17
. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . หลักการระบบสื่อสาร (6/12) คณะวิศวกรรมศาสตร ม.กรุงเทพ ม.ค.–พ.ค. 2563 ภูมิพัฒ แสงอุดมเลิศ (ม.กรุงเทพ) หลักการระบบสื่อสาร ม.ค.–พ.ค. 2563 1 / 17

หลักการระบบสื่อสาร(6/12)bucroccs.bu.ac.th/courses/documents/CRCC9/s06.pdfหล กการระบบส อสาร(6/12) คณะว ศวกรรมศาสตร

  • Upload
    others

  • View
    6

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: หลักการระบบสื่อสาร(6/12)bucroccs.bu.ac.th/courses/documents/CRCC9/s06.pdfหล กการระบบส อสาร(6/12) คณะว ศวกรรมศาสตร

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

หลักการระบบสื่อสาร (6/12)

คณะวิศวกรรมศาสตร ม.กรุงเทพ

ม.ค.–พ.ค. 2563

ภูมิพัฒ แสงอุดมเลิศ (ม.กรุงเทพ) หลักการระบบสื่อสาร ม.ค.–พ.ค. 2563 1 / 17

Page 2: หลักการระบบสื่อสาร(6/12)bucroccs.bu.ac.th/courses/documents/CRCC9/s06.pdfหล กการระบบส อสาร(6/12) คณะว ศวกรรมศาสตร

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

3 ระบบสื่อสารแอนะล็อก

พิจารณาระบบ AM (amplitude modulation) และ FM (frequency modulation)

คุณสมบัติ AM FMการเปลี่ยนคลื่นพาหเพื่อสงขอมูล แอมพลิจูด ความถี่ยานความถี่ 530–1600 kHz 88–108 MHzแบนดวิดทของชองสัญญาณ 10 kHz 200 kHzคุณภาพเสียง ⇓ ⇑ความซับซอนของฮารดแวรตัวรับ ⇓ ⇑

ตัวอยาง: วิทยุ AM และวิทยุ FM

ภูมิพัฒ แสงอุดมเลิศ (ม.กรุงเทพ) หลักการระบบสื่อสาร ม.ค.–พ.ค. 2563 2 / 17

Page 3: หลักการระบบสื่อสาร(6/12)bucroccs.bu.ac.th/courses/documents/CRCC9/s06.pdfหล กการระบบส อสาร(6/12) คณะว ศวกรรมศาสตร

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

3.1 ระบบ AMระบบที่ทำ upconversion โดยนำขอมูล sb(t) มาคูณกับคลื่นพาห cos(2πfct)เรียกวาระบบ DSB-AM (double-sided band AM)

sDSB-AM(t) = sb(t) cos(2πfct)สเปกตรัมของสัญญาณที่สงนั้นมีสวนที่ไมจำเปน เพราะซ้ำซอนกับอีกฝงหนึ่งจากคุณสมบัติการแปลงฟูเรียร สำหรับสัญญาณจริง sb(t) จะได Sb(−f) = S∗b(f)

0 22

1

1/2

0 10 1281012 8

(kHz)

(kHz)

ตองสงไมจาเปน

คาในฝงลบอิงจากฝงบวก

ตองสงไมจาเปน

ภูมิพัฒ แสงอุดมเลิศ (ม.กรุงเทพ) หลักการระบบสื่อสาร ม.ค.–พ.ค. 2563 3 / 17

Page 4: หลักการระบบสื่อสาร(6/12)bucroccs.bu.ac.th/courses/documents/CRCC9/s06.pdfหล กการระบบส อสาร(6/12) คณะว ศวกรรมศาสตร

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

ถากรองสเปกตรัมสวนที่ไมจำเปนออก จะไดสัญญาณ SSB-AM (SSB ยอมาจากsingle-sided band) แตจะขอไมกลาวถึงเพราะไมเปนที่นิยมในระบบใหม ๆสัญญาณของระบบ AM (ที่ไมใช DSB-AM)

sAM(t) = [sb(t) + Ab] cos(2πfct)เปรียบเทียบกับสัญญาณ DSB-AM

sAM(t) = [sb(t) + Ab]︸ ︷︷ ︸Ab สูงพอทำให ≥ 0

cos(2πfct)

= sb(t) cos(2πfct) + Ab cos(2πfct)= sDSB-AM(t) + Ab cos(2πfct)︸ ︷︷ ︸

สวนเพิ่มเติมจาก DSB-AM

เมื่อเทียบกับระบบ DSB-AM ระบบ AM1 ใชพลังงานมากกวา เพราะสงคลื่นพาห (สวนเพิ่มเติม) ไปพรอมกับขอมูล2 มีฮารดแวรของตัวรับที่ถูกกวา (อธิบายในภายหลัง)

ภูมิพัฒ แสงอุดมเลิศ (ม.กรุงเทพ) หลักการระบบสื่อสาร ม.ค.–พ.ค. 2563 4 / 17

Page 5: หลักการระบบสื่อสาร(6/12)bucroccs.bu.ac.th/courses/documents/CRCC9/s06.pdfหล กการระบบส อสาร(6/12) คณะว ศวกรรมศาสตร

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

สเปกตรัมของสัญญาณ AM (เปรียบเทียบกับ DSB-AM)

0 22

1

(kHz)

1/2

0 10 1281012 8 (kHz)

1/2

0 10 1281012 8 (kHz)

แบนดวิดท (คิดเฉพาะฝงบวก) ของสัญญาณ sb(t) คือ 2 kHzแบนดวิดทของ sDSB-AM(t) และของ sAM(t) คือ 4 kHz (เปน 2 เทา)

ภูมิพัฒ แสงอุดมเลิศ (ม.กรุงเทพ) หลักการระบบสื่อสาร ม.ค.–พ.ค. 2563 5 / 17

Page 6: หลักการระบบสื่อสาร(6/12)bucroccs.bu.ac.th/courses/documents/CRCC9/s06.pdfหล กการระบบส อสาร(6/12) คณะว ศวกรรมศาสตร

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

ตัวอยาง (สัญญาณ AM):แกนเวลาAb = 0.6fc = 4 kHz

0 2 4 6 80

0.5

1

1.5

0 2 4 6 8-1.5

-1-0.5

00.5

11.5

0 2 4 6 8-1.5

-1-0.5

00.5

11.5 envelope

(ms)

0 2 4 6 8-1

0

1

ขอบบนเรียกenvelopeมีรูปรางตามsb(t)

ภูมิพัฒ แสงอุดมเลิศ (ม.กรุงเทพ) หลักการระบบสื่อสาร ม.ค.–พ.ค. 2563 6 / 17

Page 7: หลักการระบบสื่อสาร(6/12)bucroccs.bu.ac.th/courses/documents/CRCC9/s06.pdfหล กการระบบส อสาร(6/12) คณะว ศวกรรมศาสตร

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

ตัวอยาง (ตอจากหนากอน):สเปกตรัม

-8 -6 -4 -2 0 2 4 6 8

-8 -6 -4 -2 0 2 4 6 8

(kHz)

(kHz)

0.6

0.250.1

0.250.1

0.30.1250.05

0.1250.05

0.30.1250.05

0.1250.05

ภูมิพัฒ แสงอุดมเลิศ (ม.กรุงเทพ) หลักการระบบสื่อสาร ม.ค.–พ.ค. 2563 7 / 17

Page 8: หลักการระบบสื่อสาร(6/12)bucroccs.bu.ac.th/courses/documents/CRCC9/s06.pdfหล กการระบบส อสาร(6/12) คณะว ศวกรรมศาสตร

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

ตัวรับในระบบ AM

ตัวรับอาศัยการ ตรวจจับ envelope (envelope detection) ซึ่งมี 2 ขั้นตอน1 ผานสัญญาณเขาสูไดโอด2 ผานผลลัพธจากขอ 1 เขาวงจร RC ซึ่งเปนวงจรที่มีตัวตานทาน (resistor) R

และตัวเก็บประจุ (capacitor) C

ตัวสง ตัวรับ ตัวกรองl������

ไดโอด วงจรR�

ตัวรับรูคาจึงลบทิ้งได

สังเกตวาตัวรับไมตองใชตัวสรางคลื่นพาห (อุปกรณ oscillator) เพื่อนำมาคูณกับสัญญาณขอมูล ทำใหฮารดแวรถูกเมื่อเทียบกับกรณีที่ใช oscillator

ภูมิพัฒ แสงอุดมเลิศ (ม.กรุงเทพ) หลักการระบบสื่อสาร ม.ค.–พ.ค. 2563 8 / 17

Page 9: หลักการระบบสื่อสาร(6/12)bucroccs.bu.ac.th/courses/documents/CRCC9/s06.pdfหล กการระบบส อสาร(6/12) คณะว ศวกรรมศาสตร

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

สัญญาณจากการทำ envelope detectionสัญญาณจากขั้นตอนทั้ง 2 ของการทำ envelope detection

0 2 4 6 8-1.5

-1-0.5

00.5

11.5

0 2 4 6 8-1.5

-1-0.5

00.5

11.5

0 2 4 6 8-1.5

-1-0.5

00.5

11.5

envelopeที่รับได

สัญญาณออก

จากไดโอด

สัญญาณออกจาก

ตัวกรอง

low

pass

(ms)

envelope

ภูมิพัฒ แสงอุดมเลิศ (ม.กรุงเทพ) หลักการระบบสื่อสาร ม.ค.–พ.ค. 2563 9 / 17

Page 10: หลักการระบบสื่อสาร(6/12)bucroccs.bu.ac.th/courses/documents/CRCC9/s06.pdfหล กการระบบส อสาร(6/12) คณะว ศวกรรมศาสตร

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

อีกตัวอยางของการทำ envelope detection ที่เหมือนระบบจริงมากขึ้นในระบบจริง ความถี่คลื่นพาหจะสูงกวาความถี่ของ envelope มาก

0 2 4 6 8-1.5

-1-0.5

00.5

11.5

0 2 4 6 8-1.5

-1-0.5

00.5

11.5

0 2 4 6 8-1.5

-1-0.5

00.5

11.5

(ms)

envelopeที่รับได

สัญญาณออก

จากไดโอด

สัญญาณออกจาก

ตัวกรอง

low

passenvelope

ภูมิพัฒ แสงอุดมเลิศ (ม.กรุงเทพ) หลักการระบบสื่อสาร ม.ค.–พ.ค. 2563 10 / 17

Page 11: หลักการระบบสื่อสาร(6/12)bucroccs.bu.ac.th/courses/documents/CRCC9/s06.pdfหล กการระบบส อสาร(6/12) คณะว ศวกรรมศาสตร

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

3.2 ระบบ FMสัญญาณ FM

sFM(t) = cos(2πfct+ 2πfd

∫ t

0sb(τ)dτ

)fd: คาคงที่การเบี่ยงเบนความถี่ (frequency deviation constant)แนวคิดของสูตรสัญญาณ FM

1 ความถี่ของ cos(2πfct) ซึ่งเทากับ fcคำนวณไดจากการ ดิฟเฟอเรนชิเอตคาเฟส แลวนำผลไปหารดวย 2π

12π × d

dt (2πfct) =12π × 2πfc = fc

2 ในทำนองเดียวกัน ความถี่ของ sFM(t) คือ12π × d

dt

(2πfct+ 2πfd

∫ t

0sb(τ)dτ

)=

12π × (2πfc + 2πfdsb(t)) = fc + fdsb(t)

ภูมิพัฒ แสงอุดมเลิศ (ม.กรุงเทพ) หลักการระบบสื่อสาร ม.ค.–พ.ค. 2563 11 / 17

Page 12: หลักการระบบสื่อสาร(6/12)bucroccs.bu.ac.th/courses/documents/CRCC9/s06.pdfหล กการระบบส อสาร(6/12) คณะว ศวกรรมศาสตร

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

ตัวอยางสัญญาณ FM ( fc = 5 kHz และ fd = 2 kHz)

-2 -1 0 1 2

-1

0

1

-2 -1 0 1 2

-1

0

1

-2 -1 0 1 2

-1

0

1

(ms)

(ms)

(ms)

ภูมิพัฒ แสงอุดมเลิศ (ม.กรุงเทพ) หลักการระบบสื่อสาร ม.ค.–พ.ค. 2563 12 / 17

Page 13: หลักการระบบสื่อสาร(6/12)bucroccs.bu.ac.th/courses/documents/CRCC9/s06.pdfหล กการระบบส อสาร(6/12) คณะว ศวกรรมศาสตร

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

อีกตัวอยางของสัญญาณ FM ( fc = 5 kHz และ fd = 2 kHz)

-2 -1 0 1 2

-1

0

1

-2 -1 0 1 2

-1

0

1

-2 -1 0 1 2

-1

0

1

(ms)

(ms)

(ms)

ภูมิพัฒ แสงอุดมเลิศ (ม.กรุงเทพ) หลักการระบบสื่อสาร ม.ค.–พ.ค. 2563 13 / 17

Page 14: หลักการระบบสื่อสาร(6/12)bucroccs.bu.ac.th/courses/documents/CRCC9/s06.pdfหล กการระบบส อสาร(6/12) คณะว ศวกรรมศาสตร

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

สเปกตรัมของสัญญาณ FM ( fc = 5 kHz และ fd = 2 kHz)รูปสเปกตรัมไมไดสอดคลองกับสเปกตรัมของ sb(t) (ไมเหมือนในกรณีของ AM)

-4 -2 0 2 4

-1

0

1

-4 -2 0 2 4

-1

0

1

-20 -15 -10 -5 0 5 10 15 20

(kHz)

(ms)

(ms)

5 kHz

ภูมิพัฒ แสงอุดมเลิศ (ม.กรุงเทพ) หลักการระบบสื่อสาร ม.ค.–พ.ค. 2563 14 / 17

Page 15: หลักการระบบสื่อสาร(6/12)bucroccs.bu.ac.th/courses/documents/CRCC9/s06.pdfหล กการระบบส อสาร(6/12) คณะว ศวกรรมศาสตร

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

กฎของคารลสัน

แบนดวิดทของสัญญาณ FM ประมาณไดดวย กฎของคารลสัน (Carlson’s rule)ดังแสดงในตาราง

สัญญาณ แบนดวิดทของสัญญาณsb(t) สมมุติใหเปน BsAM(t) 2BsFM(t) ≈ 2(D+ 1)B

D: อัตราสวนการเบี่ยงเบนความถี่

D =

fd ×maxt |sb(t)|B

ภูมิพัฒ แสงอุดมเลิศ (ม.กรุงเทพ) หลักการระบบสื่อสาร ม.ค.–พ.ค. 2563 15 / 17

Page 16: หลักการระบบสื่อสาร(6/12)bucroccs.bu.ac.th/courses/documents/CRCC9/s06.pdfหล กการระบบส อสาร(6/12) คณะว ศวกรรมศาสตร

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

ตัวอยาง (แบนดวิดทของสัญญาณ FM):ให fd = 50 Hz และsb(t) = 2 cos(100πt) + cos(200πt)คำนวณแบนดวิดทโดยใชสูตรของคารลสันไดดังตอไปนี้

050

1

10050

0.5

100

10.5

maxt

|sb(t)| = maxt

|2 cos(100πt) + cos(200πt)| = 3

D =50× 3100 = 1.5

แบนดวิดท ≈ 2(1.5+ 1)× 100 = 500 Hz ■

ภูมิพัฒ แสงอุดมเลิศ (ม.กรุงเทพ) หลักการระบบสื่อสาร ม.ค.–พ.ค. 2563 16 / 17

Page 17: หลักการระบบสื่อสาร(6/12)bucroccs.bu.ac.th/courses/documents/CRCC9/s06.pdfหล กการระบบส อสาร(6/12) คณะว ศวกรรมศาสตร

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

...

.

ตัวรับในระบบ FMโครงสรางของตัวรับในระบบ FM (วิธีหนึ่ง)

differentiator envelopedetector

วงจรดิฟเฟอเรนชิเอตสัญญาณ

วงจรตรวจจับenvelope

ตัวรับรูคา และจึงหักลางออกได

แนวคิด: จาก sFM(t) = cos(2πfct+ 2πfd

∫ t

0sb(τ)dτ

)สัญญาณออกจากวงจรดิฟเฟอเรนชิเอตคือ (ใชกฎลูกโซในการวิเคราะห)ddt sFM(t) = − sin

(2πfct+ 2πfd

∫ t

0sb(τ)dτ

)︸ ︷︷ ︸ความถี่สูงมากเมื่อเทียบกับ fc + fd sb(t)

× ( fc + fd sb(t))︸ ︷︷ ︸envelope ของผลลัพธ

สัญญาณขาออกจากวงจรตรวจจับ envelope จึงเปน ≈ fc + fd sb(t)ภูมิพัฒ แสงอุดมเลิศ (ม.กรุงเทพ) หลักการระบบสื่อสาร ม.ค.–พ.ค. 2563 17 / 17