21
1 คู่มือนิสิตแพทย์ ศูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก โรงพยาบาลสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ประจาปี 2555 http://www.tsm-mec.org

คู่มือนิสิตแพทย์ ศูนย์แพทยศา ... · 2013-02-14 · 1.จัดการเรียนการสอนนิสิตแพทย์ที่ได้มาตรฐาน

  • Upload
    others

  • View
    0

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: คู่มือนิสิตแพทย์ ศูนย์แพทยศา ... · 2013-02-14 · 1.จัดการเรียนการสอนนิสิตแพทย์ที่ได้มาตรฐาน

1

คู่มือนิสิตแพทย ์

ศูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก

โรงพยาบาลสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช

ประจ าปี 2555

http://www.tsm-mec.org

Page 2: คู่มือนิสิตแพทย์ ศูนย์แพทยศา ... · 2013-02-14 · 1.จัดการเรียนการสอนนิสิตแพทย์ที่ได้มาตรฐาน

2

วิสัยทัศน์

ศูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิกโรงพยาบาลสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช เป็นสถาบันร่วมผลิตแพทย์สู่ชนบทที่มีคุณภาพประกอบด้วยคุณธรรม เน้นการสร้างเครือข่ายการเรียนรู้ที่เข้มแข็ง

พันธกิจ

1.จัดการเรียนการสอนนิสิตแพทย์ที่ได้มาตรฐาน 2.พัฒนาอาจารย์ให้มีความรู้ที่ดีทางด้านแพทยศาสตรศึกษา 3.บริหารงบประมาณที่มีประสิทธิภาพ 4.สร้างสรรค์งานวิจัยที่เป็นประโยชน์ต่อชุมชน 5.พัฒนาเทคโนโลยีการศึกษาที่ทันสมัย

เป้าประสงค์

ผลิตบัณฑิตแพทย์ปีละประมาณ 10 คน ในช่วงแรกและ 20 คนในช่วงต่อไป

ภารกิจหลัก

ศูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก มีหน้าที่จัดการเรียนการสอนชั้นคลินิก ให้แก่นิสิตแพทย์ในโครงการร่วมกับคณะแพทยศาสตร์ที่เกี่ยวข้องในมหาวิทยาลัยที่ร่วมผลิต

นโยบาย ยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์

นโยบาย

1.อาจารย์แพทย์ทุกท่านควรได้รับการอบรมแพทยศาสตร์ศึกษาอย่างน้อยในหัวข้อBasic & Learning 2.จัดการเรียนการสอนโดยใช้นิสิตเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ผ่านกระบวนการแก้ ปัญหาอย่างมีส่วนร่วม 3.หมวดองค์ความรู้ให้สอดคล้องและเหมาะสมกับระดับการเรียนรู้ของนิสิต เพ่ือตอบสนองนโยบายรัฐ หลีกเลี่ยงการให้ความรู้สึกระดับผู้เชี่ยวชาญ 4.ส่งเสริมสนับสนุนการท าวิจัยในนิสิตแพทย์ ก่อให้เกิดความรู้ที่ทันสมัยตลอดเวลา ยุทธศาสตร์

ช่วงที่ 1 ปี พ.ศ. 2546 - 2547 เตรียมความพร้อม ช่วงที่ 2 ปี พ.ศ. 2548 - 2549 ด าเนินการ ช่วงที่ 3 ปี พ.ศ. 2550 - 2558 พัฒนาคุณภาพ

Page 3: คู่มือนิสิตแพทย์ ศูนย์แพทยศา ... · 2013-02-14 · 1.จัดการเรียนการสอนนิสิตแพทย์ที่ได้มาตรฐาน

3

กลยุทธ์ กลยุทธ์หลัก 1.พัฒนาอาจารย์ละบุคลากรอย่างต่อเนื่อง 2.การบริหารจัดการงบประมาณอย่างมีประสิทธิภาพ 3.พัฒนาการเรียนการสอนให้ได้มาตรฐานวิชาชีพ กลยุทธ์เพื่อการพัฒนา 1.จัดตั้งภาควิชา 2.จัดตั้งศูนย์แพทย์ ฯ ( ศพค. ) 3.จัดหาโสตทัศนูปกรณ์ 4.เตรียมอาคารสถานที่ 5.ปรับปรุงห้องสมุดเดิม 6.พัฒนาต่อเนื่องทุกด้าน 7.QA ประเมินคุณภาพการศึกษา 8.ผลิตต าราของตนเอง 9.Research & Development

สีประจ าศูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก

สีชมพู

แนะน าศูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก

ชื่อ ศูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก โรงพยาบาลสมเด็จพระเจ้าตากสิน มหาราช จังหวัดตาก สังกัดส านักงานสาธารณสุข จังหวัดตาก ส านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข

ที่ตั้ง เลขที่ 295 ถนนพหลโยธิน ต าบลระแหง อ าเภอเมือง จังหวัดตาก โทร. 0-5554-1632 โทรสาร 0-5554-1632

Page 4: คู่มือนิสิตแพทย์ ศูนย์แพทยศา ... · 2013-02-14 · 1.จัดการเรียนการสอนนิสิตแพทย์ที่ได้มาตรฐาน

4

ประวัติความเป็นมา โรงพยาบาลสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช เดิมชื่อโรงพยาบาลตาก ตั้งอยู่ในเขตเทศบาลเมือง

ตาก หลักกิโลเมตรที่ 420 เลขที่ 295 ถนนพหลโยธิน ต าบลระแหง อ าเภอเมือง จังหวัดตาก มีพ้ืนที่ขนาด 30 ไร่ 1 งาน 15 ตารางวา ในปี พ.ศ. 2482 นายหมัง สายชุ่มอินทร์ ซึ่งเป็นผู้แทนราษฎรจังหวัดตากในขณะนั้น มีความคิดริเริ่มที่จะให้มีโรงพยาบาลขึ้นในจังหวัดตาก และทางกรมสาธารณสุข กระทรวงมหาดไทย เห็นชอบในหลักการ และให้หาที่ดินไว้ด าเนินการ ต่อมาปี พ.ศ. 2484 กองโรงพยาบาลภูมิภาค กรมสาธารณสุข ได้อนุมัติเงินก่อสร้างโรงพยาบาลจ านวน 48,125 บาท ประกอบด้วย ตึกอ านวยการ 1 หลัง เรือนคนไข้สามัญขนาด 25 เตียง 1 หลัง บ้านพักแพทย์ 1 หลัง บ้านพักพยาบาล 3 หลัง โรงเก็บศพ 1 หลัง โดยเปิดท าการเม่ือวันที่ 24 มิถุนายน 2487 โรงพยาบาลตากในขณะนั้นสามารถเปิดให้บริการแก่ประชาชนในจังหวัดตากและจังหวัดใกล้เคียง คือ จังหวัดก าแพงเพชร สุโขทัย ซึ่งขณะนั้นยังไม่มีโรงพยาบาลประจ าจังหวัด และได้มีการพัฒนาเรื่อยมา จนในปี พ.ศ.2527 มูลนิธิสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ได้เข้ามาปรับปรุงโรงพยาบาลตาก โดยก่อสร้างตึกผู้ปุวยนอก 1 หลัง ตึกอุบัติเหตุ 1 หลัง ตึกผู้ปุวยในขนาด 250 เตียง 1 หลัง และจัดซื้อครุภัณฑ์การแพทย์ที่จ าเป็น พร้อมกันนั้นได้ขอพระบรมราชานุญาตเปลี่ยนชื่อเป็น “ โรงพยาบาลสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช” เมื่อวันที่ 6 มิถุนายน 2528 ต่อมาได้ทูลเชิญสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เสด็จมาเป็นองค์ประธานในพิธีเปิดอาคารรวมน้ าใจ เมื่อวันที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2535 ปัจจุบันโรงพยาบาลสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช เป็นโรงพยาบาลทั่วไปขนาด 321 เตียง มีบุคลากรปฏิบัติงานทั้งหมด 724 คน แบ่งเป็นข้าราชการ 405 คน ลูกจ้างประจ า 148 คน ลูกจ้างชั่วคราว 161 คน มีขอบเขตการให้บริการ ดังนี้ 1. ให้บริการสุขภาพทุติยภูมิระดับสูง แก่ประชาชนในเขตพ้ืนที่รับผิดชอบ (เขตอ าเภอเมืองตาก และก่ิงอ าเภอวังเจ้า) และเขตพ้ืนที่ใกล้เคียง 2. มีศักยภาพในการให้บริการระดับทุติยภูมิระดับสูง โดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ 4 สาขาหลัก และสาขารองอ่ืนๆ สืบเนื่องจากคณะรัฐมนตรีได้มีมติเม่ือวันที่ 15 มิถุนายน 2547 เห็นชอบให้ด าเนินงานโครงการผลิตแพทย์เพ่ิมของส านักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ตามความต้องการของกระทรวงสาธารณสุข โดยในส่วนของโครงการเร่งรัดผลิตแพทย์ของโครงการผลิตแพทย์เพ่ือชาวชนบท พ.ศ. 2547 – 2556 (โครงการความร่วมมือผลิตแพทย์ระหว่างกระทรวงสาธารณสุขกับส านักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา) สามารถรับนักศึกษาแพทย์ตลอดโครงการ 3,807 คน ซึ่งโรงพยาบาลสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช เป็นโรงพยาบาลหนึ่งที่ได้รับการอนุมัติตามมติคณะรัฐมนตรี ให้ร่วมมือกับมหาวิทยาลัยนเรศวรจัดการเรียนการสอนนักศึกษาแพทย์ โดยสามารถรับนักศึกษาได้ตั้งแต่ปีการศึกษา 2548 เป็นต้นไป ศูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก เริ่มเปิดด าเนินการ 2547 มีฐานะเป็นฝุายหนึ่งของโรงพยาบาลสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช โดยมีผู้อ านวยการศูนย์แพทยศาสตร์ศึกษาชั้นคลินิก รับผิดชอบในการปฏิบัติราชการ อยู่ภายใต้การบังคับบัญชาของผู้อ านวยการโรงพยาบาลสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช มีหน้าที่จัดการเรียนการสอนชั้นคลินิก ให้กับนิสิตแพทย์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร โครงการร่วมผลิตแพทย์เพ่ิมเพ่ือชาวชนบท และได้เปิดด าเนินการสอนเมื่อวันที่ 18 มีนาคม 2548 เป็นต้นมา ศูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก โรงพยาบาลสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชได้น าวิสัยทัศน์ พันธกิจ และวัตถุประสงค์ของมหาวิทยาลัยนเรศวร และของโครงการผลิตแพทย์เพ่ิมเพ่ือชาวชนบทของกระทรวงสาธารณสุขมาเป็นกรอบแนวคิดในการจัดการศึกษาแพทยศาสตร์ เพ่ือให้บรรลุวัตถุประสงค์ในการแก้ไขปัญหาการขาดแคลนแพทย์

Page 5: คู่มือนิสิตแพทย์ ศูนย์แพทยศา ... · 2013-02-14 · 1.จัดการเรียนการสอนนิสิตแพทย์ที่ได้มาตรฐาน

5

นายแพทย์ละลิ่ว จิตต์การุญ

ผู้อ านวยการโรงพยาบาลสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช

นายแพทย์ศุภชัย นาทองไชย

ผู้อ านวยการศูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก

ผศ.(พิเศษ)นพ.รเมศ ว่องวิไลรัตน์

รองผู้อ านวยการศูนย์ฯ

ผศ.(พิเศษ)พญ.นิภาวรรณ ศรีรัตนวุฒิ

ผู้ช่วยผู้อ านวยการศูนยฯ์

นพ.วันชัย พินิชกชกร

รองผู้อ านวยการศูนยฯ์

ผศ.(พิเศษ)นพ.ชัยกิจ อุดแน่น

ผู้ช่วยผู้อ านวยการศูนยฯ์

นพ.กิตติศักดิ์ โอฬารกิจเจริญ

ผู้ช่วยผู้อ านวยการศูนยฯ์

คณะผู้บริหารและบุคลากรคณะแพทยศาสตร์

คณะผู้บริหาร

คณะผู้บริหารศูนย์แพทยศาสตรศึกษาช้ันคลินิก

โรงพยาบาลสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช

Page 6: คู่มือนิสิตแพทย์ ศูนย์แพทยศา ... · 2013-02-14 · 1.จัดการเรียนการสอนนิสิตแพทย์ที่ได้มาตรฐาน

6

บุคลากรสายวิชาการ

ภาควิชาสูติ-นรีเวชศาสตร ์

1 นพ.คทาพร อติชาติ 089-9599979 -

2 นพ.ศุภชัย นาทองไชย 081-8861856 [email protected]

3 ผศ.(พิเศษ)นพ.ชัยกิจ อุดแน่น 081-5968278 [email protected]

4 นพ.กนก จินดาบรรเจิด 081-7835495 [email protected]

5 พญ.เบญจมาส มั่นอยู่ 081-5967177 [email protected]

ภาควิชาศัลยศาสตร ์

1 ผศ.(พิเศษ)นพ.รเมศ ว่องวิไลรัตน ์ 083-9400006 [email protected]

2 นพ.กิตติศักดิ ์ โอฬารกิจเจริญ 083-1664622 [email protected]

3 นพ.ภัทระ ไผ่เทศ 087-3047876 -

4 นพ.กิตต ิ วงศ์ต๊ะ

ภาควิชาเวชศาสตร์ครอบครัว

1 พญ.รุ่งนภา ศิริพรไพบูลย ์ 084-6200810 -

ภาควิชาอายุรศาสตร ์

1 นพ.วันชัย พินิชกชกร 089-7033179 [email protected]

2 นพ.ปรมินทร ์ สันติทฤษฏีกร 089-7088404 [email protected]

3 นพ.ปิยเกียรต ิ ภิญโญมหากุล 089-4445256 -

4 พญ.อัจฉริยา โกสัยสุก 081-8307688 -

ภาควิชากุมารเวชศาสตร ์

1 นพ.จรัล วิวัฒน์คุณูปการ 089-8587223 -

2 นพ.ชูชาติ วิสัยพรม 081-3794918 -

3 พญ.กัญญศร วิชญเธียร 081-6130211 [email protected]

4 พญ.พรศิริ สุธาเบญจประดิษฐ์

ภาควิชาศัลยกรรมออร์โธปิดิกส ์

1 นพ.กฤษฎา สาเขตร ์ 081-7858766 [email protected]

2 นพ.สวโรจน ์ เพชรสุกใส 081-5732530 [email protected]

Page 7: คู่มือนิสิตแพทย์ ศูนย์แพทยศา ... · 2013-02-14 · 1.จัดการเรียนการสอนนิสิตแพทย์ที่ได้มาตรฐาน

7

3 ผศ.(พิเศษ)นพ.พลวรรธน ์ วิทูรกลชิต 081-8014523

4 นพ.สายชล รัชตธรรมกูล 089-7039793

5 นพ.ประพันธ ์ จันทนะโพธิ 083-2158236 [email protected]

ภาควิชาโสต ศอ นาสิกวิทยา

1 นพ.ธนันท์ชัย กองแก้ว - -

2 นพ.สหพล มานะวงศ์เจริญ 081-8032123 -

3 พญ.นิลุบล ตติยวงศ์สกุล 081-3381839 [email protected]

ภาควิชารังสีวิทยา

1 พญ.อรอุมา สืบชมภ ู 087-1981046 -

2 พญ.นภาพร โชติกะ 081-3943390 -

ภาควิชาเวชศาสตร์ฟื้นฟ ู

1 พญ.นิภาวรรณ ศรีรัตนวุฒ ิ 081-8870046 [email protected]

2 พญ.ดวงนภา ศิริโสภณ 089-7037055 [email protected]

ภาควิชาจักษุวิทยา

1 นพ.โยธิน จินดาหลวง 081-8862085 -

2 พญ.วรลักษณ ์ บูลย์ประมุข 089-9602116 -

3 นพ.พัฒนะ ภู่พัฒนะกุล

ภาควิชาจิตเวชศาสตร ์

1 นพ.ชลอวัฒน์ อินปา 089-1624199 -

ภาควิชาสัญญีวิทยา

1 พญ.ศรีสุดา ไล้ทองค า 085-1562254 [email protected]

2 พญ.พรนิภา สุภาธาดา 089-7564540 [email protected]

ภาควิชาเวชศาสตร์ชุมชนและครอบครัว

1 พญ.รุ่งนภา ศิริพรไพบูลย ์

ภาควิชาเวชศาสตร์ฉุกเฉิน

1 พญ.กัญจนี วชิรรังสิมันต์

Page 8: คู่มือนิสิตแพทย์ ศูนย์แพทยศา ... · 2013-02-14 · 1.จัดการเรียนการสอนนิสิตแพทย์ที่ได้มาตรฐาน

8

บุคลากรสายบริการ

1.นายสุทัศน์ กรองแก้ว พยาบาลเทคนิคช านาญการ

2.นายณัฎฐกร สว่างเรืองศรี นักวิชาการคอมพิวเตอร์

3.นางภัทรวดี เครือเกตุ นักวิชาการศึกษา

4.นางวาสนา สุปินนะ นักวิชาการเงินและบัญชี

5.น.ส.จริยา บุญศรี บรรณารักษ์

6.นางสาวธนวรรณ แก้วคง นักวิชาการศึกษา

7.น.ส.นริศรา มะโนดี นักวิชาการศึกษา

8.น.ส.จุฑามาส มีกล่ า นักจัดการงานทั่วไป

9.น.ส.นิศา แก้วมา หัวหน้าแม่บ้าน

10.นางเจาะใจ ไชยประเทศ พนักงานทั่วไป

11.น.ส.พิรุฬกาญจน์ โพธิ์อุดม พนักงานทั่วไป

12.น.ส.คัทลียา นาคเมือง พนักงานทั่วไป

13.น.ส.ปวีณา เครือวัน พนักงานทั่วไ ป

Page 9: คู่มือนิสิตแพทย์ ศูนย์แพทยศา ... · 2013-02-14 · 1.จัดการเรียนการสอนนิสิตแพทย์ที่ได้มาตรฐาน

9

หลักจริยธรรมทางการแพทย์ (Medical ethics)

การดูแลรักษาผู้ปุวยของผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพในทุกกรณี จะต้องปฏิบัติตามจริยธรรมทางการแพทย์อย่างเคร่งครัด หลักจริยธรรม 4 ประการ มีดังนี้

1. หลักประโยชน์สูงสุดของผู้ปุวย (Beneficence)

คือสิ่งที่เป็นประโยชน์ก่อให้เกิดผลดี ผู้ประกอบวิชาชีพพึงกระท าในสิ่งที่เป็นประโยชน์สูงสุด

ต่อผู้ปุวย

•สิ่งที่จะด าเนินการจะต้องเป็นผลดีต่อผู้ปุวย

• จะต้องจริงใจต่อผู้ปุวย ด าเนินการเพ่ือประโยชน์ของผู้ปุวยไม่ว่าจะเป็นกรณีใดๆ

• ผู้ปุวยไม่ควรถูกสอบถามในเรื่องที่ไม่มีความจ าเป็น

• ผู้ปุวยไม่ควรได้รับการรักษาที่เกินความจ าเป็น (Unnecessary or futile therapies)

• จะต้องรักษาความเจ็บปุวยทางกาย ทางจิตใจ สังคมและท าให้เกิดความสุขภาวะของผู้ปุวย

• แพทย์ต้องเปลี่ยนทัศนคติในเรื่องที่คิดว่าตนเองมีความรู้มากกว่าผู้ปุวย (Paternalism doctor knows best)

2. หลักไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อผู้ปุวย (Nonmaleficence) คือ การลดความเสี่ยงอันตรายต่างๆ • สิ่งที่จะต้องด าเนินการจะต้องไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อผู้ปุวย ทั้งทางกายหรือจิตใจ • จะต้องจริงใจต่อผู้ปุวย การโกหกผู้ปุวยหรือบอกความจริงไม่ครบถ้วนอาจก่อให้เกิดอันตราย ได้

• การดูแลรักษาด้วยวิธีการใดๆ จะต้องพิจารณาประโยชน์เปรียบเทียบกับผลกระทบที่จะเกิดข้ึน

(Possible adverse effects) แก่ผู้ปุวย

• ควรรักษาผู้ปุวยต่อไปก็ต่อเมื่อมีโอกาสสูงที่จะช่วยให้ผู้ปุวยมีอาการดีข้ึน และก่อให้เกิดผลข้างเคียงไม่มากนัก

• จะต้องลดผลกระทบต่างๆ ให้น้อยที่สุด

3. หลักเคารพการตัดสินใจของผู้ปุวย (Autonomy) คือ การยอมรับสิทธิผู้ปุวยที่จะตัดสินใจเกี่ยวกับตัวเอง (Patients rights to self-determination)

ซึ่งถือเป็นการยืนยันเจตนาของผู้ปุวย

Page 10: คู่มือนิสิตแพทย์ ศูนย์แพทยศา ... · 2013-02-14 · 1.จัดการเรียนการสอนนิสิตแพทย์ที่ได้มาตรฐาน

10

• การรักษาจะด าเนินการได้ก็ต่อเมื่อได้ให้ข้อมูลแก่ผู้ปุวยเพื่อขอความยินยอม ( informed consent)

• ผู้ปุวยมีสิทธิที่จะตัดสินใจเลือกวิธีการรักษาต่างๆด้วยตนเอง

• ผู้ปุวยมีสิทธิที่จะรับทราบข้อมูลที่จ าเป็น และครบถ้วนเพื่อการตัดสินใจ

• ผู้ประกอบการวิชาชีพด้านสุขภาพมีหน้าที่ให้ข้อมูลที่ครบถ้วน ถูกต้องเมื่อผู้ปุวยร้องขอ

• หลักการในข้อนี้ใช้กับการรักษาผู้ปุวย และเลือกสถานที่ให้การรักษา และผู้ที่จะให้การดูแลรักษาผู้ปุวย

4. หลักความเป็นธรรม (Justice) คือ การจัดหาบริการสุขภาพอย่างเท่าเทียมกันตามความจ าเป็น • โดยไม่ค านึงถึงฐานะทางเศรษฐกิจ, ชนชั้นทางสังคม, ความเชื่อทางศาสนา หรือสีผิว • อย่างไรก็ตาม จากการศึกษาพบว่าการให้บริการสุขภาพทั่วโลกยังมีปัญหาในเรื่องความเป็น

ธรรม

• การรักษาหลายกรณีจ ากัดเฉพาะกลุ่มคนรวย หรือผู้ที่มีอ านาจ มีอิทธิพล หรือผู้ที่สามารถเรียก

ร้องสิ่งต่างๆได้ดีกว่าผู้อ่ืน

• ในบางประเทศ การใช้มอร์ฟีน (morphine) จะให้เฉพาะผู้ปุวยที่สามารถจ่ายเงินค่ารักษาได้ • ในบางประเทศ การดูแลแบบประคับประคองต้องเสียค่าใช้จ่าย และผู้ที่ไม่มีเงินอาจต้องเสีย

ชีวิตด้วยความเจ็บปวดอย่างล าพัง โดยไม่มีศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์

Page 11: คู่มือนิสิตแพทย์ ศูนย์แพทยศา ... · 2013-02-14 · 1.จัดการเรียนการสอนนิสิตแพทย์ที่ได้มาตรฐาน

11

ประกาศส านักกิจการหอพัก ศูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก รพ.สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช เรื่อง แนวปฏิบัติและมาตราการการเข้าพักอาศัยในหอพัก ศูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก พุทธศักราช ๒๕๕๔

-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

เพ่ือให้การด าเนินงานหอพักนิสิตแพทย์ ศูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก โรงพยาบาลสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ด าเนินไปด้วยความเรียบร้อยและมีประสิทธิภาพ ทั้งเป็นการสร้างเสริมความเป็นระเบียบ ของการใช้ชีวิตร่วมกันภายใต้ขนบธรรมเนียมประเพณี และวัฒนธรรมอันดีงาม อาศัยอ านาจตามความในมาตรา ๑๔(๒) แห่งพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยมหาสารคาม พุทธศักราช ๒๕๓๗ จึงก าหนดหลักเกณฑ์ การเข้าอยู่อาศัยในหอพักนิสิตแพทย์ ศูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก โรงพยาบาลสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ไว้ดังต่อไปนี้

หมวดที่ 1 บททั่วไป

ข้อ ๑. ประกาศนี้เรียกว่า “ ประกาศส านักกิจการหอพักนิสิตแพทย์ ศูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก โรงพยาบาลสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช เรื่อง แนวปฏิบัติและมาตรการ การเข้าพักอาศัยในหอพักหอพักนิสิตแพทย์ ศูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก โรงพยาบาลสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช

ข้อ ๒. ประกาศนี้มีผลบังคับใช้นับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศเป็นต้นไป

ข้อ ๓. ให้ยกเลิกข้อบังคับ ประกาศ ค าสั่งอ่ืน ๆ ที่ขัดแย้งกับประกาศนี้และให้ใช้ประกาศนี้แทน

ข้อ ๔. ในประกาศนี้

(๑) "ศูนย์แพทย"์ หมายความว่า ศูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก โรงพยาบาลสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช (๒) "ส านักกิจการหอพัก" หมายความว่า ส านักกิจการหอพักนิสิตแพทย์ ศูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก

โรงพยาบาลสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช

(๓) "หอพัก" หมายความว่า หอพักนิสิตแพทย์ ศูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก โรงพยาบาลสมเด็จพระเจ้า

ตากสินมหาราช (๔) "นิสิตแพทย์หอพัก" หมายความว่า นิสิตแพทย์ในระดับปริญญาตรีที่ทางศูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก

อนุญาตให้เข้าพักอาศัย ในหอพักของ ศูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก โรงพยาบาลสมเด็จพระเจ้า

Page 12: คู่มือนิสิตแพทย์ ศูนย์แพทยศา ... · 2013-02-14 · 1.จัดการเรียนการสอนนิสิตแพทย์ที่ได้มาตรฐาน

12

ตากสินมหาราช (๕) "ผู้อาศัย" หมายความว่า นิสิตแพทย์ อาจารย์ ข้าราชการ เจ้าหน้าที่ ที่ทางศูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้น

คลินิก โรงพยาบาลสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช อนุญาตให้เข้าพักอาศัย ในหอพักของศูนย์

แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก โรงพยาบาลสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช (๖) "คณะกรรมการด าเนินงานหอพัก" หมายความว่า อาจารย์ ข้าราชการ เจ้าหน้าที่ ศูนย์แพทยศาสตรศึกษา

ชั้นคลินิก โรงพยาบาลสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช แต่งตั้งเป็น คณะกรรมการด าเนินงานหอพัก ท า

หน้าที่ควบคุมดูแลหอพักให้ด าเนินไปตามนโยบายของ ศูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก ตามประกาศนี้

(๗) "อาจารย์ประจ าหอพัก" หมายความว่า ข้าราชการที่ ทางศูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก โรงพยาบาล

สมเด็จพระเจา้ตากสินมหาราช แตง่ต้ังเปน็ อาจารยป์ระจ าหอพัก ท าหนา้ท่ี รับผิดชอบการบริหารงาน

หอพัก ประสานงานกับหนว่ยงานต่าง ๆ ทีเ่ก่ียวข้องตามประกาศ นี้ก าหนดไว้ (๘) "กรรมการนิสิตประจ าหอพัก" หมายความว่า นิสิตแพทย์หอพักท่ีส านักกิจการหอพักได้พิจารณาให้ท า

หนา้ท่ีตามทีไ่ดร้ับมอบหมายจากอาจารยป์ระจ าหอพัก

หมวดที่ ๒ วัตถุประสงค์

ข้อ ๕. ศูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก โรงพยาบาลสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชจัดสร้างหอพักข้ึน โดยมี วัตถุประสงค์ดังต่อไปนี้

๑) เพ่ือช่วยเหลือนิสิตให้มีที่พักอาศัยที่เอ้ือต่อการศึกษาเล่าเรียน และสร้างเสริมบุคลิกภาพท่ีพึงประสงค์ ๒) เพ่ือให้นิสิตหอพักได้มีโอกาสเรียนรู้ ฝึกฝนตนเองในการอยู่ร่วมกัน และเคารพในสิทธิและเสรีภาพซึ่งกัน และกัน ๓) เพ่ือสร้างเสริมให้นิสิตมีพลานามัยที่สมบูรณ์ทั้งร่างกายและจิตใจ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ รู้จักพัฒนาตนเอง และบ าเพ็ญประโยชน์ต่อสังคม ๔) เพ่ือฝึกฝนให้นิสิตเป็นผู้มีความกระตือรือร้นใฝุเรียนใฝุรู้ รู้จักแสวงหาความรู้และประสบการณ์เป็นนิจ เพ่ือจะได้เป็นบุคคลที่มีคุณภาพของประเทศชาติต่อไป

Page 13: คู่มือนิสิตแพทย์ ศูนย์แพทยศา ... · 2013-02-14 · 1.จัดการเรียนการสอนนิสิตแพทย์ที่ได้มาตรฐาน

13

หมวดที่ ๓ การด าเนินงานและอ านาจหน้าที่

ข้อ ๖. ส านักกิจการหอพักมีอ านาจหน้าที่และความรับผิดชอบเกี่ยวกับการด าเนินกิจกรรมหอพักดังต่อไปนี้

๑) ด าเนินการและควบคุมดูแลหอพักท้ังหมดให้เป็นไปตามนโยบายของ ศูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก

โรงพยาบาลสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ๒) ปกครองผู้พักอาศัยในหอพัก ๓) ก าหนดกฎระเบียบ ข้อบังคับของหอพัก ๔) ประสานงานกับหน่วยงานอื่นที่เก่ียวข้องกับกิจการหอพัก ๕) สอบสวนนิสิตหอพักท่ีปฏิบัติตนฝุาฝืนกฎระเบียบหอพัก พร้อมพิจารณาลงโทษ ๖) ก าหนดหลักเกณฑ์ในการพิจารณาคัดเลือกนิสิตให้เข้าพักอาศัยในหอพัก ๗) ให้ค าปรึกษาและข้อเสนอแนะเกี่ยวข้องกับหอพักแก่มหาวิทยาลัย ๘) อบรมและดูแลนิสิตหอพักให้เป็นคนดีและมีคุณธรรม และมีจิตส านึกรับผิดชอบต่อสังคม

ข้อ ๗. คณะกรรมการด าเนินงานหอพัก มีอ านาจหน้าที่และความรับผิดชอบเกี่ยวกับหอพักดังต่อไปนี้

๑) ด าเนินการดูแลหอพักให้เป็นไปตามนโยบายของ ศูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก

๒) ก าหนดกฎระเบียบข้อบังคับของหอพัก ๓) ให้ค าปรึกษาและเสนอแนะท่ีเกี่ยวข้องกับหอพักแก่มหาวิทยาลัย ๔) เป็นคณะกรรมการสอบสวนนิสิตหอพักท่ีปฏิบัติตนฝุาฝืนกฎระเบียบ พร้อมกับพิจารณาการลงโทษ. ๕) ประสานงานกับหน่วยงานอื่นที่เก่ียวข้องกับการด าเนินงานหอพัก

ข้อ ๘. คณะกรรมการด าเนินงานหอพัก ประกอบด้วย

(๑) ผู้ช่วยผู้อ านวยการศูนยแพทย์ฝุายกิจการหอพักนิสิตแพทย์

(๒) กรรมการนิสิตประจ าหอพัก

(๓) อาจารย์ประจ าหอพัก

(๔) เจ้าหน้าที่ประจ าหอพัก

(๕) ตัวแทนกรรมการนิสิตประจ าหอพักชาย ๑ คน

(๖) ตัวแทนกรรมการนิสิตประจ าหอพักหญิง ๑ คน

Page 14: คู่มือนิสิตแพทย์ ศูนย์แพทยศา ... · 2013-02-14 · 1.จัดการเรียนการสอนนิสิตแพทย์ที่ได้มาตรฐาน

14

ข้อ ๙. อาจารย์ประจ าพอพัก มีหน้าที่และความรับผิดชอบเกี่ยวกับหอพักดังนี้

(๑) เป็นกรรมการในคณะกรรมการด าเนินงานหอพัก (๒) ด าเนินการและควบคุมดูแลบริหารงานหอพักให้มีประสิทธิภาพตามนโยบายและคณะกรรมการด าเนินงาน

หอพัก (๓) เรียกประชุมผู้พักอาศัยในหอพักเม่ือมีเหตุผลอันสมควร (๔) มีอ านาจตรวจ ค้นห้องพักของผู้พักอาศัยได้ เมื่อมีเหตุผลอันควร (๕) ควบคุมดูแลการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ประจ าหอพัก พนักงานรักษาความสะอาด และพนักงานรักษาความปลอดภัยบริเวณหอพัก (๖) ให้ค าปรึกษาและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับหอพักแก่คณะกรรมการด าเนินงานหอพัก (๗) ปกครอง อบรม ดูแลผู้พักอาศัยในหอพัก ให้อยู่ในกฎระเบียบและข้อบังคับของหอพัก (๘) รายงานการด าเนินงานหอพักให้ผู้บังคับบัญชาในระดับสูงทราบตลอดปีการศึกษา (๙) ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการด าเนินงานของหอพัก (๑๐) รายงานให้ผู้อ านวยการศูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก โรงพยาบาลสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช และคณะกรรมการด าเนินงาน งานหอพักทราบ โดยด่วน เมื่อพบว่านิสิตแพทย์กระท าผิดร้ายแรงตามความในข้อ ๒๘ ของประกาศนี้

ข้อ ๑๐ เจ้าหน้าที่ประจ าหอพัก มีหน้าที่และความรับผิดชอบ ดังต่อไปนี้

(๑) เป็นคณะกรรมการด าเนินงานหอพักและควบคุมดูแลการท าความสะอาดภายในหอพักและจัดกิจกรรม ปรับปรุงพัฒนาหอพักตามความเหมาะสม (๒) ส ารวจ แจ้งซ่อมครุภัณฑ์และอุปกรณ์ต่าง ๆ ของหอพัก (๓) ควบคุม ดูแลความเป็นระเบียบเรียบร้อยภายในหอพัก และจัดกิจกรรมส่งเสริมบุคลิกภาพ (๔) ควบคุมดูแลการเข้าออกหอพักของนิสิต (๕) ดูแลและอ านวยความสะอาดในการติดต่อของผู้ปกครองและนิสิตภายในหอพัก (๖) สอดส่อง ดูแล ยับยั้ง ห้ามปรามมิให้บุคคลภายนอกเข้าไปในหอพัก (๗) มีสิทธิ์ว่ากล่าวตักเตือน หรือภาคทัณฑ์ เมื่อนิสิตหอพักกระท าผิดระเบียบวินัยและรายงานการกระท าผิด ของนิสิตที่ฝุาฝืนระเบียบ (๘) มีอ านาจเปิดและค้นห้องพักของผู้พักอาศัยได้ เมื่อมีเหตุอันสมควร (๙) ด าเนินการไกล่เกลี่ยและยับยั้งข้อพิพาทต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในหอพัก (๑๐) ดูแลและให้บริการน้ าดื่ม ยา และเวชภัณฑ์ ตลอดจนสิ่งอ านวยความสะดวกอ่ืน ๆ แก่นิสิตในหอพัก ข้อ ๑๑. กรรมการนิสิตประจ าหอพัก มีหน้าที่และความรับผิดชอบ ดังต่อไปนี้

Page 15: คู่มือนิสิตแพทย์ ศูนย์แพทยศา ... · 2013-02-14 · 1.จัดการเรียนการสอนนิสิตแพทย์ที่ได้มาตรฐาน

15

(๑) ช่วยเหลือเจ้าหน้าที่ในการประสานงานและการจัดกิจกรรมเกี่ยวกับหอพัก (๒) ช่วยเหลือเจ้าหน้าที่หอพักและหัวหน้างานหอพัก ในการจัดนิสิตเข้าพักอาศัยในหอพักของมหาวิทยาลัย (๓) ให้ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับหอพักแก่เจ้าหน้าที่หอพักและหัวหน้างานบริหารและพัฒนาพร้อมทั้งรายงานเรื่อง ต่างๆที่อาจก่อให้เกิดความไม่สงบเรียบร้อยภายในหอพักต่อเจ้าหน้าที่หอพักและหัวหน้างานบริหารและพัฒนาทราบ

หมวดที่ ๔ สิทธิการเข้าพักในหอพัก

ข้อ ๑๒. ส านักกิจการหอพักมีหน้าที่พิจารณาคัดเลือกนิสิตเพ่ือให้เข้าพักอาศัยในหอพัก ตามหลักเกณฑ์ท่ี คณะกรรมการด าเนินงานหอพักก าหนด

ข้อ ๑๓ สิทธิในการเข้าพักอาศัยในหอพัก เป็นสิทธิส่วนบุคคลจะโยนสิทธิอันนี้ให้กับบุคคลอื่นไม่ได้

ข้อ ๑๔. ผู้มีสิทธิเข้าพักอาศัยในหอพักต้องปฏิบัติตามประกาศนี้ และปฏิบัติตามกฎระเบียบ ค าสั่ง ข้อบังคับท่ีเกี่ยวกับ หอพัก ซึ่งมหาวิทยาลัยได้ก าหนดไว้อย่างเคร่งครัด

ข้อ ๑๕. นิสิตผู้ได้รับคัดเลือกมีสิทธิเข้าพักอาศัยในหอพัก ตามวัน เวลาที่คณะกรรมการด าเนินงานหอพักท่ีก าหนด ข้อ ๑๖. การเปลี่ยนแปลงหรือย้ายห้องพัก หรือหอพักจะกระท ามิได้ เว้นแต่ได้รับอนุญาตจากหัวหน้างานส านักงาน กิจการหอพัก หรือ หัวหน้างานบริหารและพัฒนา หรือผู้อ านวยการส านักกิจการหอพัก ก่อนเท่านั้น

ข้อ ๑๗. ผู้มีสิทธิเข้าพักอาศัยในหอพักต้องช าระเงินค่าบ ารุงหอพักตามวัน เวลาที่มหาวิทยาลัยก าหนด ข้อ ๑๘. นิสิตที่มีความประสงค์จะสละสิทธิการพักอาศัยในหอพัก เพ่ือไปพักอาศัยภายนอกมหาวิทยาลัย ให้ปฏิบัติดังนี้

หมวดที่ ๕ ข้อบังคับท่ัวไป

ข้อ ๑๙. ผู้เข้าพักอาศัยมีหน้าที่ต้องปฏิบัติ ดังนี้

๑. ต้องไม่น าบุคคลอื่น ที่มิได้รับอนุญาตจากมหาวิทยาลัยเข้าพักอาศัยภายในหอพัก ๒. ต้องรับผิดชอบต่อทรัพย์สินในหอพักหากเกิดความเสียหายอันเกิดจากการกระท าของตนต้องชดใช้ตามราคาท่ี มหาวิทยาลัยก าหนด ๓. ต้องรักษาความสะอาด และดูแลทรัพย์สิน ตลอดจนอุปกรณ์ของหอพักมิให้เกิดความช ารุดเสียหาย ๔. ต้องไม่น าทรัพย์สินที่มีค่ามาเก็บไว้ในหอพัก หากมีการสูญเสียเกิดข้ึนทางมหาวิทยาลัยจะไม่รับผิดชอบใดๆ ทั้งสิ้น

Page 16: คู่มือนิสิตแพทย์ ศูนย์แพทยศา ... · 2013-02-14 · 1.จัดการเรียนการสอนนิสิตแพทย์ที่ได้มาตรฐาน

16

๕. ต้องปฏิบัติตนเยี่ยงสุภาพชนทั้งด้านการแต่งกายและความประพฤติ ๖. ต้องไม่จัดงานรื่นเริงสังสรรค์ใด ๆ ในหอพัก เว้นแต่ได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากรองอธิการบดี ฝุายพัฒนานิสิตก่อน ๗. ต้องไม่ส่งเสียงดังรบกวนผู้อ่ืน ๘. ต้องไม่ประกอบอาหารในหอพัก

ข้อ ๒๐. สิ่งต่อไปนี้ห้ามมีไว้ครอบครองในหอพัก

๑. อุปกรณ์ท่ีใช้เล่นการพนันทุกชนิด ๒. ยาเสพย์ติด และอุปกรณ์ท่ีใช้ส าหรับเสพย์ติด ๔. สื่อลามกอนาจารที่ขัดกับศีลธรรมอันดีของสังคมไทย ๕. สุราและของมึนเมา ขวดสุรา และภาชนะท่ีบรรจุของมึนเมามาดื่มในบริเวณหอพัก ๕. อาวุธปืน กระสุนปืน และวัตถุระเบิด ๖. เชื้อเพลิงไวไฟ ๗. อาวุธแหลมคมหรืออาวุธชนิดอื่นที่ไม่มีความจ าเป็นส าหรับใช้ประกอบการศึกษาเล่าเรียนของนิสิต ในมหาวิทยาลัย

ข้อ ๒๑. เมื่อผู้อาศัยได้กระท าผิดภายในหอพักตามความใน ข้อ ๒๐ จะยึดสิ่งของเหล่านั้นไว้ชั่วคราว หรือจะริบสิ่ง ของเหล่านั้นเสีย

ข้อ ๒๒. การกระท าต่อไปนี้ถือเป็นการกระท าผิดกฎระเบียบหอพัก

๑. เล่นหรือร่วมวงเล่นการพนัน ๒. เสพสิ่งเสพย์ติด ๓. ประกอบอาหารอันก่อให้เกิดความร าคาญต่อผู้อื่นในหอพัก ๔. เปิดเครื่องเสียงหรือเล่นดนตรีดังเกินไปเป็นเหตุให้ผู้อ่ืนเกิดความร าคาญ ๕. ดื่มหรือเมาสุราอาละวาดส่งเสียงดัง ๖. จงใจท าลายสาธารณะสมบัติและทรัพย์สินของหอพัก ๗. กล่าววาจาหรือแสดงกิริยาที่หยาบคาย หรือไม่เคารพคณะกรรมการด าเนินงานหอพัก ๘. ลักขโมย ๙. น าสัตว์เลี้ยงมาเลี้ยงในบริเวณหอพัก ๑๐. ตากเสื้อผ้า เครื่องแต่กาย เครื่องนอนอื่นตามหน้าต่างห้อง หรือที่อันไม่สมควร ๑๑. เข้าไปในห้องพักของผู้อื่นในขณะที่เจ้าของห้องไม่อยู่ ๑๒. ประพฤติเสื่อมเสียทางเพศ ขัดกับศีลธรรมและวัฒนธรรมอันดีงามของไทยในบริเวณหอพัก ๑๓. น าเพศตรงข้ามเข้าไปในห้องพักหรือที่อ่ืน ๆ อันไม่สมควรในบริเวณหอพัก

Page 17: คู่มือนิสิตแพทย์ ศูนย์แพทยศา ... · 2013-02-14 · 1.จัดการเรียนการสอนนิสิตแพทย์ที่ได้มาตรฐาน

17

๑๔. น าบุคคลอ่ืนมาพักในหอพักโดยไม่ได้รับอนุญาตจากเจ้าหน้าที่หอพักหรือหัวหน้างานหอพัก ๑๕. แต่งกายไม่สุภาพหรือส่อไปในทางอนาจารในบริเวณหอพัก ๑๖. ปิดรูป โปสเตอร์ เขียนรูป หรือข้อความอันให้เปรอะเปื้อนตามฝาผนัง พื้นห้อง ประตู ตู้เสื้อผ้า หรือท่ีอ่ืน ในบริเวณหอพัก และขัดต่อศีลธรรมอันดี ๑๗. ทะเลาะวิวาทหรือท าร้ายร่างกาย

ข้อ ๒๓. นิสิตหอพักต้องให้ความร่วมมือกับทางมหาวิทยาลัยในสิ่งต่อไปนี้

๑. รักษาความสะอาดภายในห้องพัก และบริเวณหอพัก ๒. ใช้น้ าและไฟอย่างประหยัดอีกทั้งดูแลรักษาทรัพย์สินของหอพัก และมหาวิทยาลัย ๓. การใช้บริเวณหอพักเพ่ือการประชุมหรือจัดกิจกรรมต้องขออนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรต่อเจ้าหน้าที่หอพัก เมื่อได้รับอนุญาตแล้วจึงด าเนินการได้

ข้อ ๒๔. ห้ามแก้ไขเครื่องเรือน สายไฟ หรือท าให้อุปกรณ์หอพักช ารุดเสียหาย

ข้อ ๒๕. ให้นิสิตปฏิบัติตามประกาศของกองกิจการนิสิตที่อาจมีประกาศเพ่ิมเติม

หมวดที่ ๖ วินัยและการลงโทษ

ข้อ ๒๖. โทษที่นิสิตหอพักจะได้รับในกรณีที่กระท าตามประกาศนี้ มี 3 สถาน คือ

(๑) ตักเตือน (เป็นลายลักษณ์อักษร) (๒) ภาคทัณฑ์ (๓) ตัดสิทธิ์การอยู่หอพักและจะต้องออกจากหอพักตามวันเวลาที่ส านักกิจการหอพักมหาวิทยาลัย มหาสารคามก าหนด ข้อ ๒๗. ผู้กระท าความผิดภายในบริเวณหอพักตามประกาศนี้ นอกจากจะได้รับโทษตามท่ีระบุไว้ในข้อ ๒๖อาจได้รับโทษจากมหาวิทยาลัยตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยมหาสารคาม ว่าด้วยวินัยนิสิตภาคปกติ ขั้นปริญญาตรี พ.ศ. ๒๕๔๔ กรณีหนึ่งด้วย ข้อ ๒๘. กรณีต่อไปนี้ถือว่าเป็นความผิดร้ายแรงให้เจ้าหน้าที่หอพัก ผู้อ านวยการส านักกิจการหอพักหรือผู้ที่พบเห็นรีบรายงาน ให้ คณะกรรมการด าเนินงานหอพัก ทราบโดยด่วน ได้แก่

(๑) การดื่มสุรา ของมึนเมา เสพสิ่งเสพย์ติดในบริเวณหอพัก (๒) การเล่นการพนัน (๓) การประพฤติเสียหายทางเพศในบริเวณหอพัก (๔) การทะเละวิวาทโดยใช้อาวุธ การรุมท าร้ายกัน

Page 18: คู่มือนิสิตแพทย์ ศูนย์แพทยศา ... · 2013-02-14 · 1.จัดการเรียนการสอนนิสิตแพทย์ที่ได้มาตรฐาน

18

(๕) การมีวัตถุระเบิด วัตถุเชื้อเพลิง อาวุธปืน และอุปกรณ์ท่ีใช้เสพสิ่งเสพย์ติด (๖) การลักขโมย (๗) การจงใจท าลายทรัพย์สินของหอพัก และของผู้อื่นในบริเวณหอพัก (๘) น าบุคคลอ่ืนเข้าในหอพักโดยไม่ได้รับอนุญาต (๙) กระท าการที่อาจจะน ามาซึ่งความเสื่อมเสียแก่ส่วนรวม ข้อ ๒๙. ผู้กระท าความผิดร้ายแรงตามข้อ ๒๘ จะได้รับโทษ ดังนี้

(๑) โทษมี ๒ สถาน คือ ภาคทัณฑ์ และตัดสิทธิ์การอยู่หอพัก (๒) การภาคทัณฑ์ ให้ลงบันทึกไว้ในระเบียบหอพักของผู้กระท าผิดและรายงานให้ผู้อ านวยศูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก โรงพยาบาลสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช และอาจารย์ประจ าส านักกิจการหอพักทราบ ร่วมกับคณะกรรมการด าเนินงานหอพักร่วมกันพิจารณา (๓) อาจารย์ประจ าส านักกิจการหอพัก และคณะกรรมการด าเนินงานหอพักพิจารณาตัดสิทธิ์การอยู่หอพักและเมื่อตัดสิทธิ์แล้วรายงานให้ ผู้อ านวยการศูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก โรงพยาบาลสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชทราบ

ข้อ ๓๐. ผู้กระท าความผิดที่ไม่ร้ายแรงและเป็นการกระท าความผิดครั้งแรก ซึ่งผู้กระท าความผิดสารภาพโดยดี ได้ส านึกในการกระท าความผิดของตน พร้อมทั้งให้ค ามั่นสัญญาจะไม่กระท าความผิดอีกให้ อาจารย์ประจ าหอพัก และคณะกรรมการหอพก เจ้าหน้าที่หอพัก มีอ านาจลงโทษผู้กระท าความผิดตามข้อ ๒๖ (๑) และกระท าความผิดเป็นครั้งที่ ๒ ให้ลงโทษตามความใน ข้อ ๒๙ (๒) ละกระท าความผิดครั้งที่ ๓ ให้ลงโทษตาม ความในข้อ ๒๙ (๓)

หมวดที่ ๗

การชดใช้ค่าเสียหาย ข้อ ๓๑. นิสิตหอพักต้องรับผิดชอบและชดใช้ค่าเสียหายตามท่ีศูนย์แพทย์ฯ ก าหนด เมื่อได้กระท าสิ่งต่อไปนี้

ช ารุด หรือสูญหาย

(๑) โต๊ะท างาน ตู้ เก้าอ้ี เตียงนอน (๒) ประตู หน้าต่าง บานเกล็ด มุ้งลวด บานพับ กลอน กุญแจ ลูกกุญแจ (๓) สวิตซ์ไฟ สายไฟ ตลับแยกสายไฟ พัดลม หลอดไฟ (๔) สิ่งของอ่ืน ๆ ตามประกาศของมหาวิทยาลัย

ข้อ ๓๒. ความรับผิดชอบและการชดใช้ค่าเสียหายตามความในข้อ ๓๑ ให้ยกเว้นในกรณีต่อไปนี้

Page 19: คู่มือนิสิตแพทย์ ศูนย์แพทยศา ... · 2013-02-14 · 1.จัดการเรียนการสอนนิสิตแพทย์ที่ได้มาตรฐาน

19

(๑) เจ้าตัวไม่ได้เป็นผู้กระท าโดยไม่สามารถระบุชื่อผู้ที่กระท าพร้อมพยานหลักฐานได้ (๒) เป็นการช ารุดที่เกิดข้ึนเองตามสภาพโดยธรรมชาติของวัตถุนั้น ข้อ ๓๓. ผู้พักอาศัยต้องรับผิดชอบและชดใช้ค่าเสียหายตามท่ีมหาวิทยาลัยก าหนด ในกรณีที่ผู้พักอาศัยได้ กระท าให้สิ่งของ ฝาผนัง ตู้เสื้อผ้า โต๊ะท างาน พื้นห้อง ประตู หรืออ่ืน ๆ เปรอะเปื้อนเสียหาย ยกเว้นเป็นการ เสื่อมสภาพตามสภาพของวัตถุนั้น

ประกาศ ณ วันที่ ๗ มีนาคม ๒๕๕๔

Page 20: คู่มือนิสิตแพทย์ ศูนย์แพทยศา ... · 2013-02-14 · 1.จัดการเรียนการสอนนิสิตแพทย์ที่ได้มาตรฐาน

20

ระเบียบการแต่งกายของนิสิต

เครื่องแต่งกายส าหรับนิสิตชาย

เวลาปกติ

เครื่องแต่งกายประกอบด้วย กางเกงขายาวสีด า เสื้อเชิ้ตสีขาว เวลาสวมให้สอดชายเสื้อไว้ในกางเกง หัวเข็มขัดมีเครื่องหมายมหาวิทยาลัย สวมถุงเท้าและรองเท้าหุ้มส้นสีสุภาพ

เวลาปฏิบัติงาน

สวมเสื้อเชิ้ตสีขาว เวลาสวมให้สอดชายเสื้อไว้ในกางเกง หัวเข็มขัดมีเครื่องหมายมหาวิทยาลัย สวมถุงเท้าและรองเท้าหุ้มส้นสีสุภาพ แล้วใส่เสื้อกาวน์คลุมข้างนอก

เครื่องแต่งกายส าหรับนิสิตหญิง

เวลาปกติ

เครื่องแต่งกายประกอบด้วยกระโปรงสีด า เสื้อสีขาวคอเชิ้ตมีแขน ที่คอและแนวสาบอกติดกระดุมมีเครื่องหมายมหาวิทยาลัย 5 เม็ด เวลาสวมให้สอดชายเสื้อไว้ในกระโปรง กลัดเข็มเครื่องหมายมหาวิทยาลัยที่อกเบื้องซ้าย หัวเข็มขัดมีเครื่องหมายมหาวิทยาลัย รองเท้าหุ้มส้นหรือรัดส้นสุภาพ

เวลาปฏิบัติงาน

สวมเสื้อสีขาวคอเชิ้ตมีแขน ที่คอและแนวสาบอกติดกระดุมมีเครื่องหมายมหาวิทยาลัย 5 เม็ด เวลาสวมให้สอดชายเสื้อไว้ในกระโปรง กลัดเข็มเครื่องหมายมหาวิทยาลัยที่อกเบื้องซ้าย หัวเข็มขัดมีเครื่องหมายมหาวิทยาลัย รองเท้าหุ้มส้นหรือรัดส้นสุภาพแล้วใส่เสื้อกาวน์คลุมข้างนอก

Page 21: คู่มือนิสิตแพทย์ ศูนย์แพทยศา ... · 2013-02-14 · 1.จัดการเรียนการสอนนิสิตแพทย์ที่ได้มาตรฐาน

21

การแต่งกายของนิสิตคณะแพทย์ ศูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก

โรงพยาบาลสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช

เวลาปกติ เวลาปฏิบัติงาน