร เพื่อเป็นก าลังของประเทศชาติต่อไป ภายหลังจากการยึดอ านาจแลว้ คณะราษฎรได้น าร่างรัฐธรรมนูญฉบับแรก คือ “พระราชบัญญตัิธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พุทธศักราช 2475” ขึ้นทูลเกล้าถวายพระบาทสมเด็จพระปกเกลา้เจ้าอยู่หัวเพื่อทรงลงพระปรมาภิไธย

Page 20: สถาบันทางสังคม ตามพจนานุกรมศัพท์สังคมวิทยา ฉบับ ... · การเปลี่ยนแปลงระบอบการเมืองการปกครอง

พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงลงพระปรมาภิไธย และพระราชทานรัฐธรรมนูญฉบับถาวรฉบับแรก คือ “รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม พุทธศักราช 2475” เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ.2475

ถือเป็นการสิ้นสุดพระราชอ านาจในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์

Page 21: สถาบันทางสังคม ตามพจนานุกรมศัพท์สังคมวิทยา ฉบับ ... · การเปลี่ยนแปลงระบอบการเมืองการปกครอง

การเปลี่ยนแปลงการปกครองของไทยเกิดขึ้นในหลายครั้ง มีการรัฐประหารอยู่หลายครั้ง เช่น จอมพลสฤษดิ์ ธนะ-รัชต ์ยึดอ านาจจากจอมพล ป. พิบูลสงคราม เมื่อ พ.ศ.2500 จอมพลถนอม กิตติขจร รัฐประหารตนเอง เมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน 2514 และประกาศใช้ “ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พุทธศักราช 2515” ตามรูปแบบเผด็จการอ านาจนิยม เป็นต้น

Page 22: สถาบันทางสังคม ตามพจนานุกรมศัพท์สังคมวิทยา ฉบับ ... · การเปลี่ยนแปลงระบอบการเมืองการปกครอง
Page 23: สถาบันทางสังคม ตามพจนานุกรมศัพท์สังคมวิทยา ฉบับ ... · การเปลี่ยนแปลงระบอบการเมืองการปกครอง
Page 24: สถาบันทางสังคม ตามพจนานุกรมศัพท์สังคมวิทยา ฉบับ ... · การเปลี่ยนแปลงระบอบการเมืองการปกครอง
Page 25: สถาบันทางสังคม ตามพจนานุกรมศัพท์สังคมวิทยา ฉบับ ... · การเปลี่ยนแปลงระบอบการเมืองการปกครอง
Page 26: สถาบันทางสังคม ตามพจนานุกรมศัพท์สังคมวิทยา ฉบับ ... · การเปลี่ยนแปลงระบอบการเมืองการปกครอง
Page 27: สถาบันทางสังคม ตามพจนานุกรมศัพท์สังคมวิทยา ฉบับ ... · การเปลี่ยนแปลงระบอบการเมืองการปกครอง

การเลือกรับข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการเมืองการปกครองของไทยในสังคมปัจจุบัน

“บุคคลย่อมมีเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น การพูด การเขียน การพิมพ์ การโฆษณา และการสื่อความหมายโดยวิธีอื่น” ซึ่งยุคปัจจุบันนี้การสื่อสารเป็นไปอย่างรวดเร็ว ยิ่งต้องใช้วิจารณญาณ ในการเลือกรับข้อมูลข่าวสารเป็นอย่างยิ่ง

Page 28: สถาบันทางสังคม ตามพจนานุกรมศัพท์สังคมวิทยา ฉบับ ... · การเปลี่ยนแปลงระบอบการเมืองการปกครอง

แนวทางการเลือกรับข้อมูลข่าวสาร 1. ใช้วิจารณญาณในการอ่าน การเลือกรับชมอย่างมีเหตุมีผล มีหลักวิชาการ มีความเป็นกลาง ไม่เอนเอียงไปฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง 2. เลือกรับข้อมูลข่าวสารจากแหล่งข่าวหรอืสื่อที่เชื่อถือได้ โดยการพิจารณาจากขอ้มลูขา่วสารจากหลายแหล่งขอ้มูลทีเ่ชื่อถือได้ มีการยืนยันข้อมูลที่ตรงกัน ซึ่งจะช่วยให้มีการตัดสินใจที่ดี

Page 29: สถาบันทางสังคม ตามพจนานุกรมศัพท์สังคมวิทยา ฉบับ ... · การเปลี่ยนแปลงระบอบการเมืองการปกครอง
Page 30: สถาบันทางสังคม ตามพจนานุกรมศัพท์สังคมวิทยา ฉบับ ... · การเปลี่ยนแปลงระบอบการเมืองการปกครอง
Page 31: สถาบันทางสังคม ตามพจนานุกรมศัพท์สังคมวิทยา ฉบับ ... · การเปลี่ยนแปลงระบอบการเมืองการปกครอง

การเลือกรับข้อมูลข่าวสาร 1. การเก็บเกี่ยวข้อมูลข่าวสารที่น่าเชื่อถือ ความสามารถในการเลือกรับข้อมูลขา่วสาร ต้องตัดสินใจว่าเป็นประโยชน์ต่อตนเองจรงิ ๆ โดยก าหนดหัวข้อที่อยากรู้ หรือที่ต้องการเรยีนรู้ 2. ความสามารถในการน าข้อมูลมาวิเคราะห์ แยกแยะประเด็น 3. ความสามารถในการประมวลขอ้มลูจากแหล่งข้อมูล หรือจากส่ืออิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ เพื่อสร้างข้อสรุปจากขอ้มลูนั้น ๆ ขึ้นมาใหม่ เช่น นักเรียนท ารายงาน

Page 32: สถาบันทางสังคม ตามพจนานุกรมศัพท์สังคมวิทยา ฉบับ ... · การเปลี่ยนแปลงระบอบการเมืองการปกครอง

4. ความสามารถในการเรียบเรียงข้อมูลข่าวสารออกมาเป็นค าพูด หรือการเขียนเพื่อเป็นประโยชน์ต่อสังคมตามความเข้าใจที่ต้องการสื่อ 5. ความสามารถในการสร้างเป็นองค์ความรู้ขึ้นมาใหม่

Page 33: สถาบันทางสังคม ตามพจนานุกรมศัพท์สังคมวิทยา ฉบับ ... · การเปลี่ยนแปลงระบอบการเมืองการปกครอง

การวิเคราะห์ข้อมูลข่าวสาร การรวบรวมข้อมูลข่าวสารจากแหล่งที่น่าเชื่อถือได้ต่างๆ มาตีความ แล้วตัดสินใจ เพื่อน าไปสู่ข้อสรุป แล้วน าไปใช้ประโยชน์ ซึ่งเป็นทักษะที่จ าเป็นในสังคมปจัจุบัน และมีความส าคัญต่อทุกสาขาอาชีพ เพื่อน าไปสู่การกระท าที่เหมาะสมต่อไป

Page 34: สถาบันทางสังคม ตามพจนานุกรมศัพท์สังคมวิทยา ฉบับ ... · การเปลี่ยนแปลงระบอบการเมืองการปกครอง

ขั้นตอนการวิเคราะห์ข้อมูลข่าวสารที่ส าคัญ 1. รวบรวมข้อมูลข่าวสารจากแหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ 2. จัดประเภทของข้อมูลข่าวสาร แล้วน ามาจ าแนกแบ่งกลุ่ม หรือประเด็นย่อย เพื่อง่ายต่อการวิเคราะห์ข้อมูล 3. วิเคราะห์ข้อมูลข่าวสารตามประเด็นที่จ าแนกไว้แล้ว โดยเปรียบเทียบ หาความแตกต่างของข้อมูลข่าวสาร น ามาสรุป 4. ถ่ายทอดข้อมูลข่าวสารนั้น ไปยังผู้อื่นได้อย่างถูกต้อง

Page 35: สถาบันทางสังคม ตามพจนานุกรมศัพท์สังคมวิทยา ฉบับ ... · การเปลี่ยนแปลงระบอบการเมืองการปกครอง

ข้อ 1 นักเรียนจะมีส่วนร่วมในการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมอย่างเหมาะสมได้อย่างไร 1. งดใช้ผลิตภัณฑ์จากธรรมชาต ิ 2. ต่อต้านการใช้โฟมและพลาสติก 3. ปิดน้ าและไฟทุกครั้งเมื่อเลิกใช้งาน 4. ปลูกพันธุ์ไม้สวยงามจากต่างประเทศไว้หน้าบ้าน

Page 36: สถาบันทางสังคม ตามพจนานุกรมศัพท์สังคมวิทยา ฉบับ ... · การเปลี่ยนแปลงระบอบการเมืองการปกครอง
Page 37: สถาบันทางสังคม ตามพจนานุกรมศัพท์สังคมวิทยา ฉบับ ... · การเปลี่ยนแปลงระบอบการเมืองการปกครอง

ข้อ 2 ข้อใด ไม่ใช่ หน้าที่ของคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ 1. ก าหนดมาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อม 2. ตราพระราชกฤษฎีกาเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 3. เสนอรายงานสถานการณ์สิ่งแวดล้อมแก่คณะรัฐมนตรี 4.เสนอแนะให้มีการปรับปรุงกฎหมายเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมแก่คณะรัฐมนตรี

Page 38: สถาบันทางสังคม ตามพจนานุกรมศัพท์สังคมวิทยา ฉบับ ... · การเปลี่ยนแปลงระบอบการเมืองการปกครอง

ข้อ 3 สถาบันใดมีบทบาทหน้าที่ในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เป็นสถาบันแรก 1. สถาบันศาสนา 2. สถาบันเศรษฐกิจ 3. สถาบันการศึกษา 4. สถาบันครอบครัว

Page 39: สถาบันทางสังคม ตามพจนานุกรมศัพท์สังคมวิทยา ฉบับ ... · การเปลี่ยนแปลงระบอบการเมืองการปกครอง

ข้อ 4 สถาบันที่มีหน้าที่หลักในการปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรมแก่สมาชิกในสังคม คือสถาบันใด 1. สถาบันศาสนา 2. สถาบันเศรษฐกิจ 3. สถาบันการศึกษา 4. สถาบันครอบครัว

Page 40: สถาบันทางสังคม ตามพจนานุกรมศัพท์สังคมวิทยา ฉบับ ... · การเปลี่ยนแปลงระบอบการเมืองการปกครอง

ข้อ 5 การกระท าในข้อใดไม่ขัดต่อหลักเสรีภาพ 1. น้อย มีอาชีพขายของหาบเร ่ 2. นก รู้สึกตัวว่ามึนเมาจึงรีบขับรถกลับบ้าน 3. น้ า ออกเงินกู้ดอกเบี้ยสูงให้คนในชุมชนเพราะมีรายได้ดี 4. หนู ต่อไฟฟ้าจากเสาไฟสาธารณะเข้าบ้านของตน

Page 41: สถาบันทางสังคม ตามพจนานุกรมศัพท์สังคมวิทยา ฉบับ ... · การเปลี่ยนแปลงระบอบการเมืองการปกครอง

ข้อ 6 นักเรียนชั้น ม.2 ควรเข้าร่วมกิจกรรมหรือโครงการใด เพื่อช่วยเร่งแก้ปัญหาของประเทศชาติในปัจจุบัน 1. โครงการลดโลกร้อน 2. โครงการอาสาจราจร 3. โครงการโตไปไม่โกง 4. กิจกรรมรักษ์สิ่งแวดล้อม

Page 42: สถาบันทางสังคม ตามพจนานุกรมศัพท์สังคมวิทยา ฉบับ ... · การเปลี่ยนแปลงระบอบการเมืองการปกครอง

ข้อ 7 ข้อใดมีส่วนส าคัญน้อยที่สุดต่อการด ารงชีวิตให้มีความสุขในสังคมไทย 1. ยึดความคิด “คุณธรรมน าวิชาการ” 2. การน าปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ 3. สร้างความเข้มแข็งของสถาบันครอบครัว 4. การน าระบบสื่อสารที่รวดเร็วมาพัฒนาประเทศ

Page 43: สถาบันทางสังคม ตามพจนานุกรมศัพท์สังคมวิทยา ฉบับ ... · การเปลี่ยนแปลงระบอบการเมืองการปกครอง

ข้อ 8 หลักการส าคัญของคณะราษฎรในการเปลี่ยนแปลงการปกครองคือข้อใด 1. รักษาสันติภาพกับนานาประเทศ 2. ให้ราษฎรทุกคนได้รับสวัสดิการจากรัฐ 3. ให้ราษฎรมีสิทธิเสรีภาพภายใต้กฎหมาย 4. ให้ราษฎรได้รับการศึกษาเท่าเทียมกันทุกคน

Page 44: สถาบันทางสังคม ตามพจนานุกรมศัพท์สังคมวิทยา ฉบับ ... · การเปลี่ยนแปลงระบอบการเมืองการปกครอง

ข้อ 9 เพราะเหตุใดการปกครองระบอบประชาธิปไตยของไทยจึงยังไม่ประสบความส าเร็จทั้ง ๆ ที่ปฏิวัติมานานกว่า 80 ปี 1. มีความขัดแย้งในด้านเชื้อชาต ิ 2. ถูกคุกคามจากลัทธิคอมมิวนิสต ์ 3. ขาดนักวิชาการที่มีความเชี่ยวชาญ 4. ประชาชนยังไม่เข้าถึงวัฒนธรรมประชาธิปไตย