19
สํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม ICS 83.140.01 ISBN 978-974-292-854-4 มาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม THAI INDUSTRIAL STANDARD มอก. 2479 2552 ยางกันเรือกระแทกรูปทอทรงกระบอกและรูปตัววี MARINE RUBBER FENDERS : CYLINDRICAL SHAPE AND V-SHAPE

ยางกันเรือกระแทกรูปท อทรง ... · 2016. 11. 28. · BS 6349 Part 6 : 1989 Maritime Structures - Part 6 : Design of inshore moorings

  • Upload
    others

  • View
    4

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

  • สํานกังานมาตรฐานผลิตภัณฑอตุสาหกรรม

    กระทรวงอุตสาหกรรม ICS 83.140.01 ISBN 978-974-292-854-4

    มาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม

    THAI INDUSTRIAL STANDARD

    มอก. 2479 2552

    ยางกันเรอืกระแทกรูปทอทรงกระบอกและรูปตวัวีMARINE RUBBER FENDERS : CYLINDRICAL SHAPE AND V-SHAPE

  • มอก. 2479 2552

    มาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม

    ยางกันเรอืกระแทกรูปทอทรงกระบอกและรูปตวัวี

    สํานกังานมาตรฐานผลิตภัณฑอตุสาหกรรมกระทรวงอุตสาหกรรม ถนนพระรามที่ 6 กรุงเทพฯ 10400

    โทรศัพท 0 2202 3300

    ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับประกาศและงานทั่วไป เลม 127 ตอนพิเศษ 71งวันที่ 7 มิถุนายน พุทธศักราช 2553

  • คณะกรรมการวิชาการคณะที่ 1028มาตรฐานยางกนักระแทก

    (2)

    ประธานกรรมการนางวราภรณ ขจรไชยกูล สํานกังานกองทนุสนบัสนนุการวจิยั

    กรรมการ

    นายอนุรักษ ศรีสมศักดิ์ กรมวทิยาศาสตรบรกิารนายสมชาย สุมนัสขจรกุล กรมการขนสงทางน้าํและพาณชิยนาวีนายธัญวิทย ปนประไพ การทาเรือแหงประเทศไทยนายวิฑูรย อยูทิม การนคิมอตุสาหกรรมแหงประเทศไทยดร.พงษธร แซอุย ศนูยเทคโนโลยโีลหะและวัสดุแหงชาต ิ(เอม็เทค)นายณรงคชัย แจมจํารัส สมาคมวศิวกรรมสถานแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภนายบุญหาญ อูอุดมยิ่ง บริษัท แสงไทยผลิตยาง จํากัดนายเสถียร เตชะปญญารักษ บริษัท ยงไทยการยาง จํากัดนายสมศักดิ์ บุญประสิทธ์ิ บริษัท เอ็น.ซี.อาร รับเบอร อินดัสตร้ี จํากัดนายสุชาติ เตชาพลาเลิศ บริษัท อินเตอรแนชชั่นแนลรับเบอรพาทส จํากัด

    กรรมการและเลขานุการนางกิ่งแกว อริยเดช สํานกังานมาตรฐานผลติภณัฑอตุสาหกรรม

    กรรมการและผูชวยเลขานุการนายนรพงศ วรอาคม สํานกังานมาตรฐานผลติภณัฑอตุสาหกรรม

  • (3)

    ยางกนัเรือกระแทก เปนผลติภณัฑทีใ่ชปองกนัการเฉีย่วชนหรอืการกระแทกโดยตรงจากการเคลือ่นผานหรือเขาจอดเทยีบทาของเรอื ดงันัน้เพือ่ใหมกีารทํายางกนัเรือกระแทกทีม่คีณุภาพด ีและปลอดภยัในการใชงาน จงึเหน็ควรกําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม ยางกันเรือกระแทกรูปทอทรงกระบอกและรปูตัววี ขึ้น

    มาตรฐานผลิตภณัฑอตุสาหกรรมนี้กําหนดขึน้โดยใชขอมูลจากผูทํา ผูใช และเอกสารตอไปนีเ้ปนแนวทางEAU-E 62 Acceptance Requirements for Fender ElastomersMS 1385 : 1995 Marine Fenders - Specification for rubber materialsKS M 6709 : 1993 Rubber FenderIS 13848 : 1993 Inland Vessels - Rubber Fenders - SpecificationBS 6349 Part 1 : 2000 Maritime Structures - Part 1 : Code of practice for general criteriaBS 6349 Part 4 : 1994 Maritime Structures - Part 4 : Code of practice for design of fendering

    and mooring systemsBS 6349 Part 6 : 1989 Maritime Structures - Part 6 : Design of inshore moorings and floating

    structuresISO 17357 : 2002 Ships and marine technology - High-pressure floating pneumatic rubber

    fendersISO 34-1 : 2004 Rubber, vulcanized or thermoplastic - Determination of tear strength

    - Part 1: Trouser, angle and crescent test piecesISO 37 : 2005 Rubber, vulcanized or thermoplastic - Determination of tensile stress-

    strain propertiesISO 188 : 2007 Rubber, vulcanized or thermoplastics - Accelerated ageing and heat resis

    tance testsISO 813 : 1997 Rubber, vulcanized or thermoplastic - Determination of adhesion to a

    rigid substrate - 900 peel methodISO 815 : 1991 Rubber, vulcanized or thermoplastic - Determination of compression

    set at ambient, elevated or low temperaturesISO 1431-1 : 2004 Rubber, vulcanized or thermoplastic - Resistance to ozone cracking -

    Part 1 : Static and dynamic strain testingISO 1817 : 2005 Rubber, vulcanized - Determination of the effect of liquidsISO 4649 : 2002 Rubber, vulcanized or thermoplastic - Determination of abrasion

    resistance using a rotating cylindrical drum deviceISO 6133 : 1998 Rubber and plastics - Analysis of multipeak traces obtained in

    determinations of tear strength and adhesion strengthISO 7619-1 : 2004 Rubber, vulcanized or thermoplastic - Determination of indentation

    hardness - Part 1 : Durometer method (Shore hardness)

  • มอก.1479-2540 เหล็กกลาคารบอนรดีรอนแผนมวน แผนแถบ แผนหนา และแผนบางสําหรบังานโครงสรางทัว่ไป

    คณะกรรมการมาตรฐานผลิตภณัฑอตุสาหกรรมไดพจิารณามาตรฐานนีแ้ลว เหน็สมควรเสนอรฐัมนตรีประกาศตามมาตรา 15 แหงพระราชบัญญตัิมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม พ.ศ.2511

    (4)

  • (5)

    ประกาศกระทรวงอตุสาหกรรมฉบับที่ 4179 ( พ.ศ.2553 )

    ออกตามความในพระราชบญัญตัมิาตรฐานผลติภณัฑอตุสาหกรรมพ.ศ.2511

    เรื่อง กําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม

    ยางกันเรือกระแทกรูปทอทรงกระบอกและรปูตวัวี

    อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 15 แหงพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม พ.ศ.2511รัฐมนตรีวาการกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศกําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม ยางกันเรือกระแทกรูปทอทรงกระบอกและรูปตัววี มาตรฐานเลขที่ มอก. 2479-2552 ไว ดังมีรายการละเอียดตอทายประกาศนี้

    ประกาศ ณ วันที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2553

    รฐัมนตรีวาการกระทรวงอุตสาหกรรม

    ชาญชัย ชัยรุงเรือง

  • -1-

    มอก. 2479-2552

    มาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม

    ยางกันเรอืกระแทกรูปทอทรงกระบอกและรูปตวัวี1. ขอบขาย

    1.1 มาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมนี้ครอบคลุมเฉพาะยางกันเรือกระแทกท่ีมีรูปทอทรงกระบอก (cylindricalshape) และรปูตวัวี (V-shape) แตไมครอบคลมุยางกนักระแทกทรงอื่น และทีเ่ตมิลมหรือทําจากโฟม

    2. บทนิยาม

    ความหมายของคําทีใ่ชในมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมนี ้มดีงัตอไปนี้2.1 ยางกันเรือกระแทก ซึ่งตอไปในมาตรฐานนี้จะเรียกวา "ยางกันกระแทก" หมายถึง ผลิตภัณฑที่ทําจาก

    ยางธรรมชาติและ/หรือยางสังเคราะห ใชปองกันความเสียหายของเรือและทาเทียบเรือที่ เกิดจากการเฉีย่วชนหรือการกระแทกโดยตรงจากการเคลื่อนที่ผานหรือเขาจอดเทียบทาของเรือ

    2.2 ยางกันกระแทกรูปทอทรงกระบอก หมายถึง ยางกันกระแทกท่ีมีลักษณะเปนทอทรงกระบอก ใชรอยดวยโซหรือโซและแกนเหล็กเวลาติดตั้ง ตัวอยางดังรปูที่ 1

    รูปที ่1 (ก) ตดิตัง้ดวยการรอยดวยโซ รปูที ่1 (ข) ตดิตัง้ดวยโซและแกนเหล็ก

    รปูที ่1 ตวัอยางยางกนักระแทกรปูทอทรงกระบอก(ขอ 2.2)

  • -2-

    มอก. 2479-2552

    2.3 ยางกนักระแทกรปูตวัว ีหมายถงึ ยางกนักระแทกทีม่ภีาคตดัขวางเปนรปูคลายตวั V มเีหล็กแผนเปนโครงสรางเสริมความแข็งแรงที่ฐาน มี 2 ลักษณะ คือ ฐานปด (close) และฐานเปด (open) ตัวอยางดังรูปท่ี 2

    รปูที ่2 (ก) ยางกนักระแทกรปูตวัวฐีานปด รปูที ่2 (ข) ยางกนักระแทกรูปตวัวฐีานเปด

    รปูที ่2 ตวัอยางยางกันกระแทกรูปตัววี(ขอ 2.3)

    2.4 แรงตาน (reaction force) หมายถงึ แรงทีย่างกนักระแทกกระทําตอบกบัตวัเรือและแนวชายฝง มขีนาดเทากบัแรงทีย่างกนักระแทกถูกกดจากตัวเรอืและแนวชายฝง

    2.5 พลังงานทีดู่ดซบั (absorption energy) หมายถงึ พลังงานจลนทีย่างกันกระแทกสามารถดูดซบั ถายโอน และกระจายพลังงานที่ เกิดขึ้นนี้จากการกระทําของเรือตอยางกันกระแทกทําใหคาของพลังงานตั้งตนลดลงเพือ่ปองกนัความเสยีหายทีจ่ะเกดิขึน้กับทัง้ตวัเรอืและแนวชายฝง

    3. แบบ

    3.1 ยางกันกระแทกแบงตามรูปทรง เปน 2 แบบ คือ3.1.1 แบบรปูทอทรงกระบอก3.1.2 แบบรปูตวัวี

    4. มิติและเกณฑความคลาดเคลื่อน

    4.1 มติแิละเกณฑความคลาดเคลือ่นใหเปนไปตามขอตกลงระหวางผูซือ้และผูขาย โดยมเีกณฑความคลาดเคลือ่นตามตารางที ่1การทดสอบใหปฏบิัติตามขอ 9.3

  • -3-

    มอก. 2479-2552

    หมายเหตุ L, L1 คือ ความยาวของยางกันกระแทกA, B, C คือ ความกวางของยางกันกระแทกH คือ ความสูงของยางกันกระแทกD, E คือ ความหนาของยางกันกระแทกJ คือ มิติของรูสําหรับสลักF, G คือ ระยะหางระหวางจุดศูนยกลางของรูสลักP คือ ความหนาของแผนเหล็กQ คือ ความกวางของแผนเหล็ก

    รปูที ่ 3 มติิของยางกนักระแทกรปูตัววีฐานปด(ขอ 4.1)

  • -4-

    มอก. 2479-2552

    หมายเหตุ L, L1 คือ ความยาวของยางกันกระแทกA, B, C คือ ความกวางของยางกันกระแทกH คือ ความสูงของยางกันกระแทกI, J, K, M คือ มิติของรูสําหรับสลักF คือ ระยะหางระหวางจุดศูนยกลางของรูสลักP คือ ความหนาของแผนเหล็ก

    รปูที ่4 มิตขิองยางกนักระแทกรูปตวัวฐีานเปด(ขอ 4.1)

  • -5-

    มอก. 2479-2552

    ตารางที่ 1 มิติและเกณฑความคลาดเคลื่อน(ขอ 4.1)

    5. วัสดุ

    5.1 แผนเหลก็ความหนาและคณุภาพของแผนเหล็กใหเปนไปตาม มอก. 1479การตรวจสอบใหทําโดยการพิจารณาใบรบัรองจากผูผลติ

    5.2 สมบัตทิางฟสกิสของวสัดทุีใ่ชทํายางกนักระแทกตองเปนไปตามตารางที ่2

    รูปทรงกระบอก รูปตัววี

    1 ± 3 ไมกําหนด

    2

    3 ไมกําหนด

    4 ไมกําหนด

    D นอยกวาหรือเทากับ 80

    (เฉพาะฐานปด) มากกวา 80

    E นอยกวาหรือเทากับ 40

    (เฉพาะฐานปด) มากกวา 40

    6 ไมกําหนด ± 2

    ความหนา (D, E) รอยละ

    ไมกําหนด

    ไมกําหนด

    ± 4

    มิติของรูสําหรับสลัก (I, J, K, M) มิลลิเมตร ไมเกิน

    รายการ

    ที่

    มิติ เกณฑความคลาดเคลื่อน

    เสนผานศูนยกลางภายในและภายนอก รอยละ ไมเกิน

    ความยาว (L1, L) รอยละ ไมเกิน

    ความกวาง (A, B, C) รอยละ ไมเกิน

    ความสูง (H) รอยละ ไมเกิน

    5

    7 ระยะระหวางจุดศูนยกลางของรูสลัก (F, G) มิลลิเมตร

    ไมเกิน

    ไมกําหนด

    +10

    -5

    +10

    -5+8

    -2

    +8

    -2

    +4

    -2

    +4

    -2+4

    -2+4

    -2

  • -6-

    มอก. 2479-2552

    ตารางที ่ 2 สมบัตทิางฟสิกสของวัสดุทีใ่ชทํายางกนักระแทก(ขอ 5.2)

    รายการ

    ที่

    สมบัติ หนวย เกณฑกําหนด วิธี

    ทดสอบตาม

    1 ความแข็ง ไมเกิน Shore A 78 ขอ 9.4

    2 ความตานแรงดึง ไมนอยกวา MPa 16 ขอ 9.5

    3 ความยืดเมื่อขาด ไมนอยกวา % 350 ขอ 9.5

    หลังการเรงการเสื่อมอายุ

    - ความแข็ง เพิ่มขึ้น ไมเกิน

    ของคากอนการเรงการเสื่อมอายุ

    Shore A 8

    - ความตานแรงดึง ไมนอยกวา

    ของคากอนการเรงการเสื่อมอายุ

    % 80

    - ความยืดเมื่อขาด ไมนอยกวา

    ของคากอนการเรงการเสื่อมอายุ

    % 80

    5 ความตานแรงฉีกขาด ไมนอยกวา kN/m 70 ขอ 9.7

    ความทนการขัดสี

    - ปริมาตรสูญเสีย ไมเกิน mm3 100

    7 การยุบตัวเนื่องจากแรงอัด ไมเกิน % 30 ขอ 9.9

    8 ปริมาตรเพิ่มขึ้นหลังแชน้ํา ไมเกิน % 8 ขอ 9.10

    9 ความทนโอโซน - ตองไมมีรอยแตก ขอ 9.11

    10 แรงยึดติดระหวางยางกับเหล็ก ไมนอยกวา N/mm 7 ขอ 9.12

    4 ขอ 9.6

    6 ขอ 9.8

  • -7-

    มอก. 2479-2552

    6. คุณลักษณะที่ตองการ

    6.1 ลกัษณะทัว่ไปผวิดานนอกตองปราศจากขอบกพรองตางๆ ทีม่ผีลเสยีตอการใชงาน เชน สิง่แปลกปลอม ฟองอากาศ เปนตนการทดสอบใหทําโดยการตรวจพนิจิ

    6.2 แรงตานและพลงังานทีด่ดูซบัคาแรงตานตองต่าํกวาคาแรงตานสงูสดุทีร่ะบ ุและคาพลงังานทีด่ดูซบัตองสงูกวาคาพลงังานทีด่ดูซบัต่าํสดุทีร่ะบุการทดสอบใหปฏิบัตติามขอ 9.13

    7. เคร่ืองหมายและฉลาก

    7.1 ทีด่านนอกของยางกนักระแทก อยางนอยตองมเีลข อกัษร หรือเครือ่งหมายแจงรายละเอยีดตอไปนีใ้หเหน็ไดงาย ชัดเจน และไมลบเลือนงาย(1) ชือ่ผลติภณัฑตามมาตรฐานนีห้รือชือ่อืน่ทีส่ือ่ความหมายวาเปนผลิตภณัฑตามมาตรฐานนี้(2) แบบ(3) เสนผานศนูยกลางและความยาว เปนมิลลิเมตรหรือเมตร สําหรับยางกนักระแทกรูปทอทรงกระบอก(4) ความสงูและความยาว เปนมลิลิเมตรหรอืเมตร สําหรับยางกนักระแทกรปูตัววี(5) เดือน ปที่ทํา หรือรหัสรุนที่ทํา(6) ชื่อผูทํา หรือโรงงานทีท่ํา หรือเครื่องหมายการคาท่ีจดทะเบียนในกรณทีีใ่ชภาษาตางประเทศ ตองมคีวามหมายตรงกบัภาษาไทยทีก่ําหนดไวขางตน

    8. การชักตัวอยางและเกณฑตัดสิน

    8.1 การชักตวัอยางและเกณฑตดัสนิใหเปนไปตามภาคผนวก ก.

    9. การทดสอบ

    9.1 ขอกําหนดทัว่ไปใหใชวธิทีีก่ําหนดในมาตรฐานนี ้หรือวธิอีืน่ใดทีเ่ทยีบเทา ในกรณทีีม่ขีอโตแยง ใหใชวธิทีีก่ําหนดในมาตรฐานนี้

    9.2 ภาวะทดสอบหากมิไดกําหนดเปนอยางอื่น ใหทดสอบท่ีอุณหภูมิ (23 2) องศาเซลเซียส

    9.3 การวดัมติิ9.3.1 ความยาว ความกวาง ความสูง และความหนา

    ใหใชเครื่องวัดที่เหมาะสม สุมวัดที่ตําแหนงตางๆ มิติละ 3 ครั้ง หาคาเฉลี่ย แลวรายงานผลโดยคํานวณเปนรอยละของความคลาดเคล่ือน

  • -8-

    มอก. 2479-2552

    9.3.2 เสนผานศนูยกลางภายในและภายนอกใหใชเครื่องวัดละเอียด 1 มิลลิเมตร สุมวัดเสนผานศูนยกลางภายในและภายนอกทั้ง 2 ดานของยางกันกระแทกตัวอยาง แตละปลายใหวัด 2 ครั้ง ซึ่งตั้งฉากกัน หาคาเฉลี่ย แลวรายงานผลโดยคํานวณเปนรอยละของความคลาดเคล่ือน

    9.3.3 มิตขิองรูสําหรับสลักใหใชเครื่องวัดละเอียด 0.1 มิลลิเมตร วัดมิติตางๆ ของรูสลักของยางกันกระแทกตัวอยางทุกรูสลักโดยแตละรูสลกัใหวัด 2 ครัง้ตั้งฉากกนั แลวรายงานผลเปนคาเฉลีย่

    9.3.4 ระยะระหวางจดุศูนยกลางของรูสลักใหใชเครื่องวัดละเอียด 0.10 มิลลิเมตร สุมวัดระยะระหวางจุดศูนยกลางของรูสลักของ ยางกันกระแทกตัวอยาง ใหวัด 3 ครั้ง แลวรายงานเปนคาเฉลี่ย

    9.4 การทดสอบความแขง็ใหปฏิบัติตาม ISO 7619-1 โดยใชเครื่อง Durometer Type A

    9.5 การทดสอบความตานแรงดงึและความยดืเมือ่ขาดใหปฏิบัตติาม ISO 37 โดยตัดช้ินทดสอบเปนรูปดมับเบลล Type 1

    9.6 การทดสอบการเรงการเสื่อมอายุ9.6.1 ความแขง็

    นําชิ้นทดสอบที่วัดความแข็งจากขอ 9.4 ไปเรการเสื่อมอายุตาม ISO 188 ที่อุณหภูมิ (70 1)องศาเซลเซียส เปนเวลา (96 ) ชั่วโมง แลวนําไปทดสอบความแข็งอีกครั้งตามขอ 9.4

    9.6.2 ความตานแรงดงึและความยดืเม่ือขาดตัดชิ้นทดสอบเปนรูปดัมบเบลล Type 1 ตามขอ 9.5 นําไปเรงการเสื่อมอายุตาม ISO 188 ที่อุณหภูมิ(70 1) องศาเซลเซียส เปนเวลา (96 ) ชั่วโมง แลวนําไปทดสอบความตานแรงดึง และความยืดเมื่อขาดตามขอ 9.5

    9.7 การทดสอบความตานแรงฉกีขาดใหปฏิบัติตาม ISO 34-1 method C

    9.8 การทดสอบความทนการขดัสีใหปฏิบัติตาม ISO 4649 method A

    9.9 การทดสอบการยบุตวัเนือ่งจากแรงอดัใหปฏิบัติตาม ISO 815 ที่อุณหภูมิ (70 1) องศาเซลเซียส เปนเวลา (22 ) ชั่วโมง

    9.10 การทดสอบปรมิาตรเพิม่ขึน้หลงัแชน้ําใหปฏิบัติตาม ISO 1817 ที่อุณหภูมิหองเปนเวลา (168 2) ชั่วโมง แลวคํานวณหาปริมาตรที่เพิ่มขึ้นเปนรอยละ

    0-2

    0-2

    0-2

  • -9-

    มอก. 2479-2552

    9.11 การทดสอบความทนโอโซนใหปฏิบัติตาม ISO 1431-1 procedure A ทีภ่าวะตอไปนี้(1) ความเขมขนของโอโซน (50 5) ลูกบาศกเซนติเมตรตอ 100 ลูกบาศกเมตร(2) อุณหภูมิ (40 2) องศาเซลเซียส(3) ระยะเวลา 48 ชั่วโมง(4) ความยืดรอยละ 20ตรวจพินจิทันทดีวยเลนสกําลังขยาย 7 เทา ขณะยงัยืดอยูทีค่วามยืดตามขอ (4)

    9.12 การทดสอบแรงยึดติดระหวางยางกบัเหลก็9.12.1 การเตรยีมช้ินทดสอบ

    ตัดชิ้นทดสอบจากแผนยางหนา (6 0.1) มิลลิเมตรใหมีขนาดกวาง (25 0.1) มิลลิเมตร ยาว125 มิลลิเมตรยึดติดกับโลหะท่ีมีขนาดกวาง (25 0.1) มิลลิเมตร ยาว (60 1) มิลลิเมตร หนา(1.5 0.1) มลิลิเมตร โดยใหมพีืน้ทีท่ีย่ดึตดิกนัมขีนาดกวาง (25 0.1) มลิลิเมตร ยาว 25 มลิลเิมตรดังแสดงในรูปที่ 5

    รปูที ่5 ชิน้ทดสอบแรงยึดติดระหวางยางกับเหลก็(ขอ 9.12)

  • -10-

    มอก. 2479-2552

    9.12.2 วธิทีดสอบใหปฏิบัติตาม ISO 813

    9.12.3 การรายงานผลรายงานคาแรงยดึตดิระหวางยางกบัเหลก็ โดยนําแรงสงูสดุทีใ่ชในการดงึหารดวยความกวางของชิน้ทดสอบและคาแรงสูงสดุที่ใชในการดึงใหวิเคราะหผลตาม ISO 6133หมายเหตุ อาจรายงานโดยระบุสัญลักษณบริเวณชิ้นทดสอบที่เกิดการแตกหักเพิ่มเติม เชน R หมายถึง

    เกิดการแตกหักท่ีตัวเนื้อยาง เปนตน

    9.13 การทดสอบแรงตานและพลงังานทีด่ดูซบั9.13.1 การเตรยีมช้ินทดสอบ

    ใหใชยางกนักระแทกตวัอยางทัง้ชิน้เปนชิน้ทดสอบ9.13.2 วธิทีดสอบ

    (1) นําชิ้นทดสอบวางระหวางแผนกดของเครือ่งกดชิน้ทดสอบในแนวทีช่ิน้ทดสอบตองรบั แรงกดตามลักษณะการใชงานจริง ดังรูปท่ี 6

    (2) กดชิน้ทดสอบดวยอตัราเรว็ระหวาง 20 มลิลเิมตรตอนาท ีถงึ 80 มลิลเิมตรตอนาท ีจนกระทัง่ความสงูของชิ้นทดสอบลดลงรอยละ 50

    (3) คลายเครือ่งกดดวยอตัราเรว็เดียวกับทีใ่ชกดชิน้ทดสอบ ไมตองบันทึกผลทดสอบในรอบแรก(4) กดและคลายชิน้ทดสอบตามขอ (2) และขอ (3) อกี 2 รอบ บนัทกึความสมัพนัธระหวางแรงตานและ

    ระยะยุบตัวในรอบท่ี 2 และรอบที่ 3 จะไดกราฟดังรูปที่ 7(5) คํานวณหาแรงตานสงูสดุเฉล่ียเปนตนัทีไ่ดจากการทดสอบในรอบที ่2 และรอบที ่3(6) คํานวณหาพลงังานทีด่ดูซบัในแตละรอบของการทดสอบจากพืน้ทีใ่ตกราฟ และรายงานคาเฉล่ียทีไ่ด

    จากการทดสอบในรอบท่ี 2 และรอบที่ 3 เปนตัน-เมตร

    รปูที ่6 การทดสอบแรงตานและพลงังานทีด่ดูซบั(ขอ 9.13)

    แรงกด แรงกดแรงกดแรงกด แรงกดแรงกด

  • -11-

    มอก. 2479-2552

    A คือ ระยะยุบตัวสูงสุด เปนเมตรB คือ แรงตานสูงสุด เปนตันE คือ พลังงานที่ดูดซับ เปนตัน-เมตร

    รปูที ่7 กราฟแสดงความสมัพนัธระหวางแรงตานและระยะยบุตวั(ขอ 9.13)

  • -12-

    มอก. 2479-2552

    ภาคผนวก ก.

    การชกัตวัอยางและเกณฑตดัสนิ(ขอ 8.1)

    ก.1 รุน ในทีน่ี้ หมายถึง ยางกนักระแทก แบบเดียวกัน ทีม่ีมิติและเกณฑความคลาดเคลื่อนเดยีวกนัทําขึน้โดยกรรมวิธเีดียวกัน จากยางทีม่ีสวนผสมอยางเดียวกัน ที่ทําหรือสงมอบหรือซื้อขายในระยะเวลาเดียวกัน

    ก.2 การชักตวัอยางและการยอมรับ ใหเปนไปตามแผนการชักตัวอยางทีก่ําหนดตอไปนี ้หรืออาจใชแผนการชักตวัอยางอืน่ทีเ่ทียบเทากนัทางวชิาการกับแผนท่ีกําหนดไว

    ก.2.1 การชักตัวอยางและการยอมรบัสําหรับการทดสอบมิต ิคณุลักษณะทีต่องการ และเครือ่งหมายและฉลากก.2.1.1 ใหชักตวัอยางโดยวธิีสุมจากรุนเดียวกนัจํานวน 1 หนวย ทดสอบมิต ิคุณลกัษณะที่ตองการและ

    เครือ่งหมายและฉลากก.2.1.2 ตัวอยางตองเปนไปตามขอ 4. ขอ 6. และขอ 7. จึงจะถือวายางกันกระแทกรุนนั้นเปนไปตามเกณฑ

    ทีก่ําหนดก.2.2 การชักตวัอยางและการยอมรับสําหรับการทดสอบวสัดุ

    ก.2.2.1 ใหชกัตัวอยางโดยวธิสีุมจากยางผสมคอมพาวดทีไ่ดจากการผสมในคราวเดียวกนัและใชทํายางกนักระแทกรุนเดยีวกนัจํานวนเพยีงพอสําหรบัการทดสอบ นําไปทําเปนแผนยางหรอืชิน้ทดสอบตามท่ีกําหนด แลวนําไปทําใหยางคงรปูโดยใชเวลาในการคงรปูที่รอยละ 90 ของยางคงรูปเต็มที ่(tc90)ดงัตอไปนี้(1) แผนยางหนา (2.0 0.2) มิลลิเมตร

    สําหรับทดสอบสมบัตทิางฟสิกสของวัสดทุี่ใชทํายางกนักระแทก (ตามตารางท่ี 2) ดังนี้(ก) ความตานแรงดึงและความยืดเมื่อขาด กอนการเรงการเสือ่มอายุ(ข) ความตานแรงดึงและความยดืเมือ่ขาด หลังการเรงการเสือ่มอายุ(ค) ความตานแรงฉกีขาด(ง) ปริมาตรเพิม่ขึน้ หลังแชน้ํา(จ) ความทนโอโซน

    (2) แผนยางหนาไมนอยกวา 6 มิลลิเมตรสําหรับทดสอบความแข็งกอนและหลังการเรงการเสือ่มอายุ

    (3) แผนยางหนา (6 0.1) มิลลิเมตรสําหรับทดสอบแรงยึดติดระหวางยางกับเหลก็

    (4) ชิ้นทดสอบทรงกระบอกเสนผานศูนยกลาง (16 0.2) มิลลิเมตร สูง 6 มิลลิเมตรสําหรบัทดสอบความทนการขดัสี

    (5) ชิ้นทดสอบทรงกระบอกเสนผานศูนยกลาง (29 0.5) มิลลิเมตร สูง (12.5 0.5) มิลลิเมตร สําหรับทดสอบการยุบตัวเนื่องจากแรงอัด

  • -13-

    มอก. 2479-2552

    ก.2.2.2 ตวัอยางตองเปนไปตามขอ 5.2 ทกุรายการจงึจะถอืวายางกนักระแทกรุนนัน้เปนไปตามเกณฑทีก่าํหนดก.3 เกณฑตดัสนิ

    ตัวอยางยางกันกระแทกตองเปนไปตามขอ ก.2.1.2 และขอ ก.2.2.2 ทุกขอ จึงจะถือวายางกันกระแทกรุนนั้นเปนไปตามมาตรฐานผลิตภณัฑอตุสาหกรรมนี้